You are on page 1of 39

การปรับปรุงพันธุพ์ ชื ให้ตา้ นทานต่อโรคและแมลง

Breeding for Pest Resistance


Breeding for Pest Resistance
การปรับปรุงพันธุพ์ ชื เพือ่ ต้านทานโรคและแมลง
Host vs. Nonhost Resistance (Fristensky, online)

Nonhost resistance พืชส่วนใหญ่จะต้านทานต่อศัตรูพชื ส่วนใหญ่


โดยการเข้าทำลายของศัตรูพชื ถือเป็ นข้อยกเว้น พืชที่ไม่ใช่พชื อาศัย (nonhosts) จะไม่
ถูกทำลายโดยศัตรูพชื ชนิ ดนั้น ๆ และมีความต้านทานที่เรียกว่า nonhost resistance

(Fristensky, online)
Breeding for Pest Resistance
การปรับปรุงพันธุพ์ ชื เพือ่ ต้านทานโรคและแมลง

Host vs. Nonhost Resistance


Host resistance ศัตรูพชื ชนิ ดนั้น ๆ สามารถเข้าทำลายพืชชนิ ดนี้
ได้ แต่มีพชื บางพันธุ/์ genotypes ที่ตา้ นทานต่อศัตรูพชื นี้ บางครัง้ เรียกว่า
true resistance
(Bellotti et al., online)
Resistance

Whitefly susceptible
Breeding for Pest Resistance
การปรับปรุงพันธุพ์ ชื เพือ่ ต้านทานโรคและแมลง

Host Resistance

ความต้านทานของพืขอาศัย หมายถึงลักษณะทางพันธุกรรมของพืช
อาศัยที่ลดผลกระทบจากการเข้าทำลายของศัตรูพชื

Biffen (1905) การต้านทานโรคของพืชควบคุมโดยยีน


Henry (1920) ผสมระหว่างป่ านพันธุต์ ่าง ๆ แสดงให้เห็นว่า
การต้านทานโรคของพืชควบคุมโดยยีน ซึ่งมีการแยกตัวตามกฎ
ของเมนเดล
Breeding for Pest Resistance
การปรับปรุงพันธุพ์ ชื เพือ่ ต้านทานโรคและแมลง
Breeding for Pest Resistance
การปรับปรุงพันธุพ์ ชื เพือ่ ต้านทานโรคและแมลง

หลักการ * การนำพันธุต์ า้ นทานมาใช้ในการควบคุมโรคพืช


ไส้เดือนฝอย และแมลงเป็ นการควบคุมศัตรูพชื โดย
ชีววิธีท่สำ
ี คัญ
* การพัฒนาสายพันธุต์ า้ นทานจะต้องคำนึ งถึงความ
ปรวนแปรทางพันธุกรรมของทัง้ พืชและศัตรูพชื
เนื่ องจากอาจมีการแพร่ระบาดของศัตรูพชื
genotype(s) ใหม่ ๆ ที่เข้าทำลายพันธุต ์ า้ นทานเหล่านี้ ได้
Breeding for Pest Resistance
การปรับปรุงพันธุพ์ ชื เพือ่ ต้านทานโรคและแมลง

หลักการ
* การปรับปรุงพันธุพ์ ชื เพือ่ ต้านทานโรคและแมลงเป็ นกระบวนการ
ที่ต่อเนื่ อง มีการนำยีนต้านทานโรค/แมลงใหม่ ๆ มาใช้อย่าง
สม่ำเสมอ
ชนิ ดของการต้านทาน
1. การต้านทานแบบแนวตัง้ (Vertical
resistance) มีลกั ษณะต้านทานหรือไม่
ต้านทานที่ชดั เจน

* การต้านทานแบบจำเพาะ (Specific resistance)


พืชมีการต้านทานจำเพาะต่อศัตรูชนิ ดหนึ่ งหรือ สายพันธุห์ นึ่ ง
ชนิ ดของการต้านทาน
* การต้านทานโดยยีน 1 คู่ หรือน้อยคู่
(Monogenic or oligogenic resistance)

เป็ นลักษณะคุณภาพ

* การต้านทานที่ควบคุมโดยยีนหลัก
(Major gene resistance) ควบคุมโดยยีนคู่เดียวหรือ
น้อยคู่ ส่วนมาก เป็ นลักษณะข่ม (dominance)
ชนิ ดของการต้านทาน

Vertical – “All or None”


ชนิ ดของการต้านทาน
1. การต้านทานแบบแนวตัง้ (Vertical resistance)

ข้อดีและข้อเสีย
ข้อดี
1. คัดเลือกง่าย
2. นำมาใช้ปรับปรุงพันธุพ์ ชื ได้สะดวก
ชนิ ดของการต้านทาน
1. การต้านทานแบบแนวตัง้ (Vertical resistance)

ข้อดีและข้อเสีย
ข้อเสีย
1. มักมีอายุจำกัด ต้องค้นหายีนต้านทาน
ใหม่ ๆ จากแหล่งรวบรวมพันธุพ์ ชื
แหล่งกำเนิ ดของพืช หรือใช้การกลายพันธุ ์
ชนิ ดของการต้านทาน
2. การต้านทานแบบแนวนอน (Horizontal resistance)
สามารถต้านทานศัตรูได้หลายสายพันธุ ์ แต่อตั ราการต้านทานอาจไม่
สูงเหมือนแบบแนวตัง้

* การต้านทานแบบไม่จำเพาะ (Non-specific resistance)


ต้านทานทุกสายพันธุ ์ มากบ้างน้อยบ้าง
ชนิ ดของการต้านทาน
2. การต้านทานแบบแนวนอน (Horizontal resistance)
* การต้านทานแบบทัว่ ไป (General resistance) มักไม่ปรากฏวิธีการ
ต้านทานที่ชดั เจน แต่ทำให้โรคพัฒนาช้าลง เช่น ผลิตสปอร์นอ้ ยลง
แตกต่างจากการต้านทานแบบแนวตัง้ ซึ่งมีปฏิกริ ยิ าตอบโต้โรคที่สงั เกต
ได้ ชัดเจน เช่น เกิดจุดเซลล์ตาย เพือ่ สกัดกัน้ การแพร่ขยายของโรค
ชนิ ดของการต้านทาน
2. การต้านทานแบบแนวนอน (Horizontal resistance)
* การต้านทานที่ควบคุมโดยยีนหลายคู่ (Multigenic or polygenic
resistance) เป็ นลักษณะปริมาณ
ชนิ ดของการต้านทาน

Horizontal Resistance – Graded with Rank Order


ชนิ ดของการต้านทาน
ข้อดีและข้อเสีย
ข้อดี
• คงความต้านทานเป็ นเวลานาน
ข้อเสีย
• ปรับปรุงพันธุย์ าก
พันธุศาสตร์ของปฏิกริ ยิ าระหว่างพืชและโรค

Flor ศึกษาความสัมพันธ์ทางพันธุศาสตร์ระหว่างฝ้ ายกับโรคราสนิ ม


“สำหรับยีนต้านทานแต่ละยีนในพืช จะมียนี ในโรคพืชที่กำหนดว่า
โรคพืชนั้นจะสามารถเข้าทำลายพืช (virulent) หรือไม่
(avirulent)”

web.ku.ac.th/agri
พันธุศาสตร์ของปฏิกริ ยิ าระหว่างพืชและโรค

1. Gene-for-Gene Hypothesis (ยีนต่อยีน)

ยีนต้านทานแต่ละยีน = แม่กญุ แจ เป็ นยีนเด่นคอยป้ องกันโรค โรคพืช


จะเข้าทำลายได้กต็ ่อเมื่อมีลูกกุญแจสำหรับแม่กญุ แจแต่ละดอก หรือพืช
ไม่มีแม่กญุ แจ ลูกกุญแจเป็ นตัวแทนของยีนด้อยที่ทำให้เกิดโรค
พืช โรคพืช
AABBcc aabbCC
aabbcc
พันธุศาสตร์ของปฏิกริ ยิ าระหว่างพืชและโรค

Gene-for-Gene Interaction
ยีนในพืช
Elicitor ยีนในโรคพืช R r
Receptor
A A-R A-r
(ต้านทาน) (อ่อนแอ)
a a-R a-r
(อ่อนแอ) (อ่อนแอ)
A = produce molecule
กลไกการต้านทาน a = not produce molecule
พันธุศาสตร์ของปฏิกริ ยิ าระหว่างพืชและโรค

(Fristensky, online)
พันธุศาสตร์ของปฏิกริ ยิ าระหว่างพืชและโรค

2. ยีนแสดงผลอย่างอิสระ มักเกิดจากการต้านทานโรคที่มียนี
ควบคุมหลายคู่ เช่นการผลิตสารเคมีเพือ่ ต่อสูก้ บั เชื้อโรค

Potato resistance to late blight


พันธุศาสตร์ของปฏิกริ ยิ าระหว่างพืชและโรค

พันธุศาสตร์ของการต้านทานโรค
ผสมพันธุร์ ะหว่างป่ านพันธุ ์ Ottawa 770B (ต้านทาน) และ Bombay
(อ่อนแอ) และปลูกเชื้อโรคราสนิ ม race 24

* มียนี ต้านทานซึ่งเป็ นยีนข่ม


เพียง 1 ยีน
วิธกี ารที่พชื ต้านทานโรค
1. การหนี โรค (Disease escape)
A. การปลูกพืชในแหล่งที่ไม่มีโรค โรคไม่ได้ตดิ ไปกับพืช หรือ
แหล่งใหม่มีสภาพแวดล้อมไม่เหมาะสมสำหรับโรค
B. การไม่มีสอ่ื นำโรค เช่น โรคจากเชื้อไวรัสซึ่งมีแมลงเฉพาะชนิ ด
เป็ นพาหะ
C. การปลูกพืชในช่วงที่โรคไม่ระบาด
D. รูปร่างและสัณฐานของต้นพืชไม่อำนวยต่อการระบาด
ของโรค
พันธุ ์ flag ทื่มีมมุ ใบต่างกัน
(BBSRC, online)
วิธกี ารที่พชื ต้านทานโรค
2. การป้ องกัน การที่พชื ป้ องกันไม่ให้เชื้อโรคเข้าทำลายจากสิง่ กีดขวางที่มีอยู่
แล้ว (pre-existing barriers)
A. สิง่ ป้ องกันทางโครงสร้าง เช่น ปริมาณของ wax และ cuticle
โครงสร้างผนังเซลล์
B. สิง่ ป้ องกันทางเคมี เช่น สารประกอบฟี นอล ที่
เป็ นพิษต่อเชื้อรา และแบคทีเรีย Lectin ซึ่ง
Lectin เป็ นโปรตีนที่สะสมในเมล็ด สามารถยับยัง้ การ
เจริญของเชื้อรา
วิธกี ารที่พชื ต้านทานโรค

3. การต่อต้าน ความต้านทาน (สิง่ กีดขวาง) ที่ถกู กระตุน้ ให้สร้างขึ้นหลังจากได้รบั


เชื้อ (Induced defense)
A. สิง่ กีดขวางทางโครงสร้าง
* การสร้าง lignin เพือ่ เพิม่ ความหนาของผนังเซลล์
* การสร้าง suberin

(Department of Biochemistry, Purdue University, online) (Fristensky, online)


วิธกี ารที่พชื ต้านทานโรค
* การสร้าง cork layer เพือ่ กักบริเวณเกิดโรคไว้
ไม่ให้ได้รบั น้ำและอาหาร

* การทำให้เซลล์พชื ที่อยู่ลอ้ มรอบเซลล์ท่ถี กู เชื้ อเข้าทำลายตายอย่างรวดเร็วเพือ่


ป้ องกันการแพร่กระจายไปยังบริเวณอืน่ (Hypersensitive response; HR)
วิธกี ารที่พชื ต้านทานโรค

B. การต้านทานทางชีวเคมี (Induced biochemical defenses) เช่น


* HR: มีการเกิด oxidative burst ผลิต reactive oxygen species (ROS)
เช่น superoxide (O ), hydrogen peroxide (H O ) ROS สามารถเป็ น
2
-
2 2

พิษต่อเชื้อโรคได้โดยตรง และมีผลทำให้เซลล์พชื ตายได้ นอกจากนี้


H O ยังเป็ น substrate ในขบวนการ oxidative polymerization
2 2

เพือ่ เพิม่ ความแข็งแกร่งของผนังเซลล์ ฯลฯ


วิธวิกี ธารที
ีการที่พพ่ ชื ชื ต้
ต้ าานทานโรค
นทานโรค

* การผลิตสารต่อต้านจุลนิ ทรีย ์ (antimicrobial compounds)


เช่น pathogenesis-related proteins (PR-proteins) ได้แก่
chitinase ซึ่งสามารถย่อย chitin ที่เป็ นส่วนประกอบของผนัง
เซลล์เชื้อรา phytoalexins เป็ นสารที่มีน้ำหนัก
โมเลกุลต่ำ และ เป็ นพิษต่อจุลนิ ทรีย ์
Phytoalexins, phenolics
PAL; PR proteins
(Fristensky, online)

(Fristensky, online)
วิธกี ารที่พชื ต้านทานโรค

4. ความทนทานต่อโรค (Tolerance)
การที่พชื สามารถเจริญเติบโต ให้ผลผลิต
ได้ แม้ว่าพืชจะได้รบั เชื้อในระดับที่
ก่อผล รุนแรงในพันธุท์ ่ไี ม่ทนทาน
การปรับปรุงพันธุพ์ ชื เพือ่ ให้ตา้ นทานโรค
1. แหล่งของความต้านทาน ศูนย์หรือสถาบันวิจยั นานาชาติท่เี ก็บ
รวบรวมพันธุ ์ นักปรับปรุงพันธุ ์ ปลูกตรวจสอบการต้านทานโรคของ
พันธุท์ ่รี วบรวมไว้
.2. การประเมินโรค ใช้อตั ราการประเมิน เช่น
0 = ไม่มีอาการ, 1 = มีอาการเล็กน้อย, 2 = มีอาการปานกลาง,
3 = มีอาการรุนแรง, 4 = มีอาการรุนแรงมาก

ต้นที่ตา้ นทานโรค
ต้นที่ออ่ นแอ
ต่อโรค
การปรับปรุงพันธุพ์ ชื เพือ่ ให้ตา้ นทานโรค
วิธกี ารปรับปรุงพันธุเ์ พือ่ ให้ตา้ นทานโรค

1. การปรับปรุงพันธุเ์ พือ่ VR
1. พันธุพ์ ชื ที่มียนี ต้านทานหลัก
นิ ยมใช้มากที่สดุ ใช้ยนี ต้านทานหลัก
สายพันธุท์ ่มี ีสดั ส่วนสูง แต่ละยีนในการควบคุมศัตรูสายพันธุ ์
(prevalent races)
ที่ มีสดั ส่วนสูง อาจพัฒนามาจากการ
คัดเลือกภายหลังการถ่ายยีนต้านทาน
สายพันธุท์ ่มี ีสดั ส่วนต่ำ
(minor races)
โดยวิธีผสมกลับ

ประชากรโรคพืช
ข้อดีและข้อเสียของพันธุพ์ ชื ที่มียนี ต้านทานหลัก

ข้อดี
1. การปรับปรุงพันธุแ์ ละการคัดเลือกทำได้งา่ ยและสะดวก

ข้อเสีย
1. อาจอ่อนแอต่อสายพันธุท์ ่มี ีสดั ส่วนต่ำ ซึ่งอาจเพิม่
จำนวนมากขึ้นจนกลายเป็ น prevalent races
วิธกี ารปรับปรุงพันธุเ์ พือ่ ให้ตา้ นทานโรค

2. Multilines ได้จากการนำเมล็ดพืชหลาย ๆ genotypes ซึ่งแต่ละ


genotype มียน ี ต้านทานหลักแต่ละยีน (ที่ไม่เหมือนกัน) มาปนกัน แต่ละ
genotype อาจมีลกั ษณะทางพันธุกรรมอืน ่ ๆ เหมือนกันหมด แต่แตกต่างกัน
เฉพาะที่ยนี ต้านทาน (isolines)

A B C D

หรือแต่ละ genotype อาจมีลกั ษณะอืน่ ๆ ต่างกันด้วยก็ได้


โดยใช้อตั ราส่วนการปนกันที่เหมาะสม
ข้อดีและข้อเสียของพันธุพ์ ชื Multilines

ข้อดี
1. สามารถต้านทานศัตรูพชื ได้หลายสายพันธุ ์ ถึงแม้ว่ามีการเปลี่ยนแปลง
สัดส่วนของสายพันธุภ์ ายในประชากรศัตรูพชื บาง genotype ของ
multiline ก็น่าจะยังคงความต้านทานไว้ได้
2. มีอายุการต้านทานที่ยน
ื ยาว
ข้อดีและข้อเสียของพันธุพ์ ชื Multilines

ข้อเสีย
1. ต้องใช้ความพยายาม เวลา และ ค่าใช้จา่ ยสูงในการถ่ายยีนต้านทานหลัก
หลาย ๆ ยีนเข้าไปยังพันธุพ์ ชื ที่มีลกั ษณะอืน่ ๆ เช่น ผลผลิต ตามที่ตอ้ งการ
2. ถ้าใช้การผสมกลับในการถ่ายยีน กว่าจะได้พน ั ธุต์ า้ นทาน อาจมีพนั ธุ ์
ใหม่ ๆ ที่มีลกั ษณะอืน่ ๆ ที่ดีกว่า และเป็ นที่ยอมรับของเกษตรกรมากกว่า
พันธุท์ ่เี ราใช้เป็ น recurrent parent
3. พันธุท์ ่ไี ด้อาจมีลกั ษณะต่าง ๆ ไม่สม่ำเสมอ
วิธกี ารปรับปรุงพันธุเ์ พือ่ ให้ตา้ นทานโรค
3. Pyramiding เป็ นการถ่ายยีนต้านทานหลักหลาย ๆ ยีนเข้าไปในพันธุเ์ ดียว
ข้อดี
1. ศัตรูสายพันธุใ์ หม่ท่จี ะทำลายพืชได้จะต้องมีกลไกต้านทานยีนต้านทานทุก ๆ ยีน
ข้อเสีย
1. ต้องใช้ความพยายามอย่างสูงในการถ่ายยีนต้านทานหลักหลาย ๆ ยีนเข้าไปใน
พันธุเ์ ดียว
2. ถ้าใช้การผสมกลับในการถ่ายยีน จะมีขอ้ จำกัดที่ recurrent parent ที่ใช้
3. ความต้านทานของพันธุพ์ ชื นี้ อาจส่งเสริมให้เกิดวิวฒั นาการของศัตรูสายพันธุใ์ หม่ ๆ
โดยเฉพาะถ้ามีการใช้ยนี ต้านทานหลักเหล่านี้ ในพืชพันธุอ์ น่ื ๆ ด้วย
วิธกี ารปรับปรุงพันธุเ์ พือ่ ให้ตา้ นทานโรค
2. การปรับปรุงพันธุเ์ พือ่ HR
์ หรับ HR นั้นจะคล้ายคลึงกับการปรับปรุงพันธุ ์
การปรับปรุงพันธุสำ
เพือ่
เพิม่ ผลผลิต หรือลักษณะปริมาณอืน่ ๆ วิธีการปรับปรุงคือ การเพิม่ ยีนต้านทาน
หลาย ๆ ยีนไว้ในพันธุเ์ ดียวกัน เช่น มีการใช้วธิ ี recurrent phenotypic
selection สำหรับปรับปรุงพันธุ ์ alfafa ให้ตา้ นทานโรคและแมลง เป็ นวิธีท่ี
เหมาะสำหรับใช้กบั พืชผสมข้าม

You might also like