You are on page 1of 30

อินทรียวัตถุในดิน

(Soil Organic Matter)


อินทรียวัตถุในดิน
ฮิวมัส

- ซากพืชหรื อสัตว์ที่กำลังสลายตัว
- จุลินทรี ยท์ ้ งั ที่มีชีวติ และไม่มีชีวติ
- สารอินทรี ยท์ ี่ได้จากการย่อยสลายหรื อถูกสังเคราะห์ข้ึนมา
ใหม่โดยจุลินทรี ย ์
* ไม่รวมรากพืช ซากพืชซากสัตว์ที่ยงั ไม่ยอ่ ยสลาย
สั ดส่ วนโดยปริมาตรขององค์ ประกอบดิน

น้ำ 25
%
อนินทรีย์ 45 %
อากาศ 25 %

อินทรีย์ 5 %
อินทรี ยวัตถุประกอบด้วยธาตุหลายชนิด ที่ สำคัญที่สุดคือ

คาร์บอน
ไฮโดรเจน
ออกซิเจน
ไนโตรเจน
ฟอสฟรอรัส
กำมะถัน
อินทรียวัตถุแบ่ งออกเป็ น 2 ส่ วนใหญ่ ๆ

1. สารฮิวมิก (humic substance)


2. สารที่ไม่ใช่สารฮิวมิก (nonhumic substance)
ส่ วนทีไ่ ม่ ใช่ สารฮิวมิก
- โครงสร้างไม่ซบั ซ้อน
- ง่ายต่อการย่อยสลาย

ตัวอย่าง เช่น คาร์โบไฮเดรต ไขมัน โปรตีน กรดอะมิโน


สารฮิวมิก
- มีโครงสร้างซับซ้อน รู ปร่ างไม่แน่นอน
- มี aromatic compound เป็ นแกนหลัก
- ยากต่อการสลาย
- มีสีน ้ำตาล น้ำตาลปนดำ
- มีสมบัติเป็ นสารคอลลอยด์
เส้นผ่าศูนย์กลาง ≈ 30 – 100 A°
อินทรียวัตถุ (ฮิวมัส)

สารฮิวมิก ไม่ ใช่ สารฮิวมิก


ละลายด้วย NaOH

ฮิวมิน ละลาย
(ไม่ละลาย) ปรับ pH ให้เป็ นกรด

กรดฮิวมิก กรดฟลูวกิ
(ตกตะกอน) (อยูใ่ นสารละลาย)
กรดฟลูวกิ
- โครงสร้างไม่ซบั ซ้อน
- โมเลกุลขนาดเล็ก
- ย่อยสลายได้ง่าย
กรดฮิวมิก
- โครงสร้างสลับซับซ้อน
- โมเลกุลใหญ่
- ย่อยสลายได้ยาก
ฮิวมิน
- เป็ นส่ วนของกรดฟิ ววิค และฮิวมิกหรื อสารอินทรี ยอ์ ื่นที่ติดยึด
กับสารประกอบอนินทรี ยใ์ นดิน หรื อแร่ ดินเหนียว
- สลายตัวได้ยาก
คุณสมบัตขิ องอินทรียวัตถุ

สี
- สี น ้ำตาลถึงดำ ดูดรังสี ความร้อนได้ดี

การดูดซับน้ำและสารอื่น
- น้ำ 6 – 20 เท่าของน้ำหนัก
- ยึดเกาะกับอนุภาคดินได้ดี เช่น ดินเหนียว
- ดูดซับไอออนได้สูงกว่าดิน 2 – 30 เท่า
ความต้านทานต่อการเปลี่ยนแปลง pH

มีความสามารถดูดซับแคตไอออนได้สูง จึงทำให้มีความต้านทาน
ต่อการเปลี่ยนแปลง pH ได้สูง

ความสามารถดูดซับแคตไอออน
ประโยชน์ ของอินทรียวัตถุ (ต่ อ)

ทำให้เกิดโครงสร้างในดิน
- เพราะช่วยเชื่อมอนุภาคของดิน

ทำให้ดินอุม้ น้ำและการซึมน้ำได้ดีข้ ึน
- เพราะตัวอินทรี ยวัตถุเอง
- เพราะโครงสร้างของดิน
ประโยชน์ ของอินทรียวัตถุ (ต่ อ)

ธาตุอาหารพืช
- N, P, S และอื่นๆ
- กรดอินทรี ยจ์ ากอินทรี ยวัตถุไปช่วยย่อยสลายธาตุในหิ นและแร่
- สารคีเลตที่ได้จากอินทรี ยวัตถุช่วยทำให้จุลธาตเป็ นประโยชน์กบั พืช

สารคีเลต
เป็ นสารอินทรีย์ ทีย่ ดึ Cation บางชนิดไว้ ไม่ ให้ ไปทำปฏิกริ ิยากับ
Ion หรือสารอืน่ ที่ทำให้ เกิดการตกตะกอน
ขั้นตอนการสลายตัวของซากพืชซากสัตว์

- สัตว์ขนาดใหญ่ กัดกิน ทำให้มีขนาดเล็กลง


- จุลินทรี ย ์ ย่อยสลาย-แปรสภาพ
การย่อยสลายของจุลินทรี ย ์
- ปล่อยเอนไซม์ออกมานอกเซลล์ (extracellular enzyme)
- ย่อยให้มีขนาดเล็กเพื่อดูดเข้าไปเป็ นอาหาร และพลังงาน

เศษซากสิ่ งมีชีวติ CO2 + H2O + แร่ ธาตุ + เซลล์จุลินทรี ย ์ +


สารที่จุลินทรี ยผ์ ลิต + สารฮิวมิก
ปัจจัยทีม่ ผี ลต่ อการย่ อยสลาย
1. องค์ ประกอบของสารอินทรีย์ในซากพืช
-โปรตีน ย่อยสลายง่าย
- คาร์โบไฮเดรท
- ไขมัน
- ลิกนิน ย่อยสลายได้ยาก
2. อัตราส่ วนของคาร์ บอนกับไนโตรเจน
C : N สูงย่อยสลายได้ยากกว่า C : N ต่ำ
ชนิดของสารประกอบ C:N
ขี้เลื่อย 200 – 400
ฟางข้าว 80 – 125
ต้นข้าวโพด 60
ปุ๋ ยหมัก 15 – 20
จุลินทรี ย ์ 5 – 15
3. สภาพแวดล้ อม
3.1 การระบายอากาศ
- ในสภาพที่มี O2 สู ง จะย่อยสลายไดเร็ วที่สุด
- ในสภาพที่ขาด O2 ก็สามารถย่อยสลายได้ แต่ชา้
3.2 ความชื้น
- ความชื้นที่พอเหมาะ ศักย์น ้ำ ≈ - 0.01 – 0.05 M Pa
- ถ้าความชื้นมากจะขาด O2
- ถ้าต่ำจุลินทรี ยจ์ ะทำงานได้ชา้
- การทำงานของ Enzyme
- การได้อาหารของจุลินทรี ย ์
- การเคลื่อนที่ของจุลินทรี ย ์
3.3 อุณหภูมิ
- เหมาะสม 25° - 35°c

3.4 pH ของดิน
- pH เป็ นกลางการสลายตัวได้เร็ วที่สุด
ปัจจัยทีม่ อี ทิ ธิพลต่ ออินทรียวัตถุในดิน
1. ชนิดของพืชพรรณ
- ทุ่งหญ้า
- ป่ าไม้
- พืชปลูก
2. ภูมิอากาศ
- อุณหภูมิ
- ฝน
3. สมบัติของดิน
- เนื้อดิน
- pH

ความสัมพันธ์ระหว่างอินทรี ยวัตถุกบั เนื้อดิน

ดินเนื้อละเอียดมักจะมีวตั ถุมากกว่าดินเนื้อหยาบ
4. ระบบการเกษตร
- การไถพรวน
- การให้น ้ำชลประทาน
4. ระบบการเกษตร (ต่อ)
- การเอาผลผลิต + ซากพืชออกไป
- การเผาฟาง
- การปกคุมผิวหน้าดิน
การจัดการดินเพือ่ เพิม่ อินทรียวัตถุ
- การลดการชะล้ างหน้ าดิน
- ลดการไถพรวน
- เอาผลผลิตออก เท่ าที่จำเป็ น
- ไม่ เผาฟาง
การจัดการดินเพือ่ เพิม่ อินทรียวัตถุ(ต่ อ)
- ใส่ ปุ๋ยอินทรี ย ์
ปุ๋ ยคอก
ปุ๋ ยหมัก
ปุ๋ ยพืชสด
- การใช้ปุ๋ยเคมีให้เหมาะสม
% อินทรียวัตถุ การจำแนกระดับอินทรียวัตถุ

< 0.5 ต่ำมาก


0.5-1.0 ต่ำ
1.0-1.5 ค่ อนข้ างต่ำ
1.5-2.5 ปานกลาง
2.5-3.5 ค่ อนข้ างสู ง
3.5-4.5 สู ง
> 4.5 สู งมาก

You might also like