You are on page 1of 3

Physics By Kru Jittakorn 1 แรงและกฎนิวตัน

แรงดึงดูดระหว่ างมวลของนิวตัน
นิวตันเสนอกฎแรงดึงดูดระหว่างมวลได้ วา่ "วัตถุทงั่ หลายในเอกภพจะออกแรงดึงดูดซึง่ กันและกัน
โดยขนาดของแรงดึงดูดระหว่างวัตถุคู่หนึง่ ๆจะแปรผันตรงกับผลคูณระหว่างมาลวัตถุที่สองและจะ
แปรผกผันกับกาลังสองชองระยะทางระหว่างวัตถุทงสองนั
ั้ น่ "

รูป 1
ตามกฎแรงดึงดูดระหว่างมวลที่นิวตันเสนอ พิจารณาจากรูป 1 เราจะสามารถเขียนได้ วา่
Gm1m2
FG  …………. ( 1 )
R2
เมื่อ m1 และ m2 เป็ นมวลของวัตถุแต่ละก้ อน มีหน่วยเป็ น กิโลกรัม
R เป็ นระยะระหว่างมวล m1 กับm2 มีหน่วยเป็ น เมตร
G เป็ นค่าคงตัวความโน้ มถ่วงสากล เท่ากับ 6.673  10-11 นิวตัน – เมตรต่อกิโลกรัม2
FG เป็ นแรงดึงดูดระหว่างมวล m1 กับm2 มีหน่วยเป็ น นิวตัน
แรง FG ตามกฎของนิวตันมีความหมายว่า เป็ นแรงดูดอย่างเดียวไม่มีแรงผลัก และเป็ นแรง
กระทาร่วม กล่าวคือมวล m1 และ m2 ต่างฝ่ ายต่างดูดซึง่ กันcละกันด้ วยแรงขนาด ตามสมการ (1 )แต่
ทิศทางตรงข้ ามกัน ไม่มีใครดูดใครมากกว่าใคร
ก. มวลของโลก

รูป 2
จากรูป 2 วัตถุมวล m อยูท่ ี่ผิวโลกซึง่ มีมวล me มีรัศมี Re วัตถุและโลกต่างดูดซึง่ กันและกัน
ด้ วยแรง Fe มีคา่ เป็ น
Gme m
FG  ………..(2)
R 2e
Physics By Kru Jittakorn 2 แรงและกฎนิวตัน

แรงที่วตั ถุและโลกต่างดูดซึง่ กันและกันนี ้แท้ จริ งคือน ้าหนักของวัตถุนนั่ เอง ดังนันถ้


้ า g เป็ น
อัตราเร่งโน้ มถ่วงที่ผิวโลกจากสมการ (2) จะเขียนใหม่ได้ เป็ น
Gm e m
mg  ………..(2)
R 2e
gR e 2
me  ………..(3)
G
สมการ 3 เป็ นสมการที่แสดงค่ามวลของโลก ซึว่ ถ้ าททราบรัศมีของโลกเราจะสามารถ
คานวณมวลของโลกได้ สมมติถ้ารัศมีของลกเท่ากับ 6.38 102 เมตร จะได้ มวลของโลก meเท่ากับ
(9.8)(6.3  106 )2
me =
6.67  1011
 me = 5.98  10 4 kg ……(4)

ข.ความเร่ งเนื่องจากความโน้ มถ่ วง ณ ตาแหน่ งห่ างจากโลก ในการ


พิจารณามวลของโลก เราจะไม่ได้ สมการ(2) ถ้ าเราตัดมวล m ทังสองข้
้ างจะได้

Gme
g = ………….(5)
R e2

จากสมการ (5) จะเห็นว่า ค่า g ซึง่ เป็ นค่าความเร่งเนื่องจากแรงโน้ มถ่วง จะมีคา่ ขึ ้นกับรัศมี
โลก Re หรื ออาจกล่าวให้ ชดั เจนขึ ้นว่า g ขึ ้นกับระยะทางห่างจากโลกออกไป กล่าวคือ g จากเมื่อระยะทาง
น้ อย และ g จะน้ อยเมื่อระยะทางงมาก หรื อกล่าวสรุปว่า g แปรผันกับระยะห่างจากจุดศูนย์กลางของโลก
ยกกาลังสอง
ค. ความเร่ งเนื่องจากแรงโน้ มถ่ วง ณ ตาแหน่ งลึกลงไปใต้ ผิวโลก
ในกรณีที่พิจารณา g ที่ตาแหน่งลึกลงไปใต้ ผิวโลกจะพบว่า g แปรผันโดยตรงกับระยะจากศูนย์กลางของ
โลกถึงตาแหน่งที่พิจารณา และมีคา่ เป็ นศูนย์ที่จุดศูนย์กลางของโลก โดยจะได้

g = 4 G  R ………….(6)
3

เมื่อ  เป็ นความหนาแน่นของโลก และ R เป็ นระยะจากศูนย์กลางโลกถึงตาแหน่งพิจารณา


Physics By Kru Jittakorn 3 แรงและกฎนิวตัน

แบบฝึ กหัดเรื่องแรงดดึงดูดระหว่ างมวล


1. ดาว A มีมวล 6 x 1020 กิโลกรัม มียานอวกาศมวล 5 x 102 กิโลกรัม โคจรอยูร่ อบเป็ นวงกลมรัศมี 5x107
กิโลเมตร ดาว A จะมีแรงดึงดูดยานอวกาศนี ้เท่าใด
วิธีทา

2. จงหาค่าความเร่งเนื่องจากแรงโน้ มถ่วงของโลก ณ.จุดที่หา่ งจากใจกลางโลก 10000 กิโล-เมตร กาหนด


มวลโลก = 6 x 1024 กิโลกรัม
วิธีทา

3. ดาวเทียมดวงหนึง่ ถูกส่งขึ ้นไปโคจรห่างจากผิวโลกเป็ น 2 เท่าของรัศมีโลก ดาวเทียมดวงนี ้ จะมีคา่


ความเร่งเนื่องจากสนามความโน้ มถ่วงเป็ นเท่าใด ( กาหนด ความเร่งที่ผิวโลก = g )
วิธีทา

4. ดาวเคราะห์ดวงหนึง่ มีมวลมากกว่าโลก 2 เท่า แต่มีรัศมีเป็ นครึ่งหนึง่ ของโลก จงหาค่าความเร่งเนื่องจาก


ความโน้ มถ่วงที่ผิวของดาวเคราะห์ดวงนัน้ ( กาหนด ความเร่งที่ผิวโลก = g )
วิธีทา

5. ถ้ ามวลของดวงจันทร์ เป็ น 1/80 เท่าของโลก และรัศมีเป็ น 1/4 เท่าของรัศมีโลกให้ มวลโลกเป็ น M และ


รัศมีโลกเป็ น R G เป็ นค่านิจความโน้ มถ่วงสากล วัตถุที่ตกอย่างอิสระบนดวงจันทร์ จะมีความเร่งเท่าใด (g
คือ ความเร่งที่ผิวโลก)

You might also like