You are on page 1of 13

ความมั่นของ chatter ในการตัดและกัดเหล็ก

________________________________________________________________________

ประเด็นสําคัญ

ในรายงานนี้จะพูดถึงการหา chatter vibration ในการตัดและกัดเหล็ก การหลบเลี่ยง chatter vibration ในเป็น


สิ่งสําคัญในอุตสาหกรรม การใช้ orthogonal stability ในการกลึงนั้นจะถูกวิเคราะห์ การวิเคราห์การเจาะเช่น
กัน การ dynamic modeling และ chatter stability ของการขัดจะถูกวิเคราะห์ stability model ต่างๆ จะถูก
เปรียบเทียบกับ simulation model ต่างๆ dynamic time model ของการกัดแบบ transverse และ plunge จะ
ถูกนํามาวิเคราะห์ผล การยับยั้งแบบ off-line และ real-time จะถูกนํามาใช้เพื่อลด chatter ในรายงานนี้จะเสนอ
หัวข้อสําหรับการคํานวน chatter และการยับยั้งเพื่อน้ําไปใช้ในระดับอุตสาหกรรม; การตัด,กัด,chatter

1. บทนํา เสนอโดยการใช้ orthogonal, plunge turning อย่าง


ที่เห็นในรูป 1a ดิสก์ที่ติดกับแท่งจะติดอยู่กับเครื่อง
แรงในการตัดและกัดเหล็กเป็นที่สนใจในการค้นคว้า กลึงใบมีดมีหน้าตัดที่แบนและจะใช้แรง tangential
ตั้งแต่การก่อตั้งของ CIRP ซึ่งรายงานนี้อุทิศให้ ในการตัดในทิศทางของแรงตัด และแรงป้อน ความ
Professor J. Tlusty ซึ่งเป็นผู้ที่นําเสนอการวิเคราะห์ หนาของชิบอยู่ในทิศทางที่ตั้งฉากกับหน้าตัด
แรงในการตัด เขาเน้นการ modeling และวัดแรงตัด
และความสําคัญที่มีต่อ chatter stability Peters
Kt, Kf คือทิศทางของการตัด ซึ่ง Kt, Kf นั้นขึ้นอยู่กับ
สํารวจการกัด ในขณะที่ Inasaki และ
สัดส่วนของชิ้นงาน, ความหนาของชิบ, ความเร็วใน
Karpuschewski หา chatter ในการกัด ในรายงาน
การตัด, สารหล่อ และวัสดุที่ตัด ความหนาของชิบ
ของ CIRP โดยรายงานนี้จะมุ่งไปที่การคํานวนหา
สามารถหาได้โดย
แรงในการตัดและกัด การคาดเดา chatter stability
ในการทํางานต่างๆ และในการหลบเลี่ยง off-line
และ on-line chatter ที่ทําในระดับอุตสาหกรรม
T คือความเร็วของหัวหมุน โดยการมองว่า ดิสก์-แท่ง
รายงานนี้แบ่งได้เป็นดังนี้: การสํารวจ chatter ของ เป็นของชิ้นเดียวกันเราสามารถหา dynamic
Tlusty และ Tobias จะเสนอในช่วงที่ 2 หลักการของ orthogonal cutting ได้โดย
พวกเขาเป็นพื้นฐานของการเข้าใจแรงในการตัดและ
chatter stability การใช้ orthogonal cutting เช่น
การกลึงจะนําเสนอในช่วงที่ 3 เรื่องของแรงและการ
วิจัยในช่วงที่ 4 จะคาดเดาถึงทั้งแรงและการสั่นด้วย
ตัวเอง, chatter vibration ในการเจาะรู้ การคํานวน
dynamic milling ในช่วงที่ 5 หลักการของความ
มั่นคงทั้งเก่าและใหม่อยู่ในช่วงที่ 6 ช่วงที่ 7 จะพูดถึง
การยับยั้ง on-line และ off-line ใน chatter
vibration การพัฒนาและค้นคว้าในเรื่อง dynamic
cutting ในช่วงที่ 8 และการสรุปความรู้ในเรื่องแรงใน
การตัดและกัดในช่วงที่ 9

2. การตัดเหล็กแบบ orthogonal และ chatter


stability lobes

การค้นคว้า orthogonal chatter stability ถูกเริ่มต้น


โดย Tlusty, Polacek, Tobias และ Fiswick พื้นฐาน
ของ chatter มิติเดียวของ Tlusty และ Tobias ถูกนํา
ในรูปที่ 3 จะกลายเป็นศูนย์ การซับจะมีผลมากที่สุด
เมื่อความเร็วในการหมุนได้ช้าเมื่อเทียบกับความถี่
chatter vibration แต่การคํานวนไม่สามารถอธิบาย
ถึงการสัมผัสของชิ้นงาน กับใบมีดได้ หากดูการ
ซับใน chatter stability CIRP ได้อธิบายทําการ
ทดลองโดยงานของ Peters, Vanherck และ van
Brussel หลักการ chatter โดย Tlusty และเรื่อง
lobe โดย Tobias มีความสําคัญในการผลิตและการ
เลือกใช้อุปกรรวมถึงสภาวะการตัด

3. แรงในการกลึงและการคว้าน
เราสามารถใช้ Frequency Response Function
การใช้ boring bar ในการคว้านเพื่อรูคว้านขนาด
(FRP) ในการแปลงการติดตั้งให้เป็น
ใหญ่ แท่ง, หัวหมุน, และ tool holder คือตัวที่
ทําความยืดหยุ่นที่ทําให้เกิด chatter ในการกลึง ทั้ง
สองวิธีมีระบบที่คล้ายๆกันเพราะความคล้ายของใบ
เราจะให้ Kt เป็นค่าคงที่ chatter stability จะ มีด รูปแบบในการตัดในรูปที่ 4 เราสามารถสร้าง
เกี่ยวข้องกับความลึกในการตัดและคาบของหัวหมุน รูปการตัดได้
โดยตรง ทั้ง Tlusty และ Tobias สร้างสมการกฎของ
chatter stability ซึ่งแพร่หลายในปี 1950

จารสมการ จะสามารถหาควาึกจริงที่ถูกตัดเมื่อ
G(w) เป็นค่าติดลบ ค่าต่ําสุดของ G(w) ที่แสดงใน
รูปที่ 2 หากสภาวะการตัดเป็น lobe การตัดจะไม่
คงที่จากการเพิ่มขึ้นของการสั่น, dynamic cutting
force และผิวที่ขรุขระ ความถี่ของ chatter สามารถ
หาได้โดย Fourier Spectrum ของสัญญาณความ
สั่น

Tobias เสนอว่า Kr ควรเป็นเลข complex เพื่อความ


แม่นยําและเพื่อให้อธิบายความเปลี่ยนแปลงของ
หน้าข้างของมีด ความชันของคลื่น และความเสียด
ทานที่เกิดขึ้นกับชิบ ดูรูปที่ 3 การตรวจดู chatter
stability ในการหมุนความเร็วต่ํานั้นทําได้ยากจาก
การหาแรงซับ หากมีรอยคลื่นที่ชิ้นงาน องศาของมีด
ทิศทางของการตัด ความหนาของชิบและทิศทางล้วน ความแม่นยําในการคาดเดา chatter นั้นขึ้นอยู่กับ
มีส่วนสําคัญ เราสามารถหาแรงตัดได้โดย หลายตัวแปร การสั่นของ chatter นั้นโดยธรรมาดา
อยู่ที่หนากว่า 200 Hz โดยขึ้นอยู่กับความยาวของ
ชิ้นงานในการคว้านหรือสัดส่วนของแท่งทีจะถูกกลึง
ซึ่งแรงการตัดอย่างเช่น Kt,Kf,Kr จะถูกพิจารณาใน
และความเร็วหัวหมุนอยู่ที่ต่ํากว่า 1500 rpm หรือ n
เรื่อง shear stress, shear angle, friction
< 25 Hz อัตราส่วนของความถี่ chatter ต่อ ความถี่
coefficient และสัดส่วนของใบมีด เราสามารถแยก
หัวหมุนคือ
แรงตัดจากรูปที่ 4 ได้เป็น:

การที่ผิวหลบกระทบกับผิวที่เป็นคลื่นก่อให้เกิดการ
เสียดสีดังในรูปที่ 3

แรงตัดจะถูกคํานวนโดย

เราจะสร้าง matrix ของ FRP

ความหนาของชิบสามารถคิดได้โดย

ความหนาของชิบนั้นขึ้นอยู่กับความลึกในการตัด
dpq หรือ directional factor สําหรับการตัดนิ่งคือ อัตราการจ่าย, nose radius และ approach angle
ในรูปที่ 5 แสดงให้เห็นว่า nose radius ทําให้การตัด
ไม่มี approach angle ที่คงที่เพราะฉนั้นแรงตัดจะขึ้น
อยู่กับอัตราการจ่าย, nose radius, approach
angle, และความลึก

ในการวิเคราะห์ frequency domain จะต้องใช้


regenerative feedback มากมายซึ่งคลื่นอาจไม่เท่า
เทียมกันและแรงตัดจะขึ้นอยู่กับความลึกในการตัด
directional factor สามารถนํามาหาความหนาของ และ chip load ดังในรูปที่ 6
ชิบได้ จากการที่เครื่องมีการสั่น
4. แรงในการเจาะ

การเจาะคือการหมุนของแท่งที่มีคมตัดตรงปลาย จะ
มีการสกัดชิ้นงานออกไป ดังในรูปที่ 7 จุดศูนย์กลาง
ของลูกสว่านจะสกัดชิ้นงานออกโดยการเจาะ การมีรู
นําสามารถช่วยในการเจาะได้ สมการการขยับ
สามารถจําแนกได้ดังนี้

4.1 ความมั่นคงใน torsional-axial chatter


ในการเจาะนั้น แงรและแรงบิดจะสอดคล้องกับความ
Bayly ศึกษาความมั่นคงในการเจาะโดยไม่คํานึงถึง
หนาของชิบ,ความกว้างในการตัด,ชนิดของวัสดุ,รูป
การสั่นแบบ lateral แต่คํานึงถึง torsional และ axial
แบบการเจาะ,การสั่นของปลายสว่าน
displacement เขาไม่สนใจความหนาของชิบที่เกิด
จากการสั่นแบบ torsional การเจาะแบบ dynamic
สามารถสรุปได้เป็น

ซึ่ง b คือแนวกว้างของการตัด, N คือจํานวนของ


flutes และ Kf และ Kt คือ thrust force torque
coefficient ระบบจะถูกกระตุ้นโดยแรงกดและ
torque โดยคํานึงถึงเวลา z(t) สรุปได้ว่าแนวกว้าง
ของการตัดจะเป็น

4.2 ความมั่นคงของ lateral chatter

เมื่อสว่านสั่นเราจะต้องอธิบายความหนาของชิบใน Bayly ยังได้ศึกษาถึงเมื่อ การสั่นแบบ torsional-


รอยตัดโดยการคํานึงถึงการสั่นในทุกทิศทางในการ axial ไม่มีผล และนําความหนาของชิบจาก การสั่น
คาดเดาแรงตัด Fz ดังนี้ ใน lateral มาคิด เขาได้สร้างสมการสองตัวแปร เพื่อ
อธิบายแรงในการตัด ดังในรูปที่ 9

เพราะแรงตัดนั้นไม่คํานึงถึงทิศทางใดๆ การหา
EOM จึงเป็นไปได้ยาก และขั้นตอนการตัดก็ซับซ้อน
ขึ้นเพราะหน้าข้างของมีดที่เปลี่ยนแปลงไป EOM ของการหมุนดังกล่าว

อีกหนึ่งสาเหตุของ chatter ในการเจาะคือ


torsional-axial coupling ของการสั่นในการเจาะ
เมื่อสว่านสั่น การตัดก็ไม่คงที่ ทําให้ผิวมีลักษณะเป็น
คลื่น รูเจาะที่เกิด chatter อยู่ในรูปที่ 8

ซึ่ง Kt, Kf คือแรงในแนว tangential และ แรงตัด


5.1 การคํานวนแรงในการขัด

สภาวะในการขัดแสดงอยู่รูปที่ 12 หากเราคิดเสมือน
ว่าใบตัดมีคมเดียวซึ่งห่างคิดเป็น y และทิศทางการ
จ่ายอยู่ในแกน x เราสามารถหาแรงในแกนต่างๆได้
ดังนี้

ซี่ง Kr คืออัตราของ radial:tangential cutting force


4.5 ความท้าทายในการค้นคว้า
แรงทั้งหมดรวมได้เป็น
มีการค้นคว้ามากมายที่พยายามคาดเดาแรงในการ
ตัดให้แม่นยํา การเปลี่ยนแปลงของความเร็วในการ
ตัด, มุม rake, มุม oblique คือตัวแปรในการคาด แรงตัดในแกนจ่ายและตั้งฉากคือ
เดาแรงในการตัด ในเรื่องของการสั่นในการตัด
mode เดียวก็นํามาศึกษาในการคาดเดาเช่นกัน ใน dynamic chip load สร้างโดยฟันตัดแล้วการสั่นคือ
ความเป็นจริง การสั่นใน torsional และ axial เกิด
พร้อมๆกันในการเจาะรู

การสั่นในเวลา t และ (t-T) แสดงได้เป็น


การสั่นแบบ chatter ในการเจอะรูลึกๆมีความยาก
เกี่ยวกับเวลา เวลาจะถูกนํามาใช้ต่อเมื่อต้องการการ
คํานวนชั้นสูง การสั่นแบบ whirling ในการเยอะจรู
ลึกนั้นยากที่จะอธิบาย เพราะเป็นการทําให้งานชํารุด
การพัฒนาระดับที่ป้องกันได้แบบ real time กําลัง อย่างใดก็ตาม Tlusty ได้สร้างสมการสําหรับแรงตัด
เป็นที่สนใจในอุตสาหกรรม ของ orthogonal spring ในทิศทางของแรงตัดเป็น

5. แรงในการขัด

การขัดคือการตัดแบบหลายใบมีด การค้นคว้า
มากมายบ่งชี้ว่าความเร็วในการขัดนั้นเป็นปัจจัย
สําคัญ Tlusty และผู้ช่วยได้พยายามอธิบาย chatter
ในการขัดสาเหตุและการลด

5.2 การคํานวน modeling ของ two-dimensional


dynamic milling

Sridhar ได้กล่าวไว้ว่า การขัดมีแรงควบคู่และจะต้อง


มีการแยกแยะอย่างนี้ให้เป็น two dimensional เค้า
จะใช้ feed (x) และ normal (y) แทนการสั่นและแรง
ตัด

เรื่องนี้จะใช้หลักการของ Tlusty แต่จะใช้ทิศทางที่


แตกต่างไปและใช้แรงที่หาได้โดยสูตรของ Opitz
ซึ่งจะสามารถลดปัญหาได้มาก การสั่นของทั้งชิ้นงานและใบมีดสามารถคาดเดาได้
ด้วยการใช้แรงในการตัดในอุปกรต่างๆ ในบ้างช่วง
5.3 Time domain modeling ของแรงในการขัด เวลา

งานจะถูกจ่ายมาในแนวนอนสู่เครื่องตัดหลายคมที่
หมุนอยู่ในการขัด ความหนาของชิบจะเกี่ยวข้องกับ
การสั่นของเครื่องและชิ้นงาน Tlusty ใช้ time
domain ในการจําลองการขัด เขายังได้หาความหนา
ของชิบในมุมต่างด้วยคอมพิวเตอร์ วิธีการนี้ถูกนําไป N คือจํานวนของฟันในใบมีด m,c,k คือ
ใช้ต่อมากมายในการวิเคราะห์เครื่องมือในเรื่องแรง mass,damping,stiffness ของเครื่องมือหรือชิ้นงาน
และสัดส่วนการตัดต่างๆ

5.4 การทดลองและจําลอง

การจําลอง time domain โดยคํานึงถึง kinematic,


milling, mechanics ของเครื่องขัด หรือการที่มีดเกิด
การกระโดดจึงเกิดคลื่นบนชิ้นงาน การจําลองนั้นจะ
ถูกทดลองเพื่อหาสัดส่วนของใบมีด เพราะฉนั้นเรา
สามารถใช้วิธีนี้หาความแม่นยําของความถี่ใน
ดังรูปที่ 13 หากจุดบนใบมีดมีการหาตําแหน่งและขึ้น
domain ต่างๆได้
อยู่กับความเร็วล้อหมุน, รูปแบบของเครื่องมือ, แนว
กว้างและความลึกในการตัด
การคาดเดาแบบ lobe จะถูกนํามาเปรียบเทียบกับ
การขัดแบบ slot, half,และ quarter โดยใบตัดสี่ใบ
จุดบนชิ้นงานจะขยับในแนวนอนไปหาใบมีดที่หมุน คาสต่างๆในการตัดอยู่ในตารางที่ 1
อยู่และสั่นอยู่
การขัดแบบ slot (ดูรูปที่ 15) การขัดแบบ half-immersion (ดูรูปที่ 16)

การจําลองความมั่นคงของ lobe ใน time domain ทั้งสามแบบสามารถคาดเดาความมั่นคงของ


จะถูกเปรียบกับการคาดเดา lobe โดยการใช้ chatter ได้อย่างแม่นยํายกเว้น Altintas & Budak
domain ความถี่โดย Tlusty, Opitz, และ Altintas &
Budak domain ความถี่โดย Altintas & Budak ใกล้
เคียงกับ domain จริง ในขณะที่ของ Tlusty และ
Opitz นั้นเกินความมั่นคง

ที่คาดว่ารูป่างของ lobe นั้นคล้ายคลึงกับการจําลอง


มากที่สุด เราสามารถเห็นได้ว่าค่าของแรงตัดและกา
รสุ่นได้เพิ่มมากขึ้นเท่าตัวหลังจากเกิด chatter

การขัดแบบ quarter immersion (ดูรูปที่ 17)

วิธีการทั้งสามแสดงผลความมั่นคงของ lobe แทนจะ


เท่ากันซึ่งใกล้เคียงกับการจําลอง time domain ทั้ง
ของ Tlusty และ Opitz คาดเดาไว้ต่ํากว่าความลึก
chatter ที่เกิดขึ้นจริง ซึ่งเป็นตัวอย่างของ time
domain chatter นั้นขึ้นอยู่กับทิศทางของ y ที่เห็น
ใน Fourier spectrum ของการสั่น เมื่อการ
spectrum ของการสั่นนั้นไม่สามารถมองเห็นได้ immersion ต่ําจะทําให้แรงไปมากอยู่ทิศทางเดียว
เพราะแรงตัดคงที่ในการชัดแบบ slot เมื่อใบมีดมีใบ นั้นคือทาง y แต่ในเมื่อการ immerse แบบ radial
ตัดถึงสี่ใบหรือมากกว่า เกิดขึ้น จะทําให้การคาดเดาเป็นไปได้แม่นยํากว่า
การขัดแบบ high intermittent with small
immersion (ดูรูปที่ 18)

ความมั่นคงของการขัดแบบความลึก radial ต่ํานั้น


ถูกคาดเดาโดยการหาค่าเฉลี่ยทิศทาง อุปการการ
ตัดและค่าในการตัดอยู่ในรูปที่ 18 ทั้งสองวิธี
(Budak และ Altintas) คาดเดา chatter ที่จุด A,
ความถี่ 0 แรงตัดและการสั่นถูกคาดเดาโดยการใช้
time domain จําลองในรูป 18 a,b,c

ที่จุด A (n = 30000 rpm, a = 2 mm.) ทั้งความถี่ 0


และความถี่หลากหลาย ให้ผล chatter ในทั้งสองคํา
ตอบ ความลึกในการตัด มีความใกล้เคียงกันสูง การ
สั่นแบบนี้เรียกว่า Hopf Bifurcation

ที่จุด B (n = 34000 rpm, a = 3 mm.) ตั้งอยู่ที่จุดที่


มีความมั่นคง กาคาดเดา lobe การความถี่หลาก
หลาย แต่คํานวนโดยจุดไม่มั่นคงที่จุดความถี่ 0 การ
จําลอง time domain ในรูป 18b แสดงถึงขั้นตอนที่มี
ความมั่นคง ความถี่ของชิ้นงานและแรงตัด
ที่จุด C (n = 38000 rpm, a = 2 mm.) คาดเดาไว้ว่า
จะสมดุลในตําแหน่งความถี่ 0 แต่เป็นจุดที่มีความถี่
มาก การจําลองแรงตัดและการสั่นของชิ้นงานเป็นไป
ได้ยากเพราะมีความแรงสูงและ spectrum สามารถ
ดูได้ในรูปที่ 18c การคาดเดาความสมดุลนั้น Davies
ได้รวบรวมไว้ในหนังสือของเค้า เราสามารถสรุปได้
ว่าความสมดุลในการขัดเป็นที่ศึกษาและเข้าใจใน
ระดับอุตสาหกรรมในการตัดความเร็วสูง แต่ในการ
ตัดช้ายังต้องการการต้นคว้าเพิ่ม

6. แรงในการขัด

การเกิดการสั่นในการขัดระหว่างการทํางานเป็นสิ่งที่
ทําให้คุณภาพของงานลดลง เราต้องการที่จะแยก
ความแตกต่างระหว่างการสั่นที่เกิดจากแรงกับการ
สั่นด้วยตัวเอง แรงภายนอกจะไม่มีผลกระทบในการ
สั่นด้วยตัวเอง สาเหตุสําคัญมนการเกิดการสั่นใน
การตัดคือ regenerative effect ซึ่งทําให้อุปกรสั่นที่
จะทําให้เกิดรอยหรือคลื่นบนผิวงาน การตรวจหา
chatter ถูกนําเสนอโดย CIRP

การคํานวนด้วย phase angle criterion สามารถนํา


มาหาลักษณะของการขัดแบบ plunge และ
transverse ที่จพหาการขัดที่ต่ํากว่า 90 degrees
เพื่อสรุปได้ว่าเป็นการไม่สมดุล

การจําลองแบบ time domain ถูกพัฒนาขึ้นเพื่อ


วิเคราะห์การชัดในการเกิด chatter ด้านล้างคือการ
จําลองการวิเคราห์ dynamics ในการขัดแบบ
cylindrical traverse 6.1 ลักษณะของแรงในการขัดแบบ cylindrical
traverse with cylindrical roughing zone

การเกิดคลื่นบนชิ้นงานและล้อกัดที่เรียกว่า step-
wear นั้นจะคํานึงถึงการกัดแบบ traverse แบบ
cylindrical roughing zone เมื่อเริ่มการกัดการ
สึกหรอที่เกิดขึ้นจะอยู่ในช่วงความกว้างของล้อกัด
การกัดแบบ traverse สามารถเรียกได้ว่าเป็นการกัด
แบบ plunge หลายๆจุดมารวมกัน ในรูปที่ 21 จะ
เห็นได้ว่า ระบบ closed loop มากมายรวมกันเป็น
ระบบตรวจการที่ทํางานร่วมกันเพิ่มประเมินความ
สึกหรอบนชิ้นงาน
6.2 การจําลอง time domain การสั่นจะค่อยๆเพิ่มมากขึ้นเช่นเดียวกันกับการกระ
จัด ดังในรูปที่ 24 และ 25 แสดงถึงเวลาและผิวของ
จาก closed loop ในรูปที่ 21 การจําลอง time ชิ้นงานและ wear-step ที่สามที่ล้อกัด และ radial
domain สามารถทําได้ ผิวของชิ้นงานและล้อกัด cut ของล้อกัดในการหมุนรอบที่ 32
สามารถจําลองได้เป็น จุดต่างๆ ดังในรูปที่ 22

จุดต่างๆเหล่านี้สามารถเรียกได้ว่า field ทําให้เรา


สามารถคํานวนหาสภาวะการสัมผัสที่เกิดขึ้นระหว่าง
ชิ้นงานและล้อกัดได้ทุกช่วงเวลา การจําลองนี้ทําให้
เราคาดเดาแรงตัด, การกระจัดและผิวของงานและ
ล้อกัดได้

จากการที่เรารู้ถึง แรงและการสึกหรอ ทําให้เรา


จําลอง dynamic behavior ของการกัดได้ ในรูปที่
23 แสดงการคํานวนหาแรงการกัดและการกระจัดใน
ช่องระหว่างการกัดได้ ซึ่งหลังจากเริ่มทํางานจะเกิด
7. การยับยั้งและการหลบหลีก chatter vibration

หากไม่มีการหลบหลีก chatter vibration จะทําให้


เกิดผิวงานที่มีคุณภาพต่ํา ใช้แรงตัดมากเกินควรตรง
ใบมีดและหัวหมุนจะก่อให้เกิดการสึกหรอในระบบ
เราควรมีการแยบการสั่นแบบสั่นด้วยแรงและ
chatter vibration จากการสั่นด้วยแรงระหว่างการ
ตัด แรงจากภายนอกสามารถตรวจโดย spectrum
of vibration และการสั่นด้วยแรงจะเกิดขึ้นที่หัวหมุน
หรือฟันเมท่อใบมีดผ่านชิ้นงาน แต่ chatter
vibration นั้นจะเกิดใกล้เคียงกับความถี่ธรรมชาติ
การลดแรงและการสั่นสามารถทําโดยการออกแบบ
เครื่องมือ ตัวยึด และอุปกรต่างๆให้มี dynamic
stiffness สูงโดยเฉพาะในทิศทางของการตัด

การติด damper ในทางของแรงตัดทําให้แรงสั่นนั้น


ลดลงดังในตารางที่ 2 อุปกร damper ที่ใช้ดังใน
ตารางที่ 3 การยิงแรงสั่นไปที่อุปกรในทิศทางตรง
ข้ามกับแรงสั่นเพื่อลดการสั่นก็เป็นอีกหนึ่งวิธี

เมื่อเครื่องและอุปกรตัดได้ถูกเลือกแล้ว การหลบหลีก
chatter vibration ก็เป็นปัจจัยสําคัญเช่นกันโดย
ทําให้การเสียหายของชิ้นงานลดลง การตรวจหา
chatter และการหลบหลีกในการกัดนั้น Inasaki ได้
รวบรวมไว้ในเอกสารของเขาแลเ้ว การยับยั้ง
chatter ในการตัดเหล็กนั้นสามารถแบ่งออกได้เป็น
on-line และ offline ซึ่ง sensor ในการช่วยมีดังนี้

7.1 การวางแผนขั้นตอนด้วย lobe

chatter vibration นั้นสามารถหลบเลี่ยงโดยการ


เลือกสภาวะการตัดที่คาดเดาจาก stability lobe
ตัวอย่างเช่น stability lobe ในรูปที่ 17 แสดงให้เห็น
ว่าสภาวะการตัดที่ดีที่สุดใน quarter immersion ที่
12000 rpm ความลึกการตัด 60 mm วัสดุ AI7050
โดยเครื่องที่มีลักษณธดังตารางที่ 1 เมื่อเทียบกับการ
ตัดที่ 7000 rpm และความลึก 20 mm นั้นผลผลิต
เพิ่มมากขึ้นถึง 500% ที่ 12000 rpm ซึ่งมี stability
lobe ที่ลึกและกว้างที่สุด

ลักษณะระบบของ stability lobe นั้นอยู่ในรูปที่ 27


การคาดเดาโดย stability lobe เมื่อใช้ร่วมกับการ
จําลองแบบ time domain ของการตัดและการกัด
เพื่อสรรหาสภาวะการตัดนั้นเป็นสิ่งที่แนะนําในการ
ทํางาน วิศวกรสามมารถใช้ stability lobe ในการ
ออกแบบอุปกรต่างๆในการตัด ระบบ damp
มากมายสามารถใช้ในอุปกรเพื่อการผลิตสูงสุด

7.2 การหลบหลีก chatter แบบ real-time

การค้นคว้ามากมายมุ่งที่จะพัฒนา chatter vibration


โดยการใช้ actuator ดังในตารางที่ 3 เพื่อที่จะเพิ่ม
dynamic stiffness และลด regenerative effect ให้
มากที่สุด แต่การวิจัยเหล่านี้น้อยนักที่สามารถนํามา
ใช้ในโรงงานได้จริง โดยมีสาเหตุสองอย่าง chatter
vibration เกิดขึ้นในจุดที่มีความถี่ต่ํา ซึ่งทําให้
actuator ต้องมี dynamic force ที่สูงมาก ซึ่งใน
ปัจจุบัน actuator ยังไม่สามารถทําได้อย่างที่คาดไว้

การใช้ sensor ตรวจจับ การสั่น แรง นั้น Weck ได้


แสดงให้เห็นถึงการตรวจ chatter vibration ในการ
ขัดโดยการผ่าน power spectrum ของแรงตัด
Weck ยังได้แสดงถึงระบบการตัดลึกแบบอัตโนมัติ
ในการกลึงจนกว่า chatter จะหายไป

Sexton & Stone เสนอการใช้ความเร็วหัวหมุนที่ไม่


คงที่เพื่อรบกวนการเกิด chatter wave ในการกลัง
Sastry นํา torque และ power มาวิเคราะห์จากหัว
หมุน ซึ่งระบุว่าการที่ความเร็วหัวหมุนไม่คงที่จะ
สามารถลด chatter vibration ได้ต่อเมื่อมีความถี่ต่ํา
8. งานวิจัยในเรื่อง dynamic cutting / grinding ใน
ปัจจุบัน

การคาดเดาและการยับยั้ง chatter vibration นั้น


เป็นที่แพร่หลายและถูกนําไปใช้มากในระดับ
อุตสาหกรรม ระบบที่ประสบความสําเร็จมากที่สุดคือ
การขัดด้วยความเร็วสูงที่มี stability lobe ช่วยใน
การตัดที่มีความลึกสูง time domain สามารถช่วยใน
การคาดเดาซึ่งประสบความสําเร็จเช่นเดียวกัน

งานค้นคว้าที่เกี่ยวกับการกัดเหล็กนั้นจะมุ่งประเด็น
ไปที่การสัมผัสระหว่าง เหล็กกับชิ้นงาน chatter ใน
สภาวะการทํางานต่่างๆ ซึ่งเรื่องพวกนี้ทําให้
frequency domain นั้นตรวจหาค่าได้ยาก

อย่างใรก็ตาม actuator ที่ยังไม่สามารถนํามาใช้ได้


จริงยังเป็นประเด็นหลักในการค้นคว้าอยู่ ซึ่งก้าวแรก
นั้นคือการเพิ่ม dynamic stiffness ให้กับอุปกรต่างๆ

9. สรุป

รายงานนี้พูดถึงประเด็นการค้นคว้าแรงในการตัด
และกัดเหล็ก โดย Tlusty และ Tobias เสนอกฏของ
orthogonal chatter stability ในราวปี 1950 การใช้
frequency domain in chatter stability ในการกัด
ความเร็วสูงยังได้ถูกพัฒนาและนํามาใช้ในระดับ
อุตสาหกรรม การค้นคว้ามากมายใน time domain
ของการกลึง คว้าน ขัด และกัดยังนําไปถึงการวิเครา
ห์แรงในต่างๆ รวมไปถึงการนํา stiffness, ชนิดวัสดุ,
สัดส่วนวัสดุและสภาวะการตัดมาใช้ในการวิเคราห์
ความถี่และ time domain มีการจําลองเพื่อเพิ่ม
ประสิทธิภาพของเครื่องมือเพื่อเพิ่มผลการผลิต

chatter stability ยังเป็นงานวิจัยที่ยังไม่สมบูรณ์บน


เพราะไม่สามารถใช้ได้ในการตัดในความเร็วหลาก
หลาย เช่นการใส่ damp ในชิ้นส่วนของเครื่องตัด
การรวบรวมของระบบจําลอง และ chatter stability
โดยการใช้ CAD/CAM นั้นสามารถทําให้เราวางแผน
การผลิตเพื่อผลผลิตมากที่สุดนั้นกําลังอยู่ในขั้นตอน
การทดลองก่อนที่จะลงไปในระดับอุตสาหกรรมจริง

You might also like