You are on page 1of 2

บทที่ 1 เซต

1. เซตที่เท่ากันจะมีจํานวนสมาชิกเท่ากันเสมอ 9. สมาชิกของ P(A) คือสับเซตทุกแบบของ A


แต่เซตที่มีจํานวนสมาชิกเท่ากันไม่จําเป็นต้องเท่ากัน ดังนั้น P(A) มีสมาชิก 2n(A) ตัวเสมอ
2. ภายในเซตอาจมีสมาชิกเป็นคู่อันดับหรือเซต 10. ถ้าไม่ทราบข้อมูลชัดเจนต้องเขียนแผนภาพเซตให้มีสมาชิก
ต้องนับแต่ละคูอ่ ันดับหรือเซตเป็นสมาชิก 1 ตัว ร่วมกันก่อน แล้วจึงอาศัยข้อมูลต่างๆ เพื่อทราบจํานวนสมาชิกในแต่
3. เซตว่างต้องเป็น { } หรือ  เท่านั้น ละส่วน ซึ่งอาจพบว่าบางส่วนไม่มีสมาชิกก็เป็นได้
ถ้าเป็น {} จะไม่ใช่เซตว่าง 11. เซต A  B เทียบได้กับ “อยู่ใน A หรือ B”
4. เซตว่างเป็นเซตจํากัด เซต A  B เทียบได้กบั “อยู่ใน A และ B”
5. เซตว่างเป็นสับเซตที่เล็กที่สุดของทุกเซต เซต B  A เทียบได้กบั “อยู่ใน B แต่ไม่อยู่ใน A” นั่นคือ B  A'
และเซตทุกเซตเป็นสับเซตที่ใหญ่ที่สุดของตัวเอง 12. เซต A  B ประกอบจาก 3 ชิ้นส่วนไม่ซ้อนทับกัน
6. ทุกเซตมีสับเซตเสมอ แม้แต่  ก็มีสับเซต 1 แบบคือ  ได้แก่ A  B , B  A และ A  B
7. ข้อความ {, , }  A 13. ค่าของ n (B  A) คิดจาก n (B)  n (A  B)
แปลว่า   A และ   A และ   A 14. ถ้าทราบว่า A  B   ไม่จําเป็นที่ A  B เสมอไป
8. ข้อความ {, , }  P (A) แปลว่า {, , }  A แต่จะสรุปได้ว่า A  B

บทที่ 2 ระบบจํานวนจริง
1. จํานวนนับหมายถึงจํานวนเต็มบวก และต้องไม่มี 0 อยู่ในนั้น 12. สําหรับอสมการใดๆ
2. “เศษส่วนของจํานวนเต็ม” และ “ทศนิยมซ้ํา” 12.1 การย้ายข้างไปคูณหรือหาร ถ้าจํานวนที่ยา้ ยมีค่าติดลบ
จะแปลงไปมาได้เสมอ เรียกว่าจํานวนตรรกยะ ต้องพลิกเครื่องหมาย
3. จํานวนซึ่งไม่ใช่จํานวนจริง ได้แก่ รากที่คู่ของจํานวนติดลบ 12.2 การยกกําลังสองทั้งสองข้าง ทําได้เมื่อเป็นบวกทั้งสองข้าง
และเศษส่วนที่มีตัวส่วนเป็น 0 หรือติดลบทั้งสองข้าง โดยกรณีติดลบต้องพลิกเครื่องหมาย
4. 0, 1, –1 ไม่ใช่ทั้งจํานวนเฉพาะและจํานวนประกอบ 13. การแก้อสมการพหุนาม
5. การดําเนินการใดจะมีอินเวอร์สได้ต้องมีเอกลักษณ์ก่อน 13.1 เมื่อพบตัวประกอบที่เป็นพจน์กําลังสองแยกไม่ได้ (รูตติดลบ)
และจะมีเอกลักษณ์ได้ตอ้ งมีสมบัติการสลับที่ก่อน ละทิ้งพจน์นั้นได้ทันที
6. เมื่อหาร P(x) ด้วย x–c จะเหลือเศษ P(c) ซึ่งอาจติดลบก็ได้ 13.2 เมื่อพบตัวประกอบซ้ํากัน ถ้าซ้ําจํานวนครั้งคู่ให้เขียน 2 จุด
7. “รากของสมการ” แปลว่าคําตอบของสมการ ซ้ําจํานวนครั้งคี่ให้เขียน 1 จุด
และไม่เกี่ยวกับการถอดรูต 14. สมการหรืออสมการพหุนามที่เป็นเศษส่วน
8. สําหรับสมการใดๆ 14.1 สมการ ย้ายข้างคูณไขว้ได้ทันที แต่มีเงื่อนไขตัวส่วนห้ามเป็น 0
8.1 การย้ายข้างไปหาร หรือตัดตัวคูณทิ้งทั้งสองข้าง 14.2 อสมการ ไม่ควรคูณไขว้ แต่ให้ย้ายข้างมาบวกลบ
ตัวหารหรือตัวคูณที่ถูกตัดจะต้องไม่ใช่ 0 แล้วรวมเศษส่วนกัน
8.2 การตัดกําลังสองออกทั้งสองข้างจะสรุปผล 2 กรณีเสมอ 15. a  b และ b  a ใช้แทนกันได้เสมอ
คือสองข้างเท่ากันหรือเป็นติดลบของกันและกัน 16. ค่าสัมบูรณ์กระจายได้เฉพาะการคูณหาร กระจายบวกลบไม่ได้
9. สมการกําลังสอง ถ้าใช้สูตรแล้วพบว่าในรูตเป็นบวก  a , เมื่อ n เป็นจํานวนคู่
จะมี 2 คําตอบ ถ้าพบว่าในรูตเป็น 0 จะเหลือเพียง 1 คําตอบ 17. n
an  
 a , เมื่อ n เป็นจํานวนคี่
และถ้าพบว่าในรูตมีค่าติดลบ จะไม่มีคําตอบที่เป็นจํานวนจริง
10. ปลายเส้นจํานวน  และ  เป็นช่วงเปิด 18. คําว่า “n หาร m” (หรือ “n ไปหาร m”) หมายถึง “m หารด้วย
นั่นคือ R  (, ) n” นั่นคือ m/n
11. เมื่อช่วงบนเส้นจํานวนแยกเป็นหลายช่วง เขียนเชื่อมด้วยยูเนียน

บทที่ 3 ตรรกศาสตร์
1. “และ” T  p  p , F  p  F , p  p  p , p  ~ p  F 7.2 “ก็ต่อเมื่อ” ควรใช้วิธีตรวจสอบความสมมูลของฝั่งซ้ายและขวา
2. “หรือ” T  p  T , F  p  p , p  p  p , p  ~ p  T 8. การตรวจสอบความสมเหตุสมผล ถ้าใช้วิธีเทียบกับรูปแบบทีพ่ บ
3. “ถ้า..แล้ว” T  p  p , F  p  T , p  T  T , บ่อยแล้วผลที่ได้ไม่ตรงกับในโจทย์ จะสรุปว่าไม่สมเหตุสมผลทันที
p  F  ~p , p  p  T , p  ~ p  ~p
ไม่ได้ ต้องกลับไปใช้วิธีตรวจสอบสัจนิรันดร์แทน
9. ถ้า x [...] เป็นจริง x [...] ย่อมเป็นจริงเสมอ และถ้า x [...]
4. “ก็ต่อเมื่อ” T  p  p , F  p  ~ p , p  p  T , p  ~ p  F
เป็นเท็จ x [...] ย่อมเป็นเท็จเสมอ แต่ในทางกลับกันนั้นไม่จําเป็น
5. “และ” “หรือ” “ก็ต่อเมื่อ” มีสมบัติการสลับที่
แต่ “ถ้า..แล้ว” ไม่สามารถสลับที่ได้ 10. แจกแจงตัวบ่งปริมาณได้ 2 แบบนี้เท่านั้น
x [P (x)  Q (x)]  x [P (x)]  x [Q (x)]
6. “และ” เทียบได้กับอินเตอร์เซกชัน, “หรือ” เทียบได้กับยูเนียน, x [P (x)  Q (x)]  x [P (x)]  x [Q (x)]
“นิเสธ” เทียบได้กับคอมพลีเมนต์
7. การตรวจสอบสัจนิรันดร์ ถ้าตัวเชื่อมหลักเป็น 11. การให้เหตุผลแบบนิรนัย ภายใต้เหตุที่ให้มานั้น ข้อสรุปที่
7.1 “หรือ”, “ถ้า..แล้ว” ควรใช้วิธีหากรณีที่เป็นเท็จ สมเหตุสมผลไม่จําเป็นต้องเกิดขึ้นจริงบนโลก ส่วนข้อสรุปที่ตรงกับ
ความจริงบนโลกก็อาจไม่สมเหตุสมผลได้
บทที่ 4 เรขาคณิตวิเคราะห์
1. เส้นมัธยฐานเชื่อมระหว่างจุดยอดของสามเหลี่ยมกับจุดกึ่งกลาง 5. วงกลมคือเซตของคู่อันดับที่อยู่ห่างจากจุดศูนย์กลางเป็นระยะคงที่
ด้านตรงข้าม ไม่จําเป็นต้องตั้งฉาก จุดตัดของเส้นมัธยฐานจะแบ่ง ระยะนั้นคือรัศมี
ความยาวแต่ละเส้นเป็นอัตราส่วน 1 : 2 6. เส้นสัมผัสวงกลม จะตั้งฉากกับรัศมีที่เชื่อมจุดศูนย์กลางกับจุด
2. สมการเส้นตรง A x  B y  C  0 จัดรูปได้ดังนี้ สัมผัสนั้นเสมอ
2.1 y  y1  m (x  x1) (ความชัน, จุด) 7. พาราโบลาคือเซตของคู่อันดับที่มีระยะไปถึงจุดโฟกัสเท่ากับระยะ
2.2 y  m x  b (ความชัน, ระยะตัด) ไปถึงเส้นไดเรกตริกซ์
8. วงรีคือเซตของคู่อันดับที่ผลบวกระยะไปยังจุดโฟกัสทั้งสองมี
2.3 x  y  1 (ระยะตัด, ระยะตัด) ค่าคงที่ (เท่าความยาวแกนเอก 2a)
a b
3. ตําแหน่งโพรเจกชันของจุด P บนเส้นตรง L หาได้โดยสร้าง 9. เลตัสเรกตัมแสดงความกว้างกราฟ ณ ตําแหน่งโฟกัส
สมการเส้นตรงที่ผ่านจุด P และตั้งฉากกับ L แล้วแก้หาจุดตัดของ เลตัสเรกตัมของพาราโบลายาว |4c| และของวงรียาว 2b2 / a
เส้นตรงทั้งสอง 10. ไฮเพอร์โบลาคือเซตของคู่อันดับที่ผลต่างระยะไปยังจุดโฟกัสทั้ง
4. พื้นฐานการเขียนกราฟ หากมีทั้งบวกลบและคูณหาร ต้องจัด สองมีค่าคงที่ (เท่าความยาวแกนตามขวาง 2a)
สมการให้บวกลบกระทํากับตัวแปรโดยตรงในวงเล็บ แล้วจึงคูณหาร 11. วงรี a  b เสมอ จํานวนที่มีค่ามากกว่าจะเป็น a (แกนเอก)
นอกวงเล็บ แต่ไฮเพอร์โบลา a มากกว่าหรือน้อยกว่า b ก็ได้ ให้ดูว่าพจน์ใด
4.1 เมื่อมีค่าคงที่มาบวกลบ จะเกิดการเลื่อนแกนทางขนาน เครื่องหมายบวกจะอ้อมแกนนั้น
4.2 มีค่าคงที่ที่เป็นบวกมาคูณหาร จะเกิดการปรับขนาดทางแกนนั้น 12. เส้นกํากับสองเส้นแสดงความบานของไฮเพอร์โบลา สร้างสมการ
4.3 มีคา่ คงที่ตดิ ลบมาคูณหาร จะทั้งปรับขนาดและพลิกรูปกราฟ ได้จากความชัน  b/a หรือ  a/b กับจุดที่ผ่านคือจุด (h,k)
13. ถ้า a  b เส้นกํากับจะตั้งฉากกัน เรียกว่าไฮเพอร์โบลามุมฉาก

บทที่ 5 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
1. โดยทั่วไป A  B  B  A 6.2 ถ้ามีรากที่คู่ a  n b จะมีเงื่อนไข a > 0 และ b > 0
แต่ n (A  B)  n (B  A)  n (A)  n (B) เสมอ 6.3 ถ้ามียกกําลังคู่ a  b n จะมีเงื่อนไข a > 0
2. เซตว่างถือเป็นความสัมพันธ์แบบหนึ่ง 6.4 ถ้ามีค่าสัมบูรณ์ a  b จะมีเงื่อนไข a > 0
3. การเป็นฟังก์ชันห้ามใช้สมาชิกตัวหน้าซ้ํา แต่สามารถใช้สมาชิกตัว 7. f  1()   แปลงได้เป็น f ()  
หลังซ้ําได้ ซึ่งถ้าสมาชิกตัวหลังไม่ซ้ําด้วยถือเป็นฟังก์ชันหนึ่งต่อหนึ่ง 8. (f  g)1  g1  f 1
4. กราฟทุกกราฟจัดเป็นความสัมพันธ์ ถ้าลากเส้นแนวตั้งตัดกราฟ 9. โดเมนและเรนจ์ของ (g  f)(x)
ไม่เกิน 1 จุดถือเป็นฟังก์ชัน และถ้าลากเส้นแนวนอนตัดกราฟ
ไม่เกิน 1 จุดถือเป็นฟังก์ชันหนึ่งต่อหนึ่ง ให้เขียน g ของ f(x) ติดไว้ก่อนโดยยังไม่ต้องแทน x
5. ความสัมพันธ์จาก A ไป B จะต้อง Dr  A และ Rr  B 9.1 หา Dgof ให้พิจารณาจาก g ว่า f(x) สามารถเป็นค่า
ฟังก์ชันจาก A ไป B คือฟังก์ชนั ซึ่ง Df  A และ Rf  B เท่าใดได้บ้าง แล้วจึงย้อนไปคิดเป็นค่า x
9.2 หา Rgof ให้หาเรนจ์ของ f(x) ก่อนว่าเป็นเท่าใดได้บ้าง
ฟังก์ชันจาก A ไปทั่วถึง B คือฟังก์ชันซึ่ง Df  A และ Rf  B
6. โดเมนและเรนจ์ของความสัมพันธ์ซึ่งเป็นสมการ แล้วนํามาใส่ลงใน g เพื่อเป็นผลลัพธ์
6.1 ถ้ามีการหารในรูป a  b จะมีเงื่อนไข c  0
c

บทที่ 6 เมทริกซ์
1. เมทริกซ์ 0 (เอกลักษณ์การบวก) เป็นจัตุรัสหรือไม่ก็ได้ 7.4 ใส่ det ทั้งสองข้างได้เสมอ แต่ตัดออกทั้งสองข้างมักจะไม่ได้
แต่เมทริกซ์ I (เอกลักษณ์การคูณ) ต้องเป็นจัตุรัส 8. การคํานวณเกี่ยวกับ adj A ที่พบบ่อย
2. การบวกและคูณเมทริกซ์ มีสมบัติเหมือนจํานวนจริง ได้แก่ 1
det (A)  I  A (adj A) adj (A 1)  A
สลับที่ เปลี่ยนกลุ่ม เอกลักษณ์ อินเวอร์ส และแจกแจง det (A)
ยกเว้นการสลับที่การคูณ (AB ไม่จําเป็นต้องเท่ากับ BA) det (adj A)  (det (A))n  1
3. ถ้า AB  0 แล้ว ไม่จําเป็นที่ A หรือ B ต้องเป็น 0 9. การดําเนินการตามแถว ทําให้เป็น I อย่างรวดเร็วโดย
4. (AB)t  BtAt และ (AB)1  B1A1 เสมอ ทําสมาชิกเป็น 0 ทีละสามเหลี่ยม
5. det (kA)  kn  det (A) เมื่อ n คือจํานวนแถว 10. การดําเนินการตามแถวส่งผลต่อค่า det ดังนี้
6. เมทริกซ์ที่มีอินเวอร์สการคูณต้องเป็นเมทริกซ์ไม่เอกฐาน 10.1 นําค่าคงที่ k ที่ไม่ใช่ 0 ไปคูณไว้แถวหนึ่ง
( det  0 ) จะได้ det ใหม่  k  detเก่า
7. ข้อควรระวังในสมการเมทริกซ์ 10.2 นําค่าคงที่ k ไปคูณแถวหนึ่งแล้วไปบวกไว้แถวอื่น
7.1 การย้ายข้างตัวคูณไปเป็นอินเวอร์สอีกฝั่ง ต้องคํานึงลําดับด้วย จะได้ detใหม่  detเก่า
7.2 ถ้าย้ายข้างเมทริกซ์ไปเป็นอินเวอร์สจนหมด ต้องคงเหลือ I ไว้ 10.3 สลับแถวคู่หนึ่ง จะได้ detใหม่   detเก่า
7.3 คูณเข้าทั้งสองข้างได้เสมอ แต่ตัดออกทั้งสองข้างอาจจะไม่ได้

You might also like