You are on page 1of 16

พลังงานของน้ำในดิน

พลังงานจลน์ (Kinetic energy)

พลังงานศักย์ (Potential energy)


พลังงานของน้ำในดินเป็ นพลังงานศักย์
เรียก ศักย์ น้ำ (water potential Ψ )
หมายถึงพลังงานที่สะสมอยูใ่ นน้ำและพร้อมที่จะทำให้
เกิดการเคลื่อนที่ของน้ำได้
การไหลของน้ำ ?

น้ำจะไหลจากศักย์น ้ำสูงไปสู่ ศกั ย์น ้ำต่ำ


ศักย์ น้ำในดินเกิดจากแรงทีก่ ระทำต่ อน้ำ
- แรงที่กระทำอาจทำให้โมเลกุลของน้ำ มีความอิสระ
ในการเคลื่อนที่เพิ่ม .ֹ. จะเพิ่มศักย์ของน้ำ

- แรงบางอย่างทำให้โมเลกุลของน้ำมีความอิสระใน
การเคลื่อนที่นอ้ ยลง .ֹ. จะลดศักย์ของน้ำ
แรงที่กระทำต่อน้ำต่างๆ ทำให้เกิดชนิดของศักย์ของน้ำได้หลายชนิด ซึ่งทุก
ชนิดรวมกันจึงจะเป็ นค่าของศักย์รวมของน้ำ
Ψs = Ψp+ Ψm +Ψ¶+ Ψz

Ψs = ศักย์รวมของน้ำ (total soil water potential)


Ψp = ศักย์ความดัน (pressure potential)
Ψm = ศักย์วสั ดุพ้ืน (matric potential)
Ψ¶ = ศักย์ออสโมติก (osmotic potential)
Ψz = ศักย์โน้มถ่วง (gravitational potential)
1. Pressure potential ศักย์ ความดัน (Ψp )
เกิดจากแรงกดดันของน้ำที่อยูด่ า้ นบนกระทำต่อน้ำใต้
ผิวดิน ทำให้น ้ำใต้ผวิ ดินมีพลังงานเพิ่มขึ้น
.ֹ. Ψp จะมีค่าเป็ นบวก หรื อเป็ น 0
2. Metric potential ศักย์ วสั ดุพนื้ (Ψm )
เกิดจากแรงดึงดูดที่ดินกระทำต่อโมเลกุลของน้ำ
ทำให้น ้ำมีความอิสระในการเคลื่อนที่นอ้ ยลง (พลังงาน
ศักย์ลดลง) .ֹ. Ψm จะมีค่าเป็ นลบ
3. Osmotic potential ศักย์ ออสโมติก (Ψ¶ )
เกิดจากแรงที่ตวั ละลายต่างๆ ที่อยูใ่ นน้ำดูดยึดโมเลกุล
ของน้ำไว้ ทำให้โมเลกุลของน้ำขาดความอิสระในการ
เคลื่อนที่ (พลังงานศักย์ลดลง) Semi-permeable
membrane

.ֹ. Ψ ¶ จะมีค่าเป็ นลบ


4. Gravitational potential ศักย์ โน้ มถ่ วง (Ψz )
เกิดจากแรงโน้มถ่วงของโลกที่กระทำต่อน้ำ
Ψz จะมีค่าเป็ นบวกหรื อลบขึ้นอยูก่ บั ระดับความสูงของ
น้ำอยูท่ ี่ใด เมื่อเปรี ยบเทียบกับระดับอ้างอิง เช่น ถ้าใช้
ระดับผิวดินเป็ นระดับอ้างอิง Ψz จะมีค่าเป็ นลบ

Ψz > 0
Ψz = 0
ระดับผิวดิน

Ψz < 0
การวัดศักย์ ของน้ำ จะต้องวัดศักย์ของน้ำในระบบ (ในดินที่เรา
ต้องการวัด) เปรี ยบเทียบกับระบบอ้างอิงต่อหน่วยของน้ำ

= ศักย์ของน้ำในระบบตรวจสอบ – ศักย์ของน้ำในระบบอ้างอิง
ปริ มาตรของน้ำ

ศักย์ของน้ำในระบบอ้างอิง (reference system)


= น้ำอิสระและบริ สุทธิ์ ที่อยูใ่ ต้ความดันบรรยากาศ วางไว้ที่สูงมาตรฐาน หรื อ
ระดับอ้างอิง (ผิวดิน)
ค่ าของศักย์ ของน้ำ มีหน่ วยเป็ น
J/m3 = N/m2 = Pa (Pascal)

1 MPa (106 Pa) = 1 Bar = 0.101 Atmosphere


ความสั มพันธ์ ระหว่ างความชื้นและศักย์ น้ำในดิน
ศักย์วสั ดุพ้ืน (matric potential) เท่านั้นที่มีความสัมพันธ์โดยตรงกับ
ความชื้นของดิน

ดินแห้ง – มีน ้ำเคลือบที่อนุภาคของดินเท่านั้น แรงดึงดูดที่ดินมีต่อน้ำจะ


มาก
.ֹ. ค่าศักย์วสั ดุพ้ืนจะน้อย (ติดลบมาก)
สรุป
Ψp = ถูกกำหนดโดยปริ มาณน้ำที่สูงกว่าผิวดิน
Ψm = ถูกกำหนดโดยความชื้นของดิน
Ψ¶ = ถูกกำหนดโดยปริ มาณตัวละลาย
Ψz = ความลึกของน้ำในดินเปรี ยบเทียบกับผิวดิน
สรุป
ปรกติน้ำในดิน
1.ไม่มีน ้ำท่วมผิวดิน ไม่มีแรงกด
2. มีน ้ำไม่เต็มช่องว่างของดิน ถูกดินดึงดูดด้วยแรงดึงดูดจากดิน
3. จะมีความไม่บริ สุทธิ์ ถูกดินดึงดูดด้วยแรงดึงดูดจากตัวละลาย
4. อยูต่ ่ำกว่าผิวดิน ถูกแร็ งโน้มถ่วงของโลกดูดน้อยกว่า น้ำที่อยูท่ ี่ผวิ ดิน

ศักย์ของน้ำในดินมีค่าน้อยกว่าน้ำในระบบมาตรฐาน
ดังนั้นศักย์ของน้ำในดินจึงมีค่าต่ำกว่าศูนย์

You might also like