You are on page 1of 152

สาขา: อุตสาหการเคมี วิชา: CH81 Chemical Engineering

Thermodynamics

ขอที่ : 1
ขอใดกลาวไดถูกตองเกี่ยวกับสภาวะสมดุลวัฏภาค (phase equilibrium)
คําตอบ 1 : ที่สภาวะสมดุล Gibbs free energy ของระบบจะมีคาต่ําที่สุด


คําตอบ 2 : ที่สภาวะสมดุล พลังงานภายในของระบบจะมีคาต่ําที่สุด



คําตอบ 3 :


ที่สภาวะสมดุล เอนทาลปของระบบจะมีคาต่ําที่สุด


คําตอบ 4 : ที่สภาวะสมดุล เอนโทรปของระบบจะมีคาต่ําที่สุด

จ ำ

ขอที่ : 2



ขอใดคือนิยามของสมดุลทางเทอรโมไดนามิกส (thermodynamic equilibrium)

ิ์ ห
คําตอบ 1 : ระบบซึ่งอยูในสมดุลความรอน (thermal equilibrium) และสมดุลทางกล (mechanical equilibrium)


คําตอบ 2 : ระบบซึ่งอยูในสมดุลความรอน (thermal equilibrium) และสมดุลเคมี (chemical equilibrium)

ิ ท
คําตอบ 3 : ระบบซึ่งอยูในสมดุลความรอน (thermal equilibrium) และสมดุลเคมี (chemical equilibrium)


คําตอบ 4 : ระบบซึ่งอยูในสมดุลความรอน (thermal equilibrium) สมดุลทางกล (mechanical equilibrium) และสมดุลเคมี (chemical equilibrium)

ขอที่ :

ง ว น

3


ตัวแปรใดเปนศักยของพลังงานความรอน


คําตอบ 1 : ปริมาตร


คําตอบ 2 : ความดัน
คําตอบ 3 : อุณหภูมิ

ว ก


คําตอบ 4 : ความเขมขน

ขอที่ : 4

ภ าว

ตัวแปรใดเปนศักยของพลังงานเชิงกล
คําตอบ 1 : อุณหภูมิ
คําตอบ 2 : ความดัน
คําตอบ 3 : ความเขมขน
คําตอบ 4 : เอนโทรป

1 of 152
ขอที่ : 5
ตัวแปรใดเปนศักยของพลังงานเคมี
คําตอบ 1 : ความดัน
คําตอบ 2 : ปริมาตร
คําตอบ 3 : อุณหภูมิ
คําตอบ 4 : ความเขมขน


ขอที่ :



6


ระบบซึ่งอยูในสภาวะสมดุลทางความรอน (thermal equilibrium) จะมีคาตัวแปรใดเทากัน


คําตอบ 1 : ความดัน


คําตอบ 2 : ปริมาตร

มจ
คําตอบ 3 : อุณหภูมิ



คําตอบ 4 : ความเขมขน

ขอที่ : 7

ธ ิ์ ห
ิ ท
ระบบซึ่งอยูในสภาวะสมดุลทางกล (mechanical equilibrium) จะมีคาตัวแปรใดเทากัน
คําตอบ 1 : ความดัน

นส

คําตอบ 2 : ปริมาตร


คําตอบ 3 : ความเขมขน

อ ส
คําตอบ 4 : อุณหภูมิ

ขอที่ : 8

ก ร ข

ระบบซึ่งอยูในสภาวะสมดุลเคมี (chemical equilibrium) จะมีคาตัวแปรใดเทากัน

าว ศ

คําตอบ 1 : ความดัน
คําตอบ 2 : ปริมาตร


คําตอบ 3 : อุณหภูมิ


คําตอบ 4 : ความเขมขน

ขอที่ : 9
โดยทั่วไปคา Gibbs free energy สําหรับของเหลวขึ้นกับตัวแปรใดเปนหลัก
คําตอบ 1 : อุณหภูมิและความดัน
คําตอบ 2 : อุณหภูมิและความเขมขนขององคประกอบสาร
2 of 152
คําตอบ 3 : ความดันและความเขมขนขององคประกอบสาร
คําตอบ 4 : อุณหภูมิ ความดันและความเขมขนขององคประกอบสาร

ขอที่ : 10
โดยทั่วไปคา Gibbs free energy สําหรับกาซขึ้นกับตัวแปรใดเปนหลัก
คําตอบ 1 : อุณหภูมิและความดัน
คําตอบ 2 : อุณหภูมิและความเขมขนขององคประกอบสาร


่ ย
คําตอบ 3 : ความดันและความเขมขนขององคประกอบสาร


คําตอบ 4 : อุณหภูมิ ความดันและความเขมขนขององคประกอบสาร

ขอที่ : 11

จ ำ ห

ระบบปดหมายถึง



คําตอบ 1 : ระบบที่มีการถายเฉพาะมวลผานขอบเขตของระบบ

ิ์ ห
คําตอบ 2 : ระบบที่มีการถายเทเฉพาะพลังงานผานขอบเขตของระบบ


คําตอบ 3 : ระบบที่ไมมีการถายเททั้งมวลและพลังงานผานขอบเขตของระบบ

ิ ท
คําตอบ 4 : ระบบที่ไมมีการถายเทมวลและอุณหภูมิคงที่

นส
ง ว
ขอที่ : 12


ขอใดกลาวไดถูกตองเกี่ยวกับสภาวะสมดุลวัฏภาค (phase equilibrium)


คําตอบ 1 : ที่สภาวะสมดุล Gibbs free energy ของระบบจะมีคาต่ําที่สุด

ร ข
คําตอบ 2 : ที่สภาวะสมดุล พลังงานภายในของระบบจะมีคาต่ําที่สุด


คําตอบ 3 : ที่สภาวะสมดุล เอนทาลปของระบบจะมีคาต่ําที่สุด


คําตอบ 4 : ที่สภาวะสมดุล เอนโทรปของระบบจะมีคาต่ําที่สุด

ขอที่ :

าว ศ


13


ตัวแปรใดเปนศักยของพลังงานเคมี
คําตอบ 1 : ความดัน
คําตอบ 2 : ปริมาตร
คําตอบ 3 : อุณหภูมิ
คําตอบ 4 : ความเขมขน

ขอที่ : 14 3 of 152
ระบบซึ่งอยูในสภาวะสมดุลทางกล (mechanical equilibrium) จะมีคาตัวแปรใดเทากัน
คําตอบ 1 : ความดัน
คําตอบ 2 : ปริมาตร
คําตอบ 3 : ความเขมขน
คําตอบ 4 : อุณหภูมิ

ขอที่ : 15


โดยทั่วไปคา Gibbs free energy สําหรับของเหลวขึ้นกับตัวแปรใดเปนหลัก
คําตอบ 1 : อุณหภูมิและความดัน

น า


คําตอบ 2 : อุณหภูมิและความเขมขนขององคประกอบสาร


คําตอบ 3 : ความดันและความเขมขนขององคประกอบสาร

ม จ
คําตอบ 4 : อุณหภูมิ ความดันและความเขมขนขององคประกอบสาร

ขอที่ : 16

ิ์ ห า


อากาศและน้ําอยูในสภาวะสมดุลในถังปดที่อุณหภูมิ 75 oC และความดัน 760 mm Hg จงคํานวณหาสัดสวนเชิงโมลของน้ําและอากาศแหงในวัฏภาคกาซ เมื่อกําหนดใหคาความดัน

ิ ท
ไอของน้ําที่ 75 oC เทากับ 289 mm Hg


คําตอบ 1 : 0.275 และ 0.724

ว น
คําตอบ 2 : 0.38 และ 0.62


คําตอบ 3 : 0.724 และ 0.275


คําตอบ 4 : 0.62 และ 0.38

ขอที่ :

ร ขอ

17


ถาน้ําที่จุดไตรภาค (triple point) มีคาความดันลดลง ในขณะที่อุณหภูมิคงที่ การเปลี่ยนแปลงวัฏภาคในขอใดดังตอไปนี้ ที่สามารถเกิดขึ้นไดบาง 1. การหลอมเหลว 2. การระเหิด



3. การกลายเปนไอ

าว
คําตอบ 1 : ขอ 1 เทานั้น


คําตอบ 2 : ขอ 2 เทานั้น


คําตอบ 3 : ขอ 3 เทานั้น
คําตอบ 4 : ขอ 1 และ 2

ขอที่ : 18
ความดันไอและอุณหภูมิจุดเดือดของน้ําบริสุทธิ์จะเปลี่ยนแปลงอยางไร ถาเติมเกลือโซเดียมคลอไรด ลงไป
คําตอบ 1 : ความดันไอลดลง จุดเดือดเพิ่มขึ้น
คําตอบ 2 : ทั้งความดันไอและจุดเดือดลดลง 4 of 152
คําตอบ 3 : ความดันไอเพิ่มขึ้น จุดเดือดลดลง
คําตอบ 4 : ทั้งความดันไอและจุดเดือดเพิ่มขึ้น

ขอที่ : 19
ขอใดกลาวถึงกฎของกาซอุดมคติไดอยางถูกตอง
คําตอบ 1 : ปริมาตรของกาซจะแปรผกผันกับความดัน เมื่อมวลและอุณหภูมิของกาซมีคาคงที่
คําตอบ 2 : ปริมาตรของกาซจะแปรตรงกับความดัน เมื่อมวลและอุณหภูมิของกาซมีคาคงที่


่ ย
คําตอบ 3 : ปริมาตรของกาซจะแปรผกผันกับอุณหภูมิ เมื่อมวลและความดันของกาซมีคาคงที่


คําตอบ 4 : ความดันของกาซจะแปรผกผันกับมวลของกาซ เมื่อปริมาตรและมวลของกาซมีคาคงที่

ขอที่ : 20

จ ำ ห

กฎของเฮนรี (Henry’s Law) จะใชไดดีกรณีใด



คําตอบ 1 : กาซอุดมคติ

ิ์ ห
คําตอบ 2 : สารละลายอุดมคติ


คําตอบ 3 : สารละลายเจือจาง

ิ ท
คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

นส
ง ว
ขอที่ : 21


คาคงที่ของเฮนรี่ขึ้นอยูกับคาอะไรเปนหลัก


คําตอบ 1 : อุณหภูมิ

ร ข
คําตอบ 2 : ความดัน


คําตอบ 3 : ชนิดตัวทําละลาย


คําตอบ 4 : ขอ 1 และ 3

ขอที่ :

าว ศ


22


จากแผนภาพจุดเดือด เสนโคงเสนบนคือเสนอะไร

คําตอบ 1 : เสนโคงจุดกลั่นตัว (Dew-point curve)


คําตอบ 2 : เสนโคงสมดุล (Equilibrium curve)
คําตอบ 3 : เสนโคงจุดเดือด (Bubble-point curve)
คําตอบ 4 : เสนโคงคอนจูเกต (Conjugate curve)
5 of 152
ขอที่ : 23
จากแผนภาพจุดเดือด เสนโคงเสนลางคือเสนอะไร

คําตอบ 1 : เสนโคงจุดกลั่นตัว (Dew-point curve)


คําตอบ 2 : เสนโคงสมดุล (Equilibrium curve)
คําตอบ 3 : เสนโคงจุดเดือด (Bubble-point curve)
คําตอบ 4 : เสนโคงคอนจูเกต (Conjugate curve)


่ ย

ขอที่ : 24


กฎของราอูลทกลาวไววาอยางไร
คําตอบ 1 : ความดันยอยของสารที่อยูในสารละลายเทากับผลคูณของความดันไอของสารนั้น คูณกับเศษสวนโมลของสารนั้น

จ ำ

คําตอบ 2 : ความดันของสารที่อยูในสารละลายเทากับผลคูณของความดันไอของสารนั้น คูณกับเศษสวนโมลของสารนั้น



คําตอบ 3 : ความดันยอยของสารที่อยูในสารละลายเทากับผลคูณของความดันของสารนั้น คูณกับเศษสวนโมลของสารนั้น

ิ์ ห
คําตอบ 4 : ความดันของสารที่อยูในสารละลายเทากับผลคูณของความดันของสารนั้น คูณกับเศษสวนโมลของสารนั้น

ิ ทธ

ขอที่ : 25


สมการใดตอไปนี้ไมสามารถใชประมาณคา K สําหรับสมดุลระหวาง ของเหลวและไอได

ง ว
คําตอบ 1 : Raoult’s law


คําตอบ 2 : Henry’s law


คําตอบ 3 : Poynting correction


คําตอบ 4 :


van laar equation

ขอที่ :

ว ก


26

าว
จากแผนภาพจุดเดือดจุด B ประกอบดวยวัฏภาคอะไรบาง


คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :
คําตอบ 3 :
ภ ของเหลวและไอ
ของเหลวและของแข็ง
ของเหลว
คําตอบ 4 : ของแข็งและไอ

ขอที่ : 27
ขอใดกลาวไดถูกตองเกี่ยวกับสภาวะสมดุลวัฏภาค (phase equilibrium) 6 of 152
คําตอบ 1 : ที่สภาวะสมดุล Gibbs free energy ของระบบจะมีคาต่ําที่สุด
คําตอบ 2 : ที่สภาวะสมดุล พลังงานภายในของระบบจะมีคาต่ําที่สุด
คําตอบ 3 : ที่สภาวะสมดุล เอนทาลปของระบบจะมีคาต่ําที่สุด
คําตอบ 4 : ที่สภาวะสมดุล เอนโทรปของระบบจะมีคาต่ําที่สุด

ขอที่ : 28
ขอใดคือนิยามของสมดุลทางเทอรโมไดนามิกส (thermodynamic equilibrium)


่ ย
คําตอบ 1 : ระบบซึ่งอยูในสมดุลความรอน (thermal equilibrium) และสมดุลทางกล (mechanical equilibrium)


คําตอบ 2 : ระบบซึ่งอยูในสมดุลความรอน (thermal equilibrium) และสมดุลเคมี (chemical equilibrium)


คําตอบ 3 : ระบบซึ่งอยูในสมดุลความรอน (thermal equilibrium) และสมดุลเคมี (chemical equilibrium)


คําตอบ 4 : ระบบซึ่งอยูในสมดุลความรอน (thermal equilibrium) สมดุลทางกล (mechanical equilibrium) และสมดุลเคมี (chemical equilibrium)

ม จ


ขอที่ : 29

ิ์ ห
ระบบซึ่งอยูในสภาวะสมดุลทางความรอน(thermal equilibrium) จะมีคาตัวแปรใดเทากัน


คําตอบ 1 : ความดัน

ิ ท
คําตอบ 2 : ปริมาตร
คําตอบ 3 : อุณหภูมิ

นส

คําตอบ 4 : ความเขมขน

ส ง

ขอที่ : 30


ระบบซึ่งอยูในสภาวะสมดุลทางกล (mechanical equilibrium) จะมีคาตัวแปรใดเทากัน
คําตอบ 1 : ความดัน

ก ร

คําตอบ 2 : ปริมาตร

าว ศ

คําตอบ 3 : ความเขมขน
คําตอบ 4 : อุณหภูมิ

ขอที่ : 31
ส ภ
ขอใดกลาวถึงแฟกเตอร Ki (หรือสัมประสิทธิ์ของการกระจายขององคประกอบยอย i) ระบบที่อยูภายใตสภาวะสมดุลไอ-ของเหลวไดอยางถูกตอง
คําตอบ 1 : Ki ไมขึ้นกับอุณหภูมิ
คําตอบ 2 : Ki ไมขึ้นกับความดัน
คําตอบ 3 : Ki ไมขึ้นกับความเขมขนทั้งหมดของเฟสของเหลว
คําตอบ 4 : ประเมินหาคาของแฟกเตอร Ki ไดจาก Raoult’s Law เมื่อทราบความดันรวมของระบบและความดันไอขององคประกอบยอย i
7 of 152
ขอที่ : 32
ในการคํานวณหาความสูงของเครื่องมือแยกสารจําเปนตองทราบขอมูลสมดุลระหวางความ เขมขนในแตละเฟส และแตละเฟสจะสมดุลซึ่งกันและกันเมื่อ
คําตอบ 1 : ความดันในระบบมีคาคงที่
คําตอบ 2 : ศักยทางเคมีแตละเฟส (Chemical potential) เทากัน
คําตอบ 3 : ความเขมขนแตละเฟสมีคาเทากัน
คําตอบ 4 : ความดันยอยของแตละเฟสมีคาเทากัน


่ ย

ขอที่ : 33


จากแผนภาพสมดุลของระบบ 2 องคประกอบสําหรับสาร A และ B ดังแสดงในรูปดานลาง ถาสารผสม A และ B ซึ่งมีอัตราสวนเชิงโมล (Mole fraction) ของสารเทากับ XA2 ถูก


นําไปบรรจุในภาชนะปดที่สภาวะซึ่งมีอุณหภูมิ T และความดัน P ซึ่งทําใหไอและของเหลว A และ B อยูรวมกันที่ สภาวะสมดุลดวยคาอัตราสวนเชิงโมล XA1 และ XA3 ขอใดตอ


ไปนี้คืออัตราสวนเชิงโมลของของเหลวตอไอ


้ ม
ธ ิ์ ห
คําตอบ 1 :

คําตอบ 2 :

ส ิ ท
ง ว น

คําตอบ 3 :

คําตอบ 4 :

ร ขอ
ว ก
ขอที่ : 34

าว ศ


กฎของเฮนรี่ใชไดกับระบบใด


คําตอบ 1 : สารละลายเจือจางของโมเลกุลมีขั้ว
คําตอบ 2 : สารละลายเจือจางของโมเลกุลไมมีขั้ว
คําตอบ 3 : สารละลายเจือจางอิเลคโตรไลท
คําตอบ 4 : ขอ 1 และ 2 ถูก

ขอที่ : 35
8 of 152
กาซผสมระหวางกาซแอมโมเนียกับกาซไนโตรเจนมีความดันรวมเทากับ 2.5 kPa บรรจุอยูในภาชนะที่มีปริมาตรคงที่เทากับ V ถากําหนดใหกาซแอมโมเนียซึมออกจากภาชนะจน
หมดคงเหลือเฉพาะกาซไนโตรเจนและความดันรวมลดลงเหลือ 1.5 kPa โดยที่อุณหภูมิของระบบมีคาคงที่ ถาสมมุติใหกาซผสมนี้มีพฤติกรรมเปนแบบกาซอุดมคติ อัตราสวนเชิง
โมลของกาซแอมโมเนีย (yA) และกาซไนโตรเจน (yB) ที่สภาวะเริ่มตนมีคาเทาใด
คําตอบ 1 : yA = 0.40, yB = 0.60
คําตอบ 2 : yA = 0.50, yB = 0.50
คําตอบ 3 : yA = 0.60, yB =0.40
คําตอบ 4 : yA = 0.80, yB = 0.20


ขอที่ :



36


ในการประเมินหาคาแฟกเตอร Ki (หรือสัมประสิทธิ์ของการกระจายขององคประกอบยอย i) โดยใช Raoult’s Law มีสมมติฐานวาอยางไร


คําตอบ 1 : วัฏภาคกาซเปนกาซอุดมคติ


คําตอบ 2 : วัฏภาคของเหลวเปนสารละลายอุดมคติ

ม จ
คําตอบ 3 : วัฏภาคกาซเปนกาซอุดมคติและวัฏภาคของเหลวเปนสารละลายอุดมคติ



คําตอบ 4 : วัฏภาคกาซเปนกาซอุดมคติหรือวัฏภาคของเหลวเปนสารละลายอุดมคติ

ขอที่ : 37

ธ ิ์ ห
ิ ท
ในการประเมินหาคาแฟกเตอร Ki (หรือสัมประสิทธิ์ของการกระจายขององคประกอบยอย i) โดยใช Modified Raoult’s Law มีสมมติฐานวาอยางไร
คําตอบ 1 : วัฏภาคกาซเปนกาซอุดมคติ

นส

คําตอบ 2 : วัฏภาคของเหลวเปนสารละลายอุดมคติ


คําตอบ 3 : วัฏภาคกาซเปนกาซอุดมคติและวัฏภาคของเหลวเปนสารละลายไมอุดมคติ

อ ส
คําตอบ 4 : วัฏภาคกาซเปนกาซอุดมคติหรือวัฏภาคของเหลวเปนสารละลายไมอุดมคติ

ขอที่ : 38

ก ร ข

จงคํานวณหาระดับขั้นเสรี (Degree of freedom) ของระบบ น้ําสมดุลกับ

าว ศ

คําตอบ 1 : 0
คําตอบ 2 : 1


คําตอบ 3 : 2


คําตอบ 4 : 3

ขอที่ : 39
จากรูป A=40 kg, B= 20 kg และ C=40 kg คือจุดใดบนกราฟ

คําตอบ 1 : จุด L 9 of 152


คําตอบ 2 : จุด M
คําตอบ 3 : จุด N
คําตอบ 4 : จุด O

ขอที่ : 40
จากรูป A=20 kg, B= 40 kg และ C=40 kg คือจุดใดบนกราฟ

คําตอบ 1 : จุด L


่ ย

คําตอบ 2 : จุด M

ำ ห
คําตอบ 3 : จุด N


คําตอบ 4 : จุด O


้ ม
ิ์ ห
ขอที่ : 41
ในการสกัดของเหลว สมดุลที่แสดงการกระจายตัวของตัวถูกละลาย A อยูในของเหลว B และ S ที่ไมผสมกัน (หรือผสมกันไดเพียงบางสวน) สามารถแสดงดวยรูปกราฟพิกัดสาม


เหลี่ยม (Triangular coordinates) ซึ่งความเขมขนที่แทนโดยจุดใดๆ ในแผนภาพสามเหลี่ยมดานเทานี้จะหมายถึง
คําตอบ 1 : ความเขมขนของสารผสมระหวาง A และ B

ส ิ ท

คําตอบ 2 : ความเขมขนของสารผสมระหวาง A และ C


คําตอบ 3 : ความเขมขนของสารผสมระหวาง B และ C
คําตอบ 4 : ความเขมขนของสารผสมทั้งหมด

ส ง
ขอที่ : 42

ร ขอ

ขอใดถูกในเรื่องสมดุล (equilibrium)


คําตอบ 1 : สมดุลของการกลั่นเปนการใชสมการของเฮนรี (Henry)
คําตอบ 2 :
คําตอบ 3 :

าว ศ

ในหอดูดซับใชสมการของราอูลท (Raoult)
ในกระบวนการสกัดใชไดอะแกรมวัฏภาค (phase diagram)


คําตอบ 4 : ขอ 1 และ 2 ถูก

ขอที่ : 43 ส
ขอใดถูกตอง
คําตอบ 1 : เสนสมดุลในหอดูดซับ (absorption) หาไดจากกฏของ Henry
คําตอบ 2 : เสนสมดุลในหอกลั่น (distillation) หาไดจากกฏของ Raoult
คําตอบ 3 : สมดุลของหอสกัดหาไดจากสมดุลสามเหลี่ยม (triangular coordinate)
10 of 152
คําตอบ 4 : ถูกทั้งขอ 1 2 และ 3
ขอที่ : 44
สําหรับการออกแบบเครื่องมือแยกสารนั้นโดยทั่วไปแลวขั้นตอนหรือเทรยหรือเพลท จะหมายถึงอะไร
คําตอบ 1 : อุปกรณที่ใชเสริมความแข็งแรงของเครื่องมือแยกสาร
คําตอบ 2 : บริเวณที่มีการสัมผัสกันระหวางเฟส
คําตอบ 3 : อุปกรณที่ใชปองกันการสูญเสียความดันลดภายในเครื่องมือแยกสาร


คําตอบ 4 : อุปกรณที่ใชเพิ่มประสิทธิภาพในการถายเทความรอนภายในเครื่องมือแยกสาร

น า


ขอที่ : 45


ขอใดไมใชสมบัติไมขึ้นอยูกับปริมาณ (Intensive Properties)

ม จ
คําตอบ 1 : อุณหภูมิ



คําตอบ 2 : ความดัน

ิ์ ห
คําตอบ 3 : องคประกอบในแตละวัฏภาค


คําตอบ 4 : อัตราการไหลเชิงโมล

ขอที่ :

ส ิ ท

46


ขอใดไมใชสมบัติขึ้นอยูกับปริมาณ (Extensive Properties)


คําตอบ 1 : มวล

อ ส
คําตอบ 2 : โมล


คําตอบ 3 : เอนทัลป


คําตอบ 4 : ความดัน

ว ก


ขอที่ :

าว
47
จากสมการองศาความอิสระ (Degree of freedom) ของกิบบส F = C-P+2 เมื่อ F คือ องศาความอิสระ C คือจํานวนขององคประกอบ P คือ จํานวนวัฏภาคที่สภาวะสมดุล ถาใน


ระบบหนึ่งซึ่งเปนสมดุลไอ-ของเหลว และถามี 3 องคประกอบจงหาวาจํานวนองศาความอิสระเปนเทาใด


คําตอบ 1 : 1
คําตอบ 2 : 2
คําตอบ 3 : 3
คําตอบ 4 : 4

ขอที่ : 48
ตัวแปรใดที่ ไมเกี่ยวของกับ การกลั่นแบบพริบตาเลย 11 of 152
คําตอบ 1 : อัตราการไหลของสารปอน
คําตอบ 2 : สัดสวนโดยโมล
คําตอบ 3 : อัตราการไหลของผลิตภัณฑของเหลว
คําตอบ 4 : เรซิน

ขอที่ : 49


ไอของน้ํามันเบนซินสําหรับรถยนตถูกแยกออกจากสวนที่เปนของเหลว ณ ความดันบรรยากาศไดที่อุณหภูมิใด
คําตอบ 1 : อุณหภูมิสูงกวาจุดน้ําคาง(dew point)

น า


คําตอบ 2 : อุณหภูมิจุดน้ําคาง


คําตอบ 3 : อุณหภูมิระหวางจุดน้ําคางกับจุดเดือด(bubble point)

ม จ
คําตอบ 4 : อุณหภูมิจุดเดือด

ขอที่ : 50

ิ์ ห า


ในการสกัดของเหลว สมดุลที่แสดงการกระจายตัวของตัวถูกละลาย A อยูในของเหลว B และ S ที่ไมผสมกัน (หรือผสมกันไดเพียงบางสวน) สามารถแสดงดวยรูปกราฟพิกัดสาม

ิ ท
เหลี่ยม (Triangular coordinates) ซึ่งความเขมขนที่แทนโดยจุดใดๆ ในแผนภาพสามเหลี่ยมดานเทานี้จะหมายถึง


คําตอบ 1 : ความเขมขนของสารผสมระหวาง A และ B

ว น
คําตอบ 2 : ความเขมขนของสารผสมระหวาง A และ C


คําตอบ 3 : ความเขมขนของสารผสมระหวาง B และ S


คําตอบ 4 : ความเขมขนของสารผสมทั้งหมด

ขอที่ :

ร ขอ

51


เมื่อปอนน้ํามันกาด(kerosene)เขาถังแยก ณ ความดันบรรยากาศ และอุณหภูมิสูงกวาจุดเดือด(bubble point temperature) จะไดผลลัพธเปนอยางไร



คําตอบ 1 : น้ํามันกาดเปนของเหลวอุณหภูมิต่ํา

าว
คําตอบ 2 : น้ํามันกาดเปนของเหลวอิ่มตัว


คําตอบ 3 : น้ํามันกาดเปนไอบางสวน


คําตอบ 4 : น้ํามันกาดเปนไออิ่มตัว

ขอที่ : 52
เมื่อเก็บน้ํามันเบนซิน(gasoline)ไวในถังน้ํามัน ณ อุณหภูมิหอง และภายใตความดันสูงกวาความดันจุดเดือด(bubble point pressure) น้ํามันเบนซินควรมีสภาพอยางไร
คําตอบ 1 : เปนไอยิ่งยวด
คําตอบ 2 : เปนไออิ่มตัว
คําตอบ 3 : เปนไอบางสวน
12 of 152
คําตอบ 4 : เปนของเหลวอุณหภูมิต่ํา

ขอที่ : 53
เมื่อเก็บน้ํามันดีเซล(diesel)ไวในถังน้ํามัน ณ ความดันบรรยากาศ และภายใตอุณหภูมิต่ํากวาอุณหภูมิจุดน้ําคาง(dew point temperature) น้ํามันดีเซลควรมีสภาพอยางไร
คําตอบ 1 : เปนของเหลวอุณหภูมิต่ํา
คําตอบ 2 : เปนของเหลวอิ่มตัว


่ ย
คําตอบ 3 : เปนของเหลวบางสวน


คําตอบ 4 : เปนไออิ่มตัว

ขอที่ : 54

จ ำ ห

เมื่อปอนน้ํามันเบนซิน(gasoline)เขาถังแยก ณ ความดันบรรยากาศ และอุณหภูมิสูงกวาอุณหภูมิจุดเดือด(bubble point temperature) อุณหภูมิของไอสัมพันธกับอุณหภูมิของของ



เหลวที่ออกจากถังแยกอยางไร

ิ์ ห
คําตอบ 1 : อุณหภูมิไอสูงกวาอุณหภูมิของเหลว


คําตอบ 2 : อุณหภูมิไอเทากับอุณหภูมิของเหลว

ิ ท
คําตอบ 3 : อุณหภูมิไอต่ํากวาอุณหภูมิของเหลว


คําตอบ 4 : ไมมีความสัมพันธกัน

ขอที่ :

ง ว น

55


ถาปอนน้ํามันเบนซิน(gasoline)เขาถังแยก ณ อุณหภูมิหอง และความดันต่ํากวาความดันจุดน้ําคาง(dew point pressure) จะไดผลลัพธเปนอยางไร


คําตอบ 1 : ไดเพียงน้ํามันเบนซินเหลว

ก ร
คําตอบ 2 : ไดเปนน้ํามันเบนซินอิ่มตัว


คําตอบ 3 : ไดเปนไอน้ํามันเบนซินอิ่มตัว



คําตอบ 4 : ไดเปนไอน้ํามันเบนซินยิ่งยวด

ขอที่ : 56

ภ าว

เมื่อปอนน้ํามันเบนซิน(gasoline)เขาถังแยก ณ อุณหภูมิหอง และความดันต่ํากวาความดันจุดเดือด(bubble point pressure) ความดันของไอน้ํามันเบนซินสัมพันธกับความดันของ
น้ํามันเบนซินที่ออกจากถังแยกอยางไร
คําตอบ 1 : ความดันไอต่ํากวาความดันน้ํามันเบนซินที่ออกมา
คําตอบ 2 : ความดันไอเทากับความดันน้ํามันเบนซินที่ออกมา
คําตอบ 3 : ความดันไอสูงกวาความดันน้ํามันเบนซินที่ออกมา
คําตอบ 4 : ไมสัมพันธกัน
13 of 152
ขอที่ : 57
การแยกน้ํามันเบนซิน(gasoline)อุณหภูมิต่ําดวยถังแยก ณ ความดันบรรยากาศ และอุณหภูมิของจุดเดือด(bubble point temperature)ของน้ํามันเบนซิน ปริมาณใดไมเปลี่ยนแปลง
เมื่อผานถังแยก
คําตอบ 1 : องคประกอบของไอน้ํามัน
คําตอบ 2 : อุณหภูมิของของเหลว
คําตอบ 3 : อัตราการไหลของของเหลว
คําตอบ 4 : อุณหภูมิของไอน้ํามัน

ขอที่ :


่ ย

58
การแยกน้ํามันเบนซิน(gasoline)ความดันสูงดวยถังแยก ณ ความดันบรรยากาศ และอุณหภูมิของจุดน้ําคาง(dew point temperature)ของน้ํามันเบนซิน ปริมาณใดคงที่เมื่อผานถัง

ำ ห
แยก


คําตอบ 1 : อัตราการไหลของน้ํามัน


คําตอบ 2 : องคประกอบของน้ํามัน
คําตอบ 3 :
คําตอบ 4 :
อุณหภูมิของไอน้ํามัน
องคประกอบของไอน้ํามัน

ิ์ ห า

ิ ทธ

ขอที่ : 59


จากรูป เปนสมดุลของกรดอะซิติก (acetic, A) 10 kg, น้ํา(B) 60 kg และไอโซโพรพิวอีเทอร (isopropyl ether, C) 30 kg ที่ 20 องศาเซลเซียส จงหาความเขมขนของชั้นสกัด

ง ว
(extract layer)

คําตอบ 1 :

อ ส

yA= 0.04, yB =0.02 yC = 0.94


คําตอบ 2 : yA= 0.94, yB =0.02 yC = 0.04


คําตอบ 3 :


yA= 0.04, yB =0.94 yC = 0.02



คําตอบ 4 : yA= 0.02, yB =0.04 yC = 0.94

ขอที่ : 60

ภ าว

จากรูป เปนสมดุลของกรดอะซิติก (acetic, A) 10 kg, น้ํา(B) 60 kg และไอโซโพรพิวอีเทอร (isopropyl ether, C) 30 kg ที่ 20 องศาเซลเซียส ขอใดถูก

คําตอบ 1 : จุด h เปนจุดที่ xC =0.03


คําตอบ 2 : จุด h เปนจุดที่ xA =0.01
คําตอบ 3 : จุด h เปนจุดที่ xB =0.6
คําตอบ 4 : ขอ 1, 2 และ 3 ถูก
14 of 152
ขอที่ : 61
จงคํานวณหาระดับขั้นเสรี (Degree of freedom) ของระบบสารละลายแอลกอฮอลในน้ําสมดุลกับไอของมัน
คําตอบ 1 : 0
คําตอบ 2 : 1
คําตอบ 3 : 2
คําตอบ 4 : 3


่ ย

ขอที่ : 62


สําหรับหอกลั่นที่ไมมีการเกิดปฏิกิริยาจะมีคาระดับขั้นเสรี (Degree of freedom) เทาไหร


คําตอบ 1 :


0


คําตอบ 2 : 1



คําตอบ 3 : 2

ิ์ ห
คําตอบ 4 : 3

ขอที่ : 63

ิ ทธ

ที่ความดันรวม 101.32 kPa ถาความดันไอเทากัน 135.5 kPa ที่สัดสวนโมลของเหลว XA จงหาองคประกอบของไอ (yA)
คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :
yA = 0.03

ง ว น

yA = 0.13


คําตอบ 3 : yA = 0.23


คําตอบ 4 : yA = 0.33

ก ร

ขอที่ : 64



ที่ความดันรวม 101.32 kPa ถาความดันเทากับ 135.5 kPa ที่สัดสวนโมลของเหลว yA = 0.1 จงหาองคประกอบของของเหลว (xA)

าว
คําตอบ 1 : xA = 0.075


คําตอบ 2 : xA = 0.095


คําตอบ 3 : xA = 0.075
คําตอบ 4 : xA = 0.135

ขอที่ : 65
จงหาองคประกอบของของเหลวที่สมดุลที่ 95 องศาเซลเซียสของเบนซีน-โทลูอีน ที่ความดันรวม 101.32 kPa โดยความดันไอเบนซีนเทากับ 155.7 kPa และ ความดันไอโทลูอีน
เทากับ 63.3 kPa
คําตอบ 1 : xA = 0.41 15 of 152
คําตอบ 2 : xA = 0.55
คําตอบ 3 : xA = 0.63
คําตอบ 4 : xA = 0.75

ขอที่ : 66
จงหาองคประกอบของไอที่สมดุลที่ 95 องศาเซลเซียสของเบนซีน-โทลูอีน ที่ความดันรวม 101.32 kPa โดยความดันไอเบนซีนเทากับ 155.7 kPa และ ความดันไอโทลูอีน เทากับ


63.3 kPa
คําตอบ 1 : yA = 0.41

น า


คําตอบ 2 : yA = 0.55


คําตอบ 3 : yA = 0.75


คําตอบ 4 :


yA = 0.82

ขอที่ : 67

ิ์ ห า


โดยทั่วไปแลวตําแหนงที่เหมาะสมในการปอนสารเขาสูเครื่องมือแยกสารที่มีขั้นตอนสมดุลตอกันแบบอนุกรมนั้นจะกําหนดใหเปนตําแหนงที่ความเขมขนของสายปอนเทากับหรือใกล

ิ ท
เคียงกับความเขมขนของสายที่ไหลเขาสูขั้นตอนสมดุลขั้นตอนใดขั้นตอนหนึ่ง ซึ่งขั้นตอนนั้นเรียกวา ขั้นตอนปอน (Feed stage) อะไรคือสาเหตุที่ตองทําเชนนั้น


คําตอบ 1 : เพื่อรักษาสภาวะของสายปอนและสายที่เขาขั้นตอนปอนไมใหเปลี่ยนแปลง

ว น
คําตอบ 2 : เพื่อเพิ่มคาสัมประสิทธิ์การถายเทมวลของสายปอนและและสายที่เขาขั้นตอนปอน


คําตอบ 3 : เพื่อเพิ่มคาสัมประสิทธิ์การถายเทความรอนของสายปอนและและสายที่เขาขั้นตอนปอน


คําตอบ 4 : เพื่อรักษาอัตราการไหลของสายปอนไมใหเปลี่ยนแปลง

ขอที่ : 68

ร ขอ
ว ก
สําหรับเครื่องมือแยกสารที่มีระบบการไหลแบบสวนทางกัน จุดตางๆ ที่อยูบนเสนโคงสมดุลจะระบุขอมูลใดตอไปนี้



คําตอบ 1 : ความสัมพันธระหวางความเขมขนของทั้งสองเฟสที่ออกจากขั้นตอนสมดุล

าว
คําตอบ 2 : ความสัมพันธระหวางอัตราการไหลของทั้งสองเฟสที่ออกจากขั้นตอนสมดุล


คําตอบ 3 : ความสัมพันธระหวางความดันยอยของทั้งสองเฟสที่ออกจากขั้นตอนสมดุล


คําตอบ 4 : ความสัมพันธระหวางอัตราการถายเทมวลของทั้งสองเฟสที่ออกจากขั้นตอนสมดุล

ขอที่ : 69
ถาขั้นตอนสมดุลใดๆ เกิดปรากฏการณที่จํานวนโมลของสารที่อยูในไอกลั่นตัวเปนของเหลวเทากับจํานวนโมลของสารที่อยูในของเหลวระเหยกลายเปนไอแลว จะทําใหอัตราการ
ไหลของของเหลวและไอรวมที่เขาและออกจากขั้นตอนสมดุลนั้นๆ คงที่ และกรณีนี้จะทําให
คําตอบ 1 : เสนสมดุลไอ-ของเหลวของระบบจะมีลักษณะเปนเสนตรง
คําตอบ 2 : เสนปฏิบัติการจะเปนเสนตรง 16 of 152
คําตอบ 3 : เสนปฏิบัติการจะเปนเสนโคงคว่ํา
คําตอบ 4 : เสนปฏิบัติการจะเปนเสนโคงหงาย

ขอที่ : 70
ในการออกแบบเครื่องมือแยกสารนั้นมีความจําเปนตองทราบขอมูลเกี่ยวกับความเขมขนที่สมดุลกันของสารทั้งสองเฟส ขอใดคือเหตุผลของความจําเปนนี้
คําตอบ 1 : ความดันลดจะมีคามากเมื่อเฟสทั้งสองถึงจุดสมดุลซึ่งกันและกัน
คําตอบ 2 : การถายเทมวลของสารในสองเฟสจะหยุดลงเมื่อเฟสทั้งสองถึงจุดสมดุลซึ่งกันและกัน


่ ย
คําตอบ 3 : การถายเทโมเมนตัมของสารในสองเฟสจะหยุดลงเมื่อเฟสทั้งสองถึงจุดสมดุลซึ่งกันและกัน


คําตอบ 4 : การถายเทความรอนของสารในสองเฟสจะหยุดลงเมื่อเฟสทั้งสองถึงจุดสมดุลซึ่งกันและกัน

ขอที่ : 71

จ ำ ห

ขอใดกลาวถึงกฎของเฟส (Phase Rule)ไมถูกตอง



คําตอบ 1 : ใชไดกับระบบที่ไมมีปฏิกิริยาเคมีเกิดขึ้น

ิ์ ห
คําตอบ 2 : ใชกับสถานะหรือสมบัติที่ไมขึ้นกับปริมาณ (Intensive properties)


คําตอบ 3 : จะใหขอมูลที่แตกตางกันสําหรับระบบที่มีขนาดใหญและระบบที่มีขนาดเล็ก

ิ ท
คําตอบ 4 : เฟสหลายเฟสอาจจะอยูรวมกันไดแตตองอยูในสภาวะที่สมดุล

นส
ง ว
ขอที่ : 72


ระบบที่ประกอบดวย น้ํา น้ําแข็ง และไอน้ําที่อยูในสภาวะสมดุล จะมีจํานวนองคประกอบ (Component, C) จํานวนเฟส (Phase, P) และองศาอิสระ (degree of freedom, F) เทา


กับขอใดตอไปนี้


คําตอบ 1 :


C = 3, P = 3, F = 2


คําตอบ 2 : C = 1, P = 3, F = 0


คําตอบ 3 : C = 3, P = 1, F = 2



คําตอบ 4 :

าว
C = 1, P = 3, F = 2


ขอที่ : 73


ระบบในขอใดตอไปนี้มีองศาของความอิสระ (Degree of freedom) เทากับ 2
คําตอบ 1 : น้ําและไอน้ําที่อยูในสภาวะสมดุล
คําตอบ 2 : น้ํา น้ําแข็ง และไอน้ําที่อยูในสภาวะสมดุล
คําตอบ 3 : สารละลายและไอของสารละลายกรดไฮโดรคลอริก ที่อยูในสภาวะสมดุล
คําตอบ 4 : น้ํา และน้ําแข็งที่อยูในสภาวะสมดุล

17 of 152
ขอที่ : 74
ของเหลวผสมเมื่ออยูภายใตสภาวะที่สมดุลกับไอ ถาอุณหภูมิ ความดัน และความเขมขนของ องคประกอบยอยใดๆ ในของเหลวผสมนั้นไมเปลี่ยนแปลง จะทําใหปริมาณใดตอไปนี้
ไมเปลี่ยนแปลง
คําตอบ 1 : ความเขมขนขององคประกอบยอยในไอ
คําตอบ 2 : คาการละลายขององคประกอบยอยในไอ
คําตอบ 3 : คาการนําไฟฟาขององคประกอบยอยในไอ
คําตอบ 4 : คาของสัมประสิทธิ์การแพรขององคประกอบยอยในไอ

ขอที่ :


่ ย

75
อะไรไมใชลักษณะของกระบวนการกลั่นแบบพริบตา
คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :
สารปอนมักจะมีองคประกอบมากกวา 2 ชนิด
มี 2 ชนิดคือ ชนิดอะเดียบาติก (Adiabatic) และไอโซเทอรมัล (Isothermal)

จ ำ ห

้ ม
คําตอบ 3 : สารปอนสามารถเปนไดทั้งของเหลว และไอ

ิ์ ห
คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

ขอที่ : 76

ิ ทธ

คาการระเหยสัมพัทธ ไมขึ้นกับ ตัวแปรใดเลย จากที่กําหนดใหตอไปนี้

ว น
คําตอบ 1 : จุดเดือด


คําตอบ 2 : ความดัน


คําตอบ 3 : ความดันไอ


คําตอบ 4 : ผิดทุกขอ

ก ร ข

ขอที่ : 77



การกลั่นแบบพริบตา (Flash) คือ อะไร

าว
คําตอบ 1 : การกลั่นในหอกลั่นน้ํามันโดยใชเวลา resident time นอยกวา 0.005 วินาที


คําตอบ 2 : การกลั่นแบบขั้นตอนเดี่ยวสมดุลซึ่งสารปอนถูกระเหยบางสวนเพื่อใหไดสวนที่เปนไอมากกวาสวนที่เปนของเหลว (สําหรับองคประกอบที่มีคาการระเหยสูง)


คําตอบ 3 : การกลั่นแบบหลายขั้นตอนซึ่งสารปอนถูกระเหยบางสวนเพื่อใหไดสวนที่เปนไอมากกวาสวนที่เปนของเหลว (สําหรับองคประกอบที่มีคาการระเหยสูง)
คําตอบ 4 : การกลั่นสําหรับสารปอนองคประกอบเดียว และใชเวลานอยกวา 0.005 วินาที

ขอที่ : 78
แผนภาพ (chart) ใดที่เกี่ยวของโดยตรงกับการคํานวณการกลั่นแบบพริบตา
คําตอบ 1 : DePriester chart
คําตอบ 2 : Kox chart 18 of 152
คําตอบ 3 : Friction-factor chart
คําตอบ 4 : Isolated fiber efficiency chart

ขอที่ : 79
ในการคํานวณ Isothermal Flash ครั้งหนึ่ง ซึ่งหลังจากคํานวณแลวพบวา คาสัดสวนของปริมาณสารผลิตภัณฑในวัฏภาคไอตอสารปอนเทากับ 0.8 ถาปริมาณสารปอนเทากับ 1,000
กิโลโมลตอชั่วโมง จงหาวา อัตราการไหลของผลิตภัณฑในวัฏภาคของเหลวจะเปนเทาใด
คําตอบ 1 : 100 กิโลโมลตอชั่วโมง


คําตอบ 2 : 200 กิโลโมลตอชั่วโมง

น า

คําตอบ 3 : 300 กิโลโมลตอชั่วโมง


คําตอบ 4 : 400 กิโลโมลตอชั่วโมง

จ ำ

ขอที่ : 80



การระเหยน้ําที่ปนในเอทธิลีนไกลคอล(C2H4(OH)2)ดวยอากาศแหงรอน สัดสวนโมล ของน้ําในเอทธิลีนไกลคอลควรสัมพันธกับความดันยอยของไอน้ําในอากาศอยางไร

ิ์ ห
คําตอบ 1 : ในเอทธิลีนไกลคอลตองต่ํากวาในอากาศ


คําตอบ 2 : ในเอทธิลีนไกลคอลตองต่ํากวาคาสมดุลของความดันยอยในอากาศ

ิ ท
คําตอบ 3 : ในเอทธิลีนไกลคอลตองเทากับคาสมดุลของความดันยอยในอากาศ


คําตอบ 4 : ในเอทธิลีนไกลคอลตองสูงกวาคาสมดุลของความดันยอยในอากาศ

ขอที่ :

ง ว น

81


การระเหยน้ําที่ปนในเอทธิลีนไกลคอล(C2H4(OH)2)ดวยอากาศแหงรอน สัดสวนโมลของไอน้ําในอากาศแหงควรสัมพันธกับสัดสวนโมลของน้ําในเอทธิลีนไกลคอลอยางไร


คําตอบ 1 : ในอากาศตองต่ํากวาในเอทธิลีนไกลคอล

ก ร
คําตอบ 2 : ในอากาศตองต่ํากวาคาสมดุลของสัดสวนโมลในเอทธิลีนไกลคอล


คําตอบ 3 : ในอากาศตองเทากับคาสมดุลของสัดสวนโมลในเอทธิลีนไกลคอล



คําตอบ 4 : ในอากาศตองสูงกวาคาสมดุลของสัดสวนโมลในเอทธิลีนไกลคอล

ขอที่ : 82

ภ าว

หลังจากผสมน้ําสมสายชู(CH3COOH+H2O)กับเฮกเซน(C6H14)อยางละเทาๆกันโดยปริมาตร ของเหลวชั้นบนควรมีสารประกอบใดบาง
คําตอบ 1 : เฮกเซน
คําตอบ 2 : น้ําสมสายชู
คําตอบ 3 : กรดน้ําสม(CH3COOH)กับเฮกเซน
คําตอบ 4 : กรดน้ําสม น้ํา และเฮกเซน

19 of 152
ขอที่ : 83
นําอะซิโตน(CH3COCH3) น้ํา และโทลูอีน(C7H8)อยางละเทาๆกันโดยปริมาตร มาผสมกันในถังกวนผสม ณ อุณหภูมิและความดันปกติ แลวทิ้งไวจนกระทั่งไมเกิดเคลื่อนที่ใด จะ
ไดผลลัพธเปนอยางไร
คําตอบ 1 : ไมมีของผสมเหลือ
คําตอบ 2 : เปนของเหลวผสมเนอเดียว
คําตอบ 3 : เปนของเหลวผสมแยกชั้น 2 ชั้น
คําตอบ 4 : เปนของเหลวผสมแยกชั้น 3 ชั้น

ขอที่ :


่ ย

84
นําน้ํามันเบนซิน เอทธานอล(C2H5OH) และน้ํา อยางละเทาๆกันโดยปริมาตร มาผสมกันในถังกวนผสม ณ อุณหภูมิและความดันปกติ จะพบสารประกอบใดที่กนถังกวน
คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :
น้ําเทานั้น
น้ําผสมเอทธานอล

จ ำ ห

้ ม
คําตอบ 3 : น้ํามันเบนซินเทานั้น

ิ์ ห
คําตอบ 4 : น้ําผสมเอทธานอลและน้ํามันเบนซิน

ขอที่ : 85

ิ ทธ

ในการแยกมีเทน(CH4)ออกจากอะโรแมติกส(aromatic)ผสม ดวยไอน้ํายิ่งยวด(superheated steam) ในขณะที่เคลื่อนที่สวนทางกัน ความเขมขนของมีเทนในอะโรแมติกส สัมพันธ


กับขอมูลสมดุลอยางไร
คําตอบ 1 : ตองนอยกวาสมดุล

ง ว

คําตอบ 2 : ตองไมนอยกวาสมดุล


คําตอบ 3 : ตองเทากับสมดุล

ร ข
คําตอบ 4 : ตองมากกวาสมดุล

ว ก


ขอที่ : 86

าว
ในขณะที่อะโรแมติกส(aromatic)ผสมเคลื่อนที่สวนทางกับไอน้ํา ซึ่งใชสําหรับแยกมีเทน(CH4)ออกจากอะโรแมติกสผสม ความเขมขนของมีเทนในไอน้ํามีความสัมพันธกับขอมูล
สมดุลอยางไร

ส ภ
คําตอบ 1 : ตองมากกวาสมดุล
คําตอบ 2 : ตองไมมากกวาสมดุล
คําตอบ 3 : ตองเทากับสมดุล
คําตอบ 4 : ตองนอยกวาสมดุล

ขอที่ : 87
ระบบในขอใดตอไปนี้มีองศาของความอิสระ (Degree of freedom) เทากับ 2 20 of 152
คําตอบ 1 : น้ําและไอน้ําที่อยูในสภาวะสมดุล
คําตอบ 2 : น้ํา น้ําแข็ง และไอน้ําที่อยูในสภาวะสมดุล
คําตอบ 3 : สารละลายและไอของสารละลายกรดไฮโดรคลอริก ที่อยูในสภาวะสมดุล
คําตอบ 4 : น้ํา และน้ําแข็งที่อยูในสภาวะสมดุล

ขอที่ : 88
การตมน้ําในภาชนะเปด ณ ความดันบรรยากาศ และอุณหภูมิ 80 องศาเซลเซียส จะสังเกตผลลัพธเปนอยางไรเมื่อเวลาผานไป


่ ย
คําตอบ 1 : น้ําไมเดือดเลย และปริมาณน้ําไมเปลี่ยนแปลงตามเวลา


คําตอบ 2 : น้ําไมเดือดเลย แตปริมาณน้ําลดลงตามเวลา


คําตอบ 3 : น้ําไมเดือดตอนตน แตจะน้ําเดือดเมื่อทิ้งไวนาน


คําตอบ 4 : น้ําเดือด แตปริมาณน้ําไมเปลี่ยนแปลงตามเวลา

ม จ


ขอที่ : 89

ิ์ ห
สําหรับหอดูดซึมแกส ที่ไมมีการเกิดปฏิกิริยาจะมีคาระดับขั้นเสรี (Degree of freedom) เทาไหร


คําตอบ 1 : 0

ิ ท
คําตอบ 2 :


1


คําตอบ 3 : 2


คําตอบ 4 : 3

ส ง

ขอที่ : 90


สําหรับหอสกัดที่ไมมีการเกิดปฏิกิริยาจะมีคาระดับขั้นเสรี (Degree of freedom) เทาไหร
คําตอบ 1 : 0

ก ร

คําตอบ 2 : 1

าว ศ

คําตอบ 3 : 2
คําตอบ 4 : 3

ขอที่ : 91
ส ภ
โดยทั่วไปแลวสมการเสนปฏิบัติการสําหรับปฏิบัติการแยกสารโดยใชเครื่องมือที่มีขั้นตอนสมดุลตอกันแบบอนุกรมนั้นจะเปนสมการเสนโคง เนื่องสาเหตุใด
คําตอบ 1 : อัตราการไหลของเฟสที่ไหลเขาและออกจะแปรผันตลอดทุกๆ ขั้นตอนสมดุล
คําตอบ 2 : ความดันลดที่เกิดในแตละขั้นตอนสมดุลมีคาแปรผันตลอดทุกๆ ขั้นตอนสมดุล
คําตอบ 3 : ความเขมขนของเฟสที่ไหลเขาและออกจะมีคาคงที่ตลอดทุกๆ ขั้นตอนสมดุล
คําตอบ 4 : อุณหภูมิมีคาแปรผันตลอดทุกๆ ขั้นตอนสมดุล
21 of 152
ขอที่ : 92
การสกัดเอทธานอล(C2H5OH)ที่ผสมกับน้ํา ควรเลือกสารตัวทําละลายใด
คําตอบ 1 : กรดน้ําสม(CH3COOH)
คําตอบ 2 : คารบอนเตตระคลอไรด(CCl4)
คําตอบ 3 : อะซิโตน(CH3COCH3)
คําตอบ 4 : ฟอรมัลดีไฮด(HCHO)


่ ย

ขอที่ : 93


ในขณะที่ตมน้ําใหเดือด ณ ความดัน 2 บรรยากาศ ความดันไอของน้ําควรสัมพันธกับความดันของระบบอยางไร


คําตอบ 1 : ความดันไอของน้ํานอยกวาความดันยอยของไอน้ําในระบบ

ม จ
คําตอบ 2 : ความดันไอของน้ําเทากับความดันยอยของไอน้ําในระบบ



คําตอบ 3 : ความดันไอของน้ํามากกวาความดันยอยของระบบ

ิ์ ห
คําตอบ 4 : ความดันไอของน้ําเทากับความดันรวมของระบบ

ขอที่ : 94

ิ ทธ

ในขณะที่ระเหยน้ํา ณ ความดัน 2 บรรยากาศ และอุณหภูมิ 80 องศาเซลเซียส ความดันไอของน้ําควรสัมพันธกับความดันในระบบอยางไร
คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :
ความดันไอของน้ําสูงกวาความดันยอยของไอน้ําในระบบ
ความดันไอของน้ําเทากับความดันยอยของไอน้ําในระบบ

ง ว น
อ ส
คําตอบ 3 : ความดันไอของน้ําต่ํากวาความดันยอยของไอน้ําในระบบ


คําตอบ 4 : ความดันไอของน้ําเทากับความดันรวมของระบบ

ก ร

ขอที่ : 95



ในขณะที่ควบแนนไอน้ํา ณ ความดัน 2 บรรยากาศ และอุณหภูมิ 60 องศาเซลเซียส ความดันไอของน้ําควรสัมพันธกับความดันในระบบอยางไร

าว
คําตอบ 1 : ความดันไอของน้ําสูงกวาความดันยอยของไอน้ําในระบบ


คําตอบ 2 : ความดันไอของน้ําเทากับความดันยอยของไอน้ําในระบบ


คําตอบ 3 : ความดันไอของน้ําต่ํากวาความดันยอยของไอน้ําในระบบ
คําตอบ 4 : ความดันไอของน้ําเทากับความดันรวมของระบบ

ขอที่ : 96
ขอใดกลาวถึงกฎของกาซอุดมคติไดอยางถูกตอง
คําตอบ 1 : ปริมาตรของกาซจะแปรผกผันกับความดัน เมื่อมวลและอุณหภูมิของกาซมีคาคงที่
22 of 152
คําตอบ 2 : ปริมาตรของกาซจะแปรตรงกับความดัน เมื่อมวลและอุณหภูมิของกาซมีคาคงที่
คําตอบ 3 : ปริมาตรของกาซจะแปรผกผันกับอุณหภูมิ เมื่อมวลและความดันของกาซมีคาคงที่
คําตอบ 4 : ความดันของกาซจะแปรผกผันกับมวลของกาซ เมื่อปริมาตรและมวลของกาซมีคาคงที่

ขอที่ : 97
กฎของเฮนรี (Henry’s Law) จะใชไดดีกรณีใด
คําตอบ 1 : กาซอุดมคติ


่ ย
คําตอบ 2 : สารละลายอุดมคติ


คําตอบ 3 : สารละลายเจือจาง


คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

จ ำ

ขอที่ : 98



คาคงที่ของเฮนรี่ขึ้นอยูกับคาอะไรเปนหลัก

ิ์ ห
คําตอบ 1 : อุณหภูมิ


คําตอบ 2 : ความดัน

ิ ท
คําตอบ 3 : ชนิดตัวทําละลาย
คําตอบ 4 : ขอ 1 และ 3

นส
ง ว

ขอที่ : 99


กฎของราอูลทกลาวไววาอยางไร

ร ข
คําตอบ 1 : ความดันยอยของสารที่อยูในสารละลายเทากับผลคูณของความดันไอของสารนั้น คูณกับเศษสวนโมลของสารนั้น


คําตอบ 2 : ความดันของสารที่อยูในสารละลายเทากับผลคูณของความดันไอของสารนั้น คูณกับเศษสวนโมลของสารนั้น


คําตอบ 3 : ความดันยอยของสารที่อยูในสารละลายเทากับผลคูณของความดันของสารนั้น คูณกับเศษสวนโมลของสารนั้น

าว ศ

คําตอบ 4 : ความดันของสารที่อยูในสารละลายเทากับผลคูณของความดันของสารนั้น คูณกับเศษสวนโมลของสารนั้น

ส ภ
ขอที่ : 100
สมการใดตอไปนี้ไมสามารถใชประมาณคา K สําหรับสมดุลระหวาง ของเหลวและไอได
คําตอบ 1 : Raoult’s law
คําตอบ 2 : Henry’s law
คําตอบ 3 : Poynting correction
คําตอบ 4 : van laar equation

23 of 152
ขอที่ : 101
ขอใดกลาวถึงแฟกเตอร Ki (หรือสัมประสิทธิ์ของการกระจายขององคประกอบยอย i) ระบบที่อยูภายใตสภาวะสมดุลไอ-ของเหลวไดอยางถูกตอง
คําตอบ 1 : Ki ไมขึ้นกับอุณหภูมิ
คําตอบ 2 : Ki ไมขึ้นกับความดัน
คําตอบ 3 : Ki ไมขึ้นกับความเขมขนทั้งหมดของเฟสของเหลว
คําตอบ 4 : ประเมินหาคาของแฟกเตอร Ki ไดจาก Raoult’s Law เมื่อทราบความดันรวมของระบบและความดันไอขององคประกอบยอย i


ขอที่ :



102


ในการคํานวณหาความสูงของเครื่องมือแยกสารจําเปนตองทราบขอมูลสมดุลระหวางความ เขมขนในแตละเฟส และแตละเฟสจะสมดุลซึ่งกันและกันเมื่อ


คําตอบ 1 : ความดันในระบบมีคาคงที่


คําตอบ 2 : ศักยทางเคมีแตละเฟส (Chemical potential) เทากัน

ม จ
คําตอบ 3 : ความเขมขนแตละเฟสมีคาเทากัน



คําตอบ 4 : ความดันยอยของแตละเฟสมีคาเทากัน

ขอที่ : 103

ธ ิ์ ห
ิ ท
กฎของเฮนรี่ใชไดกับระบบใด
คําตอบ 1 : สารละลายเจือจางของโมเลกุลมีขั้ว

นส

คําตอบ 2 : สารละลายเจือจางของโมเลกุลไมมีขั้ว


คําตอบ 3 : สารละลายเจือจางอิเลคโตรไลท

อ ส
คําตอบ 4 : ขอ 1 และ 2 ถูก

ขอที่ : 104

ก ร ข

ในการสกัดของเหลว สมดุลที่แสดงการกระจายตัวของตัวถูกละลาย A อยูในของเหลว B และ S ที่ไมผสมกัน (หรือผสมกันไดเพียงบางสวน) สามารถแสดงดวยรูปกราฟพิกัดสาม



เหลี่ยม (Triangular coordinates) ซึ่งความเขมขนที่แทนโดยจุดใดๆ ในแผนภาพสามเหลี่ยมดานเทานี้จะหมายถึง

าว
คําตอบ 1 : ความเขมขนของสารผสมระหวาง A และ B


คําตอบ 2 : ความเขมขนของสารผสมระหวาง A และ C


คําตอบ 3 : ความเขมขนของสารผสมระหวาง B และ S
คําตอบ 4 : ความเขมขนของสารผสมทั้งหมด

ขอที่ : 105
ขอใดถูกในเรื่องสมดุล (equilibrium)
คําตอบ 1 : สมดุลของการกลั่นเปนการใชสมการของเฮนรี (Henry)
คําตอบ 2 : ในหอดูดซับใชสมการของราอูลท (Raoult)
24 of 152
คําตอบ 3 : ในกระบวนการสกัดใชไดอะแกรมวัฏภาค (phase diagram)
คําตอบ 4 : ขอ 1 และ 2 ถูก

ขอที่ : 106
ขอใดถูกตอง
คําตอบ 1 : เสนสมดุลในหอดูดซับ (absorption) หาไดจากกฏของ Henry


่ ย
คําตอบ 2 : เสนสมดุลในหอกลั่น (distillation) หาไดจากกฏของ Raoult


คําตอบ 3 : สมดุลของหอสกัดหาไดจากสมดุลสามเหลี่ยม (triangular coordinate)


คําตอบ 4 : ถูกทั้งขอ 1 2 และ 3

จ ำ

ขอที่ : 107



สําหรับการออกแบบเครื่องมือแยกสารนั้นโดยทั่วไปแลวขั้นตอนหรือเทรยหรือเพลท จะหมายถึงอะไร

ิ์ ห
คําตอบ 1 : อุปกรณที่ใชเสริมความแข็งแรงของเครื่องมือแยกสาร


คําตอบ 2 : บริเวณที่มีการสัมผัสกันระหวางเฟส

ิ ท
คําตอบ 3 : อุปกรณที่ใชปองกันการสูญเสียความดันลดภายในเครื่องมือแยกสาร
คําตอบ 4 :

นส
อุปกรณที่ใชเพิ่มประสิทธิภาพในการถายเทความรอนภายในเครื่องมือแยกสาร

ง ว

ขอที่ : 108


ขอใดไมใชสมบัติไมขึ้นอยูกับปริมาณ (Intensive Properties)

ร ข
คําตอบ 1 : อุณหภูมิ


คําตอบ 2 : ความดัน


คําตอบ 3 : องคประกอบในแตละวัฏภาค

าว ศ

คําตอบ 4 : อัตราการไหลเชิงโมล

ส ภ
ขอที่ : 109
ขอใดไมใชสมบัติขึ้นอยูกับปริมาณ (Extensive Properties)
คําตอบ 1 : มวล
คําตอบ 2 : โมล
คําตอบ 3 : เอนทัลป
คําตอบ 4 : ความดัน

25 of 152
ขอที่ : 110
จากสมการองศาความอิสระ (Degree of freedom) ของกิบบส F = C-P+2 เมื่อ F คือ องศาความอิสระ C คือจํานวนขององคประกอบ P คือ จํานวนวัฏภาคที่สภาวะสมดุล ถาใน
ระบบหนึ่งซึ่งเปนสมดุลไอ-ของเหลว และถามี 3 องคประกอบจงหาวาจํานวนองศาความอิสระเปนเทาใด
คําตอบ 1 : 1
คําตอบ 2 : 2
คําตอบ 3 : 3
คําตอบ 4 : 4

ขอที่ :


่ ย

111


ตัวแปรใดที่ ไมเกี่ยวของกับ การกลั่นแบบพริบตาเลย


คําตอบ 1 : อัตราการไหลของสารปอน


คําตอบ 2 : สัดสวนโดยโมล


้ ม
คําตอบ 3 : อัตราการไหลของผลิตภัณฑของเหลว

ิ์ ห
คําตอบ 4 : เรซิน

ขอที่ : 112

ิ ทธ

ไอของน้ํามันเบนซินสําหรับรถยนตถูกแยกออกจากสวนที่เปนของเหลว ณ ความดันบรรยากาศไดที่อุณหภูมิใด

ว น
คําตอบ 1 : อุณหภูมิสูงกวาจุดน้ําคาง(dew point)


คําตอบ 2 : อุณหภูมิจุดน้ําคาง


คําตอบ 3 : อุณหภูมิระหวางจุดน้ําคางกับจุดเดือด(bubble point)

ขอ
คําตอบ 4 : อุณหภูมิจุดเดือด

ก ร

ขอที่ : 113



ในการสกัดของเหลว สมดุลที่แสดงการกระจายตัวของตัวถูกละลาย A อยูในของเหลว B และ S ที่ไมผสมกัน (หรือผสมกันไดเพียงบางสวน) สามารถแสดงดวยรูปกราฟพิกัดสาม

าว
เหลี่ยม (Triangular coordinates) ซึ่งความเขมขนที่แทนโดยจุดใดๆ ในแผนภาพสามเหลี่ยมดานเทานี้จะหมายถึง


คําตอบ 1 : ความเขมขนของสารผสมระหวาง A และ B


คําตอบ 2 : ความเขมขนของสารผสมระหวาง B และ S
คําตอบ 3 : ความเขมขนของสารผสมระหวาง B และ C
คําตอบ 4 : ความเขมขนของสารผสมทั้งหมด

ขอที่ : 114
เมื่อปอนน้ํามันกาด(kerosene)เขาถังแยก ณ ความดันบรรยากาศ และอุณหภูมิสูงกวาจุดเดือด(bubble point temperature) จะไดผลลัพธเปนอยางไร
คําตอบ 1 : น้ํามันกาดเปนของเหลวอุณหภูมิต่ํา 26 of 152
คําตอบ 2 : น้ํามันกาดเปนของเหลวอิ่มตัว
คําตอบ 3 : น้ํามันกาดเปนไอบางสวน
คําตอบ 4 : น้ํามันกาดเปนไออิ่มตัว

ขอที่ : 115
เมื่อเก็บน้ํามันเบนซิน(gasoline)ไวในถังน้ํามัน ณ อุณหภูมิหอง และภายใตความดันสูงกวาความดันจุดเดือด(bubble point pressure) น้ํามันเบนซินควรมีสภาพอยางไร
คําตอบ 1 : เปนไอยิ่งยวด


่ ย
คําตอบ 2 : เปนไอบางสวน


คําตอบ 3 : เปนของเหลวอิ่มตัว


คําตอบ 4 : เปนของเหลวอุณหภูมิต่ํา

จ ำ

ขอที่ : 116



เมื่อเก็บน้ํามันดีเซล(diesel)ไวในถังน้ํามัน ณ ความดันบรรยากาศ และภายใตอุณหภูมิต่ํากวาอุณหภูมิจุดน้ําคาง(dew point temperature) น้ํามันดีเซลควรมีสภาพอยางไร

ิ์ ห
คําตอบ 1 : เปนของเหลวอุณหภูมิต่ํา


คําตอบ 2 : เปนของเหลวอิ่มตัว

ิ ท
คําตอบ 3 : เปนของเหลวบางสวน
คําตอบ 4 : เปนไออิ่มตัว

นส
ง ว

ขอที่ : 117


เมื่อปอนน้ํามันเบนซิน(gasoline)เขาถังแยก ณ ความดันบรรยากาศ และอุณหภูมิสูงกวาอุณหภูมิจุดเดือด(bubble point temperature) อุณหภูมิของไอสัมพันธกับอุณหภูมิของของ


เหลวที่ออกจากถังแยกอยางไร

ก ร
คําตอบ 1 : อุณหภูมิไอสูงกวาอุณหภูมิของเหลว


คําตอบ 2 : อุณหภูมิไอเทากับอุณหภูมิของเหลว



คําตอบ 3 : อุณหภูมิไอต่ํากวาอุณหภูมิของเหลว

าว
คําตอบ 4 : ไมมีความสัมพันธกัน

ขอที่ : 118

ส ภ
ถาปอนน้ํามันเบนซิน(gasoline)เขาถังแยก ณ อุณหภูมิหอง และความดันต่ํากวาความดันจุดน้ําคาง(dew point pressure) จะไดผลลัพธเปนอยางไร
คําตอบ 1 : ไดเพียงน้ํามันเบนซินเหลว
คําตอบ 2 : ไดเปนน้ํามันเบนซินอิ่มตัว
คําตอบ 3 : ไดเปนไอน้ํามันเบนซินอิ่มตัว
คําตอบ 4 : ไดเปนไอน้ํามันเบนซินยิ่งยวด
27 of 152
ขอที่ : 119
เมื่อปอนน้ํามันเบนซิน(gasoline)เขาถังแยก ณ อุณหภูมิหอง และความดันต่ํากวาความดันจุดเดือด(bubble point pressure) ความดันของไอน้ํามันเบนซินสัมพันธกับความดันของ
น้ํามันเบนซินที่ออกจากถังแยกอยางไร
คําตอบ 1 : ความดันไอต่ํากวาความดันน้ํามันเบนซินที่ออกมา
คําตอบ 2 : ความดันไอเทากับความดันน้ํามันเบนซินที่ออกมา
คําตอบ 3 : ความดันไอสูงกวาความดันน้ํามันเบนซินที่ออกมา


คําตอบ 4 : ไมสัมพันธกัน

ขอที่ :

น า


120


การแยกน้ํามันเบนซิน(gasoline)ความดันสูงดวยถังแยก ณ ความดันบรรยากาศ และอุณหภูมิของจุดน้ําคาง(dew point temperature)ของน้ํามันเบนซิน ปริมาณใดคงที่เมื่อผานถัง


แยก


คําตอบ 1 : อัตราการไหลของน้ํามัน
คําตอบ 2 :
คําตอบ 3 :
องคประกอบของน้ํามัน
ความดันของไอน้ํามัน

ิ์ ห า


คําตอบ 4 : องคประกอบของไอน้ํามัน

ส ิ ท

ขอที่ :


121


ที่ความดันรวม 101.32 kPa ถาความดันไอเทากัน 135.5 kPa ที่สัดสวนโมลของเหลว XA จงหาองคประกอบของไอ (yA)


คําตอบ 1 : yA = 0.03


คําตอบ 2 : yA = 0.13

ร ข
คําตอบ 3 : yA = 0.23


คําตอบ 4 : yA = 0.33


ิ ว
าว
ขอที่ : 122
ที่ความดันรวม 101.32 kPa ถาความดันเทากับ 135.5 kPa ที่สัดสวนโมลของเหลว yA = 0.1 จงหาองคประกอบของของเหลว (xA)


คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :
คําตอบ 3 :
ภ xA = 0.075
xA = 0.095
xA = 0.075
คําตอบ 4 : xA = 0.135

ขอที่ : 123
จงหาองคประกอบของของเหลวที่สมดุลที่ 95 องศาเซลเซียสของเบนซีน-โทลูอีน ที่ความดันรวม 101.32 kPa โดยความดันไอเบนซีนเทากับ 155.7 kPa และ ความดั
28 of 152นไอโทลูอีน
เทากับ 63.3 kPa
คําตอบ 1 : xA = 0.41
คําตอบ 2 : xA = 0.55
คําตอบ 3 : xA = 0.63
คําตอบ 4 : xA = 0.75

ขอที่ : 124


โดยทั่วไปแลวตําแหนงที่เหมาะสมในการปอนสารเขาสูเครื่องมือแยกสารที่มีขั้นตอนสมดุลตอกันแบบอนุกรมนั้นจะกําหนดใหเปนตําแหนงที่ความเขมขนของสายปอนเทากับหรือใกล



เคียงกับความเขมขนของสายที่ไหลเขาสูขั้นตอนสมดุลขั้นตอนใดขั้นตอนหนึ่ง ซึ่งขั้นตอนนั้นเรียกวา ขั้นตอนปอน (Feed stage) อะไรคือสาเหตุที่ตองทําเชนนั้น
คําตอบ 1 : เพื่อรักษาสภาวะของสายปอนและสายที่เขาขั้นตอนปอนไมใหเปลี่ยนแปลง

หน

คําตอบ 2 : เพื่อเพิ่มคาสัมประสิทธิ์การถายเทมวลของสายปอนและและสายที่เขาขั้นตอนปอน


คําตอบ 3 : เพื่อเพิ่มคาสัมประสิทธิ์การถายเทความรอนของสายปอนและและสายที่เขาขั้นตอนปอน


้ ม
คําตอบ 4 : เพื่อรักษาอัตราการไหลของสายปอนไมใหเปลี่ยนแปลง

ขอที่ : 125

ธ ิ์ ห
ิ ท
สําหรับเครื่องมือแยกสารที่มีระบบการไหลแบบสวนทางกัน จุดตางๆ ที่อยูบนเสนโคงสมดุลจะระบุขอมูลใดตอไปนี้


คําตอบ 1 : ความสัมพันธระหวางความเขมขนของทั้งสองเฟสที่ออกจากขั้นตอนสมดุล

ว น
คําตอบ 2 : ความสัมพันธระหวางอัตราการไหลของทั้งสองเฟสที่ออกจากขั้นตอนสมดุล


คําตอบ 3 : ความสัมพันธระหวางความดันยอยของทั้งสองเฟสที่ออกจากขั้นตอนสมดุล


คําตอบ 4 : ความสัมพันธระหวางอัตราการถายเทมวลของทั้งสองเฟสที่ออกจากขั้นตอนสมดุล

ขอที่ :

ร ขอ

126


ถาขั้นตอนสมดุลใดๆ เกิดปรากฏการณที่จํานวนโมลของสารที่อยูในไอกลั่นตัวเปนของเหลวเทากับจํานวนโมลของสารที่อยูในของเหลวระเหยกลายเปนไอแลว จะทําใหอัตราการ



ไหลของของเหลวและไอรวมที่เขาและออกจากขั้นตอนสมดุลนั้นๆ คงที่ และกรณีนี้จะทําให

าว
คําตอบ 1 : เสนสมดุลไอ-ของเหลวของระบบจะมีลักษณะเปนเสนตรง


คําตอบ 2 : เสนปฏิบัติการจะเปนเสนตรง


คําตอบ 3 : เสนปฏิบัติการจะเปนเสนโคงคว่ํา
คําตอบ 4 : เสนปฏิบัติการจะเปนเสนโคงหงาย

ขอที่ : 127
ในการออกแบบเครื่องมือแยกสารนั้นมีความจําเปนตองทราบขอมูลเกี่ยวกับความเขมขนที่สมดุลกันของสารทั้งสองเฟส ขอใดคือเหตุผลของความจําเปนนี้
คําตอบ 1 : ความดันลดจะมีคามากเมื่อเฟสทั้งสองถึงจุดสมดุลซึ่งกันและกัน
คําตอบ 2 : การถายเทมวลของสารในสองเฟสจะหยุดลงเมื่อเฟสทั้งสองถึงจุดสมดุลซึ่งกันและกัน 29 of 152
คําตอบ 3 : การถายเทโมเมนตัมของสารในสองเฟสจะหยุดลงเมื่อเฟสทั้งสองถึงจุดสมดุลซึ่งกันและกัน
คําตอบ 4 : การถายเทความรอนของสารในสองเฟสจะหยุดลงเมื่อเฟสทั้งสองถึงจุดสมดุลซึ่งกันและกัน

ขอที่ : 128
ขอใดกลาวถึงกฎของเฟส (Phase Rule)ไมถูกตอง
คําตอบ 1 : ใชไดกับระบบที่ไมมีปฏิกิริยาเคมีเกิดขึ้น
คําตอบ 2 : ใชกับสถานะหรือสมบัติที่ไมขึ้นกับปริมาณ (Intensive properties)


่ ย
คําตอบ 3 : จะใหขอมูลที่แตกตางกันสําหรับระบบที่มีขนาดใหญและระบบที่มีขนาดเล็ก


คําตอบ 4 : เฟสหลายเฟสอาจจะอยูรวมกันไดแตตองอยูในสภาวะที่สมดุล

ขอที่ : 129

จ ำ ห

ระบบที่ประกอบดวย น้ํา น้ําแข็ง และไอน้ําที่อยูในสภาวะสมดุล จะมีจํานวนองคประกอบ (Component, C) จํานวนเฟส (Phase, P) และองศาอิสระ (degree of freedom, F) เทา



กับขอใดตอไปนี้

ิ์ ห
คําตอบ 1 : C = 3, P = 3, F = 2


คําตอบ 2 : C = 1, P = 3, F = 0

ิ ท
คําตอบ 3 : C = 3, P = 1, F = 2


คําตอบ 4 :


C = 1, P = 3, F = 2

ขอที่ :

ง ว

130


ระบบในขอใดตอไปนี้มีองศาของความอิสระ (Degree of freedom) เทากับ 2


คําตอบ 1 : น้ําและไอน้ําที่อยูในสภาวะสมดุล

ก ร
คําตอบ 2 : น้ํา น้ําแข็ง และไอน้ําที่อยูในสภาวะสมดุล


คําตอบ 3 : สารละลายและไอของสารละลายกรดไฮโดรคลอริก ที่อยูในสภาวะสมดุล



คําตอบ 4 : น้ํา และน้ําแข็งที่อยูในสภาวะสมดุล

ขอที่ : 131

ภ าว

ของเหลวผสมเมื่ออยูภายใตสภาวะที่สมดุลกับไอ ถาอุณหภูมิ ความดัน และความเขมขนของ องคประกอบยอยใดๆ ในของเหลวผสมนั้นไมเปลี่ยนแปลง จะทําใหปริมาณใดตอไปนี้
ไมเปลี่ยนแปลง
คําตอบ 1 : ความเขมขนขององคประกอบยอยในไอ
คําตอบ 2 : คาการละลายขององคประกอบยอยในไอ
คําตอบ 3 : คาการนําไฟฟาขององคประกอบยอยในไอ
คําตอบ 4 : คาของสัมประสิทธิ์การแพรขององคประกอบยอยในไอ
30 of 152
ขอที่ : 132
อะไรไมใชลักษณะของกระบวนการกลั่นแบบพริบตา
คําตอบ 1 : สารปอนมักจะมีองคประกอบมากกวา 2 ชนิด
คําตอบ 2 : มี 2 ชนิดคือ ชนิดอะเดียบาติก (Adiabatic) และไอโซเทอรมัล (Isothermal)
คําตอบ 3 : สารปอนสามารถเปนไดทั้งของเหลว และไอ
คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ


ขอที่ :



133


คาการระเหยสัมพัทธ ไมขึ้นกับ ตัวแปรใดเลย จากที่กําหนดใหตอไปนี้


คําตอบ 1 : จุดเดือด


คําตอบ 2 : ความดัน

ม จ
คําตอบ 3 : ความดันไอ



คําตอบ 4 : ผิดทุกขอ

ขอที่ : 134

ธ ิ์ ห
ิ ท
การกลั่นแบบพริบตา (Flash) คือ อะไร
คําตอบ 1 :

นส
การกลั่นในหอกลั่นน้ํามันโดยใชเวลา resident time นอยกวา 0.005 วินาที


คําตอบ 2 : การกลั่นแบบขั้นตอนเดี่ยวสมดุลซึ่งสารปอนถูกระเหยบางสวนเพื่อใหไดสวนที่เปนไอมากกวาสวนที่เปนของเหลว (สําหรับองคประกอบที่มีคาการระเหยสูง)


คําตอบ 3 : การกลั่นแบบหลายขั้นตอนซึ่งสารปอนถูกระเหยบางสวนเพื่อใหไดสวนที่เปนไอมากกวาสวนที่เปนของเหลว (สําหรับองคประกอบที่มีคาการระเหยสูง)

อ ส
คําตอบ 4 : การกลั่นสําหรับสารปอนองคประกอบเดียว และใชเวลานอยกวา 0.005 วินาที

ขอที่ : 135

ก ร ข

แผนภาพ (chart) ใดที่เกี่ยวของโดยตรงกับการคํานวณการกลั่นแบบพริบตา

าว ศ

คําตอบ 1 : DePriester chart
คําตอบ 2 : Kox chart


คําตอบ 3 : Friction-factor chart


คําตอบ 4 : Isolated fiber efficiency chart

ขอที่ : 136
ในการคํานวณ Isothermal Flash ครั้งหนึ่ง ซึ่งหลังจากคํานวณแลวพบวา คาสัดสวนของปริมาณสารผลิตภัณฑในวัฏภาคไอตอสารปอนเทากับ 0.8 ถาปริมาณสารปอนเทากับ 1,000
กิโลโมลตอชั่วโมง จงหาวา อัตราการไหลของผลิตภัณฑในวัฏภาคของเหลวจะเปนเทาใด
คําตอบ 1 : 100 กิโลโมลตอชั่วโมง
คําตอบ 2 : 200 กิโลโมลตอชั่วโมง 31 of 152
คําตอบ 3 : 300 กิโลโมลตอชั่วโมง
คําตอบ 4 : 400 กิโลโมลตอชั่วโมง

ขอที่ : 137
จงหาองศาความอิสระ(degree of freedom) ของระบบซึ่งประกอบดวยสารสองชนิดละลายเขากัน แตไมทําปฏิกิริยากัน และสรางอะซีโทรปในสภาวะสมดุลไอ-ของเหลว
คําตอบ 1 : 1


่ ย
คําตอบ 2 : 2


คําตอบ 3 : 3


คําตอบ 4 : 4

จ ำ

ขอที่ : 138

ิ์ ห า

ิ ทธ
นส
ง ว
อ ส
ก ร ข

ิ ว
ภ าว

32 of 152
จากรูปแสดง Pxy diagram ของระบบสองสารซึ่งอยูในสภาวะสมดุลวัฏภาคสองวัฎภาค ระบบสารในรูปใดไมควรใช Raoult law ในการคํานวณ

่ ย
หน
จ ำ

้ ม
ธ ิ์ ห
ส ิ ท
ง ว น
อ ส
ก ร ข

คําตอบ 1 : รูป A และ B



คําตอบ 2 : รูป A และ C

าว
คําตอบ 3 : รูป A และ D


คําตอบ 4 : รูป B และ D

ขอที่ : 139

33 of 152
จากรูปแสดง Pxy diagram ของระบบสองสารซึ่งอยูในสภาวะสมดุลวัฏภาคสองวัฎภาค ระบบสารในขอใดเกิด azeotrope

่ ย
หน
จ ำ

้ ม
ธ ิ์ ห
ส ิ ท
ง ว น
อ ส
ก ร ข

คําตอบ 1 : A และ B



คําตอบ 2 : A และ C

าว
คําตอบ 3 : A และ D


คําตอบ 4 : B และ D

ขอที่ : 140

34 of 152
จากรูปแสดง Txy diagram ของระบบสองสารซึ่งอยูในสภาวะสมดุลวัฏภาคสองวัฎภาค ระบบสารในรูปใดไมควรใช Raoult law ในการคํานวณ

่ ย
หน
จ ำ

้ ม
ธ ิ์ ห
ส ิ ท
ง ว น
อ ส
ก ร ข

คําตอบ 1 : C และ D



คําตอบ 2 : B และ D

าว
คําตอบ 3 : A และ D


คําตอบ 4 : B และ C

ขอที่ : 141

35 of 152
จากรูปแสดง Txy diagram ของระบบสองสารซึ่งอยูในสภาวะสมดุลวัฏภาคสองวัฎภาค ระบบสารในขอใดเกิด azeotrope

่ ย
หน
จ ำ

้ ม
ธ ิ์ ห
ส ิ ท
ง ว น
อ ส
ก ร ข

คําตอบ 1 : A และ D



คําตอบ 2 : A และ C

าว
คําตอบ 3 : A และ B


คําตอบ 4 : B และ D

ขอที่ : 142

ขอใดกลาวเกี่ยวกับ Raoult law ไดอยางถูกตอง ก. ควรใชกับระบบซึ่งวัฏภาคไอประพฤติตัวแบบกาซอุดมคติ ข. ควรใชกับระบบซึ่งวัฏภาคของเหลวประพฤติตัวแบบสารละลาย
อุดมคติ ค. ควรใชกับระบบซึ่งวัฏภาคของเหลวประพฤติตัวแบบ newtonian fluid
คําตอบ 1 : ขอ ก และ ข เทานั้น
คําตอบ 2 : ขอ ก และ ค เทานั้น
คําตอบ 3 : ขอ ข และ ค เทานั้น 36 of 152
คําตอบ 4 : ทั้งขอ ก ข และ ค
ขอที่ : 143
ขอใดกลาวเกี่ยวกับ Raoult law ไดอยางถูกตอง ก. ควรใชกับระบบซึ่งมีความดันสูงมากๆ ข. ควรใชกับระบบซึ่งวัฏภาคของเหลวประพฤติตัวแบบสารละลายอุดมคติ ค. ควรใชกับ
ระบบซึ่งวัฏภาคของเหลวประพฤติตัวแบบ incompressible fluid
คําตอบ 1 : ขอ ก เทานั้น
คําตอบ 2 : ขอ ข เทานั้น


คําตอบ 3 : ขอ ค เทานั้น



คําตอบ 4 : ทั้งขอ ก ข และ ค

หน

ขอที่ : 144


ในการใชแบบจําลอง Wilson สําหรับจําลองระบบสมดุลไอ-ของเหลวของระบบสองสารตองใชพารามิเตอรจํานวนกี่ตัว


้ ม
คําตอบ 1 : 5

ิ์ ห
คําตอบ 2 : 4


คําตอบ 3 : 3

ิ ท
คําตอบ 4 : 2

นส

ขอที่ : 145


จากรูปคือแบบจําลอง Wilson และขอมูลที่เกี่ยวของ จงคํานวณหา activity coefficient ของ Acetone ในวัฏภาคของเหลว ซึ่งอยูในสมดุลไอ-ของเหลวซึ่งประกอบดวย Acetone


และน้ําโดยมีสัดสวนโมลในวัฏภาคของเหลว ของ Acetone และน้ําเทากับ 0.5 และ 0.5 ตามลําดับ ระบบนี้มีความดัน 1 บรรยากาศ อุณหภูมิ 87 C

ร ขอ
ว ก
าว ศ

ส ภ
คําตอบ 1 : 0.895
คําตอบ 2 : 1.005
คําตอบ 3 : 1.387
คําตอบ 4 : 1.584
37 of 152
ขอที่ : 146
จากรูปคือแบบจําลอง Wilson และขอมูลที่เกี่ยวของ จงคํานวณหา activity coefficient ของน้ําในวัฏภาคของเหลว ซึ่งอยูในสมดุลไอ-ของเหลวซึ่งประกอบดวย Acetone และน้ํา
โดยมีสัดสวนโมลในวัฏภาคของเหลว ของ Acetone และน้ําเทากับ 0.5 และ 0.5 ตามลําดับ ระบบนี้มีความดัน 1 บรรยากาศ อุณหภูมิ 87 C


่ ย
หน
จ ำ

้ ม
ิ์ ห
คําตอบ 1 : 0.894
คําตอบ 2 :


0.958
คําตอบ 3 :

ิ ท
1.005


คําตอบ 4 : 1.149

ขอที่ : 147

ง ว น

จากรูปคือแบบจําลอง Wilson และขอมูลที่เกี่ยวของ จงคํานวณหา activity coefficient ของ Acetone ในวัฏภาคของเหลว ซึ่งอยูในสมดุลไอ-ของเหลวซึ่งประกอบดวย Acetone


และน้ําโดยมีสัดสวนโมลในวัฏภาคของเหลว ของ Acetone และน้ําเทากับ 0.01 และ 0.99 ตามลําดับ ระบบนี้มีความดัน 1 บรรยากาศ อุณหภูมิ 87 C

ก ร ข

ิ ว
ภ าว

คําตอบ 1 : 10.573
คําตอบ 2 : 10.939
คําตอบ 3 : 11.205
คําตอบ 4 : 11.568 38 of 152
ขอที่ : 148
จากรูปคือแบบจําลอง Wilson และขอมูลที่เกี่ยวของ จงคํานวณหา activity coefficient ของน้ําในวัฏภาคของเหลว ซึ่งอยูในสมดุลไอ-ของเหลวซึ่งประกอบดวย Acetone และน้ํา
โดยมีสัดสวนโมลในวัฏภาคของเหลว ของ Acetone และน้ําเทากับ 0.01 และ 0.99 ตามลําดับ ระบบนี้มีความดัน 1 บรรยากาศ อุณหภูมิ 87 C


่ ย
หน
จ ำ

้ ม
ิ์ ห
คําตอบ 1 :


0.856
คําตอบ 2 :

ิ ท
0.892


คําตอบ 3 : 0.952


คําตอบ 4 : 0.995

ง ว

ขอที่ : 149


จากรูปคือแบบจําลอง Wilson และขอมูลที่เกี่ยวของ จงคํานวณหา activity coefficient ของ Acetone ในวัฏภาคของเหลว ซึ่งอยูในสมดุลไอ-ของเหลวซึ่งประกอบดวย Acetone


และน้ําโดยมีสัดสวนโมลในวัฏภาคของเหลว ของ Acetone และน้ําเทากับ 0.2 และ 0.8 ตามลําดับ ระบบนี้มีความดัน 1 บรรยากาศ อุณหภูมิ 87 C

ก ร

ิ ว
ภ าว

คําตอบ 1 : 2.849
คําตอบ 2 : 2.783
คําตอบ 3 : 2.684 39 of 152
คําตอบ 4 : 2.673
ขอที่ : 150
จากรูปคือแบบจําลอง Wilson และขอมูลที่เกี่ยวของ จงคํานวณหา activity coefficient ของน้ําในวัฏภาคของเหลว ซึ่งอยูในสมดุลไอ-ของเหลวซึ่งประกอบดวย Acetone และน้ํา
โดยมีสัดสวนโมลในวัฏภาคของเหลว ของ Acetone และน้ําเทากับ 0.2 และ 0.8 ตามลําดับ ระบบนี้มีความดัน 1 บรรยากาศ อุณหภูมิ 87 C


่ ย
หน
จ ำ

้ ม
ิ์ ห
คําตอบ 1 :


1.000
คําตอบ 2 :

ิ ท
1.010


คําตอบ 3 : 1.154


คําตอบ 4 : 1.183

ง ว

ขอที่ : 151


จากรูปคือแบบจําลอง Wilson และขอมูลที่เกี่ยวของ จงคํานวณหา activity coefficient ของ Acetone ในวัฏภาคของเหลว ซึ่งอยูในสมดุลไอ-ของเหลวซึ่งประกอบดวย Acetone


และน้ําโดยมีสัดสวนโมลในวัฏภาคของเหลว ของ Acetone และน้ําเทากับ 0.99 และ 0.01 ตามลําดับ ระบบนี้มีความดัน 1 บรรยากาศ อุณหภูมิ 87 C

ก ร

ิ ว
ภ าว

คําตอบ 1 : 0.945
คําตอบ 2 : 1.000
คําตอบ 3 : 1.050 40 of 152
คําตอบ 4 : 1.103
ขอที่ : 152
จากรูปคือแบบจําลอง Wilson และขอมูลที่เกี่ยวของ จงคํานวณหา activity coefficient ของน้ําในวัฏภาคของเหลว ซึ่งอยูในสมดุลไอ-ของเหลวซึ่งประกอบดวย Acetone และน้ํา
โดยมีสัดสวนโมลในวัฏภาคของเหลว ของ Acetone และน้ําเทากับ 0.99 และ 0.01 ตามลําดับ ระบบนี้มีความดัน 1 บรรยากาศ อุณหภูมิ 87 C


่ ย
หน
จ ำ

้ ม
ิ์ ห
คําตอบ 1 :


1.232
คําตอบ 2 :

ิ ท
1.342


คําตอบ 3 : 1.395


คําตอบ 4 : 1.565

ง ว

ขอที่ : 153


จากรูปคือแบบจําลอง Wilson และขอมูลที่เกี่ยวของ จงคํานวณหา activity coefficient ของ Hexane ในวัฏภาคของเหลว ซึ่งอยูในสมดุลไอ-ของเหลวซึ่งประกอบดวย Hexane


และ p-Xylene โดยมีสัดสวนโมลในวัฏภาคของเหลว ของ Hexane และ p-Xylene เทากับ 0.99 และ 0.01 ตามลําดับ ระบบนี้มีความดัน 1.2 บรรยากาศ อุณหภูมิ 100 C

ก ร

ิ ว
ภ าว

คําตอบ 1 : 1.000
คําตอบ 2 : 0.965
คําตอบ 3 : 0.912 41 of 152
คําตอบ 4 : 0.894
ขอที่ : 154
จากรูปคือแบบจําลอง Wilson และขอมูลที่เกี่ยวของ จงคํานวณหา activity coefficient ของ p-Xylene ในวัฏภาคของเหลว ซึ่งอยูในสมดุลไอ-ของเหลวซึ่งประกอบดวย Hexane
และ p-Xylene โดยมีสัดสวนโมลในวัฏภาคของเหลว ของ Hexane และ p-Xylene เทากับ 0.99 และ 0.01 ตามลําดับ ระบบนี้มีความดัน 1.2 บรรยากาศ อุณหภูมิ 100 C


่ ย
หน
จ ำ

้ ม
ิ์ ห
คําตอบ 1 :


0.420
คําตอบ 2 :

ิ ท
0.497


คําตอบ 3 : 0.523


คําตอบ 4 : 0.547

ง ว

ขอที่ : 155


จากรูปคือแบบจําลอง Wilson และขอมูลที่เกี่ยวของ จงคํานวณหา activity coefficient ของ Hexane ในวัฏภาคของเหลว ซึ่งอยูในสมดุลไอ-ของเหลวซึ่งประกอบดวย Hexane


และ p-Xylene โดยมีสัดสวนโมลในวัฏภาคของเหลว ของ Hexane และ p-Xylene เทากับ 0.8 และ 0.2 ตามลําดับ ระบบนี้มีความดัน 1.2 บรรยากาศ อุณหภูมิ 100 C

ก ร

ิ ว
ภ าว

คําตอบ 1 : 0.845
คําตอบ 2 : 0.932
คําตอบ 3 : 1.014 42 of 152
คําตอบ 4 : 1.122
ขอที่ : 156
จากรูปคือแบบจําลอง Wilson และขอมูลที่เกี่ยวของ จงคํานวณหา activity coefficient ของ p-Xylene ในวัฏภาคของเหลว ซึ่งอยูในสมดุลไอ-ของเหลวซึ่งประกอบดวย Hexane
และ p-Xylene โดยมีสัดสวนโมลในวัฏภาคของเหลว ของ Hexane และ p-Xylene เทากับ 0.8 และ 0.2 ตามลําดับ ระบบนี้มีความดัน 1.2 บรรยากาศ อุณหภูมิ 100 C


่ ย
หน
จ ำ

้ ม
ิ์ ห
คําตอบ 1 :


0.530
คําตอบ 2 :

ิ ท
0.575


คําตอบ 3 : 0.592


คําตอบ 4 : 0.610

ง ว

ขอที่ : 157


จากรูปคือแบบจําลอง Wilson และขอมูลที่เกี่ยวของ จงคํานวณหา activity coefficient ของ Hexane ในวัฏภาคของเหลว ซึ่งอยูในสมดุลไอ-ของเหลวซึ่งประกอบดวย Hexane


และ p-Xylene โดยมีสัดสวนโมลในวัฏภาคของเหลว ของ Hexane และ p-Xylene เทากับ 0.4 และ 0.6 ตามลําดับ ระบบนี้มีความดัน 1.2 บรรยากาศ อุณหภูมิ 100 C

ก ร

ิ ว
ภ าว

คําตอบ 1 : 1.100
คําตอบ 2 : 1.156
คําตอบ 3 : 1.198 43 of 152
คําตอบ 4 : 1.204
ขอที่ : 158
จากรูปคือแบบจําลอง Wilson และขอมูลที่เกี่ยวของ จงคํานวณหา activity coefficient ของ p-Xylene ในวัฏภาคของเหลว ซึ่งอยูในสมดุลไอ-ของเหลวซึ่งประกอบดวย Hexane
และ p-Xylene โดยมีสัดสวนโมลในวัฏภาคของเหลว ของ Hexane และ p-Xylene เทากับ 0.4 และ 0.6 ตามลําดับ ระบบนี้มีความดัน 1.2 บรรยากาศ อุณหภูมิ 100 C


่ ย
หน
จ ำ

้ ม
ิ์ ห
คําตอบ 1 :


0.898
คําตอบ 2 :

ิ ท
0.868


คําตอบ 3 : 0.845


คําตอบ 4 : 0.769

ง ว

ขอที่ : 159


จากรูปคือแบบจําลอง Wilson และขอมูลที่เกี่ยวของ จงคํานวณหา activity coefficient ของ Benzene ในวัฏภาคของเหลว ซึ่งอยูในสมดุลไอ-ของเหลวซึ่งประกอบดวย Benzene


และ Toluene โดยมีสัดสวนโมลในวัฏภาคของเหลว ของ Benzene และ Toluene เทากับ 0.1 และ 0.9 ตามลําดับ ระบบนี้มีความดัน 1.5 บรรยากาศ อุณหภูมิ 100 C

ก ร

ิ ว
ภ าว

คําตอบ 1 : 0.985
คําตอบ 2 : 0.954
คําตอบ 3 : 0.867 44 of 152
คําตอบ 4 : 0.856
ขอที่ : 160
จากรูปคือแบบจําลอง Wilson และขอมูลที่เกี่ยวของ จงคํานวณหา activity coefficient ของ Toluene ในวัฏภาคของเหลว ซึ่งอยูในสมดุลไอ-ของเหลวซึ่งประกอบดวย Benzene
และ Toluene โดยมีสัดสวนโมลในวัฏภาคของเหลว ของ Benzene และ Toluene เทากับ 0.1 และ 0.9 ตามลําดับ ระบบนี้มีความดัน 1.5 บรรยากาศ อุณหภูมิ 100 C


่ ย
หน
จ ำ

้ ม
ิ์ ห
คําตอบ 1 :


0.785
คําตอบ 2 :

ิ ท
0.820


คําตอบ 3 : 0.874


คําตอบ 4 : 0.912

ง ว

ขอที่ : 161


จากรูปคือแบบจําลอง Wilson และขอมูลที่เกี่ยวของ จงคํานวณหา activity coefficient ของ Benzene ในวัฏภาคของเหลว ซึ่งอยูในสมดุลไอ-ของเหลวซึ่งประกอบดวย Benzene


และ Toluene โดยมีสัดสวนโมลในวัฏภาคของเหลว ของ Benzene และ Toluene เทากับ 0.15 และ 0.85 ตามลําดับ ระบบนี้มีความดัน 1.5 บรรยากาศ อุณหภูมิ 100 C

ก ร

ิ ว
ภ าว

คําตอบ 1 : 0.914
คําตอบ 2 : 0.934
คําตอบ 3 : 0.986 45 of 152
คําตอบ 4 : 1.043
ขอที่ : 162
จากรูปคือแบบจําลอง Wilson และขอมูลที่เกี่ยวของ จงคํานวณหา activity coefficient ของ Toluene ในวัฏภาคของเหลว ซึ่งอยูในสมดุลไอ-ของเหลวซึ่งประกอบดวย Benzene
และ Toluene โดยมีสัดสวนโมลในวัฏภาคของเหลว ของ Benzene และ Toluene เทากับ 0.15 และ 0.85 ตามลําดับ ระบบนี้มีความดัน 1.5 บรรยากาศ อุณหภูมิ 100 C


่ ย
หน
จ ำ

้ ม
ิ์ ห
คําตอบ 1 :


0.804
คําตอบ 2 :

ิ ท
0.821


คําตอบ 3 : 0.892


คําตอบ 4 : 0.910

ง ว

ขอที่ : 163


จากรูปคือแบบจําลอง Wilson และขอมูลที่เกี่ยวของ จงคํานวณหา activity coefficient ของ Benzene ในวัฏภาคของเหลว ซึ่งอยูในสมดุลไอ-ของเหลวซึ่งประกอบดวย Benzene


และ Toluene โดยมีสัดสวนโมลในวัฏภาคของเหลว ของ Benzene และ Toluene เทากับ 0.75 และ 0.25 ตามลําดับ ระบบนี้มีความดัน 1.5 บรรยากาศ อุณหภูมิ 100 C

ก ร

ิ ว
ภ าว

คําตอบ 1 : 0.935
คําตอบ 2 : 0.957
คําตอบ 3 : 0.999 46 of 152
คําตอบ 4 : 1.023
ขอที่ : 164
จากรูปคือแบบจําลอง Wilson และขอมูลที่เกี่ยวของ จงคํานวณหา activity coefficient ของ Toluene ในวัฏภาคของเหลว ซึ่งอยูในสมดุลไอ-ของเหลวซึ่งประกอบดวย Benzene
และ Toluene โดยมีสัดสวนโมลในวัฏภาคของเหลว ของ Benzene และ Toluene เทากับ 0.75 และ 0.25 ตามลําดับ ระบบนี้มีความดัน 1.5 บรรยากาศ อุณหภูมิ 100 C


่ ย
หน
จ ำ

้ ม
ิ์ ห
คําตอบ 1 :


0.546
คําตอบ 2 :

ิ ท
0.508


คําตอบ 3 : 0.482


คําตอบ 4 : 0.442

ง ว

ขอที่ : 165


จากรูปคือแบบจําลอง Wilson และขอมูลที่เกี่ยวของ จงคํานวณหา activity coefficient ของ Ethanol ในวัฏภาคของเหลว ซึ่งอยูในสมดุลไอ-ของเหลวซึ่งประกอบดวย Ethanol


และน้ําโดยมีสัดสวนโมลในวัฏภาคของเหลว ของ Ethanol และน้ําเทากับ 0.75 และ 0.25 ตามลําดับ ระบบนี้มีความดัน 1.5 บรรยากาศ อุณหภูมิ 100 C

ก ร

ิ ว
ภ าว

คําตอบ 1 : 1.002
คําตอบ 2 : 1.042
คําตอบ 3 : 1.102 47 of 152
คําตอบ 4 : 1.125
ขอที่ : 166
จากรูปคือแบบจําลอง Wilson และขอมูลที่เกี่ยวของ จงคํานวณหา activity coefficient ของน้ําในวัฏภาคของเหลว ซึ่งอยูในสมดุลไอ-ของเหลวซึ่งประกอบดวย Ethanol และน้ํา
โดยมีสัดสวนโมลในวัฏภาคของเหลว ของ Ethanol และน้ําเทากับ 0.75 และ 0.25 ตามลําดับ ระบบนี้มีความดัน 1.5 บรรยากาศ อุณหภูมิ 100 C


่ ย
หน
จ ำ

้ ม
ิ์ ห
คําตอบ 1 :


0.903
คําตอบ 2 :

ิ ท
0.910


คําตอบ 3 : 0.917


คําตอบ 4 : 0.922

ง ว

ขอที่ : 167


จากรูปคือแบบจําลอง Wilson และขอมูลที่เกี่ยวของ จงคํานวณหา activity coefficient ของ Ethanol ในวัฏภาคของเหลว ซึ่งอยูในสมดุลไอ-ของเหลวซึ่งประกอบดวย Ethanol


และน้ําโดยมีสัดสวนโมลในวัฏภาคของเหลว ของ Ethanol และน้ําเทากับ 0.4 และ 0.6 ตามลําดับ ระบบนี้มีความดัน 1.5 บรรยากาศ อุณหภูมิ 100 C

ก ร

ิ ว
ภ าว

คําตอบ 1 : 1.197
คําตอบ 2 : 1.202
คําตอบ 3 : 1.236 48 of 152
คําตอบ 4 : 1.376
ขอที่ : 168
จากรูปคือแบบจําลอง Wilson และขอมูลที่เกี่ยวของ จงคํานวณหา activity coefficient ของน้ําในวัฏภาคของเหลว ซึ่งอยูในสมดุลไอ-ของเหลวซึ่งประกอบดวย Ethanol และน้ํา
โดยมีสัดสวนโมลในวัฏภาคของเหลว ของ Ethanol และน้ําเทากับ 0.4 และ 0.6 ตามลําดับ ระบบนี้มีความดัน 1.5 บรรยากาศ อุณหภูมิ 100 C


่ ย
หน
จ ำ

้ ม
ิ์ ห
คําตอบ 1 :


0.902
คําตอบ 2 :

ิ ท
0.924


คําตอบ 3 : 0.935


คําตอบ 4 : 0.961

ง ว

ขอที่ : 169


จากรูปคือแบบจําลอง Wilson และขอมูลที่เกี่ยวของ จงคํานวณหา activity coefficient ของ Ethanol ในวัฏภาคของเหลว ซึ่งอยูในสมดุลไอ-ของเหลวซึ่งประกอบดวย Ethanol


และน้ําโดยมีสัดสวนโมลในวัฏภาคของเหลว ของ Ethanol และน้ําเทากับ 0.2 และ 0.8 ตามลําดับ ระบบนี้มีความดัน 1.5 บรรยากาศ อุณหภูมิ 100 C

ก ร

ิ ว
ภ าว

คําตอบ 1 : 2.108
คําตอบ 2 : 1.981
คําตอบ 3 : 1.952 49 of 152
คําตอบ 4 : 1.932
ขอที่ : 170
จากรูปคือแบบจําลอง Wilson และขอมูลที่เกี่ยวของ จงคํานวณหา activity coefficient ของน้ําในวัฏภาคของเหลว ซึ่งอยูในสมดุลไอ-ของเหลวซึ่งประกอบดวย Ethanol และน้ํา
โดยมีสัดสวนโมลในวัฏภาคของเหลว ของ Ethanol และน้ําเทากับ 0.2 และ 0.8 ตามลําดับ ระบบนี้มีความดัน 1.5 บรรยากาศ อุณหภูมิ 100 C


่ ย
หน
จ ำ

้ ม
ิ์ ห
คําตอบ 1 :


0.854
คําตอบ 2 :

ิ ท
0.870


คําตอบ 3 : 0.881


คําตอบ 4 : 0.919

ง ว

ขอที่ : 171


จากรูปคือแบบจําลอง Wilson และขอมูลที่เกี่ยวของ จงคํานวณหา activity coefficient ของ Acetone ในวัฏภาคของเหลว ซึ่งอยูในสมดุลไอ-ของเหลวซึ่งประกอบดวย Acetone


และ Chroloform โดยมีสัดสวนโมลในวัฏภาคของเหลว ของ Acetone และ Chroloform เทากับ 0.2 และ 0.8 ตามลําดับ ระบบนี้มีความดัน 1.1 บรรยากาศ อุณหภูมิ 100 C

ก ร

ิ ว
ภ าว

คําตอบ 1 : 0.528
คําตอบ 2 : 0.561
คําตอบ 3 : 0.602 50 of 152
คําตอบ 4 : 0.667
ขอที่ : 172
จากรูปคือแบบจําลอง Wilson และขอมูลที่เกี่ยวของ จงคํานวณหา activity coefficient ของ Chroloform ในวัฏภาคของเหลว ซึ่งอยูในสมดุลไอ-ของเหลวซึ่งประกอบดวย
Acetone และ Chroloform โดยมีสัดสวนโมลในวัฏภาคของเหลว ของ Acetone และ Chroloform เทากับ 0.2 และ 0.8 ตามลําดับ ระบบนี้มีความดัน 1.1 บรรยากาศ อุณหภูมิ
100 C


่ ย
หน
จ ำ

้ ม
คําตอบ 1 : 0.672

ธ ิ์ ห
ิ ท
คําตอบ 2 : 0.703


คําตอบ 3 :


0.713


คําตอบ 4 : 0.724

ส ง

ขอที่ : 173


จากรูปคือแบบจําลอง Wilson และขอมูลที่เกี่ยวของ จงคํานวณหา activity coefficient ของ Acetone ในวัฏภาคของเหลว ซึ่งอยูในสมดุลไอ-ของเหลวซึ่งประกอบดวย Acetone


และ Chroloform โดยมีสัดสวนโมลในวัฏภาคของเหลว ของ Acetone และ Chroloform เทากับ 0.25 และ 0.75 ตามลําดับ ระบบนี้มีความดัน 1.1 บรรยากาศ อุณหภูมิ 100 C

ว ก
าว ศ

ส ภ
คําตอบ 1 : 0.710
คําตอบ 2 : 0.724 51 of 152
คําตอบ 3 : 0.731
คําตอบ 4 : 0.742

ขอที่ : 174
จากรูปคือแบบจําลอง Wilson และขอมูลที่เกี่ยวของ จงคํานวณหา activity coefficient ของ Chroloform ในวัฏภาคของเหลว ซึ่งอยูในสมดุลไอ-ของเหลวซึ่งประกอบดวย
Acetone และ Chroloform โดยมีสัดสวนโมลในวัฏภาคของเหลว ของ Acetone และ Chroloform เทากับ 0.25 และ 0.75 ตามลําดับ ระบบนี้มีความดัน 1.1 บรรยากาศ อุณหภูมิ
100 C


่ ย
หน
จ ำ

้ ม
ธ ิ์ ห
คําตอบ 1 : 0.647

ส ิ ท

คําตอบ 2 : 0.659

ง ว
คําตอบ 3 : 0.674


คําตอบ 4 : 0.681

ขอที่ : 175

ร ขอ

จากรูปคือแบบจําลอง Wilson และขอมูลที่เกี่ยวของ จงคํานวณหา activity coefficient ของ Acetone ในวัฏภาคของเหลว ซึ่งอยูในสมดุลไอ-ของเหลวซึ่งประกอบดวย Acetone


และ Chroloform โดยมีสัดสวนโมลในวัฏภาคของเหลว ของ Acetone และ Chroloform เทากับ 0.5 และ 0.5 ตามลําดับ ระบบนี้มีความดัน 1.1 บรรยากาศ อุณหภูมิ 100 C

าว ศ

ส ภ
52 of 152
คําตอบ 1 : 0.862
คําตอบ 2 : 0.880
คําตอบ 3 : 0.891
คําตอบ 4 : 0.906

ขอที่ : 176
จากรูปคือแบบจําลอง Wilson และขอมูลที่เกี่ยวของ จงคํานวณหา activity coefficient ของ Chroloform ในวัฏภาคของเหลว ซึ่งอยูในสมดุลไอ-ของเหลวซึ่งประกอบดวย


Acetone และ Chroloform โดยมีสัดสวนโมลในวัฏภาคของเหลว ของ Acetone และ Chroloform เทากับ 0.5 และ 0.5 ตามลําดับ ระบบนี้มีความดัน 1.1 บรรยากาศ อุณหภูมิ



100 C

หน
จ ำ

้ ม
ธ ิ์ ห
ส ิ ท
คําตอบ 1 : 0.461

ง ว น

คําตอบ 2 : 0.459


คําตอบ 3 : 0.442


คําตอบ 4 :


0.436

ว ก


ขอที่ : 177

ภ าว

53 of 152
จากรูปคือแบบจําลอง Antoine และ Wilson รวมทั้งขอมูลที่เกี่ยวของ จงคํานวณหาความดันยอยของ Benzene ในวัฏภาคไอ ซึ่งอยูในสมดุลไอ-ของเหลวซึ่งประกอบดวย
Benzene และ Toluene โดยมีสัดสวนโมลในวัฏภาคของเหลว ของ Benzene และ Toluene เทากับ 0.5 และ 0.5 ตามลําดับ ระบบนี้มี อุณหภูมิ 87 C

่ ย
หน
คําตอบ 1 : 461 mm Hg

จ ำ

้ ม
คําตอบ 2 : 450 mm Hg

ิ์ ห
คําตอบ 3 : 432 mm Hg


คําตอบ 4 : 421 mm Hg

ขอที่ : 178

ส ิ ท
ว น
จากรูปคือแบบจําลอง Antoine และ Wilson รวมทั้งขอมูลที่เกี่ยวของ จงคํานวณหาความดันยอยของ Toluene ในวัฏภาคไอ ซึ่งอยูในสมดุลไอ-ของเหลวซึ่งประกอบดวย


Benzene และ Toluene โดยมีสัดสวนโมลในวัฏภาคของเหลว ของ Benzene และ Toluene เทากับ 0.5 และ 0.5 ตามลําดับ ระบบนี้มี อุณหภูมิ 87 C

อ ส
ก ร ข

ิ ว
ภ าว

คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :
92 mm Hg
97 mm Hg
คําตอบ 3 : 102 mm Hg
คําตอบ 4 : 126 mm Hg
54 of 152
ขอที่ : 179
จากรูปคือแบบจําลอง Antoine และ Wilson รวมทั้งขอมูลที่เกี่ยวของ จงคํานวณหาความดันยอยของ Benzene ในวัฏภาคไอ ซึ่งอยูในสมดุลไอ-ของเหลวซึ่งประกอบดวย
Benzene และ Toluene โดยมีสัดสวนโมลในวัฏภาคของเหลว ของ Benzene และ Toluene เทากับ 0.2 และ 0.8 ตามลําดับ ระบบนี้มี อุณหภูมิ 87 C


่ ย
หน
จ ำ

้ ม
ิ์ ห
คําตอบ 1 : 152 mm Hg


คําตอบ 2 : 168 mm Hg

ิ ท
คําตอบ 3 :


183 mm Hg


คําตอบ 4 : 210 mm Hg

ง ว

ขอที่ : 180


จากรูปคือแบบจําลอง Antoine และ Wilson รวมทั้งขอมูลที่เกี่ยวของ จงคํานวณหาความดันยอยของ Toluene ในวัฏภาคไอ ซึ่งอยูในสมดุลไอ-ของเหลวซึ่งประกอบดวย


Benzene และ Toluene โดยมีสัดสวนโมลในวัฏภาคของเหลว ของ Benzene และ Toluene เทากับ 0.2 และ 0.8 ตามลําดับ ระบบนี้มี อุณหภูมิ 87 C

ก ร

ิ ว
ภ าว

คําตอบ 1 : 176 mm Hg
คําตอบ 2 : 192 mm Hg 55 of 152
คําตอบ 3 : 200 mm Hg
คําตอบ 4 : 226 mm Hg

ขอที่ : 181
จากรูปคือแบบจําลอง Antoine และ Wilson รวมทั้งขอมูลที่เกี่ยวของ จงคํานวณหาความดันยอยของ Benzene ในวัฏภาคไอ ซึ่งอยูในสมดุลไอ-ของเหลวซึ่งประกอบดวย
Benzene และ Toluene โดยมีสัดสวนโมลในวัฏภาคของเหลว ของ Benzene และ Toluene เทากับ 0.7 และ 0.3 ตามลําดับ ระบบนี้มี อุณหภูมิ 87 C


่ ย
หน
จ ำ

้ ม
ธ ิ์ ห
คําตอบ 1 : 588 mm Hg

ส ิ ท

คําตอบ 2 : 600 mm Hg

ง ว
คําตอบ 3 : 624 mm Hg


คําตอบ 4 : 648 mm Hg

ขอที่ : 182

ร ขอ

จากรูปคือแบบจําลอง Antoine และ Wilson รวมทั้งขอมูลที่เกี่ยวของ จงคํานวณหาความดันยอยของ Toluene ในวัฏภาคไอ ซึ่งอยูในสมดุลไอ-ของเหลวซึ่งประกอบดวย


Benzene และ Toluene โดยมีสัดสวนโมลในวัฏภาคของเหลว ของ Benzene และ Toluene เทากับ 0.7 และ 0.3 ตามลําดับ ระบบนี้มี อุณหภูมิ 87 C

าว ศ

ส ภ
56 of 152
คําตอบ 1 : 43 mm Hg
คําตอบ 2 : 50.6 mm Hg
คําตอบ 3 : 69.1 mm Hg
คําตอบ 4 : 78.29 mm Hg

ขอที่ : 183


จากรูปคือแบบจําลอง Antoine และ Wilson รวมทั้งขอมูลที่เกี่ยวของ จงคํานวณหาความดันยอยของ Benzene ในวัฏภาคไอ ซึ่งอยูในสมดุลไอ-ของเหลวซึ่งประกอบดวย



Benzene และ Toluene โดยมีสัดสวนโมลในวัฏภาคของเหลว ของ Benzene และ Toluene เทากับ 0.9 และ 0.1 ตามลําดับ ระบบนี้มี อุณหภูมิ 87 C

หน
จ ำ

้ ม
ธ ิ์ ห
ส ิ ท
ง ว น

คําตอบ 1 : 735 mm Hg


คําตอบ 2 : 751 mm Hg

ร ข
คําตอบ 3 : 772 mm Hg


คําตอบ 4 : 835 mm Hg


ิ ว
าว
ขอที่ : 184

ส ภ
57 of 152
จากรูปคือแบบจําลอง Antoine และ Wilson รวมทั้งขอมูลที่เกี่ยวของ จงคํานวณหาความดันยอยของ Toluene ในวัฏภาคไอ ซึ่งอยูในสมดุลไอ-ของเหลวซึ่งประกอบดวย
Benzene และ Toluene โดยมีสัดสวนโมลในวัฏภาคของเหลว ของ Benzene และ Toluene เทากับ 0.9 และ 0.1 ตามลําดับ ระบบนี้มี อุณหภูมิ 87 C

่ ย
หน
คําตอบ 1 : 10 mm Hg

จ ำ

้ ม
คําตอบ 2 : 14.2 mm Hg

ิ์ ห
คําตอบ 3 : 21.4 mm Hg


คําตอบ 4 : 35.2 mm Hg

ขอที่ : 185

ส ิ ท
ว น
จากรูปคือแบบจําลอง Antoine และ Wilson รวมทั้งขอมูลที่เกี่ยวของ จงคํานวณหาความดันยอยของ Benzene ในวัฏภาคไอ ซึ่งอยูในสมดุลไอ-ของเหลวซึ่งประกอบดวย


Benzene และ Toluene โดยมีสัดสวนโมลในวัฏภาคของเหลว ของ Benzene และ Toluene เทากับ 0.9 และ 0.1 ตามลําดับ ระบบนี้มี อุณหภูมิ 50 C

อ ส
ก ร ข

ิ ว
ภ าว

คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :
230 mm Hg
242 mm Hg
คําตอบ 3 : 259 mm Hg
คําตอบ 4 : 264 mm Hg
58 of 152
ขอที่ : 186
จากรูปคือแบบจําลอง Antoine และ Wilson รวมทั้งขอมูลที่เกี่ยวของ จงคํานวณหาความดันยอยของ Toluene ในวัฏภาคไอ ซึ่งอยูในสมดุลไอ-ของเหลวซึ่งประกอบดวย
Benzene และ Toluene โดยมีสัดสวนโมลในวัฏภาคของเหลว ของ Benzene และ Toluene เทากับ 0.9 และ 0.1 ตามลําดับ ระบบนี้มี อุณหภูมิ 50 C


่ ย
หน
จ ำ

้ ม
ิ์ ห
คําตอบ 1 : 3.48 mm Hg


คําตอบ 2 : 7.21 mm Hg

ิ ท
คําตอบ 3 :


15.4 mm Hg


คําตอบ 4 : 27.3 mm Hg

ง ว

ขอที่ : 187


จากรูปคือแบบจําลอง Antoine และ Wilson รวมทั้งขอมูลที่เกี่ยวของ จงคํานวณหาความดันยอยของ Benzene ในวัฏภาคไอ ซึ่งอยูในสมดุลไอ-ของเหลวซึ่งประกอบดวย


Benzene และ Toluene โดยมีสัดสวนโมลในวัฏภาคของเหลว ของ Benzene และ Toluene เทากับ 0.7 และ 0.3 ตามลําดับ ระบบนี้มี อุณหภูมิ 50 C

ก ร

ิ ว
ภ าว

คําตอบ 1 : 187 mm Hg
คําตอบ 2 : 200 mm Hg 59 of 152
คําตอบ 3 : 212 mm Hg
คําตอบ 4 : 231 mm Hg

ขอที่ : 188
จากรูปคือแบบจําลอง Antoine และ Wilson รวมทั้งขอมูลที่เกี่ยวของ จงคํานวณหาความดันยอยของ Toluene ในวัฏภาคไอ ซึ่งอยูในสมดุลไอ-ของเหลวซึ่งประกอบดวย
Benzene และ Toluene โดยมีสัดสวนโมลในวัฏภาคของเหลว ของ Benzene และ Toluene เทากับ 0.7 และ 0.3 ตามลําดับ ระบบนี้มี อุณหภูมิ 50 C


่ ย
หน
จ ำ

้ ม
ธ ิ์ ห
คําตอบ 1 : 12.4 mm Hg

ส ิ ท

คําตอบ 2 : 16.1 mm Hg

ง ว
คําตอบ 3 : 25.4 mm Hg


คําตอบ 4 : 30 mm Hg

ขอที่ : 189

ร ขอ

จากรูปคือแบบจําลอง Antoine และ Wilson รวมทั้งขอมูลที่เกี่ยวของ จงคํานวณหาความดันยอยของ Benzene ในวัฏภาคไอ ซึ่งอยูในสมดุลไอ-ของเหลวซึ่งประกอบดวย


Benzene และ Toluene โดยมีสัดสวนโมลในวัฏภาคของเหลว ของ Benzene และ Toluene เทากับ 0.4 และ 0.6 ตามลําดับ ระบบนี้มี อุณหภูมิ 50 C

าว ศ

ส ภ
60 of 152
คําตอบ 1 : 86 mm Hg
คําตอบ 2 : 95 mm Hg
คําตอบ 3 : 106 mm Hg
คําตอบ 4 : 122 mm Hg

ขอที่ : 190


จากรูปคือแบบจําลอง Antoine และ Wilson รวมทั้งขอมูลที่เกี่ยวของ จงคํานวณหาความดันยอยของ Toluene ในวัฏภาคไอ ซึ่งอยูในสมดุลไอ-ของเหลวซึ่งประกอบดวย



Benzene และ Toluene โดยมีสัดสวนโมลในวัฏภาคของเหลว ของ Benzene และ Toluene เทากับ 0.4 และ 0.6 ตามลําดับ ระบบนี้มี อุณหภูมิ 50 C

หน
จ ำ

้ ม
ธ ิ์ ห
ส ิ ท
ง ว น

คําตอบ 1 : 71.2 mm Hg


คําตอบ 2 : 59.2 mm Hg

ร ข
คําตอบ 3 : 46.2 mm Hg


คําตอบ 4 : 33.2 mm Hg


ิ ว
าว
ขอที่ : 191

ส ภ
61 of 152
จากรูปคือแบบจําลอง Antoine และ Wilson รวมทั้งขอมูลที่เกี่ยวของ จงคํานวณหาความดันยอยของ Benzene ในวัฏภาคไอ ซึ่งอยูในสมดุลไอ-ของเหลวซึ่งประกอบดวย
Benzene และ Toluene โดยมีสัดสวนโมลในวัฏภาคของเหลว ของ Benzene และ Toluene เทากับ 0.1 และ 0.9 ตามลําดับ ระบบนี้มี อุณหภูมิ 70 C

่ ย
หน
คําตอบ 1 : 53.2 mm Hg

จ ำ

้ ม
คําตอบ 2 : 67.2 mm Hg

ิ์ ห
คําตอบ 3 : 82.2 mm Hg


คําตอบ 4 : 96.2 mm Hg

ขอที่ : 192

ส ิ ท
ว น
จากรูปคือแบบจําลอง Antoine และ Wilson รวมทั้งขอมูลที่เกี่ยวของ จงคํานวณหาความดันยอยของ Toluene ในวัฏภาคไอ ซึ่งอยูในสมดุลไอ-ของเหลวซึ่งประกอบดวย


Benzene และ Toluene โดยมีสัดสวนโมลในวัฏภาคของเหลว ของ Benzene และ Toluene เทากับ 0.1 และ 0.9 ตามลําดับ ระบบนี้มี อุณหภูมิ 70 C

อ ส
ก ร ข

ิ ว
ภ าว

คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :
132 mm Hg
159 mm Hg
คําตอบ 3 : 167 mm Hg
คําตอบ 4 : 182 mm Hg
62 of 152
ขอที่ : 193
จากรูปคือแบบจําลอง Antoine และ Wilson รวมทั้งขอมูลที่เกี่ยวของ จงคํานวณหาความดันยอยของ Benzene ในวัฏภาคไอ ซึ่งอยูในสมดุลไอ-ของเหลวซึ่งประกอบดวย
Benzene และ Toluene โดยมีสัดสวนโมลในวัฏภาคของเหลว ของ Benzene และ Toluene เทากับ 0.25 และ 0.75 ตามลําดับ ระบบนี้มี อุณหภูมิ 70 C


่ ย
หน
จ ำ

้ ม
ิ์ ห
คําตอบ 1 : 106 mm Hg


คําตอบ 2 : 121 mm Hg

ิ ท
คําตอบ 3 :


134 mm Hg


คําตอบ 4 : 145 mm Hg

ง ว

ขอที่ : 194


จากรูปคือแบบจําลอง Antoine และ Wilson รวมทั้งขอมูลที่เกี่ยวของ จงคํานวณหาความดันยอยของ Toluene ในวัฏภาคไอ ซึ่งอยูในสมดุลไอ-ของเหลวซึ่งประกอบดวย


Benzene และ Toluene โดยมีสัดสวนโมลในวัฏภาคของเหลว ของ Benzene และ Toluene เทากับ 0.25 และ 0.75 ตามลําดับ ระบบนี้มี อุณหภูมิ 70 C

ก ร

ิ ว
ภ าว

คําตอบ 1 : 110 mm Hg
คําตอบ 2 : 122 mm Hg 63 of 152
คําตอบ 3 : 135 mm Hg
คําตอบ 4 : 154 mm Hg

ขอที่ : 195
จากรูปคือแบบจําลอง Antoine และ Wilson รวมทั้งขอมูลที่เกี่ยวของ จงคํานวณหาความดันยอยของ Benzene ในวัฏภาคไอ ซึ่งอยูในสมดุลไอ-ของเหลวซึ่งประกอบดวย
Benzene และ Toluene โดยมีสัดสวนโมลในวัฏภาคของเหลว ของ Benzene และ Toluene เทากับ 0.55 และ 0.45 ตามลําดับ ระบบนี้มี อุณหภูมิ 70 C


่ ย
หน
จ ำ

้ ม
ธ ิ์ ห
คําตอบ 1 : 200 mm Hg

ส ิ ท

คําตอบ 2 : 234 mm Hg

ง ว
คําตอบ 3 : 267 mm Hg


คําตอบ 4 : 298 mm Hg

ขอที่ : 196

ร ขอ

จากรูปคือแบบจําลอง Antoine และ Wilson รวมทั้งขอมูลที่เกี่ยวของ จงคํานวณหาความดันยอยของ Toluene ในวัฏภาคไอ ซึ่งอยูในสมดุลไอ-ของเหลวซึ่งประกอบดวย


Benzene และ Toluene โดยมีสัดสวนโมลในวัฏภาคของเหลว ของ Benzene และ Toluene เทากับ 0.55 และ 0.45 ตามลําดับ ระบบนี้มี อุณหภูมิ 70 C

าว ศ

ส ภ
64 of 152
คําตอบ 1 : 35.6 mm Hg
คําตอบ 2 : 47.8 mm Hg
คําตอบ 3 : 60 mm Hg
คําตอบ 4 : 78.1 mm Hg

ขอที่ : 197


จากรูปคือแบบจําลอง Antoine และ Wilson รวมทั้งขอมูลที่เกี่ยวของ จงคํานวณหาความดันยอยของ Ethanol ในวัฏภาคไอ ซึ่งอยูในสมดุลไอ-ของเหลวซึ่งประกอบดวย Ethanol



และน้ําโดยมีสัดสวนโมลในวัฏภาคของเหลว ของ Ethanol และน้ํา เทากับ 0.55 และ 0.45 ตามลําดับ ระบบนี้มี อุณหภูมิ 75 C

หน
จ ำ

้ ม
ธ ิ์ ห
ส ิ ท
ง ว น

คําตอบ 1 : 375 mm Hg


คําตอบ 2 : 417 mm Hg

ร ข
คําตอบ 3 : 431 mm Hg


คําตอบ 4 : 445 mm Hg


ิ ว
าว
ขอที่ : 198

ส ภ
65 of 152
จากรูปคือแบบจําลอง Antoine และ Wilson รวมทั้งขอมูลที่เกี่ยวของ จงคํานวณหาความดันยอยของน้ําในวัฏภาคไอ ซึ่งอยูในสมดุลไอ-ของเหลวซึ่งประกอบดวย Ethanol และน้ํา
โดยมีสัดสวนโมลในวัฏภาคของเหลว ของ Ethanol และน้ํา เทากับ 0.55 และ 0.45 ตามลําดับ ระบบนี้มี อุณหภูมิ 75 C

่ ย
หน
คําตอบ 1 : 114 mm Hg

จ ำ

้ ม
คําตอบ 2 : 123 mm Hg

ิ์ ห
คําตอบ 3 : 139 mm Hg


คําตอบ 4 : 162 mm Hg

ขอที่ : 199

ส ิ ท
ว น
จากรูปคือแบบจําลอง Antoine และ Wilson รวมทั้งขอมูลที่เกี่ยวของ จงคํานวณหาความดันยอยของ Ethanol ในวัฏภาคไอ ซึ่งอยูในสมดุลไอ-ของเหลวซึ่งประกอบดวย Ethanol


และน้ําโดยมีสัดสวนโมลในวัฏภาคของเหลว ของ Ethanol และน้ํา เทากับ 0.45 และ 0.55 ตามลําดับ ระบบนี้มี อุณหภูมิ 75 C

อ ส
ก ร ข

ิ ว
ภ าว

คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :
355 mm Hg
369 mm Hg
คําตอบ 3 : 381 mm Hg
คําตอบ 4 : 393 mm Hg
66 of 152
ขอที่ : 200
จากรูปคือแบบจําลอง Antoine และ Wilson รวมทั้งขอมูลที่เกี่ยวของ จงคํานวณหาความดันยอยของน้ําในวัฏภาคไอ ซึ่งอยูในสมดุลไอ-ของเหลวซึ่งประกอบดวย Ethanol และน้ํา
โดยมีสัดสวนโมลในวัฏภาคของเหลว ของ Ethanol และน้ํา เทากับ 0.45 และ 0.55 ตามลําดับ ระบบนี้มี อุณหภูมิ 75 C


่ ย
หน
จ ำ

้ ม
ิ์ ห
คําตอบ 1 : 119 mm Hg


คําตอบ 2 : 132 mm Hg

ิ ท
คําตอบ 3 :


149 mm Hg


คําตอบ 4 : 163 mm Hg

ง ว

ขอที่ : 201


จากรูปคือแบบจําลอง Antoine และ Wilson รวมทั้งขอมูลที่เกี่ยวของ จงคํานวณหาความดันยอยของ Ethanol ในวัฏภาคไอ ซึ่งอยูในสมดุลไอ-ของเหลวซึ่งประกอบดวย Ethanol


และน้ําโดยมีสัดสวนโมลในวัฏภาคของเหลว ของ Ethanol และน้ํา เทากับ 0.1 และ 0.9 ตามลําดับ ระบบนี้มี อุณหภูมิ 75 C

ก ร

ิ ว
ภ าว

คําตอบ 1 : 145 mm Hg
คําตอบ 2 : 163 mm Hg 67 of 152
คําตอบ 3 : 187 mm Hg
คําตอบ 4 : 225 mm Hg

ขอที่ : 202
จากรูปคือแบบจําลอง Antoine และ Wilson รวมทั้งขอมูลที่เกี่ยวของ จงคํานวณหาความดันยอยของน้ําในวัฏภาคไอ ซึ่งอยูในสมดุลไอ-ของเหลวซึ่งประกอบดวย Ethanol และน้ํา
โดยมีสัดสวนโมลในวัฏภาคของเหลว ของ Ethanol และน้ํา เทากับ 0.1 และ 0.9 ตามลําดับ ระบบนี้มี อุณหภูมิ 75 C


่ ย
หน
จ ำ

้ ม
ธ ิ์ ห
คําตอบ 1 : 194 mm Hg

ส ิ ท

คําตอบ 2 : 220 mm Hg

ง ว
คําตอบ 3 : 246 mm Hg


คําตอบ 4 : 269 mm Hg

ขอที่ : 203

ร ขอ

จากรูปคือแบบจําลอง Antoine และ Wilson รวมทั้งขอมูลที่เกี่ยวของ จงคํานวณหาความดันยอยของ Ethanol ในวัฏภาคไอ ซึ่งอยูในสมดุลไอ-ของเหลวซึ่งประกอบดวย Ethanol


และน้ําโดยมีสัดสวนโมลในวัฏภาคของเหลว ของ Ethanol และน้ํา เทากับ 0.1 และ 0.9 ตามลําดับ ระบบนี้มี อุณหภูมิ 80 C

าว ศ

ส ภ
68 of 152
คําตอบ 1 : 255 mm Hg
คําตอบ 2 : 270 mm Hg
คําตอบ 3 : 284 mm Hg
คําตอบ 4 : 296 mm Hg

ขอที่ : 204


จากรูปคือแบบจําลอง Antoine และ Wilson รวมทั้งขอมูลที่เกี่ยวของ จงคํานวณหาความดันยอยของน้ําในวัฏภาคไอ ซึ่งอยูในสมดุลไอ-ของเหลวซึ่งประกอบดวย Ethanol และน้ํา



โดยมีสัดสวนโมลในวัฏภาคของเหลว ของ Ethanol และน้ํา เทากับ 0.1 และ 0.9 ตามลําดับ ระบบนี้มี อุณหภูมิ 80 C

หน
จ ำ

้ ม
ธ ิ์ ห
ส ิ ท
ง ว น

คําตอบ 1 : 302 mm Hg


คําตอบ 2 : 312 mm Hg

ร ข
คําตอบ 3 : 322 mm Hg


คําตอบ 4 : 332 mm Hg


ิ ว
าว
ขอที่ : 205

ส ภ
69 of 152
จากรูปคือแบบจําลอง Antoine และ Wilson รวมทั้งขอมูลที่เกี่ยวของ จงคํานวณหาความดันยอยของ Ethanol ในวัฏภาคไอ ซึ่งอยูในสมดุลไอ-ของเหลวซึ่งประกอบดวย Ethanol
และน้ําโดยมีสัดสวนโมลในวัฏภาคของเหลว ของ Ethanol และน้ํา เทากับ 0.3 และ 0.7 ตามลําดับ ระบบนี้มี อุณหภูมิ 80 C

่ ย
หน
คําตอบ 1 : 352 mm Hg

จ ำ

้ ม
คําตอบ 2 : 368 mm Hg

ิ์ ห
คําตอบ 3 : 382 mm Hg


คําตอบ 4 : 408 mm Hg

ขอที่ : 206

ส ิ ท
ว น
จากรูปคือแบบจําลอง Antoine และ Wilson รวมทั้งขอมูลที่เกี่ยวของ จงคํานวณหาความดันยอยของน้ําในวัฏภาคไอ ซึ่งอยูในสมดุลไอ-ของเหลวซึ่งประกอบดวย Ethanol และน้ํา


โดยมีสัดสวนโมลในวัฏภาคของเหลว ของ Ethanol และน้ํา เทากับ 0.3 และ 0.7 ตามลําดับ ระบบนี้มี อุณหภูมิ 80 C

อ ส
ก ร ข

ิ ว
ภ าว

คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :
214 mm Hg
230 mm Hg
คําตอบ 3 : 259 mm Hg
คําตอบ 4 : 270 mm Hg
70 of 152
ขอที่ : 207
จากรูปคือแบบจําลอง Antoine และ Wilson รวมทั้งขอมูลที่เกี่ยวของ จงคํานวณหาความดันยอยของ Ethanol ในวัฏภาคไอ ซึ่งอยูในสมดุลไอ-ของเหลวซึ่งประกอบดวย Ethanol
และน้ําโดยมีสัดสวนโมลในวัฏภาคของเหลว ของ Ethanol และน้ํา เทากับ 0.4 และ 0.6 ตามลําดับ ระบบนี้มี อุณหภูมิ 80 C


่ ย
หน
จ ำ

้ ม
ิ์ ห
คําตอบ 1 : 374 mm Hg


คําตอบ 2 : 394 mm Hg

ิ ท
คําตอบ 3 :


414 mm Hg


คําตอบ 4 : 454 mm Hg

ง ว

ขอที่ : 208


จากรูปคือแบบจําลอง Antoine และ Wilson รวมทั้งขอมูลที่เกี่ยวของ จงคํานวณหาความดันยอยของน้ําในวัฏภาคไอ ซึ่งอยูในสมดุลไอ-ของเหลวซึ่งประกอบดวย Ethanol และน้ํา


โดยมีสัดสวนโมลในวัฏภาคของเหลว ของ Ethanol และน้ํา เทากับ 0.4 และ 0.6 ตามลําดับ ระบบนี้มี อุณหภูมิ 80 C

ก ร

ิ ว
ภ าว

คําตอบ 1 : 197 mm Hg
คําตอบ 2 : 209 mm Hg 71 of 152
คําตอบ 3 : 220 mm Hg
คําตอบ 4 : 231 mm Hg

ขอที่ : 209
จากรูปคือแบบจําลอง Antoine และ Wilson รวมทั้งขอมูลที่เกี่ยวของ จงคํานวณหาความดันยอยของ Ethanol ในวัฏภาคไอ ซึ่งอยูในสมดุลไอ-ของเหลวซึ่งประกอบดวย Ethanol
และน้ําโดยมีสัดสวนโมลในวัฏภาคของเหลว ของ Ethanol และน้ํา เทากับ 0.4 และ 0.6 ตามลําดับ ระบบนี้มี อุณหภูมิ 84 C


่ ย
หน
จ ำ

้ ม
ธ ิ์ ห
คําตอบ 1 : 500 mm Hg

ส ิ ท

คําตอบ 2 : 527 mm Hg

ง ว
คําตอบ 3 : 541 mm Hg


คําตอบ 4 : 557 mm Hg

ขอที่ : 210

ร ขอ

จากรูปคือแบบจําลอง Antoine และ Wilson รวมทั้งขอมูลที่เกี่ยวของ จงคํานวณหาความดันยอยของน้ําในวัฏภาคไอ ซึ่งอยูในสมดุลไอ-ของเหลวซึ่งประกอบดวย Ethanol และน้ํา


โดยมีสัดสวนโมลในวัฏภาคของเหลว ของ Ethanol และน้ํา เทากับ 0.4 และ 0.6 ตามลําดับ ระบบนี้มี อุณหภูมิ 84 C

าว ศ

ส ภ
72 of 152
คําตอบ 1 : 230 mm Hg
คําตอบ 2 : 250 mm Hg
คําตอบ 3 : 270 mm Hg
คําตอบ 4 : 290 mm Hg

ขอที่ : 211


จากรูปคือแบบจําลอง Antoine และ Wilson รวมทั้งขอมูลที่เกี่ยวของ จงคํานวณหาความดันยอยของ Ethanol ในวัฏภาคไอ ซึ่งอยูในสมดุลไอ-ของเหลวซึ่งประกอบดวย Ethanol



และน้ําโดยมีสัดสวนโมลในวัฏภาคของเหลว ของ Ethanol และน้ํา เทากับ 0.5 และ 0.5 ตามลําดับ ระบบนี้มี อุณหภูมิ 84 C

หน
จ ำ

้ ม
ธ ิ์ ห
ส ิ ท
ง ว น

คําตอบ 1 : 551 mm Hg


คําตอบ 2 : 561 mm Hg

ร ข
คําตอบ 3 : 571 mm Hg


คําตอบ 4 : 581 mm Hg


ิ ว
าว
ขอที่ : 212

ส ภ
73 of 152
จากรูปคือแบบจําลอง Antoine และ Wilson รวมทั้งขอมูลที่เกี่ยวของ จงคํานวณหาความดันยอยของน้ําในวัฏภาคไอ ซึ่งอยูในสมดุลไอ-ของเหลวซึ่งประกอบดวย Ethanol และน้ํา
โดยมีสัดสวนโมลในวัฏภาคของเหลว ของ Ethanol และน้ํา เทากับ 0.5 และ 0.5 ตามลําดับ ระบบนี้มี อุณหภูมิ 84 C

่ ย
หน
คําตอบ 1 : 192 mm Hg

จ ำ

้ ม
คําตอบ 2 : 200 mm Hg

ิ์ ห
คําตอบ 3 : 212 mm Hg


คําตอบ 4 : 224 mm Hg

ขอที่ : 213

ส ิ ท
ว น
จากรูปคือแบบจําลอง Antoine และ Wilson รวมทั้งขอมูลที่เกี่ยวของ จงคํานวณหาความดันยอยของ Ethanol ในวัฏภาคไอ ซึ่งอยูในสมดุลไอ-ของเหลวซึ่งประกอบดวย Ethanol


และน้ําโดยมีสัดสวนโมลในวัฏภาคของเหลว ของ Ethanol และน้ํา เทากับ 0.65 และ 0.35 ตามลําดับ ระบบนี้มี อุณหภูมิ 84 C

อ ส
ก ร ข

ิ ว
ภ าว

คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :
639 mm Hg
649 mm Hg
คําตอบ 3 : 659 mm Hg
คําตอบ 4 : 669 mm Hg
74 of 152
ขอที่ : 214
จากรูปคือแบบจําลอง Antoine และ Wilson รวมทั้งขอมูลที่เกี่ยวของ จงคํานวณหาความดันยอยของน้ําในวัฏภาคไอ ซึ่งอยูในสมดุลไอ-ของเหลวซึ่งประกอบดวย Ethanol และน้ํา
โดยมีสัดสวนโมลในวัฏภาคของเหลว ของ Ethanol และน้ํา เทากับ 0.65 และ 0.35 ตามลําดับ ระบบนี้มี อุณหภูมิ 84 C


่ ย
หน
จ ำ

้ ม
ิ์ ห
คําตอบ 1 : 136 mm Hg


คําตอบ 2 : 148 mm Hg

ิ ท
คําตอบ 3 :


160 mm Hg


คําตอบ 4 : 172 mm Hg

ง ว

ขอที่ : 215


จากรูปคือแบบจําลอง Antoine และ Wilson รวมทั้งขอมูลที่เกี่ยวของ จงคํานวณหาจุดเดือดของของผสมซึ่งประกอบดวย Ethanol และน้ําโดยมีสัดสวนโมลในวัฏภาคของเหลว


ของ Ethanol และน้ํา เทากับ 0.5 และ 0.5 ตามลําดับ ระบบนี้มีความดัน 1.4 บรรยากาศ

ก ร

ิ ว
ภ าว

คําตอบ 1 : 86.12 C
คําตอบ 2 : 87.7 C 75 of 152
คําตอบ 3 : 88.4 C
คําตอบ 4 : 91.65 C

ขอที่ : 216
จากรูปคือแบบจําลอง Antoine และ Wilson รวมทั้งขอมูลที่เกี่ยวของ จงคํานวณหาจุดเดือดของของผสมซึ่งประกอบดวย Ethanol และน้ําโดยมีสัดสวนโมลในวัฏภาคของเหลว
ของ Ethanol และน้ํา เทากับ 0.4 และ 0.6 ตามลําดับ ระบบนี้มีความดัน 1.4 บรรยากาศ


่ ย
หน
จ ำ

้ ม
ธ ิ์ ห
คําตอบ 1 : 87.5 C

ส ิ ท

คําตอบ 2 : 89.5 C

ง ว
คําตอบ 3 : 91.5 C


คําตอบ 4 : 93.5 C

ขอที่ : 217

ร ขอ

จากรูปคือแบบจําลอง Antoine และ Wilson รวมทั้งขอมูลที่เกี่ยวของ จงคํานวณหาจุดเดือดของของผสมซึ่งประกอบดวย Ethanol และน้ําโดยมีสัดสวนโมลในวัฏภาคของเหลว


ของ Ethanol และน้ํา เทากับ 0.2 และ 0.8 ตามลําดับ ระบบนี้มีความดัน 1.4 บรรยากาศ

าว ศ

ส ภ
76 of 152
คําตอบ 1 : 95 C
คําตอบ 2 : 93.7 C
คําตอบ 3 : 92 C
คําตอบ 4 : 91 C

ขอที่ : 218


จากรูปคือแบบจําลอง Antoine และ Wilson รวมทั้งขอมูลที่เกี่ยวของ จงคํานวณหาจุดเดือดของของผสมซึ่งประกอบดวย Ethanol และน้ําโดยมีสัดสวนโมลในวัฏภาคของเหลว



ของ Ethanol และน้ํา เทากับ 0.7 และ 0.3 ตามลําดับ ระบบนี้มีความดัน 1.4 บรรยากาศ

หน
จ ำ

้ ม
ธ ิ์ ห
ส ิ ท
ง ว น

คําตอบ 1 : 89.2 C


คําตอบ 2 : 91.2 C

ร ข
คําตอบ 3 : 92.4 C


คําตอบ 4 : 94.5 C


ิ ว
าว
ขอที่ : 219

ส ภ
77 of 152
จากรูปคือแบบจําลอง Antoine และ Wilson รวมทั้งขอมูลที่เกี่ยวของ จงคํานวณหาจุดเดือดของของผสมซึ่งประกอบดวย Ethanol และน้ําโดยมีสัดสวนโมลในวัฏภาคของเหลว
ของ Ethanol และน้ํา เทากับ 0.7 และ 0.3 ตามลําดับ ระบบนี้มีความดัน 1.2 บรรยากาศ

่ ย
หน
คําตอบ 1 : 84.9 C

จ ำ

้ ม
คําตอบ 2 : 86.9 C

ิ์ ห
คําตอบ 3 : 88.4 C


คําตอบ 4 : 90 C

ขอที่ : 220

ส ิ ท
ว น
จากรูปคือแบบจําลอง Antoine และ Wilson รวมทั้งขอมูลที่เกี่ยวของ จงคํานวณหาจุดเดือดของของผสมซึ่งประกอบดวย Ethanol และน้ําโดยมีสัดสวนโมลในวัฏภาคของเหลว


ของ Ethanol และน้ํา เทากับ 0.8 และ 0.2 ตามลําดับ ระบบนี้มีความดัน 1.2 บรรยากาศ

อ ส
ก ร ข

ิ ว
ภ าว

คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :
82.9 C
83.2 C
คําตอบ 3 : 85.9 C
คําตอบ 4 : 87.1 C
78 of 152
ขอที่ : 221
จากรูปคือแบบจําลอง Antoine และ Wilson รวมทั้งขอมูลที่เกี่ยวของ จงคํานวณหาจุดเดือดของของผสมซึ่งประกอบดวย Ethanol และน้ําโดยมีสัดสวนโมลในวัฏภาคของเหลว
ของ Ethanol และน้ํา เทากับ 0.9 และ 0.1 ตามลําดับ ระบบนี้มีความดัน 1.2 บรรยากาศ


่ ย
หน
จ ำ

้ ม
ิ์ ห
คําตอบ 1 : 84.7 C


คําตอบ 2 : 86.7 C

ิ ท
คําตอบ 3 :


88.7 C


คําตอบ 4 : 90.7 C

ง ว

ขอที่ : 222


จากรูปคือแบบจําลอง Antoine และ Wilson รวมทั้งขอมูลที่เกี่ยวของ จงคํานวณหาจุดเดือดของของผสมซึ่งประกอบดวย Ethanol และน้ําโดยมีสัดสวนโมลในวัฏภาคของเหลว


ของ Ethanol และน้ํา เทากับ 0.4 และ 0.6 ตามลําดับ ระบบนี้มีความดัน 1.2 บรรยากาศ

ก ร

ิ ว
ภ าว

คําตอบ 1 : 85.9 C
คําตอบ 2 : 87.1 C 79 of 152
คําตอบ 3 : 89.1 C
คําตอบ 4 : 91.9 C

ขอที่ : 223
จากรูปคือแบบจําลอง Antoine และ Wilson รวมทั้งขอมูลที่เกี่ยวของ จงคํานวณหาจุดเดือดของของผสมซึ่งประกอบดวย Ethanol และน้ําโดยมีสัดสวนโมลในวัฏภาคของเหลว
ของ Ethanol และน้ํา เทากับ 0.4 และ 0.6 ตามลําดับ ระบบนี้มีความดัน 1.8 บรรยากาศ


่ ย
หน
จ ำ

้ ม
ธ ิ์ ห
คําตอบ 1 : 93.9 C

ส ิ ท

คําตอบ 2 : 96.2 C

ง ว
คําตอบ 3 : 98 C


คําตอบ 4 : 100.9 C

ขอที่ : 224

ร ขอ

จากรูปคือแบบจําลอง Antoine และ Wilson รวมทั้งขอมูลที่เกี่ยวของ จงคํานวณหาจุดเดือดของของผสมซึ่งประกอบดวย Ethanol และน้ําโดยมีสัดสวนโมลในวัฏภาคของเหลว


ของ Ethanol และน้ํา เทากับ 0.1 และ 0.9 ตามลําดับ ระบบนี้มีความดัน 1.8 บรรยากาศ

าว ศ

ส ภ
80 of 152
คําตอบ 1 : 104.8 C
คําตอบ 2 : 107.2 C
คําตอบ 3 : 109.4 C
คําตอบ 4 : 111.5 C

ขอที่ : 225


จากรูปคือแบบจําลอง Antoine และ Wilson รวมทั้งขอมูลที่เกี่ยวของ จงคํานวณหาจุดเดือดของของผสมซึ่งประกอบดวย Ethanol และน้ําโดยมีสัดสวนโมลในวัฏภาคของเหลว



ของ Ethanol และน้ํา เทากับ 0.6 และ 0.4 ตามลําดับ ระบบนี้มีความดัน 1.8 บรรยากาศ

หน
จ ำ

้ ม
ธ ิ์ ห
ส ิ ท
ง ว น

คําตอบ 1 : 88.6 C


คําตอบ 2 : 92.7 C

ร ข
คําตอบ 3 : 94.5 C


คําตอบ 4 : 99.3 C


ิ ว
าว
ขอที่ : 226

ส ภ
81 of 152
จากรูปคือแบบจําลอง Antoine และ Wilson รวมทั้งขอมูลที่เกี่ยวของ จงคํานวณหาจุดเดือดของของผสมซึ่งประกอบดวย Ethanol และน้ําโดยมีสัดสวนโมลในวัฏภาคของเหลว
ของ Ethanol และน้ํา เทากับ 0.7 และ 0.3 ตามลําดับ ระบบนี้มีความดัน 1.8 บรรยากาศ

่ ย
หน
คําตอบ 1 : 98.3 C

จ ำ

้ ม
คําตอบ 2 : 99.1 C

ิ์ ห
คําตอบ 3 : 100.4 C


คําตอบ 4 : 111.5 C

ขอที่ : 227

ส ิ ท
ว น
จากรูปคือแบบจําลอง Antoine และ Wilson รวมทั้งขอมูลที่เกี่ยวของ จงคํานวณหาจุดเดือดของของผสมซึ่งประกอบดวย Benzene และ Toluene โดยมีสัดสวนโมลในวัฏภาคของ


เหลว ของ Benzene และ Toluene เทากับ 0.7 และ 0.3 ตามลําดับ ระบบนี้มีความดัน 1.8 บรรยากาศ

อ ส
ก ร ข

ิ ว
ภ าว

คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :
104.6 C
108.2
คําตอบ 3 : 111.3 C
คําตอบ 4 : 115.3
82 of 152
ขอที่ : 228
จากรูปคือแบบจําลอง Antoine และ Wilson รวมทั้งขอมูลที่เกี่ยวของ จงคํานวณหาจุดเดือดของของผสมซึ่งประกอบดวย Benzene และ Toluene โดยมีสัดสวนโมลในวัฏภาคของ
เหลว ของ Benzene และ Toluene เทากับ 0.8 และ 0.2 ตามลําดับ ระบบนี้มีความดัน 1.8 บรรยากาศ


่ ย
หน
จ ำ

้ ม
ิ์ ห
คําตอบ 1 : 102.6 C


คําตอบ 2 : 107.6 C

ิ ท
คําตอบ 3 :


110.6 C


คําตอบ 4 : 114.6 C

ง ว

ขอที่ : 229


จากรูปคือแบบจําลอง Antoine และ Wilson รวมทั้งขอมูลที่เกี่ยวของ จงคํานวณหาจุดเดือดของของผสมซึ่งประกอบดวย Benzene และ Toluene โดยมีสัดสวนโมลในวัฏภาคของ


เหลว ของ Benzene และ Toluene เทากับ 0.1 และ 0.9 ตามลําดับ ระบบนี้มีความดัน 1.8 บรรยากาศ

ก ร

ิ ว
ภ าว

คําตอบ 1 : 112.5 C
คําตอบ 2 : 117.5 C 83 of 152
คําตอบ 3 : 122.5 C
คําตอบ 4 : 132.5 C

ขอที่ : 230
จากรูปคือแบบจําลอง Antoine และ Wilson รวมทั้งขอมูลที่เกี่ยวของ จงคํานวณหาจุดเดือดของของผสมซึ่งประกอบดวย Benzene และ Toluene โดยมีสัดสวนโมลในวัฏภาคของ
เหลว ของ Benzene และ Toluene เทากับ 0.15 และ 0.85 ตามลําดับ ระบบนี้มีความดัน 1.8 บรรยากาศ


่ ย
หน
จ ำ

้ ม
ธ ิ์ ห
คําตอบ 1 : 128.7 C

ส ิ ท

คําตอบ 2 : 131.6 C

ง ว
คําตอบ 3 : 133.5 C


คําตอบ 4 : 136.4 C

ขอที่ : 231

ร ขอ

จากรูปคือแบบจําลอง Antoine และ Wilson รวมทั้งขอมูลที่เกี่ยวของ จงคํานวณหาจุดเดือดของของผสมซึ่งประกอบดวย Benzene และ Toluene โดยมีสัดสวนโมลในวัฏภาคของ


เหลว ของ Benzene และ Toluene เทากับ 0.15 และ 0.85 ตามลําดับ ระบบนี้มีความดัน 1.6 บรรยากาศ

าว ศ

ส ภ
84 of 152
คําตอบ 1 : 117.6 C
คําตอบ 2 : 120.9 C
คําตอบ 3 : 124.5 C
คําตอบ 4 : 126.9 C

ขอที่ : 232


จากรูปคือแบบจําลอง Antoine และ Wilson รวมทั้งขอมูลที่เกี่ยวของ จงคํานวณหาจุดเดือดของของผสมซึ่งประกอบดวย Benzene และ Toluene โดยมีสัดสวนโมลในวัฏภาคของ



เหลว ของ Benzene และ Toluene เทากับ 0.25 และ 0.75 ตามลําดับ ระบบนี้มีความดัน 1.6 บรรยากาศ

หน
จ ำ

้ ม
ธ ิ์ ห
ส ิ ท
ง ว น

คําตอบ 1 : 112.6 C


คําตอบ 2 : 116.2 C

ร ข
คําตอบ 3 : 120.5 C


คําตอบ 4 : 124.2 C


ิ ว
าว
ขอที่ : 233

ส ภ
85 of 152
จากรูปคือแบบจําลอง Antoine และ Wilson รวมทั้งขอมูลที่เกี่ยวของ จงคํานวณหาจุดเดือดของของผสมซึ่งประกอบดวย Benzene และ Toluene โดยมีสัดสวนโมลในวัฏภาคของ
เหลว ของ Benzene และ Toluene เทากับ 0.45 และ 0.55 ตามลําดับ ระบบนี้มีความดัน 1.6 บรรยากาศ

่ ย
หน
คําตอบ 1 : 110.4 C

จ ำ

้ ม
คําตอบ 2 : 116.8 C

ิ์ ห
คําตอบ 3 : 119.1 C


คําตอบ 4 : 123.7 C

ขอที่ : 234

ส ิ ท
ว น
จากรูปคือแบบจําลอง Antoine และ Wilson รวมทั้งขอมูลที่เกี่ยวของ จงคํานวณหาจุดเดือดของของผสมซึ่งประกอบดวย Benzene และ Toluene โดยมีสัดสวนโมลในวัฏภาคของ


เหลว ของ Benzene และ Toluene เทากับ 0.55 และ 0.45 ตามลําดับ ระบบนี้มีความดัน 1.6 บรรยากาศ

อ ส
ก ร ข

ิ ว
ภ าว

คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :
108.4 C
110.5
คําตอบ 3 : 112.7 C
คําตอบ 4 : 115.3
86 of 152
ขอที่ : 235
จากรูปคือแบบจําลอง Antoine และ Wilson รวมทั้งขอมูลที่เกี่ยวของ จงคํานวณหาจุดเดือดของของผสมซึ่งประกอบดวย Benzene และ Toluene โดยมีสัดสวนโมลในวัฏภาคของ
เหลว ของ Benzene และ Toluene เทากับ 0.55 และ 0.45 ตามลําดับ ระบบนี้มีความดัน 1 บรรยากาศ


่ ย
หน
จ ำ

้ ม
ิ์ ห
คําตอบ 1 : 95.3 C


คําตอบ 2 : 97.2 C

ิ ท
คําตอบ 3 :


99.5 C


คําตอบ 4 : 101.7 C

ง ว

ขอที่ : 236


จากรูปคือแบบจําลอง Antoine และ Wilson รวมทั้งขอมูลที่เกี่ยวของ จงคํานวณหาจุดเดือดของของผสมซึ่งประกอบดวย Benzene และ Toluene โดยมีสัดสวนโมลในวัฏภาคของ


เหลว ของ Benzene และ Toluene เทากับ 0.8 และ 0.2 ตามลําดับ ระบบนี้มีความดัน 1 บรรยากาศ

ก ร

ิ ว
ภ าว

คําตอบ 1 : 86.3 C
คําตอบ 2 : 88.5 C 87 of 152
คําตอบ 3 : 91.7 C
คําตอบ 4 : 93.4 C

ขอที่ : 237
การดําเนินงานที่เปนสภาวะ Isobaric คือ
คําตอบ 1 : กรณีที่ไมมีการเปลี่ยนแปลงความดัน
คําตอบ 2 : กรณีที่ไมมีการเปลี่ยนแปลงความดัน


่ ย
คําตอบ 3 : กรณีที่ไมมีการเปลี่ยนแปลงความดัน


คําตอบ 4 : กรณีที่ไมมีการเปลี่ยนแปลงความดัน

ขอที่ : 238

จ ำ ห

แบบจําลองในขอใดสามารถใชในการจําลองระบบสมดุลของเหลว-ของเหลวได ก. NRTL ข. Wilson ค. UNIQUAC



คําตอบ 1 : ขอ ก และ ข เทานั้น

ิ์ ห
คําตอบ 2 : ขอ ก และ ค เทานั้น


คําตอบ 3 : ขอ ข และ ค เทานั้น

ิ ท
คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

นส
ง ว
ขอที่ : 239


อัตราการไหลเชิงมวลของ n-hexane (ความหนาแนน = 0.659 g/cm3) ในทอมีคาเทากับ 6.59 g/s จงคํานวณหาอัตราการไหลเชิงปริมาตรในหนวย cm3/min


คําตอบ 1 : 0.16

ร ข
คําตอบ 2 : 10


คําตอบ 3 : 60


คําตอบ 4 : 100

ขอที่ :

าว ศ


240


ปจจัยใดที่มีผลกระทบตอความดันไอของของเหลว
คําตอบ 1 : อุณหภูมิ
คําตอบ 2 : ความดันบรรยากาศ
คําตอบ 3 : ปริมาตรของของเหลว
คําตอบ 4 : พื้นที่ผิวของของเหล

ขอที่ : 241 88 of 152


เครื่องสกัดชนิดใดที่มีราคาถูกแตไมนิยมใชเนื่องจากมีขอจํากัดในเรื่องของการกระจายตัวของของเหลวทั้งสองเฟสในแนวทิศทางการไหล
คําตอบ 1 : Mixer-Settler extractor
คําตอบ 2 : Spray column extractor
คําตอบ 3 : Packed column extractor
คําตอบ 4 : Plate Column extractor

ขอที่ : 242


โดยทั่วไปแลวเครื่องสกัดแบบหอเพลท (Plate column) ที่มีระยะหางระหวางเพลทนอยกวากรณีของหอกลั่นนั้นจะใชในกรณีที่ระบบของเหลว-ของเหลวมีคุณสมบัติใดตอไปนี้
คําตอบ 1 : มีแรงตึงผิวต่ํา

น า


คําตอบ 2 : มีความหนาแนนสูง


คําตอบ 3 : ความเขมขนของตัวถูกละลายที่อยูในเฟสเอกซแทรคมีคาต่ํา

ม จ
คําตอบ 4 : ตัวถูกละลายมีคาการละลายต่ําในเฟสเอกซแทรค

ขอที่ : 243

ิ์ ห า


จากรูปเมื่อใชไอโซโพรพิลอีเทอร (C) บริสุทธิ์ที่อัตราการไหล (V2) 600 kg/h สกัดกรดอะซิติก (A) (ตัวถูกละลาย) ในน้ํา (B) ที่อัตราการไหล (L0) 200 kg/h เขมขน 30 % โดย

ิ ท
น้ําหนัก ถาตรวจพบวา ที่ทางออกของราฟฟเนท (xA1) เขมขน 0.04 และที่ทางออกของชั้นสกัด (extract layer) เทากับ (yA1) เขมขน 0.08 และ (yC1) เขมขน 0.09 จงหาอัตรา


การไหลออกของชั้นราฟฟเนท (L1)

คําตอบ 1 :

ง ว น

100 kg / hr


คําตอบ 2 : 200 kg / hr


คําตอบ 3 : 300 kg / hr


คําตอบ 4 : 400 kg / hr

ว ก


ขอที่ :

าว
244
จากรูปเมื่อใชไอโซโพรพิลอีเทอร (C) บริสุทธิ์ที่อัตราการไหล (V2) 600 kg/h สกัดกรดอะซิติก (A) (ตัวถูกละลาย) ในน้ํา (B) ที่อัตราการไหล (L0) 200 kg/h เขมขน 30 % โดย


น้ําหนัก ถาตรวจพบวา ที่ทางออกของราฟฟเนท (xA1) เขมขน 0.04 และที่ทางออกของชั้นสกัด (extract layer) เทากับ (yA1) เขมขน 0.08 และ (yC1) เขมขน 0.09 จงหาอัตรา


การไหลออกของชั้นราฟฟเนท (L1)

คําตอบ 1 : 100 kg / hr
คําตอบ 2 : 200 kg / hr
คําตอบ 3 : 300 kg / hr
คําตอบ 4 : 400 kg / hr
89 of 152
ขอที่ : 245
จากรูปเมื่อใชไอโซโพรพิลอีเทอร (C) บริสุทธิ์ที่อัตราการไหล (V2) 600 kg/h สกัดกรดอะซิติก (A) (ตัวถูกละลาย) ในน้ํา (B) ที่อัตราการไหล (L0) 200 kg/h เขมขน 30 % โดย
น้ําหนัก ถาตรวจพบวา ที่ทางออกของราฟฟเนท (xA1) เขมขน 0.04 และที่ทางออกของชั้นสกัด (extract layer) เทากับ (yA1) เขมขน 0.08 และ (yC1) เขมขน 0.09 จงหาอัตรา
การไหลออกของชั้นสกัด (V1)

คําตอบ 1 : 400 kg / hr
คําตอบ 2 : 500 kg / hr


คําตอบ 3 : 600 kg / hr



คําตอบ 4 : 700 kg / hr

หน

ขอที่ : 246


จากกราฟสามเหลี่ยมแสดงระบบสามองคประกอบ Furfural, Glycol และ Water จากรูปจงหาวาความเขมขนของ glycol ในสารตั้งตนจะเปนเทาใด


้ ม
ิ์ ห
คําตอบ 1 : 31 %


คําตอบ 2 : 42 %

ิ ท
คําตอบ 3 :


48 %


คําตอบ 4 : 60 %

ง ว

ขอที่ : 247


จากกราฟสามเหลี่ยมแสดงระบบสามองคประกอบ Furfural, Glycol และ Water จงหาวาความเขมขนของน้ําในสวนราฟฟเนตและ ในสวนเอ็กซแทรค (ที่จุด B และ A) ตามลําดับ


จะมีคาเทาใด โดยประมาณ ?

ก ร
คําตอบ 1 : 60 % และ 40 %


คําตอบ 2 : 60 % และ 10 %



คําตอบ 3 : 30 % และ 50 %

าว
คําตอบ 4 : 10 % และ 40 %

ขอที่ : 248

ส ภ
ตองการสกัดกรดอะซิติก จากสารละลายที่มีกรดอะซิติก 40 % และน้ํา 60 % และมีอัตราการไหลเทากับ 100 กิโลกรัม ตอ วินาที โดยใชสารไอโซโพรพิวอีเทอรบริสุทธิ์ อัตราการ
ไหล 150 กิโลกรัม ตอ ชั่วโมง และกําหนดใหความเขมขนของกรดอะซิติกในสายราฟฟเนทมีคาเทากับ 3 % จงหาอัตราการไหลของสารผสมที่ออกจากสายราฟฟเนท

คําตอบ 1 : 95.6 กิโลกรัม ตอ ชั่วโมง


คําตอบ 2 : 55.6 กิโลกรัม ตอ ชั่วโมง
90 of 152
คําตอบ 3 : 45.6 กิโลกรัม ตอ ชั่วโมง
คําตอบ 4 : 35.6 กิโลกรัม ตอ ชั่วโมง

ขอที่ : 249
ตองการสกัดกรดอะซิติก จากสารละลายที่มีกรดอะซิติก 40 % และน้ํา 60 % และมีอัตราการไหลเทากับ 100 กิโลกรัม ตอ วินาที โดยใชสารไอโซโพรพิวอีเทอรบริสุทธิ์ อัตราการ
ไหล 150 กิโลกรัม ตอ ชั่วโมง และกําหนดใหความเขมขนของกรดอะซิติกในสายราฟฟเนทมีคาเทากับ 3 % จงหาอัตราการไหลของสารผสมที่ออกจากสายเอกซแทรค
คําตอบ 1 : 154.4 กิโลกรัม ตอ ชั่วโมง


คําตอบ 2 : 194.4 กิโลกรัม ตอ ชั่วโมง
คําตอบ 3 : 204.4 กิโลกรัม ตอ ชั่วโมง

น า


คําตอบ 4 : 214.4 กิโลกรัม ตอ ชั่วโมง

จ ำ

ขอที่ : 250



สําหรับกรณีของเครื่องสกัด (Extractor) เหตุผลที่สําคัญที่นิยมกําหนดใหมีการไหลสวนทางกันของเฟส คือ

ิ์ ห
คําตอบ 1 : ทําใหสามารถลดพื้นที่ในการติดตั้ง


คําตอบ 2 : ทําใหมีคาอัตราการถายเทความรอนสูง

ิ ท
คําตอบ 3 : ทําใหอัตราการถายเทมวลขามเฟสมีคามาก


คําตอบ 4 : ทําใหสามารถกําหนดสภาวะในการปฏิบัติการไดงาย

ง ว น

ขอที่ : 251


ลักษณะที่งายที่สุดของการสกัดของเหลวดวยของเหลวเกี่ยวของกับระบบกี่องคประกอบ


คําตอบ 1 :


1


คําตอบ 2 : 2


คําตอบ 3 : 3



คําตอบ 4 :

าว
4


ขอที่ : 252


ขอใดบางที่เปนลักษณะเดนของการสกัดของเหลวดวยของเหลว
คําตอบ 1 : กระบวนการนี้เปนการแยกสารถูกละลายออกจากสารละลาย โดยอาศัยหลักการความแตกตางกันของจุดเดือด หรือคาการระเหยขององคประกอบตางๆในสารละลาย
คําตอบ 2 : กระบวนการนี้เปนการแยกสารถูกละลายออกจากสารละลายดวยการผสมกับตัวทําละลายอีกชนิดหนึ่ง
คําตอบ 3 : กระบวนการนี้เปนการแยกสารถูกละลายออกจากสารละลายดวยการใช เรซิน
คําตอบ 4 : กระบวนการนี้เปนการแยกสารถูกละลายออกจากสารละลายดวยการตม

91 of 152
ขอที่ : 253
โดยทั่วไปแลวการสกัดของเหลว-ของเหลวแบบขั้นตอนเดียวที่มีลักษณะพื้นฐานที่สุดมักเกี่ยวของกับตัวทําละลายกี่ชนิด
คําตอบ 1 : 1 ชนิด
คําตอบ 2 : 2 ชนิด
คําตอบ 3 : 3 ชนิด
คําตอบ 4 : 4 ชนิด


ขอที่ :



254


ลักษณะเดนของวัฏภาคเอ็กซแทรค (Extract phase) คือ


คําตอบ 1 : เปนวัฏภาคของเหลวซึ่งมีความเขมขนของสารทําละลายสกัด (extract solvent) มาก ในขณะที่มีความเขมขนของสารทําละลายตั้งตน (feed solvent) มาก


คําตอบ 2 : เปนวัฏภาคของเหลวซึ่งมีความเขมขนของสารทําละลายสกัดนอย ในขณะที่มีความเขมขนของสารทําละลายตั้งตนมาก

ม จ
คําตอบ 3 : เปนวัฏภาคของเหลวซึ่งมีความเขมขนของสารทําละลายสกัดมาก ในขณะที่มีความเขมขนของสารทําละลายตั้งตนนอย



คําตอบ 4 : เปนวัฏภาคของเหลวซึ่งมีความเขมขนของสารทําละลายสกัดนอย ในขณะที่มีความเขมขนของสารทําละลายตั้งตนนอย

ขอที่ : 255

ธ ิ์ ห
ิ ท
ขอมูล หรือความรูเรื่องใดที่เกี่ยวของกับการสกัดของเหลวดวยของเหลวนอยที่สุด
คําตอบ 1 : สมดุลระหวางวัฏภาค

นส

คําตอบ 2 : สมดุลมวลสาร


คําตอบ 3 : อัตราการไหลของสารปอน และผลิตภัณฑ

อ ส
คําตอบ 4 : อัตราการใหความรอนที่กับหอสกัดของเหลวดวยของเหลว

ขอที่ : 256

ก ร ข

อะไรไมใชองคประกอบ หรือลักษณะของกราฟสามเหลี่ยมที่ถูกตอง

าว ศ

คําตอบ 1 : โดยมากเปนกราฟสามเหลี่ยมดานเทา หรือสามเหลี่ยมมุมฉาก
คําตอบ 2 : จุดยอดของกราฟสามเหลี่ยมแทนองคประกอบ 100% ของสารแตละชนิด


คําตอบ 3 : บริเวณที่อยูภายใตเสนโคงสมดุล เปนสวนที่สารผสมมีเนื้อเดียวกัน ไมแยกวัฏภาค


คําตอบ 4 : ผิดทุกขอ

ขอที่ : 257
ขอใดถูกตองในเรื่องรูปแบบอุปกรณของหอสกัดของเหลวดวยของเหลว (liquid-liquid extractor)
คําตอบ 1 : แบบ mixer-settler
คําตอบ 2 : แบบ spray column
92 of 152
คําตอบ 3 : แบบ sieve-tray
คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

ขอที่ : 258
ในการสกัดของเหลวดวยของเหลว (liquid-liquid extraction) สารที่เปนตัวถูกละลาย (solute) ควรมีสมบัติอยางไร
คําตอบ 1 : ควรละลายไดในตัวทําละลายทั้งสอง
คําตอบ 2 : สามารถละลายไดในตัวทําละลายเพียงตัวเดียว


่ ย
คําตอบ 3 : ควรแยกออกจากตัวทําละลายไดงาย


คําตอบ 4 : ถูกทั้งขอ 1 และ 3

ขอที่ : 259

จ ำ ห

ในการสกัดของเหลวดวยของเหลว (liquid-liquid extraction) สารที่เปนตัวทําละลาย (solvent) ควรมีสมบัติอยางไร



คําตอบ 1 : ควรละลายไดดีในตัวทําละลายเดิม

ิ์ ห
คําตอบ 2 : แยกออกจากตัวถูกละลายไดยาก


คําตอบ 3 : แยก phase กับตัวถูกละลาย

ิ ท
คําตอบ 4 : สามารถละลายตัวถูกละลายไดดีกวาตัวทําละลายเดิม

นส
ง ว
ขอที่ : 260


ขอใดถูกตองในเรื่องอุปกรณสกัดของเหลวดวยของเหลว (liquid-liquid extractor) แบบ spray column


คําตอบ 1 : ของเหลวที่เบากวาจะถูกปอนเขาที่ดานบนของหอ

ร ข
คําตอบ 2 : ของเหลวที่หนักกวาจะถูกปอนเขาที่ดานลางของหอ


คําตอบ 3 : ของเหลวที่หนักกวาจะถูกปอนเขาที่ดานบนของหอ


คําตอบ 4 : ถูกเฉพาะขอ 1 และ 3

ขอที่ :

าว ศ


261


สําหรับกระบวนการสกัดของเหลวดวยของเหลว จุดใดๆ ในแผนภาพสามเหลี่ยม (Triangular coordinate diagram) จะหมายถึงขอใดตอไปนี้
คําตอบ 1 : ความเขมขนของสารผสมสององคประกอบ
คําตอบ 2 : ความเขมขนของสารผสมทั้งหมดสามองคประกอบ
คําตอบ 3 : ความดันรวมของสารผสมสององคประกอบ
คําตอบ 4 : ความดันรวมของสารผสมทั้งหมดสามองคประกอบ

ขอที่ : 262 93 of 152


ในกระบวนการสกัดของเหลวดวยของเหลว (liquid extraction) ขอใดผิด
คําตอบ 1 : ชั้นราฟฟเนท (raffinate) คือชั้นของเหลวที่มีตัวถูกละลายและตัวทําละลายไดลูเอนทเปนหลัก
คําตอบ 2 : ชั้นสกัด (extract) คือชั้นของเหลวที่ผานการสกัดดวยตัวทําละลาย
คําตอบ 3 : ของเหลวทั้ง 2 ชนิด ตองแยกเฟสกัน
คําตอบ 4 : ขอ 1 และ 2 ผิด

ขอที่ : 263


เครื่องสกัดแบบ Karr column มีลักษณะดังนี้
คําตอบ 1 : ประกอบดวยเพลท (plate) ในหอ

น า


คําตอบ 2 : เพลท (plate) จะเคลื่อนที่ขึ้นลงเพื่อใหหยดของเหลวกระจายตัว


คําตอบ 3 : หอสกัดแบบนี้จะใหหยดของเหลวที่มีขนาดสม่ําเสมอ

มจ
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ถูก

ขอที่ : 264

ิ์ ห า


จากรูปสมดุลเฟสสามเหลี่ยมดานลาง ขอใดถูกตอง

ส ิ ท

คําตอบ 1 : A และ B สามารถละลายไดบางอัตราสวน

ง ว
คําตอบ 2 : A และ C สามารถละลายไดบางอัตราสวน


คําตอบ 3 : B และ C สามารถละลายไดบางอัตราสวน


คําตอบ 4 : A B และ C สามารถละลายไดทุกอัตราสวน

ขอที่ : 265

ก ร ข

ในกระบวนการสกัดของเหลวดวยของเหลว (liquid-liquid extraction) ขอใดถูกตอง
คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :

าว ศ

ชั้นราฟฟเนท (raffinate) คือชั้นของเหลวที่ผานการสกัดดวยตัวทําละลาย
ชั้นสกัด (extract) คือชั้นของเหลวที่มีตัวถูกละลายและตัวทําละลายที่ใชสกัดเปนหลัก

ส ภ
คําตอบ 3 : ของเหลวทั้ง 2 ชนิด ตองแยกเฟสกัน
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ถูก

ขอที่ : 266
จากรูปสมดุลเฟสสามเหลี่ยมดานลาง ขอใดถูกตอง

คําตอบ 1 : ของผสมที่อยูเหนือจุด P เปนสารผสมเนื้อเดียว 94 of 152


คําตอบ 2 : A และ B สามารถละลายไดทุกอัตราสวน
คําตอบ 3 : ของผสมที่อยูใตจุด P ภายใตเสนโคงเปนสารผสม 2 เฟส
คําตอบ 4 : ถูกทั้งขอ 1 และ 3

ขอที่ : 267
การออกแบบระบบการสกัดของเหลวดวยของเหลวโดยการใชกราฟ จะมีการคํานวณปริมาณ minnimum solvent ที่ควรใช ถาเราใชปริมาณนอยกวาที่คํานวณได จะไดผลเชนใด
คําตอบ 1 : จะไมสามารถละลายตัวถูกละลายออกมาได


่ ย
คําตอบ 2 : จะไดความเขมขนของตัวถูกละลายมาก


คําตอบ 3 : จะไดความเขมขนของตัวถูกละลายนอย


คําตอบ 4 : ถูกทั้งขอ 1 และ 3

จ ำ

ขอที่ : 268



จากรูป ขอใดผิด

ธ ิ์ ห
ิ ท
คําตอบ 1 : น้ํากับอีเธอรละลายกันไดบางสวน


คําตอบ 2 : จุด P ในกราฟ คือจุดสุดทายที่ของเหลว 2 เฟสจะรวมเปนเนื้อเดียวกัน


คําตอบ 3 : tie line คือเสนที่ลากเชื่อมระหวาง raffinate และ extract layer

ง ว
คําตอบ 4 : คา xB สามารถอานไดจากกราฟ

ขอที่ :

อ ส

269


ในการสกัดแยกเอทธานอล(C2H5OH)ที่ผสมในน้ําดวยเฮกเซน(C6H14) ความเขมขนของเอทธานอล ในน้ําควรมีความสัมพันธกับความเขมขนของเอทธานอลในเฮกเซนอยางไร


คําตอบ 1 : ในน้ําตองต่ํากวาในเฮกเซน
คําตอบ 2 :


ิ ว
ในน้ําตองต่ํากวาคาสมดุลของความเขมขนในเฮกเซน

าว
คําตอบ 3 : ในน้ําตองเทากับคาสมดุลของความเขมขนในเฮกเซน
คําตอบ 4 : ในน้ําตองสูงกวาคาสมดุลของความเขมขนในเฮกเซน

ขอที่ : 270
ส ภ
ในการสกัดแยกเอทธานอล(C2H5OH)ที่ผสมในน้ําดวยเฮกเซน(C6H14) ความเขมขนของเอทธานอลในเฮกเซนควรมีความสัมพันธกับความเขมขนของเอทธานอลในน้ําอยางไร
คําตอบ 1 : ในเฮกเซนตองต่ํากวาในน้ํา
คําตอบ 2 : ในเฮกเซนตองต่ํากวาคาสมดุลของความเขมขนในน้ํา
คําตอบ 3 : ในเฮกเซนตองเทากับคาสมดุลของความเขมขนในน้ํา
คําตอบ 4 : ในเฮกเซนตองสูงกวาคาสมดุลของความเขมขนในน้ํา 95 of 152
ขอที่ : 271
ในการสกัดแยกเอทธานอล(C2H5OH)ที่ผสมในน้ําดวยเฮกเซน(C6H14) ควรทําการสกัดที่สภาวะใด
คําตอบ 1 : ต่ํากวาความดันจุดเดือด(bubble point pressure) ที่อุณหภูมิหอง
คําตอบ 2 : เทากับความดันจุดเดือด(bubble point pressure) ที่อุณหภูมิหอง
คําตอบ 3 : สูงกวาความดันจุดเดือด(bubble point pressure) ที่อุณหภูมิหอง
คําตอบ 4 : ต่ํากวาความดันจุดน้ําคาง(dew point pressure) ที่อุณหภูมิหอง


่ ย

ขอที่ : 272


ในการสกัดแยกเอทธานอล(C2H5OH)ที่ผสมในน้ําดวยเฮกเซน(C6H14) ถาตองการปริมาณเอทธานอลที่สกัดไดมีคามากที่สุดควรกําหนดใหอัตราการไหลของเฮกเซนเปนเชนใด


คําตอบ 1 : นอยกวาปริมาณนอยที่สุดที่พอดีแยกชั้น

ม จ
คําตอบ 2 : เทากับปริมาณนอยที่สุดที่พอดีแยกชั้น



คําตอบ 3 : มากกวาปริมาณนอยที่สุดที่พอดีแยกชั้น

ิ์ ห
คําตอบ 4 : เทากับปริมาณมากที่สุดที่พอดีแยกชั้น

ขอที่ : 273

ิ ทธ

การสกัดกรดน้ําสม(CH3COOH)ออกจากน้ําสมสายชู(CH3COOH + H2O)ดวยเฮกเซน(C6H14)โดยใชถังกวนผสมจํานวน 3 ถังอนุกรมกัน โดยปอนน้ําสมสายชูและเฮก

ว น
เซนอยางละเทาๆกันโดยปริมาตรเขาในถังกวนใบแรก ใบที่สอง และใบที่สามตามลําดับ ปริมาณกรดน้ําสมที่สกัดไดเปนอยางไร


คําตอบ 1 : เพิ่มขึ้นตามลําดับถังกวน


คําตอบ 2 : คงเดิมโดยไมขึ้นกับจํานวนถังกวน

ขอ
คําตอบ 3 : ลดลงตามลําดับถังกวน


คําตอบ 4 : เปลี่ยนแปลงตามลําดับถังกวน

ว ก


ขอที่ : 274

าว
การสกัดกรดน้ําสม(CH3COOH)ออกจากน้ําสมสายชู(CH3COOH + H2O)ดวยเฮกเซน(C6H14)โดยใชถังกวนผสม ณ อุณหภูมิหอง ควรดําเนินการภายใตความดันใด


คําตอบ 1 : ต่ํากวาความดันจุดเดือด(bubble point pressure)


คําตอบ 2 : เทากับความดันจุดเดือด(bubble point pressure)
คําตอบ 3 : สูงกวาความดันจุดเดือด(bubble point pressure)
คําตอบ 4 : ต่ํากวาความดันจุดน้ําคาง(dew point pressure)

ขอที่ : 275
การสกัดกรดน้ําสม(CH3COOH)ออกจากน้ําสมสายชู(CH3COOH + H2O)ดวยเฮกเซน(C6H14)โดยใชถังกวนผสม ณ ความดันบรรยากาศ ควรดําเนินการภายใตอุณหภูมิใด
คําตอบ 1 : สูงกวาอุณหภูมิจุดน้ําคาง(dew point temperature) 96 of 152
คําตอบ 2 : เทากับอุณหภูมิจุดน้ําคาง(dew point temperature)
คําตอบ 3 : เทากับอุณหภูมิจุดเดือด(bubble point temperature)
คําตอบ 4 : ต่ํากวาอุณหภูมิจุดเดือด(bubble point temperature)

ขอที่ : 276
การสกัดแยกกรดน้ําสม(CH3COOH)จากน้ําสมสายชู(CH3COOH + H2O)ดวยคลอโรฟอรม(CHCl3) โดยใชถังกวนผสมเพียงถังเดียว เพื่อใหไดความเขมขนของกรดน้ําสมใน


คลอโรฟอรมสูงสุด ควรปอนคลอโรฟอรมใหสัมพันธกับน้ําสมสายชูอยางไร

น า

คําตอบ 1 : นอยกวาปริมาณนอยที่สุดที่พอดีแยกชั้น


คําตอบ 2 : เทากับปริมาณนอยที่สุดที่พอดีแยกชั้น


คําตอบ 3 : มากกวาปริมาณนอยที่สุดที่พอดีแยกชั้น


คําตอบ 4 : เทากับปริมาณมากที่สุดที่พอดีแยกชั้น


้ ม
ิ์ ห
ขอที่ : 277


ในการสกัดแยกเอทธานอล(C2H5OH)ที่ผสมน้ําดวยเฮกเซน(C6H14)ดวยถังกวนผสม ถาเปลี่ยนเปนการสกัดแบบตอเนื่องและปอนสารผสมแบบไหลสวนทางกันจะเกิดการเปลี่ยน

ิ ท
แปลงอยางไร


คําตอบ 1 : ปริมาณเอทธานอลที่สกัดไดมีคาเพิ่มขึ้น


คําตอบ 2 :


ปริมาณเอทธานอลที่สกัดไดมีคานอยลง


คําตอบ 3 : ใชปริมาณเฮกเซนในการสกัดลดลง


คําตอบ 4 : ไมเกิดการเปลี่ยนแปลง

ขอที่ : 278

ร ขอ
ว ก
การสกัดเอทธานอล(C2H5OH)ที่ผสมกับน้ําดวยเฮกเซน(C6H14) พิจารณาที่ความสามารถในการละลายของสารทั้ง 3 ชนิดควรเปนเชนใด



คําตอบ 1 : เอทธานอลละลายในเฮกเซนไดดีกวาน้ํา

าว
คําตอบ 2 : เอทธานอลละลายในน้ําไดดีกวาเฮกเซน


คําตอบ 3 : เฮกเซนและน้ําไมควรละลายในกันและกัน


คําตอบ 4 : ถูกทั้งขอ 1 และ 3

ขอที่ : 279
การคํานวณออกแบบหอสกัดเอทธานอล(C2H5OH)ผสมน้ําดวยเฮปเทน(C7H16) ไมตองใชขอมูลใด
คําตอบ 1 : สัดสวนเอทธานอลที่ผสมน้ํา
คําตอบ 2 : อัตราการไหลของเฮปเทน
คําตอบ 3 : สัดสวนเอทธานอลในเฮปเทน 97 of 152
คําตอบ 4 : สมดุลไอของเหลวของเอทธานอล
ขอที่ : 280
การสกัดแยกกรดน้ําสม(CH3COOH)ออกจากน้ําสมสายชู(CH3COOH + H2O) ควรเลือกใชสารชนิดใด
คําตอบ 1 : เมทธานอล(CH3OH)
คําตอบ 2 : โทลูอีน(C7H8)
คําตอบ 3 : ฟอรมัลดีไฮด(HCHO)


คําตอบ 4 : อะซิโตน((CH3)2CO)

น า


ขอที่ : 281


การสกัดแยกกรดน้ําสม(CH3COOH)ออกจากน้ําสมสายชู(CH3COOH + H2O) ดวยการใชคลอโรฟอรม(CHCl3) และชุดถังกวนกับถังแยกชั้นของเหลวจํานวน 5 ชุด สารใดควร


พบมากในสายแอ็กแทร็ก(extract)และสายราฟฟเนต(raffinate)ตามลําดับ


้ ม
คําตอบ 1 : กรดน้ําสม(CH3COOH) และคลอโรฟอรม(CHCl3)

ิ์ ห
คําตอบ 2 : น้ํา และคลอโรฟอรม(CHCl3)


คําตอบ 3 : คลอโรฟอรม(CHCl3) และกรดน้ําสม(CH3COOH

ิ ท
คําตอบ 4 : คลอโรฟอรม(CHCl3) และน้ํา

นส

ขอที่ : 282


ในการคํานวณหอสกัดที่บรรจุดวยแผนเจาะรูพรุนจํานวน 12 แผน สําหรับแยกอะซิโตน(CH3COCH3)ที่ปนในโทลูอีน(C7H8)ดวยการใชน้ํา ควรพบสารใดบางในสายแอ็กแทร็ก


(extract) ตามลําดับมากไปนอย


คําตอบ 1 : น้ําและอะซิโตน(CH3COCH3)

ร ข
คําตอบ 2 : อะซิโตน(CH3COCH3)และโทลูอีน(C7H8)


คําตอบ 3 : โทลูอีน(C7H8)และน้ํา


คําตอบ 4 : น้ํา อะซิโตน(CH3COCH3)และโทลูอีน(C7H8)

าว ศ


ขอที่ : 283


ในการแยกอะซิโตน(CH3COCH3)ที่ปนในโทลูอีน(C7H8)ดวยการใชน้ํา สารใดจะเกิดการถายเทระหวางเฟสมากที่สุด
คําตอบ 1 : อะซิโตน
คําตอบ 2 : โทลูอีน
คําตอบ 3 : น้ํา
คําตอบ 4 : น้ํา และอะซิโตน

ขอที่ : 284 98 of 152


ในการคํานวณออกแบบหนวยสกัดแยกกรดน้ําสม(CH3COOH)ออกจากน้ําสมสายชู(CH3COOH + H2O) ดวยคลอโรฟอรม(CHCl3) ปริมาณใดที่ไมเปลี่ยนแปลง
คําตอบ 1 : ความเขมขนของกรดน้ําสม(CH3COOH)ในน้ําสมสายชู(CH3COOH + H2O)
คําตอบ 2 : อัตราการไหลของสายแอ็กแทร็ก(extract)
คําตอบ 3 : อัตราการไหลของสายราฟฟเนต(raffinate)
คําตอบ 4 : ผลตางของอัตราการไหลของสายแอ็กแทร็ก(extract)และสายราฟฟเนต(raffinate)

ขอที่ : 285


ในการคํานวณออกแบบหนวยสกัดแยกอะซิโตน(CH3COCH3)ที่ปนในโทลูอีน(C7H8)ดวยน้ํา ปริมาณใดไมคงที่
คําตอบ 1 : อัตราการไหลของน้ํา

น า


คําตอบ 2 : อุณหภูมิของการสกัด


คําตอบ 3 : ความเขมขนของอะซิโตน(CH3COCH3)ในน้ํา

ม จ
คําตอบ 4 : อัตราสวนการไหลของน้ําตอสารอินทรียผสม

ขอที่ : 286

ิ์ ห า


ในการสกัดแยกกรดน้ําสม(CH3COOH)ออกจากน้ําสมสายชู(CH3COOH + H2O) โดยการใชคลอโรฟอรม(CHCl3) ควรพบสารประกอบใดบางในสายราฟฟเนต(raffinate)เรียง

ิ ท
ตามลําดับจากนอยไปมาก


คําตอบ 1 : กรดน้ําสม(CH3COOH) และน้ํา

ว น
คําตอบ 2 : กรดน้ําสม(CH3COOH) และคลอโรฟอรม(CHCl3)


คําตอบ 3 : น้ํา และคลอโรฟอรม(CHCl3)


คําตอบ 4 : คลอโรฟอรม(CHCl3) กรดน้ําสม(CH3COOH) และน้ํา

ขอที่ :

ร ขอ

287


ในการสกัดแยกกรดน้ําสม(CH3COOH)ออกจากน้ําสมสายชู(CH3COOH + H2O) โดยการใชคลอโรฟอรม(CHCl3) ควรพบสารประกอบใดบางในสายแอ็กแทร็ก(extract)เรียง



ตามลําดับจากมากไปนอย

าว
คําตอบ 1 : กรดน้ําสม(CH3COOH) น้ํา และคลอโรฟอรม(CHCl3)


คําตอบ 2 : กรดน้ําสม(CH3COOH) คลอโรฟอรม(CHCl3) และน้ํา


คําตอบ 3 : คลอโรฟอรม(CHCl3) กรดน้ําสม(CH3COOH) และน้ํา
คําตอบ 4 : น้ํา คลอโรฟอรม(CHCl3) และกรดน้ําสม(CH3COOH

ขอที่ : 288
ของเหลวผสมที่ประกอบดวยไอโซเมอรของบิวเทน 2 ชนิด ซึ่งประกอบดวยนอรมอลบิวเทน และไอโซบิวเทน ควรแยกออกจากกันดวยวิธีการใด
คําตอบ 1 : การกลั่น
คําตอบ 2 : การสกัด คําตอบ 3: การแพรผานเยื่อ 99 of 152
คําตอบ 3 : การดูดซึม
คําตอบ 4 : การระเหย

ขอที่ : 289
การสกัดเอทธานอล(C2H5OH)ที่ผสมน้ําดวยสารตัวทําละลายอินทรียที่ใหคาคงที่สมดุลของเหลวนอยกวา 1.0 ควรใชปริมาณสารตัวทําละลายอยางไร เพื่อสกัดเอทธานอลมากๆ
คําตอบ 1 : ปริมาณมากที่สุดที่พอดีแยกชั้นกับน้ํา
คําตอบ 2 : ปริมาณมากกวาน้ํา แตตองแยกชั้นกับน้ํา


่ ย
คําตอบ 3 : ปริมาณเทียบเทากับน้ํา


คําตอบ 4 : ปริมาณนอยกวาน้ํา แตตองแยกชั้นกับน้ํา

ขอที่ : 290

จ ำ ห

การสกัดเอทธานอล(C2H5OH)ที่ผสมน้ําดวยสารตัวทําละลายอินทรียที่ใหคาคงที่สมดุลของเหลวมากกวา 1.0 ควรใชปริมาณสารตัวทําละลายอยางไร เพื่อการสกัดเอทธานอ



ลมากๆ

ิ์ ห
คําตอบ 1 : ปริมาณนอยที่สุดที่พอดีแยกชั้นกับน้ํา


คําตอบ 2 : ปริมาณนอยกวาน้ํา แตตองแยกชั้นกับน้ํา

ิ ท
คําตอบ 3 : ปริมาณเทียบเทากับน้ํา


คําตอบ 4 : ปริมาณมากวาน้ํา แตตองแยกชั้นกับน้ํา

ขอที่ :

ง ว น

291


การสกัดเอทธานอล(C2H5OH)ที่ผสมน้ําดวยสารตัวทําละลายอินทรียที่ใหคาคงที่สมดุลของเหลวมากกวา 1.0 ควรใชปริมาณสารตัวทําละลายอยางไร เพื่อการสกัดเอทธานอ


ลมากๆ


คําตอบ 1 : ปริมาณนอยที่สุดที่พอดีแยกชั้นกับน้ํา

ว ก
คําตอบ 2 : ปริมาณนอยกวาน้ํา แตตองแยกชั้นกับน้ํา



คําตอบ 3 : ปริมาณเทียบเทากับน้ํา

าว
คําตอบ 4 : ปริมาณมากวาน้ํา แตตองแยกชั้นกับน้ํา

ขอที่ : 292

ส ภ
ในการสกัดแยกอะซิโตน(CH3COCH3)ที่ปนในโทลูอีน(C7H8)โดยการใชน้ํากับหอสกัดที่บรรจุดวยแผนเจาะรูพรุนจํานวน 17 แผน ในสายแอ็กแทร็ก(extract)ควรมีสารใดอยูเรียง
ลําดับจากความเขมขนมากไปนอย
คําตอบ 1 : โทลูอีน น้ํา และ อะซิโตน
คําตอบ 2 : น้ํา อะซิโตน และ โทลูอีน
คําตอบ 3 : อะซิโตน โทลูอีน และ น้ํา
คําตอบ 4 : น้ํา และ อะซิโตน 100 of 152
ขอที่ : 293
ในการสกัดแยกอะซิโตน(CH3COCH3)ที่ปนในโทลูอีน(C7H8)โดยการใชน้ํากับหอสกัดที่บรรจุดวยแผนเจาะรูพรุนจํานวน 17 แผน ในสายราฟฟเนท(raffinate)ควรมีสารใดอยู
เรียงลําดับจากความเขมขนมากไปนอย
คําตอบ 1 : โทลูอีน น้ํา และ อะซิโตน
คําตอบ 2 : น้ํา อะซิโตน และ โทลูอีน
คําตอบ 3 : อะซิโตน โทลูอีน และ น้ํา


คําตอบ 4 : โทลูอีน อะซิโตน และน้ํา

ขอที่ :

น า


294


ในการสกัดแยกกรดน้ําสม(CH3COOH)ออกจากน้ําสมสายชู(CH3COOH + H2O) โดยการใชคลอโรฟอรม(CHCl3)กับหอสกัดที่บรรจุดวยแผนเจาะรูจํานวน 18 แผน ความเขม


ขนของกรดน้ําสมในสายราฟฟเนต(raffinate)ควรมีลักษณะอยางไร


้ ม
คําตอบ 1 : ลดลงจากยอดหอสูกนหอ

ิ์ ห
คําตอบ 2 : ไมลดลงจากยอดหอสูกนหอ
คําตอบ 3 : ไมเปลี่ยนแปลงจากยอดหอสูกนหอ


คําตอบ 4 : เพิ่มขึ้นจากยอดหอสูกนหอ

ส ิ ท

ขอที่ :


295


ในการสกัดแยกอะซิโตน(CH3COCH3)ที่ปนในโทลูอีน(C7H8)โดยการใชน้ํากับหอสกัดที่บรรจุดวยแผนเจาะรูพรุนจํานวน 12 แผน อัตราการไหลของอะซิโตนในสายราฟฟเนต


(raffinate)ควรมีลักษณะอยางไร


คําตอบ 1 : เพิ่มขึ้นจากบนลงลาง

ร ข
คําตอบ 2 : ไมเพิ่มขึ้นจากบนลงลาง


คําตอบ 3 : ไมเปลี่ยนแปลงจากบนลงลาง


คําตอบ 4 : ไมลดลงจากบนลงลาง

ขอที่ : 296

าว ศ


ในการสกัดแยกกรดน้ําสม(CH3COOH)ออกจากน้ําสมสายชู(CH3COOH + H2O) โดยการใชคลอโรฟอรม(CHCl3)กับหอสกัดที่บรรจุดวยแผนเจาะรูจํานวน 20 แผน ความเขม


ขนของกรดน้ําสมในสายแอ็กแทร็ก(extract)ควรมีลักษณะอยางไร
คําตอบ 1 : ลดลงจากยอดหอสูกนหอ
คําตอบ 2 : ไมลดลงจากยอดหอสูกนหอ
คําตอบ 3 : ไมเปลี่ยนแปลงจากยอดหอสูกนหอ
คําตอบ 4 : เพิ่มขึ้นจากยอดหอสูกนหอ

101 of 152
ขอที่ : 297
ในการสกัดแยกกรดน้ําสม(CH3COOH)ออกจากน้ําสมสายชู(CH3COOH + H2O) โดยการใชคลอโรฟอรม(CHCl3)กับหอสกัดที่บรรจุดวยแผนเจาะรูจํานวน 20 แผน ปริมาณใด
ไมคงที่
คําตอบ 1 : อัตราการไหลของน้ํา
คําตอบ 2 : อุณหภูมิของการสกัด
คําตอบ 3 : ความเขมขนของกรดน้ําสม
คําตอบ 4 : ความดันของการสกัด

ขอที่ :


่ ย

298
การใชคลอโรฟอรม(CHCl3)สําหรับสกัดแยกกรดน้ําสม(CH3COOH)ออกจากน้ําสมสายชู(CH3COOH + H2O) ดวยหอสกัดที่มีแผนเจาะรูอยูภายใด ควรปอนคลอโรฟอรมและ

ำ ห
น้ําสมสายชูเขาที่สวนใดของหอสกัด ตามลําดับ


คําตอบ 1 : คลอโรฟอรมดานบน และน้ําสมสายชูดานลาง


คําตอบ 2 : คลอโรฟอรมดานบน และน้ําสมสายชูตรงกลาง
คําตอบ 3 :
คําตอบ 4 :
คลอโรฟอรมตรงกลาง และน้ําสมสายชูดานลาง
คลอโรฟอรมดานลาง และน้ําสมสายชูตรงกลาง

ิ์ ห า

ิ ทธ

ขอที่ : 299


ในการคํานวณหอสกัดที่บรรจุดวยแผนเจาะรูพรุนจํานวน 10 แผน สําหรับแยกอะซิโตน(CH3COCH3)ที่ปนในโทลูอีน(C7H8)ดวยการใชน้ํา อัตราการไหลของสารราฟฟเนต


(raffinate)ภายในหอสกัดควรมีลักษณะอยางไร
คําตอบ 1 : คอยๆลดลงจากยอดหอสูกนหอ

ส ง

คําตอบ 2 : ไมลดลงจากยอดหอสูกนหอ

ร ข
คําตอบ 3 : ไมเปลี่ยนแปลงจากยอดหอสูกนหอ


คําตอบ 4 : คอยเพิ่มขึ้นจากยอดหอสูกนหอ


ิ ว
าว
ขอที่ : 300
ในการคํานวณหอสกัดที่บรรจุดวยแผนเจาะรูพรุนจํานวน 10 แผน สําหรับแยกอะซิโตน(CH3COCH3)ที่ปนในโทลูอีน(C7H8)ดวยการใชน้ํา ปริมาณใดคงที่ตลอดการทดลอง


คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :
คําตอบ 3 :
ภ ความเขมขนของอะซิโตนในน้ํา
อัตราการไหลของสายแอ็กแทร็ก(extract)
ผลตางของอัตราการไหลของสายแอ็กแทร็ก(extract)และสายราฟฟเนต(raffinate)
คําตอบ 4 : ผลรวมของอัตราการไหลของสายแอ็กแทร็ก(extract)และสายราฟฟเนต(raffinate)

ขอที่ : 301
โดยทั่วไปแลวพารามิเตอรใดที่มีผลกระทบนอยที่สุดตอประสิทธิภาพของกระบวนการสกัดแบบไหลสวนทางกันของระบบของเหลว-ของเหลว 102 of 152
คําตอบ 1 : อุณหภูมิในการสกัดในแตละขั้นตอน
คําตอบ 2 : ความดันลดที่เกิดขึ้นในแตละขั้นตอน
คําตอบ 3 : ระยะเวลาของการสกัดในแตละขั้นตอน
คําตอบ 4 : อัตราสวนของความยาวตอเสนผาศูนยกลางของเครื่องสกัด

ขอที่ : 302
โดยทั่วไปแลวพารามิเตอรใดที่มีผลกระทบนอยที่สุดตอประสิทธิภาพของกระบวนการสกัดแบบไหลสวนทางกันของระบบของเหลว-ของเหลว


่ ย
คําตอบ 1 : อุณหภูมิในการสกัดในแตละขั้นตอน


คําตอบ 2 : ความดันลดที่เกิดขึ้นในแตละขั้นตอน


คําตอบ 3 : ระยะเวลาของการสกัดในแตละขั้นตอน


คําตอบ 4 : อัตราสวนของความยาวตอเสนผาศูนยกลางของเครื่องสกัด

ม จ


ขอที่ : 303

ิ์ ห
ขอใดไมใชคุณสมบัติของสารที่ใชในการเลือกตัวทําละลายในกระบวนการสกัด


คําตอบ 1 : สามารถนํากลับมาใชไดงาย

ิ ท
คําตอบ 2 : มีราคาไมแพง
คําตอบ 3 : ไมละลายในของเหลวที่เปนเฟสราฟฟเนต

นส

คําตอบ 4 : มีความหนาแนนใกลเคียงกับของเหลวที่เปนเฟสราฟฟเนต (Raffinate Phase)

ส ง

ขอที่ : 304


กรณีใดตอไปนี้ที่ไมใชเหตุผลที่ทําใหเครื่องมือสกัดของเหลวไดรับความนิยมใชมากกวาหอกลั่น
คําตอบ 1 :

ก ร
เมื่อกระบวนการกลั่นตองการใชความรอนมากเกินไป


คําตอบ 2 : เมื่อการเกิดแอซิโอโทรป (Azeotrope) ไปจํากัดระดับขั้นของการแยก

าว ศ

คําตอบ 3 : เมื่อการใหความรอนเปนสิ่งที่ตองหลีกเลี่ยง
คําตอบ 4 : เมื่อจุดเดือดของของเหลวที่ตองการสกัดมีคาต่ํามาก

ขอที่ : 305
ส ภ
ในการสกัดโดยวิธี liquid-liquid Extraction นิยมสกัดที่อุณหภูมิใด
คําตอบ 1 : เทากับอุณหภูมิจุดเดือดของสารละลาย
คําตอบ 2 : สูงกวาอุณหภูมิจุดเดือดของสารละลาย
คําตอบ 3 : ต่ํากวาอุณหภูมิจุดเดือดของสารละลาย
คําตอบ 4 : สูงกวาอุณหภูมิจุด DEW POINT ของสารละลาย
103 of 152
ขอที่ : 306
ในการสกัดโดยวิธี liquid-liquid Extraction นิยมสกัดที่ความดันใด
คําตอบ 1 : เทากับความดันจุดเดือดของสารละลาย
คําตอบ 2 : สูงกวาความดันจุดเดือดของสารละลาย
คําตอบ 3 : ต่ํากวาความดันจุดเดือดของสารละลาย
คําตอบ 4 : ต่ํากวาความดันจุด DEW POINT ของสารละลาย


่ ย

ขอที่ : 307


ขอใดตอไปนี้ไมใชขอดอยของเครื่องสกัดแบบแรงเหวี่ยง (Centrifugal extractor)


คําตอบ 1 : มีคาใชจายเริ่มตนสูง

ม จ
คําตอบ 2 : มีคาใชจายในการปฏิบัติการสูง



คําตอบ 3 : มีขอจํากัดในการเพิ่มจํานวนขั้นตอนการสกัดในหนวยสกัดเดี่ยว

ิ์ ห
คําตอบ 4 : ไมสามารถใชไดกับระบบของเหลว-ของเหลวที่การกระจายตัวเปนแบบอิมัลชัน

ขอที่ : 308

ิ ทธ

โดยทั่วไปแลวเครื่องสกัดที่มีการกวนเชิงกล (Mechanical agitation) รวมดวยนั้นจะนิยมใชในกรณีที่ระบบของเหลว-ของเหลวมีคุณสมบัติใดตอไปนี้
คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :
ว น
มีแรงตึงผิวสูงและ/หรือมีความแตกตางของความหนาแนนระหวางเฟสต่ํา


มีแรงตึงผิวสูงและ/หรือมีความแตกตางของความหนาแนนระหวางเฟสสูง

อ ส
คําตอบ 3 : มีแรงตึงผิวปานกลางและ/หรือมีความแตกตางของความหนาแนนระหวางเฟสต่ํา


คําตอบ 4 : มีแรงตึงผิวต่ําและ/หรือมีความแตกตางของความหนาแนนระหวางเฟสต่ํา

ก ร

ขอที่ : 309



โดยทั่วไปแลวในการออกแบบเครื่องสกัดที่มีหลายขั้นตอนและมีการไหลแบบสวนทางกันนั้นมี 4 ปจจัยที่สําคัญที่เกี่ยวของ คือ จํานวนขั้นตอนสมดุล ความบริสุทธิ์ของผลิตภัณฑ

าว
รอยละของสารที่สกัดออกมาได และขอใดตอไปนี้ปจจัยที่เหลือ


คําตอบ 1 : อัตราการไหลของเฟสเอกซแทรคที่เขาสูขั้นตอนลําดับที่ N (VN+1)


คําตอบ 2 : อัตราการไหลของเฟสราฟฟเนตที่เขาสูขั้นตอนลําดับที่ 1 (L0)
คําตอบ 3 : อัตราสวน VN+1/ L0
คําตอบ 4 : คาแฟกเตอรความปลอดภัย (Safety factor

ขอที่ : 310
โดยทั่วไปแลวในการออกแบบเครื่องสกัดที่มีหลายขั้นตอนและมีการไหล แบบสวนทางกันนั้น ถากําหนดใหอัตราสวนของอัตราการไหลของเฟสเอกซ แทรคที่เขาสูขั้นตอนลําดับสุด
ทายหรือลําดับที่ N (VN+1) ตออัตราการไหลของ เฟสราฟฟเนตที่เขาสูขั้นตอนลําดับแรกหรือลําดับที่ 1 (L0) มีคามากจะทําให ความเขมขนของสารที่สกั
104ดไดof
ที่อ152
ยูในเฟสเอกซ
แทรค (เฟส V) มีคานอย จะ ทําใหเกิดผลในขอใดตอไปนี้
คําตอบ 1 : รอยละของสารที่สกัดออกมาไดมีคาต่ํา
คําตอบ 2 : รอยละของสารที่สกัดออกมาไดมีคาสูง
คําตอบ 3 : การนําตัวทําละลายที่อยูในเฟสเอกซแทรคกลับมาใชอีกทําไดงาย
คําตอบ 4 : การนําตัวทําละลายที่อยูในเฟสเอกซแทรคกลับมาใชอีกทําไดยาก

ขอที่ : 311


สําหรับกระบวนการสกัดที่มีหลายขั้นตอนแบบไหลสวนทางกันนั้นในกรณีที่ กําหนดใหอัตราสวนของอัตราการไหลของเฟสเอกซแทรคที่เขาสูขั้นตอน ลําดับสุดทายหรือลําดับที่ N



(VN+1) ตออัตราการไหลของเฟสราฟฟเนตที่เขา สูขั้นตอนลําดับแรกหรือลําดับที่ 1 (L0) มีคาต่ําสุด เพื่อใหไดเปอรเซ็นตของ สารที่สกัดออกมาไดตามตองการนั้น จะตองใช


จํานวนขั้นตอนการสกัดในขอ ใด
คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :
นอยที่สุด
นอย

จ ำ ห

้ ม
คําตอบ 3 : ปานกลาง

ิ์ ห
คําตอบ 4 : มากที่สุด

ขอที่ : 312

ิ ทธ

โดยทั่วไปกระบวนการสกัดที่มีหลายขั้นตอนแบบไหลสวนทางกันนั้นใน กรณีที่กําหนดใหอัตราสวนของอัตราการไหลของเฟสเอกซแทรคที่เขาสู ขั้นตอนลําดับสุดทายหรือลําดับที่ N


(VN+1) ตออัตราการไหลของเฟสราฟ ฟเนตที่เขาสูขั้นตอนลําดับแรกหรือลําดับที่ 1 (L0) มีคาเทากับ 1.0 จะพบวา เปอรเซ็นตของสารที่สกัดไดจะมีคาเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ เมื่อใด

ง ว
คําตอบ 1 : เพิ่มจํานวนขั้นตอนการสกัดขึ้น


คําตอบ 2 : ลดจํานวนขั้นตอนการสกัดลง


คําตอบ 3 : เพิ่มพื้นที่การสัมผัสกันของเฟส V และเฟส L ในขั้นตอนเริ่มตน (ลําดับที่ 1)

ร ข
คําตอบ 4 : เพิ่มพื้นที่การสัมผัสกันของเฟส V และเฟส L ในขั้นตอนสุดทาย (ลําดับที่ N)

ว ก


ขอที่ : 313

าว
การสกัดที่มีหลายขั้นตอนแบบไหลสวนทางกัน ในกรณีที่ตองการจํานวนขั้นสมดุลนอยที่สุด จะตองใหอัตราการไหลของเฟสเอกซแทรคที่เขาสูขั้นตอนลําดับสุดทายมีคาเทาไร
คําตอบ 1 : มากที่สุด


คําตอบ 2 :
คําตอบ 3 :
คําตอบ 4 :
ภ นอยที่สุด
ปานกลาง
นอย

ขอที่ : 314
แผนภาพสามเหลี่ยมดานเทาที่ใชในการแสดงสมดุลระหวางของเหลว-ของเหลวที่มีการผสมกันเพียงบางสวนของสารที่เปนตัวทําละลายกับสารที่ทําใหเจือจางนั้นจะมีเสนโคงการ
ละลาย 2 เสน คือ เสนโคงการละลายของเฟสราฟฟเนตและเสนโคงการละลายของเฟสเอกซแทรค การที่ปลายดานหนึ่งของเสนโคงทั้งสองนี้จะลูเขาหากันที่จุดเพลต (Plait point)
นั้นมีความหมายทางกายภาพอยางไร
105 of 152
คําตอบ 1 : ชั้นของของเหลวทั้งสองจะมีองคประกอบเดียวกัน
คําตอบ 2 : ชั้นของของเหลวทั้งสองจะมีองคประกอบแตกตางกัน
คําตอบ 3 : มีการแยกชั้นของของเหลวทั้งสองเฟส
คําตอบ 4 : ความเขมขนของตัวถูกละลายในเฟสราฟฟเนตมีคามาก

ขอที่ : 315


จากระบบของเหลวสามองคประกอบ A, B, C ดังแสดงในรูป จงบอกถึงลักษณะการละลายขององคประกอบแตละชนิด

น า

ำ ห
คําตอบ 1 : B และ C ละลายในกันและกันไดบาง


คําตอบ 2 : A และ B ละลายในกันและกันไดบาง


คําตอบ 3 : A และ C ละลายในกันและกันไดบาง



คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

ธ ิ์ ห
ิ ท
ขอที่ : 316


จากระบบของเหลวสามองคประกอบ A,ฺB, C ดังแสดงในรูป จงบอกถึงลักษณะการละลายขององคประกอบแตละชนิด

คําตอบ 1 : A และ B ไมละลายซึ่งกันและกันเลย

ง ว น

คําตอบ 2 : A และ B ละลายในกันและกันไดบาง


คําตอบ 3 : A และ C ละลายในกันและกันไดบาง
คําตอบ 4 :


A และ C ไมละลายในกันและกันเลย

ก ข
ขอที่ : 317


ิ ว
าว
การสกัดแยกอะซิโตน(CH3COCH3)ที่ปนในโทลูอีน(C7H8) โดยการใชน้ํากับหอสกัดที่บรรจุดวยแผนเจาะรูพรุนจํานวน 15 แผน ควรปอนสารอินทรียรผสมและน้ําเขาหอสกัดอยาง
ไร ตามลําดับ


คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :
คําตอบ 3 :
ภ สารอินทรียผสมดานลาง และน้ําตรงกลาง
สารอินทรียผสมตรงกลาง และน้ําดานลาง
สารอินทรียผสมดานลาง และน้ําดานบน
คําตอบ 4 : สารอินทรียผสมดานบน และน้ําดานลาง

ขอที่ : 318
การสกัดเอทธานอล(C2H5OH)ที่ผสมกับน้ําดวยเฮกเซน(C6H14) ควรดําเนินการภายใตความดันใด 106 of 152
คําตอบ 1 : ความดันต่ํากวาจุดน้ําคาง(dew point pressure)
คําตอบ 2 : ความดันจุดน้ําคาง(dew point pressure)
คําตอบ 3 : ความดันระหวางจุดน้ําคาง(dew point pressure)กับจุดเดือด(bubble point pressure)
คําตอบ 4 : ความดันสูงกวาจุดเดือด(bubble point pressure)

ขอที่ : 319
ในการสกัดแยกเอทธานอล(C2H5OH)ที่ผสมน้ําดวยเฮปเทน(C7H16)ดวยถังกวนผสม โดยใชปริมาณเฮปเทนมากที่สุดที่พอดีใหสามารถสกัดเอทธานอลได จะไดผลลัพธอยางไร


่ ย
คําตอบ 1 : ไดปริมาณแอ็กแทร็ก(extract)มากกวาปริมาณราฟฟเนต(raffinate)


คําตอบ 2 : ไดปริมาณแอ็กแทร็ก(extract)เทากับปริมาณราฟฟเนต(raffinate)


คําตอบ 3 : ไดปริมาณแอ็กแทร็ก(extract)นอยกวาปริมาณราฟฟเนต(raffinate)


คําตอบ 4 : ไดแอ็กแทร็ก(extract)เพียงอยางเดียว

ม จ


ขอที่ : 320

ิ์ ห
ในการสกัดแยกเอทธานอล(C2H5OH)ที่ผสมน้ําดวยเฮกเซน(C6H14)ดวยถังกวนผสม โดยใชปริมาณเฮกเซนนอยที่สุดที่พอดีใหสามารถสกัดเอทธานอลได จะไดผลลัพธอยางไร


คําตอบ 1 : ไดแอ็กแทร็ก(extract)เพียงอยางเดียว

ิ ท
คําตอบ 2 : ไดราฟฟเนต(raffinate)เพียงอยางเดียว
คําตอบ 3 :

นส
ไดปริมาณแอ็กแทร็ก(extract)มากกวาปริมาณราฟฟเนต(raffinate)


คําตอบ 4 : ไดปริมาณแอ็กแทร็ก(extract)เทากับปริมาณราฟฟเนต(raffinate)

ส ง

ขอที่ : 321


การสกัดแยกกรดน้ําสม(CH3COOH)จากน้ําสมสายชู(CH3COOH + H2O)ดวยคลอโรฟอรม(CHCl3) โดยใชถังกวนผสมเพียงถังเดียว ถาเพิ่มอัตราการไหลของคลอโรฟอรม จะ


เกิดการเปลี่ยนแปลงเชนใด
คําตอบ 1 :

ว ก
ความเขมขนของกรดน้ําสมในสายเอกซแทรคเพิ่มขึ้น



คําตอบ 2 : ความเขมขนของกรดน้ําสมในสายเอกซแทรคลดลง

าว
คําตอบ 3 : ความเขมขนของกรดน้ําสมในราฟฟเนทเพิ่มขึ้น


คําตอบ 4 : ไมเกิดการเปลี่ยนแปลง

ขอที่ : 322

การสกัดแยกกรดน้ําสม(CH3COOH)จากน้ําสมสายชู(CH3COOH + H2O)ดวยคลอโรฟอรม(CHCl3) โดยใชถังกวนผสมเพียงถังเดียว เพื่อใหสามารถสกัดกรดน้ําสมไดสูงสุด
ควรปอนคลอโรฟอรมใหสัมพันธกับน้ําสมสายชูอยางไร
คําตอบ 1 : นอยกวาปริมาณนอยที่สุดที่พอดีแยกชั้น
คําตอบ 2 : เทากับปริมาณนอยที่สุดที่พอดีแยกชั้น
คําตอบ 3 : มากกวาปริมาณนอยที่สุดที่พอดีแยกชั้น 107 of 152
คําตอบ 4 : เทากับปริมาณมากที่สุดที่พอดีแยกชั้น
ขอที่ : 323
จากกราฟสามเหลี่ยมแสดงระบบสามองคประกอบ Furfural, Glycol และ Water จงหาวาจุด M จะมี Glycol ประมาณเทาใด

คําตอบ 1 : 42 %
คําตอบ 2 : 29 %


่ ย
คําตอบ 3 : 100 %


คําตอบ 4 : 50 %

ขอที่ : 324

จ ำ ห

จากกราฟสามเหลี่ยมแสดงระบบสามองคประกอบ Furfural, Glycol และ Water จงหาวาสัดสวนโดยโมลของน้ําที่จุด M จะเปนเทาใด

ิ์ ห า


คําตอบ 1 : เทากับความเขมขนของ glycol

ิ ท
คําตอบ 2 : เทากับความเขมขนของ furfural


คําตอบ 3 : ไมสามารถทราบไดจากกราฟสามเหลี่ยมนี้


คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

ง ว

ขอที่ : 325


จากกราฟสามเหลี่ยมแสดงระบบสามองคประกอบ Furfural, Glycol และ Water จงหาวาความเขมขนของ glycol ในชั้นราฟฟเนตที่จุด B จะเปนเทาใด โดยประมาณ ?

ก ร ข

คําตอบ 1 : 10 %



คําตอบ 2 : 20 %

าว
คําตอบ 3 : 30 %


คําตอบ 4 : 40 %

ขอที่ : 326

ตองการสกัดกรดอะซิติก จากสารละลายที่มีกรดอะซิติก 40 % และน้ํา 60 % และมีอัตราการไหลเทากับ 100 กิโลกรัม ตอ วินาที โดยใชสารไอโซโพรพิวอีเทอรบริสุทธิ์ และกําหนด
ใหความเขมขนของกรดอะซิติกในสายราฟฟเนทมีคาเทากับ 3 % จากกราฟ จุดใดคือจุดแสดงองคประกอบของสารผสมที่ตองการสกัด

คําตอบ 1 : จุดที่ 1
108 of 152
คําตอบ 2 : จุดที่ 2
คําตอบ 3 : จุดที่ 3
คําตอบ 4 : จุดที่ 4

ขอที่ : 327
ตองการสกัดกรดอะซิติก จากสารละลายที่มีกรดอะซิติก 40 % และน้ํา 60 % และมีอัตราการไหลเทากับ 100 กิโลกรัม ตอ วินาที โดยใชสารไอโซโพรพิวอีเทอรบริสุทธิ์ และกําหนด
ใหความเขมขนของกรดอะซิติกในสายราฟฟเนทมีคาเทากับ 3 % จากกราฟ จุดใดคือจุดแสดงองคประกอบของตัวทําละลาย (ไอโซโพรพิวอีเทอร)


่ ย

คําตอบ 1 : จุดที่ 1


คําตอบ 2 : จุดที่ 2

จ ำ
คําตอบ 3 : จุดที่ 4


คําตอบ 4 : จุดที่ 5

ขอที่ : 328

ิ์ ห า


ตองการสกัดกรดอะซิติก จากสารละลายที่มีกรดอะซิติก 40 % และน้ํา 60 % และมีอัตราการไหลเทากับ 100 กิโลกรัม ตอ วินาที โดยใชสารไอโซโพรพิวอีเทอรบริสุทธิ์ และกําหนด

ิ ท
ใหความเขมขนของกรดอะซิติกในสายราฟฟเนทมีคาเทากับ 3 % จุดใดคือจุดแสดงองคประกอบของสารผสมที่ออกจากสายราฟฟเนท
คําตอบ 1 : จุดที่ 1

นส

คําตอบ 2 : จุดที่ 2


คําตอบ 3 : จุดที่ 3

อ ส
คําตอบ 4 : จุดที่ 4

ขอที่ : 329

ก ร ข

จากรูปสมดุลเฟสสามเหลี่ยมดานลาง ขอใดถูกตอง

คําตอบ 1 :

าว ศ

A ควรเปนตัวถูกละลาย (solute)

ส ภ
คําตอบ 2 : B ควรเปนตัวถูกละลาย
คําตอบ 3 : C ควรเปนตัวถูกละลาย
คําตอบ 4 : P ควรเปนตัวถูกละลาย

ขอที่ : 330
จากรูปสมดุลเฟสสามเหลี่ยมดานลาง ขอใดถูกตอง

109 of 152
คําตอบ 1 : เสนโคง AP ควรเปนเฟสราฟฟเนท
คําตอบ 2 : เสนโคง AP ความเปนเฟสเอกซแทรค
คําตอบ 3 : เสนโคง BP ควรเปนเฟสราฟฟเนท
คําตอบ 4 : ถูกทั้งขอ 2 และ 3

ขอที่ : 331
ขอใดกลาวไดถูกตองเกี่ยวกับสภาวะสมดุลวัฏภาค (phase equilibrium)


่ ย
คําตอบ 1 : ที่สภาวะสมดุล Gibbs free energy ของระบบจะมีคาต่ําที่สุด


คําตอบ 2 : ที่สภาวะสมดุล พลังงานภายในของระบบจะมีคาต่ําที่สุด


คําตอบ 3 : ที่สภาวะสมดุล เอนทาลปของระบบจะมีคาต่ําที่สุด


คําตอบ 4 : ที่สภาวะสมดุล เอนโทรปของระบบจะมีคาต่ําที่สุด

ม จ


ขอที่ : 332

ิ์ ห
ขอใดคือนิยามของสมดุลทางเทอรโมไดนามิกส (thermodynamic equilibrium)


คําตอบ 1 : ระบบซึ่งอยูในสมดุลความรอน (thermal equilibrium) และสมดุลทางกล (mechanical equilibrium)

ิ ท
คําตอบ 2 : ระบบซึ่งอยูในสมดุลความรอน (thermal equilibrium) และสมดุลเคมี (chemical equilibrium)
คําตอบ 3 :

นส
ระบบซึ่งอยูในสมดุลความรอน (thermal equilibrium) และสมดุลเคมี (chemical equilibrium)


คําตอบ 4 : ระบบซึ่งอยูในสมดุลความรอน (thermal equilibrium) สมดุลทางกล (mechanical equilibrium) และสมดุลเคมี (chemical equilibrium)

ส ง

ขอที่ : 333


ระบบซึ่งอยูในสภาวะสมดุลทางความรอน(thermal equilibrium) จะมีคาตัวแปรใดเทากัน
คําตอบ 1 : ความดัน

ก ร

คําตอบ 2 : ปริมาตร

าว ศ

คําตอบ 3 : อุณหภูมิ
คําตอบ 4 : ความเขมขน

ขอที่ : 334
ส ภ
ระบบซึ่งอยูในสภาวะสมดุลทางกล (mechanical equilibrium) จะมีคาตัวแปรใดเทากัน
คําตอบ 1 : ความดัน
คําตอบ 2 : ปริมาตร
คําตอบ 3 : ความเขมขน
คําตอบ 4 : อุณหภูมิ
110 of 152
ขอที่ : 335
ระบบซึ่งอยูในสภาวะสมดุลเคมี (chemical equilibrium) จะมีคาตัวแปรใดเทากัน
คําตอบ 1 : ความดัน
คําตอบ 2 : ปริมาตร
คําตอบ 3 : อุณหภูมิ
คําตอบ 4 : ความเขมขน


่ ย

ขอที่ : 336


โดยทั่วไปคา Gibbs free energy สําหรับของเหลวขึ้นกับตัวแปรใดเปนหลัก


คําตอบ 1 : อุณหภูมิและความดัน

ม จ
คําตอบ 2 : อุณหภูมิและความเขมขนขององคประกอบสาร



คําตอบ 3 : ความดันและความเขมขนขององคประกอบสาร

ิ์ ห
คําตอบ 4 : อุณหภูมิ ความดันและความเขมขนขององคประกอบสาร

ขอที่ : 337

ิ ทธ

โดยทั่วไปคา Gibbs free energy สําหรับกาซขึ้นกับตัวแปรใดเปนหลัก
คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :
อุณหภูมิและความดัน
อุณหภูมิและความเขมขนขององคประกอบสาร

ง ว น
อ ส
คําตอบ 3 : ความดันและความเขมขนขององคประกอบสาร


คําตอบ 4 : อุณหภูมิ ความดันและความเขมขนขององคประกอบสาร

ก ร

ขอที่ : 338



กาซไฮโดรเจนทําปฏิกิริยากับกาซออกซิเจนเกิดเปนน้ํา ถามีกาซไฮโดรเจน 24 กรัม ทําปฏิกิริยากับอากาศเกินพอ จะเกิดน้ําขึ้นกี่กรัม

าว
คําตอบ 1 : 24


คําตอบ 2 : 48


คําตอบ 3 : 108
คําตอบ 4 : 196

ขอที่ : 339
อากาศและน้ําอยูในสภาวะสมดุลในถังปดที่อุณหภูมิ 75 C และความดัน 760 mm Hg จงคํานวณหาสัดสวนเชิงโมลของน้ําและอากาศแหงในวัฏภาคกาซ เมื่อกําหนดใหคาความดัน
ไอของน้ําที่ 75 C เทากับ 289 mm Hg
คําตอบ 1 : 0.275 และ 0.724 111 of 152
คําตอบ 2 : 0.38 และ 0.62
คําตอบ 3 : 0.724 และ 0.275
คําตอบ 4 : 0.62 และ 0.38

ขอที่ : 340
ถาความหนาแนนของกาซชนิดหนึ่งที่ STP มีคาเทากับ 1.25 g/l จงประมาณคาน้ําหนักโมเลกุลของกาซนี้ กําหนดคา R = 0.08206


่ ย
คําตอบ 1 : 25


คําตอบ 2 : 26


คําตอบ 3 : 27


คําตอบ 4 :


28

ขอที่ : 341


้ ม
ิ์ ห
ระบบปดหมายถึง


คําตอบ 1 : ระบบที่มีการถายเฉพาะมวลผานขอบเขตของระบบ

ิ ท
คําตอบ 2 : ระบบที่มีการถายเทเฉพาะพลังงานผานขอบเขตของระบบ
คําตอบ 3 : ระบบที่ไมมีการถายเททั้งมวลและพลังงานผานขอบเขตของระบบ

นส

คําตอบ 4 : ระบบที่ไมมีการถายเทมวลและอุณหภูมิคงที่

ส ง

ขอที่ : 342


ถาน้ําที่จุดไตรภาค (triple point) มีคาความดันลดลง ในขณะที่อุณหภูมิคงที่ การเปลี่ยนแปลงวัฏภาคในขอใดดังตอไปนี้ ที่สามารถเกิดขึ้นไดบาง 1. การหลอมเหลว 2. การระเหิด


3. การกลายเปนไอ
คําตอบ 1 :


ขอ 1 เทานั้น




คําตอบ 2 : ขอ 2 เทานั้น

าว
คําตอบ 3 : ขอ 3 เทานั้น


คําตอบ 4 : ขอ 1 และ 2

ขอที่ : 343

ความดันไอและอุณหภูมิจุดเดือดของน้ําบริสุทธิ์จะเปลี่ยนแปลงอยางไร ถาเติมเกลือโซเดียมคลอไรด ลงไป
คําตอบ 1 : ความดันไอลดลง จุดเดือดเพิ่มขึ้น
คําตอบ 2 : ทั้งความดันไอและจุดเดือดลดลง
คําตอบ 3 : ความดันไอเพิ่มขึ้น จุดเดือดลดลง
คําตอบ 4 : ทั้งความดันไอและจุดเดือดเพิ่มขึ้น 112 of 152
ขอที่ : 344
ขอใดกลาวไดถูกตองเกี่ยวกับสภาวะสมดุลวัฏภาค (phase equilibrium)
คําตอบ 1 : ที่สภาวะสมดุล Gibbs free energy ของระบบจะมีคาต่ําที่สุด
คําตอบ 2 : ที่สภาวะสมดุล พลังงานภายในของระบบจะมีคาต่ําที่สุด
คําตอบ 3 : ที่สภาวะสมดุล เอนทาลปของระบบจะมีคาต่ําที่สุด


คําตอบ 4 : ที่สภาวะสมดุล เอนโทรปของระบบจะมีคาต่ําที่สุด

น า


ขอที่ : 345


ขอใดคือนิยามของสมดุลทางเทอรโมไดนามิกส (thermodynamic equilibrium)

ม จ
คําตอบ 1 : ระบบซึ่งอยูในสมดุลความรอน (thermal equilibrium) และสมดุลทางกล (mechanical equilibrium)



คําตอบ 2 : ระบบซึ่งอยูในสมดุลความรอน (thermal equilibrium) และสมดุลเคมี (chemical equilibrium)

ิ์ ห
คําตอบ 3 : ระบบซึ่งอยูในสมดุลความรอน (thermal equilibrium) และสมดุลเคมี (chemical equilibrium)


คําตอบ 4 : ระบบซึ่งอยูในสมดุลความรอน (thermal equilibrium) สมดุลทางกล (mechanical equilibrium) และสมดุลเคมี (chemical equilibrium)

ขอที่ :

ส ิ ท

346


ระบบซึ่งอยูในสภาวะสมดุลทางความรอน(thermal equilibrium) จะมีคาตัวแปรใดเทากัน


คําตอบ 1 : ความดัน

อ ส
คําตอบ 2 : ปริมาตร


คําตอบ 3 : อุณหภูมิ


คําตอบ 4 : ความเขมขน

ว ก


ขอที่ :

าว
347
ระบบซึ่งอยูในสภาวะสมดุลทางกล (mechanical equilibrium) จะมีคาตัวแปรใดเทากัน


คําตอบ 1 : ความดัน


คําตอบ 2 : ปริมาตร
คําตอบ 3 : ความเขมขน
คําตอบ 4 : อุณหภูมิ

ขอที่ : 348
ระบบซึ่งอยูในสภาวะสมดุลเคมี (chemical equilibrium) จะมีคาตัวแปรใดเทากัน
113 of 152
คําตอบ 1 : ความดัน
คําตอบ 2 : ปริมาตร
คําตอบ 3 : อุณหภูมิ
คําตอบ 4 : ความเขมขน

ขอที่ : 349
คาคงที่เฮนรีของการละลายของกาซฮีเลียมในน้ําที่อุณหภูมิ 25 C มีคาเทากับ 2865 atm/(mol/L) จงคํานวณหาความเขมขนของกาซฮีเลียมในน้ําซึ่งอยูในภาวะสมดุลกับกาซที่มี


ความดันยอยเทากับ 0.2 atm
คําตอบ 1 : 4.88e-5 mol/L

น า


คําตอบ 2 : 5.28e-5 mol/L


คําตอบ 3 : 6.98e-5 mol/L


คําตอบ 4 :


7.44e-5 mol/L

ขอที่ : 350

ิ์ ห า


คาคงที่เฮนรีของการละลายของกาซออกซิเจนในน้ําที่อุณหภูมิ 25 C มีคาเทากับ 756.7 atm/(mol/L) จงคํานวณหาความเขมขนของกาซออกซิเจนในน้ําซึ่งอยูในภาวะสมดุลกับ

ิ ท
กาซที่มีความดันยอยเทากับ 0.1 atm


คําตอบ 1 : 1.22e-4 mol/L

ว น
คําตอบ 2 : 1.32e-4 mol/L


คําตอบ 3 : 1.38e-4 mol/L


คําตอบ 4 : 1.42e-4 mol/L

ขอที่ : 351

ร ขอ
ว ก
คาคงที่เฮนรีของการละลายของกาซออกซิเจนในน้ําที่อุณหภูมิ 25 C มีคาเทากับ 756.7 atm/(mol/L) จงคํานวณหาความเขมขนของกาซออกซิเจนในน้ําซึ่งอยูในภาวะสมดุลกับ



กาซที่มีความดันยอยเทากับ 0.2 atm

าว
คําตอบ 1 : 2.64e-4 mol/L
คําตอบ 2 :


2.84e-4 mol/L


คําตอบ 3 : 2.89e-4 mol/L
คําตอบ 4 : 2.94e-4 mol/L

ขอที่ : 352
ในปฏิกิริยาในวัฏภาคกาซที่มีตัวเรงปฏิกิริยาเปนของแข็งนั้น เมื่อตองการทดสอบวาในการทดลองของเรานั้น ขั้นตอนการแพรภายในโครงสรางรูพรุนของตัวเรงปฏิกิริยา (internal
mass transfer) นั้นเปนขั้นตอนควบคุมอัตราเร็วปฏิกิริยารวมหรือไมนั้น เราควรทําอยางไร
คําตอบ 1 : ทําการทดลองสองชุดโดยที่มีอัตราเร็วในการไหลของของไหลตางกัน 114 of 152
คําตอบ 2 : ทําการทดลองสองชุดที่อุณหภูมิตางกัน
คําตอบ 3 : ทําการทดลองสองชุดโดยใชตัวเรงปฏิกิริยาขนาดตางกัน
คําตอบ 4 : ทําการทดลองสองชุดโดยใชความเขมขนเริ่มตนของสารทําปฏิกิริยาตางกัน

ขอที่ : 353
ขอใดกลาวไมถูกตองสําหรับการดูดซับแบบกายภาพบนของแข็ง (physical adsorption)
คําตอบ 1 : การดูดซับเกิดขึ้นไดอยางรวดเร็ว


่ ย
คําตอบ 2 : การดูดซับสารเกิดขึ้นไดหลายชั้น ไมจํากัดจํานวน


คําตอบ 3 : การดูดซับจะมีความรอนเกี่ยวของสูง


คําตอบ 4 : มีการคายความรอนเกิดขึ้นระหวางการดูดซับ

จ ำ

ขอที่ : 354



ขอใดกลาวถูกตองสําหรับการดูดซับแบบเคมีบนของแข็ง (chemical adsorption)

ิ์ ห
คําตอบ 1 : การดูดซับเกิดขึ้นจากแรง Van der Waal


คําตอบ 2 : การดูดซับสารเกิดขึ้นไดหลายชั้น ไมจํากัดจํานวน

ิ ท
คําตอบ 3 : การดูดซับจะมีความรอนเกี่ยวของสูง
คําตอบ 4 : การดูดซับเปนปฏิกิริยาแบบคายความรอน

นส
ง ว

ขอที่ : 355


สมการไอโซเทอรม (Isotherm) ของ Langmuir ไดทํานายวาเมื่อความดันของสารในระบบเพิ่มขึ้นแลว สัดสวนของสารที่ดูดซับบนพื้นผิวของของแข็งจะเปนเชนไร

ร ข
คําตอบ 1 : เพิ่มขึ้นเรื่อยๆ


คําตอบ 2 : ลดลงเรื่อยๆ


คําตอบ 3 : เพิ่มขึ้นแลวลดลง

าว ศ

คําตอบ 4 : ไมมีขอใดถูก

ส ภ
ขอที่ : 356
ตามสมมติฐานของ Langmuir ถามีสารสองชนิดที่สามารถดูดซับบนพื้นผิวแลว เมื่อความดันของสารตัวแรกในระบบมีคาเพิ่มขึ้นแลว สัดสวนในการปกคลุมพื้นผิว (equilibrium
surface coverage) ของสารอีกตัวหนึ่งจะเปลี่ยนแปลงอยางไร
คําตอบ 1 : เพิ่มขึ้น
คําตอบ 2 : ลดลง
คําตอบ 3 : ไมเปลี่ยนแปลง
คําตอบ 4 : อาจเปนไปทั้งคําตอบ 1, 2 และ 3 ขึ้นอยูกับความดันรวมของระบบ
115 of 152
ขอที่ : 357
ขอใดกลาวไมถูกตองสําหรับสมมติฐานของ Langmuir
คําตอบ 1 : ปริมาณสารที่ดูดซับไดมากที่สุดเทากับการดูดซับเพียงหนึ่งชั้น(monolayer) เทานั้น
คําตอบ 2 : อัตราการคายตัว (rate of desorption) ของสารขึ้นอยูกับปริมาณสารที่ดูดซับบนพื้นผิวเทานั้น
คําตอบ 3 : พลังงานของสารที่ดูดซับอยูบนพื้นผิวมีคาเทากันหมดทั้งพื้นผิว
คําตอบ 4 : ไมมีคําตอบใดถูก


่ ย

ขอที่ : 358


ขอใดกลาวไมถูกตองเกี่ยวกับสมการไอโซเทอรมของ Brunauer, Emmett และ Taylor (BET isotherm)


คําตอบ 1 : วิธีนี้นิยมใชในการหาพื้นที่ผิวสัมผัสของของแข็งที่มีรูพรุน

ม จ
คําตอบ 2 : วิธีนี้สามารถใชไดกับการดูดซับหลายๆชั้น (multilayer)



คําตอบ 3 : วิธีนี้สมมติใหการดูดซับเปนแบบเคมี (chemical adsorption)

ิ์ ห
คําตอบ 4 : อาจมีคําตอบถูกมากกวา 1 ขอ

ขอที่ : 359

ิ ทธ

ขอใดกลาวไมถูกตองเกี่ยวกับการดูดซับแบบกายภาพ (physical adsorption) และการดูดซับแบบเคมี (chemical adsorption)
คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :
การดูดซับแบบกายภาพเกิดไดดีที่อุณหภูมิต่ํา
การดูดซับแบบเคมีเกิดไดเร็วที่อุณหภูมิสูง

ง ว น
อ ส
คําตอบ 3 : การดูดซับแบบกายภาพเกิดขึ้นจากแรง Van der Waal


คําตอบ 4 : ไมมีขอถูก

ก ร

ขอที่ : 360



เมื่ออุณหภูมิสูงขึ้น คาคงที่สมดุลการดูดซับ (adsorption equilibrium constant) จะมีคาเปลี่ยนแปลงอยางไร

าว
คําตอบ 1 : เพิ่มขึ้น


คําตอบ 2 : ลดลง


คําตอบ 3 : เทาเดิม
คําตอบ 4 : อาจเปนไปไดทั้ง 1 และ 2

ขอที่ : 361
เมื่ออุณหภูมิลดลง คาคงที่สมดุลการคาย (desorption equilibrium constant) จะมีคาเปลี่ยนแปลงอยางไร
คําตอบ 1 : เพิ่มขึ้น
116 of 152
คําตอบ 2 : ลดลง
คําตอบ 3 : เทาเดิม
คําตอบ 4 : อาจเปนไปไดทั้ง 1 และ 2

ขอที่ : 362
สําหรับปฏิกิริยาอันดับ 2 ที่เกิดบนตัวเรงปฏิกิริยาที่เปนของแข็ง ขอใดเปนหนวยของคาคงที่ปฏิกิริยา (rate constant)
คําตอบ 1 : s


่ ย
คําตอบ 2 : m^3/(kg.s)


คําตอบ 3 : mol/(kg.s)


คําตอบ 4 : m^6/(mol.kg.s)

จ ำ

ขอที่ : 363



จงหาองศาความอิสระ(degree of freedom) ของระบบซึ่งมีการสลายตัวบางสวนของ Calcium carbonate ในบรรยากาศเปด

ิ์ ห
คําตอบ 1 : 1


คําตอบ 2 : 2

ิ ท
คําตอบ 3 :


3


คําตอบ 4 : 4

ง ว

ขอที่ : 364


จงหาองศาความอิสระ(degree of freedom) ของระบบซึ่งมีการสลายตัวบางสวนของ Ammonium chloride ในบรรยากาศเปด

ร ข
คําตอบ 1 : 0


คําตอบ 2 : 1


คําตอบ 3 : 2

าว ศ

คําตอบ 4 : 3

ส ภ
ขอที่ : 365
จงหาองศาความอิสระ(degree of freedom) ของระบบซึ่งประกอบดวยกาซ คารบอนมอนอกไซด คารบอนไดออกไซด ไฮโดรเจน ไอน้ํา และ มีเทน ในสภาวะสมดุล
คําตอบ 1 : 1
คําตอบ 2 : 2
คําตอบ 3 : 3
คําตอบ 4 : 4

117 of 152
ขอที่ : 366
จงคํานวณหาความเปลี่ยนแปลงเอนโทรปของการเปลี่ยนแปลงจากน้ําในสถานะของเหลวที่ -5 C, 1 atm ไปเปนน้ําแข็งที่ -5 C, 1 atm โดยกําหนดใหคาความจุความรอนจําเพาะ
ของน้ําแข็งและน้ําในสถานะของเหลวเทากับ 9 และ 18 cal/ mol K ตามลําดับ และ Standard enthalpy change of fusion ของน้ําที่ 0 C เทากับ 1440 cal/mol
คําตอบ 1 : -5.1 eu
คําตอบ 2 : -4.2 eu
คําตอบ 3 : 4.2 eu
คําตอบ 4 : 5.2 eu

ขอที่ :


่ ย

367


จงคํานวณหาความเปลี่ยนแปลงเอนโทรปของการเปลี่ยนแปลงจากน้ําในสถานะของเหลวที่ 10 C, 1 atm ไปเปนน้ําแข็งที่ -5 C, 1 atm โดยกําหนดใหคาความจุความรอนจําเพาะ


ของน้ําแข็งและน้ําในสถานะของเหลวเทากับ 9 และ 18 cal/ mol K ตามลําดับ และ Standard enthalpy change of fusion ของน้ําที่ 0 C เทากับ 1440 cal/mol


คําตอบ 1 : 6.09 eu


้ ม
คําตอบ 2 : -6.09 eu

ิ์ ห
คําตอบ 3 : 5.32 eu
คําตอบ 4 :


-5.32

ขอที่ : 368

ส ิ ท

จงคํานวณหาความเปลี่ยนแปลงเอนโทรปของการเปลี่ยนแปลงจากน้ําในสถานะของเหลวที่ 5 C, 1 atm ไปเปนน้ําแข็งที่ -5 C, 1 atm โดยกําหนดใหคาความจุความรอนจําเพาะของ

ง ว
น้ําแข็งและน้ําในสถานะของเหลวเทากับ 9 และ 18 cal/ mol K ตามลําดับ และ Standard enthalpy change of fusion ของน้ําที่ 0 C เทากับ 1440 cal/mol


คําตอบ 1 : -4.52 eu


คําตอบ 2 : 4.52 eu

ร ข
คําตอบ 3 : -5.77 eu


คําตอบ 4 : 5.77 eu


ิ ว
าว
ขอที่ : 369
จงคํานวณหาความเปลี่ยนแปลงเอนโทรปของการเปลี่ยนแปลงจากน้ําในสถานะของเหลวที่ 5 C, 1 atm ไปเปนน้ําแข็งที่ -10 C, 1 atm โดยกําหนดใหคาความจุความรอนจําเพาะ


ของน้ําแข็งและน้ําในสถานะของเหลวเทากับ 9 และ 18 cal/ mol K ตามลําดับ และ Standard enthalpy change of fusion ของน้ําที่ 0 C เทากับ 1440 cal/mol


คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :
คําตอบ 3 :
3.23 eu
-3.23 eu
5.94 eu
คําตอบ 4 : -5.94 eu

ขอที่ : 370
118 of 152
จงคํานวณหาความเปลี่ยนแปลงเอนโทรปของการเปลี่ยนแปลงจากน้ําในสถานะของเหลวที่ -10 C, 1 atm ไปเปนน้ําแข็งที่ -10 C, 1 atm โดยกําหนดใหคาความจุความรอนจําเพาะ
ของน้ําแข็งและน้ําในสถานะของเหลวเทากับ 9 และ 18 cal/ mol K ตามลําดับ และ Standard enthalpy change of fusion ของน้ําที่ 0 C เทากับ 1440 cal/mol
คําตอบ 1 : -4.94 eu
คําตอบ 2 : 4.94 eu
คําตอบ 3 : 5.42 eu
คําตอบ 4 : -5.42 eu


ขอที่ :



371


อุณหภูมิซึ่งทําใหเกิด spontaneous solidification ของทองแดงเทากับ 1120 K ในขณะที่จุดหลอมเหลวอยูที่ 1356 K จงคํานวณหาการเปลี่ยนแปลงของ Gibbs free energy ที่


spontaneous solidification โดยกําหนดให enthalpy ของทองแดงที่จุดหลอมเหลวมีคาเทากับ -3100 cal และ คาความจุความรอนจําเพาะคํานวณไดจากสมการ -2.09


+0.0015T


คําตอบ 1 : -630 cal/mol


้ ม
คําตอบ 2 : -540 cal/mol

ิ์ ห
คําตอบ 3 : 460 cal/mol
คําตอบ 4 :


480 cal/mol

ขอที่ : 372

ส ิ ท

ทองแดงแข็งตัวที่อุณหภูมิ 1356 K แตทองแดงสามารถอยูในสภาพ super-cooled liquid ไดจนถึงอุณหภูมิ 1120 K ซึ่งเปนจุดที่ทองแดงเกิด simultaneous solidification จง

ง ว
คํานวณหาการเปลี่ยนแปลงเอนโทรปที่จุดนี้ โดยกําหนดให enthalpy ของทองแดงที่จุดหลอมเหลวมีคา -3100 cal และ ความจุความรอนจําเพาะของทองแดงเหลวมีคา 7.5


cal/mol K และความจุความรอนจําเพาะของทองแดงแข็งมีคา 5.41+0.0015T cal/mol K


คําตอบ 1 : 1.26 cal/mol K


คําตอบ 2 :


-1.26 cal/mol K


คําตอบ 3 : -2.23 cal/mol K


คําตอบ 4 : 2.23 cal/mol K

ขอที่ : 373

าว ศ


กาซ O2 และ N2 ที่มีมวลเทากัน ทําปฏิกิริยากันตามสมการจงพิจารณาวาขอใดถูก


คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :
คําตอบ 3 :
O2 คือ สารตั้งตนจํากัด และ N2 คือสารตั้งตนเกินพอ
N2 คือ สารตั้งตนจํากัด และ O2 คือสารตั้งตนเกินพอ
O2 และ N2 ทําปฏิกิริยากันหมด และไมมีสารใดเกินพอ
คําตอบ 4 : จากขอมูลที่ให ไมสามารถสรุปได

ขอที่ : 374
119 of 152
โลหะบริสุทธิ์ชนิดหนึ่งหนัก 1 กรัม มีจํานวนอะตอมเทากับ 2.55 x 1021 จงคํานวณหาวา 1 โมลของโลหะนี้หนักกี่กรัม
คําตอบ 1 : 235
คําตอบ 2 : 254
คําตอบ 3 : 233
คําตอบ 4 : 223

ขอที่ : 375


โทลูอีนเหลว (ความหนาแนน = 0.866 kg/l) ไหลผานทอดวยอัตรา 175 m3/h จงคํานวณหาอัตราการไหลเชิงมวลของโทลูอีนเหลว
คําตอบ 1 : 2.53 kg/h

น า


คําตอบ 2 : 1.53 kg/h


คําตอบ 3 :


3.53 kg/h


คําตอบ 4 : 2.83 kg/h

ขอที่ : 376

ิ์ ห า


อัตราการไหลเชิงมวลของ n-hexane (ความหนาแนน = 0.659 g/cm3) ในทอมีคาเทากับ 6.59 g/s จงคํานวณหาอัตราการไหลเชิงปริมาตรในหนวย cm3/min

ิ ท
คําตอบ 1 :


16


คําตอบ 2 : 10


คําตอบ 3 : 30


คําตอบ 4 :


26

ขอที่ : 377

ร ขอ

ถาเกจวัดความดันของเครื่องควบแนนสําหรับกังหันไอน้ํา อานคาได 26.2 in Hg และบารอมิเตอรอานคาได 30.4 in Hg คาความดันของเครื่องควบแนนในหนวย psia มีคาเทากับ


เทาไร (กําหนดให 14.696 psi = 29.921 in Hg)



คําตอบ 1 :

าว
2.06
คําตอบ 2 : 3.23


คําตอบ 3 : 4.28


คําตอบ 4 : 4.83

ขอที่ : 378
ถังบรรจุกาซคารบอนไดออกไซดปริมาตร 4.50 ลิตร ที่ STP มีปริมาณคารบอนไดออกไซดกี่กรัม (กําหนดคา R = 0.08206 )
คําตอบ 1 : 2.32
คําตอบ 2 : 1.45
คําตอบ 3 : 2.85 120 of 152
คําตอบ 4 : 2.95

ขอที่ : 379
จงนิยามสภาวะอุณหภูมิและความดันมาตรฐาน (STP)
คําตอบ 1 : อุณหภูมิ 0 องศาเซลเซียส ความดัน 1 บรรยากาศ
คําตอบ 2 : อุณหภูมิ 25 องศาเซลเซียส ความดัน 1 บรรยากาศ


่ ย
คําตอบ 3 : อุณหภูมิหอง ความดัน 1 บรรยากาศ


คําตอบ 4 : อุณหภูมิ 0 องศาเซลเซียส ความดัน 1 บาร

ขอที่ : 380

จ ำ ห

ปจจัยใดที่มีผลกระทบตอความดันไอของของเหลว



คําตอบ 1 : อุณหภูมิ

ิ์ ห
คําตอบ 2 : ความดันบรรยากาศ


คําตอบ 3 : ปริมาตรของของเหลว

ิ ท
คําตอบ 4 : พื้นที่ผิวของของเหลว

นส
ง ว
ขอที่ : 381


จงคํานวณหาน้ําหนักโมเลกุลเฉลี่ยของกาซธรรมชาติที่ประกอบดวยกาซมีเทน (CH4) 32.1% อีเทน (C2H6) 41.2 % โพรเพน (C3H8) 17.5% และไนโตรเจน 9.2% โดยโมล


คําตอบ 1 : 27.8

ร ข
คําตอบ 2 : 28.7


คําตอบ 3 : 29.5


คําตอบ 4 : 30.2

ขอที่ :

าว ศ


382


สภาวะใดที่ทําใหกฎของกาซอุดมคติไมเปนจริง
คําตอบ 1 : ความดันสูง
คําตอบ 2 : อุณหภูมิสูง
คําตอบ 3 : ปริมาตรมาก
คําตอบ 4 : อุณหภูมิและความดันสูง

ขอที่ : 383 121 of 152


จงหาองศาความอิสระ(degree of freedom) ของระบบซึ่งมีการสลายตัวบางสวนของ Calcium carbonate ในบรรยากาศเปด
คําตอบ 1 : 1
คําตอบ 2 : 2
คําตอบ 3 : 3
คําตอบ 4 :

ขอที่ : 384


จงหาองศาความอิสระ(degree of freedom) ของระบบซึ่งมีการสลายตัวบางสวนของ Ammonium chloride ในบรรยากาศเปด
คําตอบ 1 : 0

น า


คําตอบ 2 : 1


คําตอบ 3 :


2


คําตอบ 4 : 3

ขอที่ : 385

ิ์ ห า


จงหาองศาความอิสระ(degree of freedom) ของระบบซึ่งประกอบดวยกาซ คารบอนมอนอกไซด คารบอนไดออกไซด ไฮโดรเจน ไอน้ํา และ มีเทน ในสภาวะสมดุล

ิ ท
คําตอบ 1 :


1


คําตอบ 2 : 2


คําตอบ 3 : 3


คําตอบ 4 :


4

ขอที่ : 386

ร ขอ

จงคํานวณหาความเปลี่ยนแปลงเอนโทรปของการเปลี่ยนแปลงจากน้ําในสถานะของเหลวที่ -5 C, 1 atm ไปเปนน้ําแข็งที่ -5 C, 1 atm โดยกําหนดใหคาความจุความรอนจําเพาะ


ของน้ําแข็งและน้ําในสถานะของเหลวเทากับ 9 และ 18 cal/ mol K ตามลําดับ และ Standard enthalpy change of fusion ของน้ําที่ 0 C เทากับ 1440 cal/mol



คําตอบ 1 :

าว
-5.1 eu
คําตอบ 2 : -4.2 eu


คําตอบ 3 : 4.2 eu


คําตอบ 4 : 5.2 eu

ขอที่ : 387
จงคํานวณหาความเปลี่ยนแปลงเอนโทรปของการเปลี่ยนแปลงจากน้ําในสถานะของเหลวที่ 10 C, 1 atm ไปเปนน้ําแข็งที่ -5 C, 1 atm โดยกําหนดใหคาความจุความรอนจําเพาะ
ของน้ําแข็งและน้ําในสถานะของเหลวเทากับ 9 และ 18 cal/ mol K ตามลําดับ และ Standard enthalpy change of fusion ของน้ําที่ 0 C เทากับ 1440 cal/mol
คําตอบ 1 : 6.09 eu
คําตอบ 2 : -6.09 eu 122 of 152
คําตอบ 3 : 5.32 eu
คําตอบ 4 : -5.32

ขอที่ : 388
จงคํานวณหาความเปลี่ยนแปลงเอนโทรปของการเปลี่ยนแปลงจากน้ําในสถานะของเหลวที่ 5 C, 1 atm ไปเปนน้ําแข็งที่ -5 C, 1 atm โดยกําหนดใหคาความจุความรอนจําเพาะของ
น้ําแข็งและน้ําในสถานะของเหลวเทากับ 9 และ 18 cal/ mol K ตามลําดับ และ Standard enthalpy change of fusion ของน้ําที่ 0 C เทากับ 1440 cal/mol
คําตอบ 1 : -4.52 eu


คําตอบ 2 :



4.52 eu


คําตอบ 3 : -5.77 eu


คําตอบ 4 : 5.77 eu

จ ำ

ขอที่ : 389



จงคํานวณหาความเปลี่ยนแปลงเอนโทรปของการเปลี่ยนแปลงจากน้ําในสถานะของเหลวที่ 5 C, 1 atm ไปเปนน้ําแข็งที่ -10 C, 1 atm โดยกําหนดใหคาความจุความรอนจําเพาะ

ิ์ ห
ของน้ําแข็งและน้ําในสถานะของเหลวเทากับ 9 และ 18 cal/ mol K ตามลําดับ และ Standard enthalpy change of fusion ของน้ําที่ 0 C เทากับ 1440 cal/mol


คําตอบ 1 : 3.23 eu

ิ ท
คําตอบ 2 : -3.23 eu


คําตอบ 3 : 5.94 eu

ว น
คําตอบ 4 : -5.94 eu

ส ง

ขอที่ : 390


จงคํานวณหาความเปลี่ยนแปลงเอนโทรปของการเปลี่ยนแปลงจากน้ําในสถานะของเหลวที่ -10 C, 1 atm ไปเปนน้ําแข็งที่ -10 C, 1 atm โดยกําหนดใหคาความจุความรอนจําเพาะ


ของน้ําแข็งและน้ําในสถานะของเหลวเทากับ 9 และ 18 cal/ mol K ตามลําดับ และ Standard enthalpy change of fusion ของน้ําที่ 0 C เทากับ 1440 cal/mol

ว ก
คําตอบ 1 : -4.94 eu



คําตอบ 2 : 4.94 eu

าว
คําตอบ 3 : 5.42 eu
คําตอบ 4 :


-5.42 eu

ขอที่ : 391

อุณหภูมิซึ่งทําใหเกิด spontaneous solidification ของทองแดงเทากับ 1120 K ในขณะที่จุดหลอมเหลวอยูที่ 1356 K จงคํานวณหาการเปลี่ยนแปลงของ Gibbs free energy ที่
spontaneous solidification โดยกําหนดให enthalpy ของทองแดงที่จุดหลอมเหลวมีคาเทากับ -3100 cal และ คาความจุความรอนจําเพาะคํานวณไดจากสมการ -2.09
+0.0015T
คําตอบ 1 : -630 cal/mol
คําตอบ 2 : -540 cal/mol
123 of 152
คําตอบ 3 : 460 cal/mol
คําตอบ 4 : 480 cal/mol

ขอที่ : 392
ทองแดงแข็งตัวที่อุณหภูมิ 1356 K แตทองแดงสามารถอยูในสภาพ super-cooled liquid ไดจนถึงอุณหภูมิ 1120 K ซึ่งเปนจุดที่ทองแดงเกิด simultaneous solidification จง
คํานวณหาการเปลี่ยนแปลงเอนโทรปที่จุดนี้ โดยกําหนดให enthalpy ของทองแดงที่จุดหลอมเหลวมีคา -3100 cal และ ความจุความรอนจําเพาะของทองแดงเหลวมีคา 7.5
cal/mol K และความจุความรอนจําเพาะของทองแดงแข็งมีคา 5.41+0.0015T cal/mol K


คําตอบ 1 : 1.26 cal/mol K



คําตอบ 2 :


-1.26 cal/mol K
คําตอบ 3 :


-2.23 cal/mol K


คําตอบ 4 : 2.23 cal/mol K

ม จ


ขอที่ : 393

ิ์ ห
ในกรณีที่คาคอนเวอรชันที่สมดุล (Equilibrium conversion) ของปฏิกิริยา A < ---- > B ต่ําลงเมื่ออุณหภูมิสูงขึ้น สิ่งใดตอไปนี้ไมถูกตอง (ระบบไมมีการแลกเปลี่ยนพลังงานกับสิ่ง


แวดลอม)

ิ ท
คําตอบ 1 : เมื่ออุณหภูมิของสายปอน (สารตั้งตน) สูงขึ้น คาคอนเวอรชันที่สมดุลจะมีคาสูงขึ้น


คําตอบ 2 : คาคอนเวอรชันที่สถานะคงตัว (Steady state) ไมจําเปนตองมีคาเทากับคาคอนเวอรชันที่สมดุล


คําตอบ 3 : คาคอนเวอรชันสูงสุดถูกจํากัดดวยสภาวะสมดุล

ง ว
คําตอบ 4 : ระบบนี้เปนระบบคายความรอน

ขอที่ :

อ ส

394


ระบบซึ่งอยูในสภาวะสมดุลเคมี (chemical equilibrium) จะมีคาตัวแปรใดเทากัน

ว ก
คําตอบ 1 : ความดัน



คําตอบ 2 : ปริมาตร

าว
คําตอบ 3 : อุณหภูมิ
คําตอบ 4 : ความเขมขน

ขอที่ : 395
ส ภ
โดยทั่วไปคา Gibbs free energy สําหรับของเหลวขึ้นกับตัวแปรใดเปนหลัก
คําตอบ 1 : อุณหภูมิและความดัน
คําตอบ 2 : อุณหภูมิและความเขมขนขององคประกอบสาร
คําตอบ 3 : ความดันและความเขมขนขององคประกอบสาร
คําตอบ 4 : อุณหภูมิ ความดันและความเขมขนขององคประกอบสาร 124 of 152
ขอที่ : 396
โดยทั่วไปคา Gibbs free energy สําหรับกาซขึ้นกับตัวแปรใดเปนหลัก
คําตอบ 1 : อุณหภูมิและความดัน
คําตอบ 2 : อุณหภูมิและความเขมขนขององคประกอบสาร
คําตอบ 3 : ความดันและความเขมขนขององคประกอบสาร
คําตอบ 4 : อุณหภูมิ ความดันและความเขมขนขององคประกอบสาร


่ ย

ขอที่ : 397


กาซไฮโดรเจนทําปฏิกิริยากับกาซออกซิเจนเกิดเปนน้ํา ถามีกาซไฮโดรเจน 24 กรัม ทําปฏิกิริยากับอากาศเกินพอ จะเกิดน้ําขึ้นกี่กรัม


คําตอบ 1 :


24


คําตอบ 2 : 48



คําตอบ 3 : 100

ิ์ ห
คําตอบ 4 : 98

ขอที่ : 398

ิ ทธ

อากาศและน้ําอยูในสภาวะสมดุลในถังปดที่อุณหภูมิ 75 oC และความดัน 760 mm Hg จงคํานวณหาสัดสวนเชิงโมลของน้ําและอากาศแหงในวัฏภาคกาซ เมื่อกําหนดใหคาความดัน

ว น
ไอของน้ําที่ 75 oC เทากับ 289 mm Hg


คําตอบ 1 : 0.275 และ 0.724


คําตอบ 2 : 0.38 และ 0.62

ขอ
คําตอบ 3 : 0.724 และ 0.275


คําตอบ 4 : 0.62 และ 0.38

ว ก


ขอที่ : 399

าว
ถาความหนาแนนของกาซชนิดหนึ่งที่ STP มีคาเทากับ 1.25 g/l จงประมาณคาน้ําหนักโมเลกุลของกาซนี้ กําหนดคา R = 0.08206


คําตอบ 1 : 25


คําตอบ 2 : 26
คําตอบ 3 : 27
คําตอบ 4 : 28

ขอที่ : 400
ระบบปดหมายถึง
คําตอบ 1 : ระบบที่มีการถายเฉพาะมวลผานขอบเขตของระบบ
125 of 152
คําตอบ 2 : ระบบที่มีการถายเทเฉพาะพลังงานผานขอบเขตของระบบ
คําตอบ 3 : ระบบที่ไมมีการถายเททั้งมวลและพลังงานผานขอบเขตของระบบ
คําตอบ 4 : ระบบที่ไมมีการถายเทมวลและอุณหภูมิคงที่

ขอที่ : 401
ถาน้ําที่จุดไตรภาค (triple point) มีคาความดันลดลง ในขณะที่อุณหภูมิคงที่ การเปลี่ยนแปลงวัฏภาคในขอใดดังตอไปนี้ ที่สามารถเกิดขึ้นไดบาง 1. การหลอมเหลว 2. การระเหิด


3. การกลายเปนไอ
คําตอบ 1 : ขอ 1 เทานั้น

น า


คําตอบ 2 : ขอ 2 เทานั้น


คําตอบ 3 : ขอ 3 เทานั้น


คําตอบ 4 : ขอ 1 และ 2


้ ม
ิ์ ห
ขอที่ : 402


ความดันไอและอุณหภูมิจุดเดือดของน้ําบริสุทธิ์จะเปลี่ยนแปลงอยางไร ถาเติมเกลือโซเดียมคลอไรด ลงไป

ิ ท
คําตอบ 1 : ความดันไอลดลง จุดเดือดเพิ่มขึ้น


คําตอบ 2 : ทั้งความดันไอและจุดเดือดลดลง

ว น
คําตอบ 3 : ความดันไอเพิ่มขึ้น จุดเดือดลดลง


คําตอบ 4 : ทั้งความดันไอและจุดเดือดเพิ่มขึ้น

อ ส

ขอที่ : 403


จงหาองศาความอิสระ(degree of freedom) ของระบบซึ่งประกอบดวยสารสองชนิดละลายเขากัน แตไมทําปฏิกิริยากัน และสรางอะซีโทรปในสภาวะสมดุลไอ-ของเหลว
คําตอบ 1 : 1

ว ก


คําตอบ 2 :

าว
2
คําตอบ 3 : 3


คําตอบ 4 : 4

ขอที่ : 404

ขอใดกลาวเกี่ยวกับ Raoult law ไดอยางถูกตอง ก. ควรใชกับระบบซึ่งวัฏภาคไอประพฤติตัวแบบกาซอุดมคติ ข. ควรใชกับระบบซึ่งวัฏภาคของเหลวประพฤติตัวแบบสารละลาย
อุดมคติ ค. ควรใชกับระบบซึ่งวัฏภาคของเหลวประพฤติตัวแบบ newtonian fluid
คําตอบ 1 : ขอ ก และ ข เทานั้น
คําตอบ 2 : ขอ ก และ ค เทานั้น
คําตอบ 3 : ขอ ข และ ค เทานั้น 126 of 152
คําตอบ 4 : ทั้งขอ ก ข และ ค
ขอที่ : 405
ขอใดกลาวเกี่ยวกับ Raoult law ไดอยางถูกตอง ก. ควรใชกับระบบซึ่งมีความดันสูงมากๆ ข. ควรใชกับระบบซึ่งวัฏภาคของเหลวประพฤติตัวแบบสารละลายอุดมคติ ค. ควรใชกับ
ระบบซึ่งวัฏภาคของเหลวประพฤติตัวแบบ incompressible fluid
คําตอบ 1 : ขอ ก เทานั้น
คําตอบ 2 : ขอ ข เทานั้น


คําตอบ 3 : ขอ ค เทานั้น



คําตอบ 4 : ทั้งขอ ก ข และ ค

หน

ขอที่ : 406


ในการใชแบบจําลอง Wilson สําหรับจําลองระบบสมดุลไอ-ของเหลวของระบบสองสารตองใชพารามิเตอรจํานวนกี่ตัว


้ ม
คําตอบ 1 : 5

ิ์ ห
คําตอบ 2 : 4


คําตอบ 3 : 3

ิ ท
คําตอบ 4 : 2

นส

ขอที่ : 407


โดยทั่วไปแลวตําแหนงที่เหมาะสมในการปอนสารเขาสูเครื่องมือแยกสารที่มีขั้นตอนสมดุลตอกันแบบอนุกรมนั้นจะกําหนดใหเปนตําแหนงที่ความเขมขนของสายปอนเทากับหรือใกล


เคียงกับความเขมขนของสายที่ไหลเขาสูขั้นตอนสมดุลขั้นตอนใดขั้นตอนหนึ่ง ซึ่งขั้นตอนนั้นเรียกวา ขั้นตอนปอน (Feed stage) อะไรคือสาเหตุที่ตองทําเชนนั้น


คําตอบ 1 : เพื่อรักษาสภาวะของสายปอนและสายที่เขาขั้นตอนปอนไมใหเปลี่ยนแปลง

ร ข
คําตอบ 2 : เพื่อเพิ่มคาสัมประสิทธิ์การถายเทมวลของสายปอนและและสายที่เขาขั้นตอนปอน


คําตอบ 3 : เพื่อเพิ่มคาสัมประสิทธิ์การถายเทความรอนของสายปอนและและสายที่เขาขั้นตอนปอน


คําตอบ 4 : เพื่อรักษาอัตราการไหลของสายปอนไมใหเปลี่ยนแปลง

าว ศ


ขอที่ : 408


สําหรับเครื่องมือแยกสารที่มีระบบการไหลแบบสวนทางกัน จุดตางๆ ที่อยูบนเสนโคงสมดุลจะระบุขอมูลใดตอไปนี้
คําตอบ 1 : ความสัมพันธระหวางความเขมขนของทั้งสองเฟสที่ออกจากขั้นตอนสมดุล
คําตอบ 2 : ความสัมพันธระหวางอัตราการไหลของทั้งสองเฟสที่ออกจากขั้นตอนสมดุล
คําตอบ 3 : ความสัมพันธระหวางความดันยอยของทั้งสองเฟสที่ออกจากขั้นตอนสมดุล
คําตอบ 4 : ความสัมพันธระหวางอัตราการถายเทมวลของทั้งสองเฟสที่ออกจากขั้นตอนสมดุล

ขอที่ : 409 127 of 152


ถาขั้นตอนสมดุลใดๆ เกิดปรากฏการณที่จํานวนโมลของสารที่อยูในไอกลั่นตัวเปนของเหลวเทากับจํานวนโมลของสารที่อยูในของเหลวระเหยกลายเปนไอแลว จะทําใหอัตราการ
ไหลของของเหลวและไอรวมที่เขาและออกจากขั้นตอนสมดุลนั้นๆ คงที่ และกรณีนี้จะทําให
คําตอบ 1 : เสนสมดุลไอ-ของเหลวของระบบจะมีลักษณะเปนเสนตรง
คําตอบ 2 : เสนปฏิบัติการจะเปนเสนตรง
คําตอบ 3 : เสนปฏิบัติการจะเปนเสนโคงคว่ํา
คําตอบ 4 : เสนปฏิบัติการจะเปนเสนโคงหงาย


ขอที่ :



410


ในการออกแบบเครื่องมือแยกสารนั้นมีความจําเปนตองทราบขอมูลเกี่ยวกับความเขมขนที่สมดุลกันของสารทั้งสองเฟส ขอใดคือเหตุผลของความจําเปนนี้


คําตอบ 1 : ความดันลดจะมีคามากเมื่อเฟสทั้งสองถึงจุดสมดุลซึ่งกันและกัน


คําตอบ 2 : การถายเทมวลของสารในสองเฟสจะหยุดลงเมื่อเฟสทั้งสองถึงจุดสมดุลซึ่งกันและกัน

ม จ
คําตอบ 3 : การถายเทโมเมนตัมของสารในสองเฟสจะหยุดลงเมื่อเฟสทั้งสองถึงจุดสมดุลซึ่งกันและกัน



คําตอบ 4 : การถายเทความรอนของสารในสองเฟสจะหยุดลงเมื่อเฟสทั้งสองถึงจุดสมดุลซึ่งกันและกัน

ขอที่ : 411

ธ ิ์ ห
ิ ท
ระบบที่ประกอบดวย น้ํา น้ําแข็ง และไอน้ําที่อยูในสภาวะสมดุล จะมีจํานวนองคประกอบ (Component, C) จํานวนเฟส (Phase, P) และองศาอิสระ (degree of freedom, F) เทา


กับขอใดตอไปนี้

ว น
คําตอบ 1 : C = 3, P = 3, F = 2


คําตอบ 2 : C = 1, P = 3, F = 0


คําตอบ 3 :


C = 3, P = 1, F = 2


คําตอบ 4 : C = 1, P = 3, F = 2

ก ร

ขอที่ : 412



ระบบในขอใดตอไปนี้มีองศาของความอิสระ (Degree of freedom) เทากับ 2

าว
คําตอบ 1 : น้ําและไอน้ําที่อยูในสภาวะสมดุล


คําตอบ 2 : น้ํา น้ําแข็ง และไอน้ําที่อยูในสภาวะสมดุล


คําตอบ 3 : สารละลายและไอของสารละลายกรดไฮโดรคลอริก ที่อยูในสภาวะสมดุล
คําตอบ 4 : น้ํา และน้ําแข็งที่อยูในสภาวะสมดุล

ขอที่ : 413
ของเหลวผสมเมื่ออยูภายใตสภาวะที่สมดุลกับไอ ถาอุณหภูมิ ความดัน และความเขมขนของ องคประกอบยอยใดๆ ในของเหลวผสมนั้นไมเปลี่ยนแปลง จะทําใหปริมาณใดตอไปนี้
ไมเปลี่ยนแปลง
คําตอบ 1 : ความเขมขนขององคประกอบยอยในไอ 128 of 152
คําตอบ 2 : คาการละลายขององคประกอบยอยในไอ
คําตอบ 3 : คาการนําไฟฟาขององคประกอบยอยในไอ
คําตอบ 4 : คาของสัมประสิทธิ์การแพรขององคประกอบยอยในไอ

ขอที่ : 414
นําอะซิโตน(CH3COCH3) น้ํา และโทลูอีน(C7H8)อยางละเทาๆกันโดยปริมาตร มาผสมกันในถังกวนผสม ณ อุณหภูมิและความดันปกติ แลวทิ้งไวจนกระทั่งไมเกิดเคลื่อนที่ใด จะ
ไดผลลัพธเปนอยางไร


คําตอบ 1 : ไมมีของผสมเหลือ

น า

คําตอบ 2 : เปนของเหลวผสมเนอเดียว


คําตอบ 3 : เปนของเหลวผสมแยกชั้น 2 ชั้น


คําตอบ 4 : เปนของเหลวผสมแยกชั้น 3 ชั้น

ม จ


ขอที่ : 415

ิ์ ห
นําน้ํามันเบนซิน เอทธานอล(C2H5OH) และน้ํา อยางละเทาๆกันโดยปริมาตร มาผสมกันในถังกวนผสม ณ อุณหภูมิและความดันปกติ จะพบสารประกอบใดที่กนถังกวน


คําตอบ 1 : น้ําเทานั้น

ิ ท
คําตอบ 2 : น้ําผสมเอทธานอล


คําตอบ 3 : น้ํามันเบนซินเทานั้น

ว น
คําตอบ 4 : น้ําผสมเอทธานอลและน้ํามันเบนซิน

ส ง

ขอที่ : 416


ในการแยกมีเทน(CH4)ออกจากอะโรแมติกส(aromatic)ผสม ดวยไอน้ํายิ่งยวด(superheated steam) ในขณะที่เคลื่อนที่สวนทางกัน ความเขมขนของมีเทนในอะโรแมติกส สัมพันธ


กับขอมูลสมดุลอยางไร

ว ก
คําตอบ 1 : ตองนอยกวาสมดุล



คําตอบ 2 : ตองไมนอยกวาสมดุล

าว
คําตอบ 3 : ตองเทากับสมดุล


คําตอบ 4 : ตองมากกวาสมดุล

ขอที่ : 417

ในการแยกมีเทน(CH4)ออกจากอะโรแมติกส(aromatic)ผสม ดวยไอน้ํายิ่งยวด(superheated steam) ในขณะที่เคลื่อนที่สวนทางกัน ความเขมขนของมีเทนในอะโรแมติกส สัมพันธ
กับขอมูลสมดุลอยางไร
คําตอบ 1 : ตองนอยกวาสมดุล
คําตอบ 2 : ตองไมนอยกวาสมดุล
คําตอบ 3 : ตองเทากับสมดุล 129 of 152
คําตอบ 4 : ตองมากกวาสมดุล
ขอที่ : 418
ในขณะที่อะโรแมติกส(aromatic)ผสมเคลื่อนที่สวนทางกับไอน้ํา ซึ่งใชสําหรับแยกมีเทน(CH4)ออกจากอะโรแมติกสผสม ความเขมขนของมีเทนในไอน้ํามีความสัมพันธกับขอมูล
สมดุลอยางไร
คําตอบ 1 : ตองมากกวาสมดุล
คําตอบ 2 : ตองไมมากกวาสมดุล


คําตอบ 3 : ตองเทากับสมดุล



คําตอบ 4 : ตองนอยกวาสมดุล

หน

ขอที่ : 419


ระบบในขอใดตอไปนี้มีองศาของความอิสระ (Degree of freedom) เทากับ 2


้ ม
คําตอบ 1 : น้ําและไอน้ําที่อยูในสภาวะสมดุล

ิ์ ห
คําตอบ 2 : น้ํา น้ําแข็ง และไอน้ําที่อยูในสภาวะสมดุล


คําตอบ 3 : สารละลายและไอของสารละลายกรดไฮโดรคลอริก ที่อยูในสภาวะสมดุล

ิ ท
คําตอบ 4 : น้ํา และน้ําแข็งที่อยูในสภาวะสมดุล

นส

ขอที่ : 420


ขอใดถูกในเรื่องสมดุล (equilibrium)


คําตอบ 1 : สมดุลของการกลั่นเปนการใชสมการของเฮนรี (Henry)

ขอ
คําตอบ 2 : ในหอดูดซับใชสมการของราอูลท (Raoult)


คําตอบ 3 : ในกระบวนการสกัดใชไดอะแกรมวัฏภาค (phase diagram


คําตอบ 4 : ขอ 1 และ 2 ถูก


ิ ว
าว
ขอที่ : 421


ขอใดถูกตอง


คําตอบ 1 : เสนสมดุลในหอดูดซับ (absorption) หาไดจากกฏของ Henry
คําตอบ 2 : เสนสมดุลในหอกลั่น (distillation) หาไดจากกฏของ Raoult
คําตอบ 3 : สมดุลของหอสกัดหาไดจากสมดุลสามเหลี่ยม (triangular coordinate)
คําตอบ 4 : ถูกทั้งขอ 1 2 และ 3

ขอที่ : 422
สําหรับการออกแบบเครื่องมือแยกสารนั้นโดยทั่วไปแลวขั้นตอนหรือเทรยหรือเพลท จะหมายถึงอะไร 130 of 152
คําตอบ 1 : อุปกรณที่ใชเสริมความแข็งแรงของเครื่องมือแยกสาร
คําตอบ 2 : บริเวณที่มีการสัมผัสกันระหวางเฟส
คําตอบ 3 : อุปกรณที่ใชปองกันการสูญเสียความดันลดภายในเครื่องมือแยกสาร
คําตอบ 4 : อุปกรณที่ใชเพิ่มประสิทธิภาพในการถายเทความรอนภายในเครื่องมือแยกสาร

ขอที่ : 423


สําหรับการออกแบบเครื่องมือแยกสารนั้นโดยทั่วไปแลวขั้นตอนหรือเทรยหรือเพลท จะหมายถึงอะไร
คําตอบ 1 : อุปกรณที่ใชเสริมความแข็งแรงของเครื่องมือแยกสาร

น า


คําตอบ 2 : บริเวณที่มีการสัมผัสกันระหวางเฟส


คําตอบ 3 : อุปกรณที่ใชปองกันการสูญเสียความดันลดภายในเครื่องมือแยกสาร

ม จ
คําตอบ 4 : อุปกรณที่ใชเพิ่มประสิทธิภาพในการถายเทความรอนภายในเครื่องมือแยกสาร

ขอที่ : 424

ิ์ ห า


ขอใดไมใชสมบัติไมขึ้นอยูกับปริมาณ (Intensive Properties)

ิ ท
คําตอบ 1 : อุณหภูมิ
คําตอบ 2 : ความดัน

นส

คําตอบ 3 : องคประกอบในแตละวัฏภาค


คําตอบ 4 : อัตราการไหลเชิงโมล

อ ส

ขอที่ :


425


ขอใดไมใชสมบัติขึ้นอยูกับปริมาณ (Extensive Properties)


คําตอบ 1 : มวล

าว ศ

คําตอบ 2 : โมล
คําตอบ 3 : เอนทัลป


คําตอบ 4 : ความดัน

ขอที่ : 426 ส
จากสมการองศาความอิสระ (Degree of freedom) ของกิบบส F = C-P+2 เมื่อ F คือ องศาความอิสระ C คือจํานวนขององคประกอบ P คือ จํานวนวัฏภาคที่สภาวะสมดุล ถาใน
ระบบหนึ่งซึ่งเปนสมดุลไอ-ของเหลว และถามี 3 องคประกอบจงหาวาจํานวนองศาความอิสระเปนเทาใด
คําตอบ 1 : 1
คําตอบ 2 : 2
คําตอบ 3 : 3 131 of 152
คําตอบ 4 : 4

ขอที่ : 427
จากสมการองศาความอิสระ (Degree of freedom) ของกิบบส F = C-P+2 เมื่อ F คือ องศาความอิสระ C คือจํานวนขององคประกอบ P คือ จํานวนวัฏภาคที่สภาวะสมดุล ถาใน
ระบบหนึ่งซึ่งเปนสมดุลไอ-ของเหลว และถามี 3 องคประกอบจงหาวาจํานวนองศาความอิสระเปนเทาใด
คําตอบ 1 : 1


คําตอบ 2 :



2


คําตอบ 3 : 3


คําตอบ 4 : 4

จ ำ

ขอที่ : 428



ตัวแปรใดที่ ไมเกี่ยวของกับ การกลั่นแบบพริบตาเลย

ิ์ ห
คําตอบ 1 : ตัวแปรใดที่ ไมเกี่ยวของกับ การกลั่นแบบพริบตาเลย


คําตอบ 2 : สัดสวนโดยโมล

ิ ท
คําตอบ 3 : อัตราการไหลของผลิตภัณฑของเหลว


คําตอบ 4 : เรซิน

ง ว น

ขอที่ : 429


ไอของน้ํามันเบนซินสําหรับรถยนตถูกแยกออกจากสวนที่เปนของเหลว ณ ความดันบรรยากาศไดที่อุณหภูมิใด


คําตอบ 1 : อุณหภูมิสูงกวาจุดน้ําคาง(dew point)

ก ร
คําตอบ 2 : อุณหภูมิจุดน้ําคาง


คําตอบ 3 : อุณหภูมิระหวางจุดน้ําคางกับจุดเดือด(bubble point)



คําตอบ 4 : อุณหภูมิจุดเดือด

ขอที่ : 430

ภ าว

จงคํานวณองศาความเปนอิสระ (Degrees of freedom) ของระบบที่ประกอบดวยน้ําบริสุทธิ์
คําตอบ 1 : 0
คําตอบ 2 : 1
คําตอบ 3 : 2
คําตอบ 4 : 3

132 of 152
ขอที่ : 431
จงคํานวณองศาความเปนอิสระ (Degrees of freedom) ของระบบที่ประกอบดวยไอน้ํา น้ํา และน้ําแข็ง
คําตอบ 1 : 0
คําตอบ 2 : 1
คําตอบ 3 : 2
คําตอบ 4 : 3


ขอที่ :



432


จงคํานวณองศาความเปนอิสระ (Degrees of freedom) ของระบบที่ประกอบดวยของผสมระหวางอะซีโตนและเมทานอล โดยระบบดังกลาวมีทั้งวัฏภาคของเหลวและกาซ


คําตอบ 1 : 0


คําตอบ 2 :


1


คําตอบ 3 : 2



คําตอบ 4 : 3

ขอที่ : 433

ธ ิ์ ห
ิ ท
พลังงานภายใน (internal energy) ของของแข็ง มีคาเทากับ
คําตอบ 1 : อุณหภูมิของของแข็งยกกําลังสอง

นส

คําตอบ 2 : พลังงานจลนของโมเลกุลทั้งหมดในของแข็ง


คําตอบ 3 : ครึ่งหนึ่งของพลังงานศักย

อ ส
คําตอบ 4 : ไมมีขอใดถูก

ขอที่ : 434

ก ร ข

กาซฮีเลียมประกอบดวย ไอของเอทิลแอลกอฮอล รอยละ 12 โดยปริมาตร จงคํานวณหาความอิ่มตัวสัมพัทธรอยละของกาซผสมที่อุณหภูมิ 40 องศาเซลเซียสและความดัน 740 มม.



ปรอท ถาความดันไออิ่มตัวของเอทิลแอลกอฮอลที่ 40 องศาเซลเซียสมีคาเปน 140 มม. ปรอท

าว
คําตอบ 1 : 34 เปอรเซ็นต


คําตอบ 2 : 59 เปอรเซ็นต


คําตอบ 3 : 63 เปอรเซ็นต
คําตอบ 4 : 76 เปอรเซ็นต

ขอที่ : 435
คาคงที่เฮนรีของการละลายของกาซออกซิเจนในน้ําที่อุณหภูมิ 25 C มีคาเทากับ 756.7 atm/(mol/L) จงคํานวณหาความเขมขนของกาซออกซิเจนในน้ําซึ่งอยูในภาวะสมดุลกับ
กาซที่มีความดันยอยเทากับ 0.2 atm
คําตอบ 1 : 2.64e-4 mol/L 133 of 152
คําตอบ 2 : 2.84e-4 mol/L
คําตอบ 3 : 2.89e-4 mol/L
คําตอบ 4 : 2.94e-4 mol/L

ขอที่ : 436
คาคงที่เฮนรีของการละลายของกาซออกซิเจนในน้ําที่อุณหภูมิ 25 C มีคาเทากับ 756.7 atm/(mol/L) จงคํานวณหาความเขมขนของกาซออกซิเจนในน้ําซึ่งอยูในภาวะสมดุลกับ
กาซที่มีความดันยอยเทากับ 0.1 atm


คําตอบ 1 :



1.22e-4 mol/L


คําตอบ 2 : 1.32e-4 mol/L


คําตอบ 3 : 1.38e-4 mol/L


คําตอบ 4 : 1.42e-4 mol/L

ม จ


ขอที่ : 437

ิ์ ห
คาคงที่เฮนรีของการละลายของกาซฮีเลียมในน้ําที่อุณหภูมิ 25 C มีคาเทากับ 2865 atm/(mol/L) จงคํานวณหาความเขมขนของกาซฮีเลียมในน้ําซึ่งอยูในภาวะสมดุลกับกาซที่มี


ความดันยอยเทากับ 0.2 atm

ิ ท
คําตอบ 1 : 4.88e-5 mol/L


คําตอบ 2 : 5.28e-5 mol/L

ว น
คําตอบ 3 : 6.98e-5 mol/L


คําตอบ 4 : 7.44e-5 mol/L

อ ส

ขอที่ : 438


อากาศที่อุณหภูมิ 80 F ความดัน 14.7 psia มีองคประกอบ ดังตอไปนี้ กาซไนโตรเจน 78.02 mol% กาซออกซิเจน 20.99 mol% กาซอารกอน 0.94 mol% กาซคารบอน


ไดออกไซด 0.05 mol% จงคํานวณหาความดันยอยของกาซไนโตรเจน
คําตอบ 1 : 8.068 psia


ิ ว
าว
คําตอบ 2 : 9.123 psia
คําตอบ 3 :


10.204 psia


คําตอบ 4 : 11.469 psia

ขอที่ : 439
อากาศที่อุณหภูมิ 80 F ความดัน 14.7 psia มีองคประกอบ ดังตอไปนี้ กาซไนโตรเจน 78.02 mol% กาซออกซิเจน 20.99 mol% กาซอารกอน 0.94 mol% กาซคารบอน
ไดออกไซด 0.05 mol% จงคํานวณหาความดันยอยของกาซออกซิเจน
คําตอบ 1 : 2.203 psia
คําตอบ 2 : 3.086 psia 134 of 152
คําตอบ 3 : 4.323 psia
คําตอบ 4 : 5.014

ขอที่ : 440
อากาศที่อุณหภูมิ 80 F ความดัน 14.7 psia มีองคประกอบ ดังตอไปนี้ กาซไนโตรเจน 78.02 mol% กาซออกซิเจน 20.99 mol% กาซอารกอน 0.94 mol% กาซคารบอน
ไดออกไซด 0.05 mol% จงคํานวณหาความดันยอยของกาซอารกอน
คําตอบ 1 : 0.138 psia


คําตอบ 2 :



0.160 psia


คําตอบ 3 : 0.184 psia


คําตอบ 4 : 1.203 psia

จ ำ

ขอที่ : 441



อากาศที่อุณหภูมิ 80 F ความดัน 14.7 psia มีองคประกอบ ดังตอไปนี้ กาซไนโตรเจน 78.02 mol% กาซออกซิเจน 20.99 mol% กาซอารกอน 0.94 mol% กาซคารบอน

ิ์ ห
ไดออกไซด 0.05 mol% จงคํานวณหาความดันยอยของกาซคารบอนไดออกไซด


คําตอบ 1 : 0.002 psia

ิ ท
คําตอบ 2 : 0.007 psia


คําตอบ 3 : 0.011 psia

ว น
คําตอบ 4 : 0.015 psia

ส ง

ขอที่ : 442


อากาศที่อุณหภูมิ 80 F ความดัน 14.7 psia มีองคประกอบ ดังตอไปนี้ กาซไนโตรเจน 78.02 mol% กาซออกซิเจน 20.99 mol% กาซอารกอน 0.94 mol% กาซคารบอน


ไดออกไซด 0.05 mol% จงคํานวณหารอยละโดยน้ําหนักของกาซไนโตรเจน

ว ก
คําตอบ 1 : 69.23 %



คําตอบ 2 : 72.15 %

าว
คําตอบ 3 : 75.43 %
คําตอบ 4 :


78.02 %

ขอที่ : 443

อากาศที่อุณหภูมิ 80 F ความดัน 14.7 psia มีองคประกอบ ดังตอไปนี้ กาซไนโตรเจน 78.02 mol% กาซออกซิเจน 20.99 mol% กาซอารกอน 0.94 mol% กาซคารบอน
ไดออกไซด 0.05 mol% จงคํานวณหารอยละโดยน้ําหนักของกาซออกซิเจน
คําตอบ 1 : 18.72 %
คําตอบ 2 : 20.20 %
คําตอบ 3 : 21.89 %
135 of 152
คําตอบ 4 : 23.19 %
ขอที่ : 444
อากาศที่อุณหภูมิ 80 F ความดัน 14.7 psia มีองคประกอบ ดังตอไปนี้ กาซไนโตรเจน 78.02 mol% กาซออกซิเจน 20.99 mol% กาซอารกอน 0.94 mol% กาซคารบอน
ไดออกไซด 0.05 mol% จงคํานวณหารอยละโดยน้ําหนักของกาซอารกอน
คําตอบ 1 : 0.3 %
คําตอบ 2 : 0.6 %


คําตอบ 3 : 0.9 %



คําตอบ 4 : 1.3 %

หน

ขอที่ : 445


อากาศที่อุณหภูมิ 80 F ความดัน 14.7 psia มีองคประกอบ ดังตอไปนี้ กาซไนโตรเจน 78.02 mol% กาซออกซิเจน 20.99 mol% กาซอารกอน 0.94 mol% กาซคารบอน


ไดออกไซด 0.05 mol% จงคํานวณหารอยละโดยน้ําหนักของกาซคารบอนไดออกไซด
คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :
0.08 %

ิ์ ห า


0.17 %
คําตอบ 3 :

ิ ท
0.25 %


คําตอบ 4 : 0.34 %

ขอที่ : 446

ง ว น

อากาศที่อุณหภูมิ 80 F ความดัน 28 psia มีองคประกอบ ดังตอไปนี้ กาซไนโตรเจน 78.02 mol% กาซออกซิเจน 20.99 mol% กาซอารกอน 0.94 mol% กาซคารบอน


ไดออกไซด 0.05 mol% จงคํานวณหาความดันยอยของกาซไนโตรเจน

ร ข
คําตอบ 1 : 18.412 psia


คําตอบ 2 : 19.123 psia


คําตอบ 3 : 20.086 psia

าว ศ

คําตอบ 4 : 21.846 psia

ส ภ
ขอที่ : 447
อากาศที่อุณหภูมิ 80 F ความดัน 28 psia มีองคประกอบ ดังตอไปนี้ กาซไนโตรเจน 78.02 mol% กาซออกซิเจน 20.99 mol% กาซอารกอน 0.94 mol% กาซคารบอน
ไดออกไซด 0.05 mol% จงคํานวณหาความดันยอยของกาซออกซิเจน
คําตอบ 1 : 2.903 psia
คําตอบ 2 : 3.801 psia
คําตอบ 3 : 4.253 psia
คําตอบ 4 : 5.878 psia
136 of 152
ขอที่ : 448
อากาศที่อุณหภูมิ 80 F ความดัน 28 psia มีองคประกอบ ดังตอไปนี้ กาซไนโตรเจน 78.02 mol% กาซออกซิเจน 20.99 mol% กาซอารกอน 0.94 mol% กาซคารบอน
ไดออกไซด 0.05 mol% จงคํานวณหาความดันยอยของกาซอารกอน
คําตอบ 1 : 0.263 psia
คําตอบ 2 : 0.551 psia
คําตอบ 3 : 0.804 psia


คําตอบ 4 : 1.007 psia

น า


ขอที่ : 449


อากาศที่อุณหภูมิ 80 F ความดัน 28 psia มีองคประกอบ ดังตอไปนี้ กาซไนโตรเจน 78.02 mol% กาซออกซิเจน 20.99 mol% กาซอารกอน 0.94 mol% กาซคารบอน


ไดออกไซด 0.05 mol% จงคํานวณหาความดันยอยของกาซคารบอนไดออกไซด


้ ม
คําตอบ 1 : 0.002 psia

ิ์ ห
คําตอบ 2 : 0.013 psia
คําตอบ 3 :


0.031 psia
คําตอบ 4 :

ิ ท
0.049 psia

ขอที่ :

นส

450


กาซออกซิเจน 0.9 kg อยูในถังความดัน 35 psia อุณหภูมิ 100 F หากตองการเพิ่มความดันภายในถังเปน 45 psia โดยการเติมกาซไนโตรเจนเพิ่มเขาไปในถัง จงคํานวณวาจะตอง


เพิ่มกาซไนโตรเจนเขาไปกี่กิโลกรัม โดยกําหนดใหอุณหภูมิมีคาคงที่


คําตอบ 1 : 0.098 kg

ร ข
คําตอบ 2 : 0.120 kg


คําตอบ 3 : 0.225 kg


คําตอบ 4 : 0.307 kg

ขอที่ : 451

าว ศ


กาซออกซิเจน 1.0 kg อยูในถังความดัน 25 psia อุณหภูมิ 100 F หากตองการเพิ่มความดันภายในถังเปน 45 psia โดยการเติมกาซไนโตรเจนเพิ่มเขาไปในถัง จงคํานวณวาจะตอง


เพิ่มกาซไนโตรเจนเขาไปกี่กิโลกรัม โดยกําหนดใหอุณหภูมิมีคาคงที่
คําตอบ 1 : 0.5 kg
คําตอบ 2 : 0.7 kg
คําตอบ 3 : 0.9 kg
คําตอบ 4 : 1.1 kg

137 of 152
ขอที่ : 452
กาซออกซิเจน 1.0 kg อยูในถังความดัน 25 psia อุณหภูมิ 100 F หากตองการเพิ่มความดันภายในถังเปน 40 psia โดยการเติมกาซไนโตรเจนเพิ่มเขาไปในถัง จงคํานวณวาจะตอง
เพิ่มกาซไนโตรเจนเขาไปกี่กิโลกรัม โดยกําหนดใหอุณหภูมิมีคาคงที่
คําตอบ 1 : 0.120 kg
คําตอบ 2 : 0.252 kg
คําตอบ 3 : 0.312 kg
คําตอบ 4 : 0.432 kg

ขอที่ :


่ ย

453
กาซออกซิเจน 1.0 kg อยูในถังความดัน 35 psia อุณหภูมิ 120 F หากตองการเพิ่มความดันภายในถังเปน 40 psia โดยการเติมกาซไนโตรเจนเพิ่มเขาไปในถัง จงคํานวณวาจะตอง

ำ ห
เพิ่มกาซไนโตรเจนเขาไปกี่กิโลกรัม โดยกําหนดใหอุณหภูมิมีคาคงที่


คําตอบ 1 : 0.125 kg


คําตอบ 2 :



0.212 kg

ิ์ ห
คําตอบ 3 : 0.315 kg
คําตอบ 4 :


0.400 kg

ขอที่ : 454

ส ิ ท

กาซออกซิเจน 2.0 kg อยูในถังความดัน 15 psia อุณหภูมิ 120 F หากตองการเพิ่มความดันภายในถังเปน 50 psia โดยการเติมกาซไนโตรเจนเพิ่มเขาไปในถัง จงคํานวณวาจะตอง


เพิ่มกาซไนโตรเจนเขาไปกี่กิโลกรัม โดยกําหนดใหอุณหภูมิมีคาคงที่
คําตอบ 1 : 0.7 kg

ส ง

คําตอบ 2 : 1.5 kg


คําตอบ 3 :


2.3 kg


คําตอบ 4 : 4 kg


ิ ว
าว
ขอที่ : 455
ของผสมประกอบดวย กาซออกซิเจน 21% และ กาซไนโตรเจน 79% ถูกลดอุณหภูมิลงจนถึง 80 K ความดัน 0.1 MPa จงหาสัดสวนโมลของกาซไนโตรเจน ที่สภาวะดังกลาว โดย


กําหนดให Saturated vapor pressure ของไนโตรเจนและออกซิเจนที่สภาวะดังกลาวเทากับ 0.1370 MPa และ 0.03006 MPa ตามลําดับ


คําตอบ 1 : 0.61
คําตอบ 2 : 0.70
คําตอบ 3 : 0.79
คําตอบ 4 : 0.89

ขอที่ : 456
138 of 152
ของผสมประกอบดวย กาซออกซิเจน 21% และ กาซไนโตรเจน 79% ถูกลดอุณหภูมิลงจนถึง 80 K ความดัน 0.1 MPa จงหาสัดสวนโมลของกาซออกซิเจน ที่สภาวะดังกลาว โดย
กําหนดให Saturated vapor pressure ของไนโตรเจนและออกซิเจนที่สภาวะดังกลาวเทากับ 0.1370 MPa และ 0.03006 MPa ตามลําดับ
คําตอบ 1 : 0.05
คําตอบ 2 : 0.08
คําตอบ 3 : 0.11
คําตอบ 4 : 0.13

ขอที่ : 457


ของผสมประกอบดวย กาซออกซิเจน 21% และ กาซไนโตรเจน 79% ถูกลดอุณหภูมิลงจนถึง 80 K ความดัน 0.1 MPa จงหาสัดสวนโมลของไนโตรเจนเหลว ที่สภาวะดังกลาว



โดยกําหนดให Saturated vapor pressure ของไนโตรเจนและออกซิเจนที่สภาวะดังกลาวเทากับ 0.1370 MPa และ 0.03006 MPa ตามลําดับ
คําตอบ 1 : 0.35

หน

คําตอบ 2 : 0.45


คําตอบ 3 :


0.55



คําตอบ 4 : 0.65

ขอที่ : 458

ธ ิ์ ห
ิ ท
ของผสมประกอบดวย กาซออกซิเจน 21% และ กาซไนโตรเจน 79% ถูกลดอุณหภูมิลงจนถึง 80 K ความดัน 0.1 MPa จงหาสัดสวนโมลของออกซิเจนเหลว ที่สภาวะดังกลาว โดย


กําหนดให Saturated vapor pressure ของไนโตรเจนและออกซิเจนที่สภาวะดังกลาวเทากับ 0.1370 MPa และ 0.03006 MPa ตามลําดับ

ว น
คําตอบ 1 : 0.15


คําตอบ 2 : 0.24


คําตอบ 3 : 0.35


คําตอบ 4 : 0.40

ก ร ข

ขอที่ : 459



ของผสมซึ่งประกอบดวย 6 mol ของกาซฮีเลียม และ 4 mol ของกาซไนโตรเจน มีอุณหภูมิ 100 C และความดัน 5 atm ถาของผสมนี้ขยายตัวแบบ isentropic จนมีความดัน 3 atm

าว
จงคํานวณหาอุณหภูมิสุดทายของของผสม โดยกําหนดใหทุกองคประกอบประพฤติตัวแบบกาซอุดมคติ และ คาความจุความรอนจําเพาะของกาซฮีเลียม และ กาซไนโตรเจนเทากับ
20.78 และ 29.12 J/mol Kตามลําดับ


คําตอบ 1 :


26.23 C
คําตอบ 2 : 30.26 C
คําตอบ 3 : 35.48 C
คําตอบ 4 : 39.78 C

ขอที่ : 460
ของผสมซึ่งประกอบดวย 6 mol ของกาซฮีเลียม และ 4 mol ของกาซไนโตรเจน มีอุณหภูมิ 100 C และความดัน 5 atm ถาของผสมนี้ขยายตัวแบบ isentropic จนมีความดัน 3 atm
139 of 152
จงคํานวณหาความเปลี่ยนแปลงของเอนโทรปของกาซฮีเลียม โดยกําหนดใหทุกองคประกอบประพฤติตัวแบบกาซอุดมคติ และ คาความจุความรอนจําเพาะของกาซฮีเลียม และ กาซ
ไนโตรเจนเทากับ 20.78 และ 29.12 J/mol Kตามลําดับ
คําตอบ 1 : 3.5 J/K
คําตอบ 2 : - 3.5 J/K
คําตอบ 3 : 4.5 J/K
คําตอบ 4 : -4.5 J/K

ขอที่ : 461


ของผสมซึ่งประกอบดวย 6 mol ของกาซฮีเลียม และ 4 mol ของกาซไนโตรเจน มีอุณหภูมิ 100 C และความดัน 5 atm ถาของผสมนี้ขยายตัวแบบ isentropic จนมีความดัน 3 atm



จงคํานวณหาความเปลี่ยนแปลงของเอนโทรปของกาซไนโตรเจน โดยกําหนดใหทุกองคประกอบประพฤติตัวแบบกาซอุดมคติ และ คาความจุความรอนจําเพาะของกาซฮีเลียม และ


กาซไนโตรเจนเทากับ 20.78 และ 29.12 J/mol Kตามลําดับ
คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :
3.5 J/K
- 3.5 J/K

จ ำ ห

้ ม
คําตอบ 3 : 5.4 J/K

ิ์ ห
คําตอบ 4 : -5.4 J/K

ขอที่ : 462

ิ ทธ

ของผสมซึ่งประกอบดวย 6 mol ของกาซฮีเลียม และ 4 mol ของกาซไนโตรเจน มีอุณหภูมิ 200 C และความดัน 5 atm ถาของผสมนี้ขยายตัวแบบ isentropic จนมีความดัน 3 atm


จงคํานวณหาอุณหภูมิสุดทายของของผสม โดยกําหนดใหทุกองคประกอบประพฤติตัวแบบกาซอุดมคติ และ คาความจุความรอนจําเพาะของกาซฮีเลียม และ กาซไนโตรเจนเทากับ


20.78 และ 29.12 J/mol Kตามลําดับ
คําตอบ 1 : 116.4 C

ส ง

คําตอบ 2 : 123.6 C


คําตอบ 3 : 134.5 C

ก ร
คําตอบ 4 : 145.8 C


ิ ว
าว
ขอที่ : 463
ของผสมซึ่งประกอบดวย 6 mol ของกาซฮีเลียม และ 4 mol ของกาซไนโตรเจน มีอุณหภูมิ 250 C และความดัน 5 atm ถาของผสมนี้ขยายตัวแบบ isentropic จนมีความดัน 3 atm


จงคํานวณหาอุณหภูมิสุดทายของของผสม โดยกําหนดใหทุกองคประกอบประพฤติตัวแบบกาซอุดมคติ และ คาความจุความรอนจําเพาะของกาซฮีเลียม และ กาซไนโตรเจนเทากับ


20.78 และ 29.12 J/mol Kตามลําดับ
คําตอบ 1 : 146.3 C
คําตอบ 2 : 150.8 C
คําตอบ 3 : 158.4 C
คําตอบ 4 : 165.6 C

ขอที่ : 464 140 of 152


ของผสมซึ่งประกอบดวย 5 mol ของกาซฮีเลียม และ 5 mol ของกาซไนโตรเจน มีอุณหภูมิ 100 C และความดัน 4 atm ถาของผสมนี้ขยายตัวแบบ isentropic จนมีความดัน 3 atm
จงคํานวณหาอุณหภูมิสุดทายของของผสม โดยกําหนดใหทุกองคประกอบประพฤติตัวแบบกาซอุดมคติ และ คาความจุความรอนจําเพาะของกาซฮีเลียม และ กาซไนโตรเจนเทากับ
20.78 และ 29.12 J/mol Kตามลําดับ
คําตอบ 1 : 56.3 C
คําตอบ 2 : 60.2 C
คําตอบ 3 : 65.9 C
คําตอบ 4 : 70.5 C

ขอที่ :


่ ย

465
ของผสมซึ่งประกอบดวย 5 mol ของกาซฮีเลียม และ 5 mol ของกาซไนโตรเจน มีอุณหภูมิ 100 C และความดัน 4 atm ถาของผสมนี้ขยายตัวแบบ isentropic จนมีความดัน 3 atm

ำ ห
จงคํานวณหาความเปลี่ยนแปลงของเอนโทรปของกาซฮีเลียม โดยกําหนดใหทุกองคประกอบประพฤติตัวแบบกาซอุดมคติ และ คาความจุความรอนจําเพาะของกาซฮีเลียม และ กาซ


ไนโตรเจนเทากับ 20.78 และ 29.12 J/mol Kตามลําดับ


คําตอบ 1 : 1.99 J/K



คําตอบ 2 :

ิ์ ห
- 1.99 J/K
คําตอบ 3 : 1.45 J/K


คําตอบ 4 : -1.45 J/K

ส ิ ท

ขอที่ : 466


ของผสมซึ่งประกอบดวย 5 mol ของกาซฮีเลียม และ 5 mol ของกาซไนโตรเจน มีอุณหภูมิ 100 C และความดัน 4 atm ถาของผสมนี้ขยายตัวแบบ isentropic จนมีความดัน 3 atm


จงคํานวณหาความเปลี่ยนแปลงของเอนโทรปของกาซไนโตรเจน โดยกําหนดใหทุกองคประกอบประพฤติตัวแบบกาซอุดมคติ และ คาความจุความรอนจําเพาะของกาซฮีเลียม และ


กาซไนโตรเจนเทากับ 20.78 และ 29.12 J/mol Kตามลําดับ
คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :
-1.54 J/K
1.54 J/K

ร ขอ
ว ก
คําตอบ 3 : - 1.99 J/K



คําตอบ 4 : 1.99 J/K

ขอที่ : 467

ภ าว

ของผสมซึ่งประกอบดวย 1 mol ของกาซฮีเลียม และ 9 mol ของกาซไนโตรเจน มีอุณหภูมิ 200 C และความดัน 4 atm ถาของผสมนี้ขยายตัวแบบ isentropic จนมีความดัน 2 atm
จงคํานวณหาอุณหภูมิสุดทายของของผสม โดยกําหนดใหทุกองคประกอบประพฤติตัวแบบกาซอุดมคติ และ คาความจุความรอนจําเพาะของกาซฮีเลียม และ กาซไนโตรเจนเทากับ
20.78 และ 29.12 J/mol Kตามลําดับ
คําตอบ 1 : 96.6 C
คําตอบ 2 : 112.8 C
คําตอบ 3 : 124.1 C
คําตอบ 4 : 145.7 C
141 of 152
ขอที่ : 468
ของผสมซึ่งประกอบดวย 1 mol ของกาซฮีเลียม และ 9 mol ของกาซไนโตรเจน มีอุณหภูมิ 200 C และความดัน 4 atm ถาของผสมนี้ขยายตัวแบบ isentropic จนมีความดัน 2 atm
จงคํานวณหาความเปลี่ยนแปลงของเอนโทรปของกาซฮีเลียม โดยกําหนดใหทุกองคประกอบประพฤติตัวแบบกาซอุดมคติ และ คาความจุความรอนจําเพาะของกาซฮีเลียม และ กาซ
ไนโตรเจนเทากับ 20.78 และ 29.12 J/mol Kตามลําดับ
คําตอบ 1 : - 1.52 J/K
คําตอบ 2 : 1.52 J/K
คําตอบ 3 :


-1.65 J/K



คําตอบ 4 : 1.65 J/K

หน

ขอที่ : 469


ของผสมซึ่งประกอบดวย 1 mol ของกาซฮีเลียม และ 9 mol ของกาซไนโตรเจน มีอุณหภูมิ 200 C และความดัน 4 atm ถาของผสมนี้ขยายตัวแบบ isentropic จนมีความดัน 2 atm


จงคํานวณหาความเปลี่ยนแปลงของเอนโทรปของกาซไนโตรเจน โดยกําหนดใหทุกองคประกอบประพฤติตัวแบบกาซอุดมคติ และ คาความจุความรอนจําเพาะของกาซฮีเลียม และ



กาซไนโตรเจนเทากับ 20.78 และ 29.12 J/mol Kตามลําดับ

ิ์ ห
คําตอบ 1 : - 1.52 J/K


คําตอบ 2 : -1.65 J/K

ิ ท
คําตอบ 3 : 1.52 J/K


คําตอบ 4 : 1.65 J/K

ขอที่ :

ง ว น

470


ของผสมซึ่งประกอบดวย 1 mol ของกาซฮีเลียม และ 9 mol ของกาซไนโตรเจน มีอุณหภูมิ 200 C และความดัน 4 atm จงคํานวณหาคาความจุความรอนของของผสมนี้ โดย


กําหนดใหทุกองคประกอบประพฤติตัวแบบกาซอุดมคติ และ คาความจุความรอนจําเพาะของกาซฮีเลียม และ กาซไนโตรเจนเทากับ 20.78 และ 29.12 J/mol K ตามลําดับ


คําตอบ 1 : 27.24 J/mol K

ว ก
คําตอบ 2 : 28.29 J/mol K



คําตอบ 3 : 29.5 J/mol K

าว
คําตอบ 4 : 30.72 J/mol K

ขอที่ : 471

ส ภ
ของผสมซึ่งประกอบดวย 2 mol ของกาซฮีเลียม และ 8 mol ของกาซไนโตรเจน มีอุณหภูมิ 200 C และความดัน 4 atm จงคํานวณหาคาความจุความรอนของของผสมนี้ โดย
กําหนดใหทุกองคประกอบประพฤติตัวแบบกาซอุดมคติ และ คาความจุความรอนจําเพาะของกาซฮีเลียม และ กาซไนโตรเจนเทากับ 20.78 และ 29.12 J/mol K ตามลําดับ
คําตอบ 1 : 27.45 J/mol K
คําตอบ 2 : 29.01 J/mol K
คําตอบ 3 : 30.72 J/mol K
คําตอบ 4 : 31.5 J/mol K 142 of 152
ขอที่ : 472
ของผสมซึ่งประกอบดวย 3 mol ของกาซฮีเลียม และ 7 mol ของกาซไนโตรเจน มีอุณหภูมิ 200 C และความดัน 4 atm จงคํานวณหาคาความจุความรอนของของผสมนี้ โดย
กําหนดใหทุกองคประกอบประพฤติตัวแบบกาซอุดมคติ และ คาความจุความรอนจําเพาะของกาซฮีเลียม และ กาซไนโตรเจนเทากับ 20.78 และ 29.12 J/mol K ตามลําดับ
คําตอบ 1 : 23.01 J/mol K
คําตอบ 2 : 24.5 J/mol K
คําตอบ 3 : 25.12 J/mol K


คําตอบ 4 : 26.62 J/mol K

น า


ขอที่ : 473


ของผสมซึ่งประกอบดวย 4 mol ของกาซฮีเลียม และ 6 mol ของกาซไนโตรเจน มีอุณหภูมิ 200 C และความดัน 4 atm จงคํานวณหาคาความจุความรอนของของผสมนี้ โดย


กําหนดใหทุกองคประกอบประพฤติตัวแบบกาซอุดมคติ และ คาความจุความรอนจําเพาะของกาซฮีเลียม และ กาซไนโตรเจนเทากับ 20.78 และ 29.12 J/mol K ตามลําดับ


้ ม
คําตอบ 1 : 25.42 J/mol K

ิ์ ห
คําตอบ 2 : 26.62 J/mol K
คําตอบ 3 :


27.84 J/mol K
คําตอบ 4 :

ิ ท
28.12 J/mol K

ขอที่ :

นส

474


ของผสมซึ่งประกอบดวย 5 mol ของกาซฮีเลียม และ 5 mol ของกาซไนโตรเจน มีอุณหภูมิ 200 C และความดัน 4 atm จงคํานวณหาคาความจุความรอนของของผสมนี้ โดย


กําหนดใหทุกองคประกอบประพฤติตัวแบบกาซอุดมคติ และ คาความจุความรอนจําเพาะของกาซฮีเลียม และ กาซไนโตรเจนเทากับ 20.78 และ 29.12 J/mol K ตามลําดับ


คําตอบ 1 : 24.95 J/mol K

ร ข
คําตอบ 2 : 26.21 J/mol K


คําตอบ 3 : 28.54 J/mol K


คําตอบ 4 : 30.72 J/mol K

ขอที่ :

าว ศ


475


ของผสมซึ่งประกอบดวย 6 mol ของกาซฮีเลียม และ 4 mol ของกาซไนโตรเจน มีอุณหภูมิ 200 C และความดัน 4 atm จงคํานวณหาคาความจุความรอนของของผสมนี้ โดย
กําหนดใหทุกองคประกอบประพฤติตัวแบบกาซอุดมคติ และ คาความจุความรอนจําเพาะของกาซฮีเลียม และ กาซไนโตรเจนเทากับ 20.78 และ 29.12 J/mol K ตามลําดับ
คําตอบ 1 : 20.12 J/mol K
คําตอบ 2 : 22.12 J/mol K
คําตอบ 3 : 24.12 J/mol K
คําตอบ 4 : 26.12 J/mol K

143 of 152
ขอที่ : 476
ของผสมซึ่งประกอบดวย 7 mol ของกาซฮีเลียม และ 3 mol ของกาซไนโตรเจน มีอุณหภูมิ 200 C และความดัน 4 atm จงคํานวณหาคาความจุความรอนของของผสมนี้ โดย
กําหนดใหทุกองคประกอบประพฤติตัวแบบกาซอุดมคติ และ คาความจุความรอนจําเพาะของกาซฮีเลียม และ กาซไนโตรเจนเทากับ 20.78 และ 29.12 J/mol K ตามลําดับ
คําตอบ 1 : 17.45 J/mol K
คําตอบ 2 : 19.06 J/mol K
คําตอบ 3 : 21.48 J/mol K
คําตอบ 4 : 23.28 J/mol K

ขอที่ :


่ ย

477


ของผสมซึ่งประกอบดวย 8 mol ของกาซฮีเลียม และ 2 mol ของกาซไนโตรเจน มีอุณหภูมิ 200 C และความดัน 4 atm จงคํานวณหาคาความจุความรอนของของผสมนี้ โดย


กําหนดใหทุกองคประกอบประพฤติตัวแบบกาซอุดมคติ และ คาความจุความรอนจําเพาะของกาซฮีเลียม และ กาซไนโตรเจนเทากับ 20.78 และ 29.12 J/mol K ตามลําดับ


คําตอบ 1 : 20.15 J/mol K


้ ม
คําตอบ 2 : 22.45 J/mol K

ิ์ ห
คําตอบ 3 : 24.21 J/mol K
คําตอบ 4 :


26.84 J/mol K

ขอที่ : 478

ส ิ ท

ของผสมซึ่งประกอบดวย 9 mol ของกาซฮีเลียม และ 1 mol ของกาซไนโตรเจน มีอุณหภูมิ 200 C และความดัน 4 atm จงคํานวณหาคาความจุความรอนของของผสมนี้ โดย

ง ว
กําหนดใหทุกองคประกอบประพฤติตัวแบบกาซอุดมคติ และ คาความจุความรอนจําเพาะของกาซฮีเลียม และ กาซไนโตรเจนเทากับ 20.78 และ 29.12 J/mol K ตามลําดับ


คําตอบ 1 : 14.32 J/mol K


คําตอบ 2 : 16.72 J/mol K

ร ข
คําตอบ 3 : 18.15 J/mol K


คําตอบ 4 : 21.61 J/mol K


ิ ว
าว
ขอที่ : 479

ส ภ
144 of 152
คําตอบ 1 : 44002.45 กิโลจูลตอชั่วโมง
คําตอบ 2 : 44936.22 กิโลจูลตอชั่วโมง
คําตอบ 3 : 45432.12 กิโลจูลตอชั่วโมง
คําตอบ 4 : 46042.07 กิโลจูลตอชั่วโมง

ขอที่ : 480


่ ย
หน
จ ำ

้ ม
คําตอบ 1 : 14004.12 กิโลจูลตอชั่วโมง
ธิ์ ห
คําตอบ 2 : 14492.15 กิโลจูลตอชั่วโมง

ส ิ ท

คําตอบ 3 : 14840.62 กิโลจูลตอชั่วโมง


คําตอบ 4 : 15284.42 กิโลจูลตอชั่วโมง

ส ง

ขอที่ : 481

ก ร ข

ิ ว
ภ าว

คําตอบ 1 : 23015.21 กิโลจูลตอชั่วโมง
คําตอบ 2 : 23462.31 กิโลจูลตอชั่วโมง
คําตอบ 3 : 23982.14 กิโลจูลตอชั่วโมง 145 of 152
คําตอบ 4 : 24268.11 กิโลจูลตอชั่วโมง
ขอที่ : 482
ถังบรรจุของผสมอากาศและไอน้ําอิ่มตัวที่ 240 F ความดัน 55 psia ถาของผสมนี้มีปริมาณอากาศแหงเทากับ 1 kg จงคํานวณหาปริมาตรของถัง โดยกําหนดใหที่อุณหภูมิ 240 F น้ํา
มี saturated vapor pressure เทากับ 24.94 psia
คําตอบ 1 : 0.54 ลูกบาศกเมตร
คําตอบ 2 : 0.56 ลูกบาศกเมตร


คําตอบ 3 : 0.58 ลูกบาศกเมตร



คําตอบ 4 : 0.60 ลูกบาศกเมตร

หน

ขอที่ : 483

ม จ
ิ์ ห า

ิ ทธ
นส
ง ว
อ ส
คําตอบ 1 : 84026.02 กิโลจูลตอชั่วโมง


คําตอบ 2 : 84576.52 กิโลจูลตอชั่วโมง


คําตอบ 3 : 85107.26 กิโลจูลตอชั่วโมง

ว ก
คําตอบ 4 : 85592.71 กิโลจูลตอชั่วโมง

ขอที่ : 484

าว ศ


ถังบรรจุของผสมอากาศและไอน้ําอิ่มตัวที่ 240 F ความดัน 50 psia ถาของผสมนี้มีปริมาณอากาศแหงเทากับ 1 kg จงคํานวณหาปริมาตรของถัง โดยกําหนดใหที่อุณหภูมิ 240 F น้ํา


มี saturated vapor pressure เทากับ 24.94 psia
คําตอบ 1 : 0.60 ลูกบาศกเมตร
คําตอบ 2 : 0.65 ลูกบาศกเมตร
คําตอบ 3 : 0.68 ลูกบาศกเมตร
คําตอบ 4 : 0.70 ลูกบาศกเมตร

ขอที่ : 485 146 of 152


ถังบรรจุของผสมอากาศและไอน้ําอิ่มตัวที่ 240 F ความดัน 60 psia ถาของผสมนี้มีปริมาณอากาศแหงเทากับ 1 kg จงคํานวณหาปริมาตรของถัง โดยกําหนดใหที่อุณหภูมิ 240 F น้ํา
มี saturated vapor pressure เทากับ 24.94 psia
คําตอบ 1 : 0.40 ลูกบาศกเมตร
คําตอบ 2 : 0.42 ลูกบาศกเมตร
คําตอบ 3 : 0.46 ลูกบาศกเมตร
คําตอบ 4 : 0.50 ลูกบาศกเมตร


ขอที่ :



486


ถังบรรจุของผสมอากาศและไอน้ําอิ่มตัวที่ 240 F ความดัน 35 psia ถาของผสมนี้มีปริมาณอากาศแหงเทากับ 1 kg จงคํานวณหาปริมาตรของถัง โดยกําหนดใหที่อุณหภูมิ 240 F น้ํา


มี saturated vapor pressure เทากับ 24.94 psia


คําตอบ 1 : 1.42 ลูกบาศกเมตร


คําตอบ 2 : 1.54 ลูกบาศกเมตร


้ ม
คําตอบ 3 : 1.58 ลูกบาศกเมตร

ิ์ ห
คําตอบ 4 : 1.61 ลูกบาศกเมตร

ขอที่ : 487

ิ ทธ

ถังบรรจุของผสมอากาศและไอน้ําอิ่มตัวที่ 240 F ความดัน 45 psia ถาของผสมนี้มีปริมาณอากาศแหงเทากับ 2 kg จงคํานวณหาปริมาตรของถัง โดยกําหนดใหที่อุณหภูมิ 240 F น้ํา


มี saturated vapor pressure เทากับ 24.94 psia
คําตอบ 1 : 1.34 ลูกบาศกเมตร

ง ว

คําตอบ 2 : 1.40 ลูกบาศกเมตร


คําตอบ 3 : 1.48 ลูกบาศกเมตร

ร ข
คําตอบ 4 : 1.61ลูกบาศกเมตร

ว ก


ขอที่ : 488

ภ าว

คําตอบ 1 : 54603.24 กิโลจูลตอชั่วโมง
คําตอบ 2 : 55412.04 กิโลจูลตอชั่วโมง 147 of 152
คําตอบ 3 : 56043.15 กิโลจูลตอชั่วโมง
คําตอบ 4 : 56802.71 กิโลจูลตอชั่วโมง

ขอที่ : 489


่ ย
หน
จ ำ

คําตอบ 1 : 26489.07 กิโลจูลตอชั่วโมง



คําตอบ 2 : 27019.52 กิโลจูลตอชั่วโมง

ิ์ ห
คําตอบ 3 : 27543.21 กิโลจูลตอชั่วโมง


คําตอบ 4 : 28424.05 กิโลจูลตอชั่วโมง

ขอที่ :

ส ิ ท

490

ง ว
อ ส
ก ร ข

ิ ว
าว
คําตอบ 1 : 22009.07 กิโลจูลตอชั่วโมง

ส ภ
คําตอบ 2 : 22388.97 กิโลจูลตอชั่วโมง
คําตอบ 3 : 22821.19 กิโลจูลตอชั่วโมง
คําตอบ 4 : 23472.09 กิโลจูลตอชั่วโมง

ขอที่ : 491

148 of 152

คําตอบ 1 : 20418.84 กิโลจูลตอชั่วโมง



คําตอบ 2 : 21118.04 กิโลจูลตอชั่วโมง
คําตอบ 3 : 21574.96 กิโลจูลตอชั่วโมง

หน

คําตอบ 4 : 22481.71 กิโลจูลตอชั่วโมง

มจ


ขอที่ : 492

ธิ์ ห
ส ิ ท
ง ว น
คําตอบ 1 : 7541.96 กิโลจูลตอชั่วโมง

อ ส
ร ข
คําตอบ 2 : 8059.12 กิโลจูลตอชั่วโมง


คําตอบ 3 : 8501.79 กิโลจูลตอชั่วโมง


คําตอบ 4 : 9075.04 กิโลจูลตอชั่วโมง

าว ศ


ขอที่ : 493


149 of 152
คําตอบ 1 : 12104.15 กิโลจูลตอชั่วโมง
คําตอบ 2 : 12632.91 กิโลจูลตอชั่วโมง
คําตอบ 3 : 13234.97 กิโลจูลตอชั่วโมง
คําตอบ 4 : 13784.06 กิโลจูลตอชั่วโมง

ขอที่ : 494


อากาศที่อุณหภูมิ 80 F ความดัน 14.7 psia มีองคประกอบ ดังตอไปนี้ กาซไนโตรเจน 78.02 mol% กาซออกซิเจน 20.99 mol% กาซอารกอน 0.94 mol% กาซคารบอน



ไดออกไซด 0.05 mol% จงคํานวณหาความดันยอยของกาซไนโตรเจน
คําตอบ 1 : 8.068 psia

หน

คําตอบ 2 : 9.123 psia


คําตอบ 3 :


10.204 psia



คําตอบ 4 : 11.469 psia

ขอที่ : 495

ธ ิ์ ห
ิ ท
อากาศที่อุณหภูมิ 80 F ความดัน 14.7 psia มีองคประกอบ ดังตอไปนี้ กาซไนโตรเจน 78.02 mol% กาซออกซิเจน 20.99 mol% กาซอารกอน 0.94 mol% กาซคารบอน


ไดออกไซด 0.05 mol% จงคํานวณหาความดันยอยของกาซอารกอน

ว น
คําตอบ 1 : 0.138 psia


คําตอบ 2 : 0.160 psia


คําตอบ 3 : 0.184 psia


คําตอบ 4 : 1.203 psia

ก ร ข

ขอที่ : 496



อากาศที่อุณหภูมิ 80 F ความดัน 14.7 psia มีองคประกอบ ดังตอไปนี้ กาซไนโตรเจน 78.02 mol% กาซออกซิเจน 20.99 mol% กาซอารกอน 0.94 mol% กาซคารบอน

าว
ไดออกไซด 0.05 mol% จงคํานวณหารอยละโดยน้ําหนักของกาซไนโตรเจน
คําตอบ 1 :


69.23 %


คําตอบ 2 : 72.15 %
คําตอบ 3 : 75.43 %
คําตอบ 4 : 78.02 %

ขอที่ : 497
อากาศที่อุณหภูมิ 80 F ความดัน 14.7 psia มีองคประกอบ ดังตอไปนี้ กาซไนโตรเจน 78.02 mol% กาซออกซิเจน 20.99 mol% กาซอารกอน 0.94 mol% กาซคารบอน
ไดออกไซด 0.05 mol% จงคํานวณหารอยละโดยน้ําหนักของกาซอารกอน
150 of 152
คําตอบ 1 : 0.3 %
คําตอบ 2 : 0.6 %
คําตอบ 3 : 0.9 %
คําตอบ 4 : 1.3 %

ขอที่ : 498
อากาศที่อุณหภูมิ 80 F ความดัน 14.7 psia มีองคประกอบ ดังตอไปนี้ กาซไนโตรเจน 78.02 mol% กาซออกซิเจน 20.99 mol% กาซอารกอน 0.94 mol% กาซคารบอน


ไดออกไซด 0.05 mol% จงคํานวณหารอยละโดยน้ําหนักของกาซคารบอนไดออกไซด
คําตอบ 1 : 0.08 %

น า


คําตอบ 2 : 0.17 %


คําตอบ 3 : 0.25 %


คําตอบ 4 :


0.34 %

ขอที่ : 499

ิ์ ห า


อากาศที่อุณหภูมิ 80 F ความดัน 28 psia มีองคประกอบ ดังตอไปนี้ กาซไนโตรเจน 78.02 mol% กาซออกซิเจน 20.99 mol% กาซอารกอน 0.94 mol% กาซคารบอน

ิ ท
ไดออกไซด 0.05 mol% จงคํานวณหาความดันยอยของกาซอารกอน


คําตอบ 1 : 0.263 psia

ว น
คําตอบ 2 : 0.551 psia


คําตอบ 3 : 0.804 psia


คําตอบ 4 : 1.007 psia

ขอที่ : 500

ร ขอ
ว ก
กาซออกซิเจน 0.9 kg อยูในถังความดัน 35 psia อุณหภูมิ 100 F หากตองการเพิ่มความดันภายในถังเปน 45 psia โดยการเติมกาซไนโตรเจนเพิ่มเขาไปในถัง จงคํานวณวาจะตอง



เพิ่มกาซไนโตรเจนเขาไปกี่กิโลกรัม โดยกําหนดใหอุณหภูมิมีคาคงที่

าว
คําตอบ 1 : 0.098 kg
คําตอบ 2 :


0.120 kg


คําตอบ 3 : 0.225 kg
คําตอบ 4 : 0.307 kg

ขอที่ : 501
กาซออกซิเจน 1.0 kg อยูในถังความดัน 25 psia อุณหภูมิ 100 F หากตองการเพิ่มความดันภายในถังเปน 40 psia โดยการเติมกาซไนโตรเจนเพิ่มเขาไปในถัง จงคํานวณวาจะตอง
เพิ่มกาซไนโตรเจนเขาไปกี่กิโลกรัม โดยกําหนดใหอุณหภูมิมีคาคงที่
คําตอบ 1 : 0.120 kg 151 of 152
คําตอบ 2 : 0.252 kg
คําตอบ 3 : 0.312 kg
คําตอบ 4 : 0.432 kg

ขอที่ : 502
กาซออกซิเจน 2.0 kg อยูในถังความดัน 15 psia อุณหภูมิ 120 F หากตองการเพิ่มความดันภายในถังเปน 50 psia โดยการเติมกาซไนโตรเจนเพิ่มเขาไปในถัง จงคํานวณวาจะตอง
เพิ่มกาซไนโตรเจนเขาไปกี่กิโลกรัม โดยกําหนดใหอุณหภูมิมีคาคงที่


คําตอบ 1 :



0.7 kg


คําตอบ 2 : 1.5 kg


คําตอบ 3 : 2.3 kg


คําตอบ 4 : 4 kg

ม จ
ิ์ ห า

ิ ทธ
นส
ง ว
อ ส
ก ร ข

ิ ว
ภ าว

152 of 152

You might also like