You are on page 1of 15

แผนการจัดการเรียนรูท้ ี่ 5

กลุม่ สาระการเรียนรูว้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี วิชาวิทยาศาสตร์ 6 รหัสวิชา ว23102 ชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 3


หน่วยการเรียนรูท้ ี่ 5 เรือ่ ง ปฏิกริ ยิ าของกรดกับโลหะและเบสกับโลหะ เวลา 2 ชัว่ โมง
สอนวันที่ ………/….……/…………

1. มาตรฐานการเรียนรู/้ ตัวชีว้ ดั
ว 2.1 เข้าใจสมบัติของสสาร องค์ประกอบของสสาร ความสัมพันธ์ระหว่างสมบัติของสสารกับโครงสร้าง
และแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาค หลักและธรรมชาติของการเปลี่ยนแปลงสถานะของสสารการเกิดสารละลาย
และการเกิดปฏิกิริยาเคมี

2. ตัวชีว้ ดั
ม.3/6 อธิบายปฏิกิริยาการเกิดสนิมของเหล็กปฏิกิริยาของกรดกับโลหะ ปฏิกิริยาของกรดกับเบส และ
ปฏิ กิ ริย าของเบสกั บ โลหะ โดยใช้ ห ลั ก ฐานเชิ ง ประจั ก ษ์ แ ละอธิ บ ายปฏิ กิ ริ ย าการเผาไหม้ การเกิ ด ฝนกรด
การสังเคราะห์ด้วยแสง โดยใช้สารสนเทศ รวมทั้งเขียนสมการข้อความแสดงปฏิกิริยาดังกล่าว

3. สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอด
ปฏิกิริยาของกรดกับโลหะ กรดทำปฏิกิริยากับโลหะได้หลายชนิด ได้ผลิตภัณฑ์เป็นเกลือของโลหะและ
แก๊สไฮโดรเจน ปฏิกิริยาของกรดกับสารประกอบคาร์บอเนตได้ผลิตภัณฑ์เป็นแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ เกลือของ
โลหะ และน้ำ ปฏิกิริยาของกรดกับเบส ได้ผลิตภัณฑ์เป็นเกลือของโลหะและน้ำ หรืออาจได้เพียงเกลือของโลหะ
ปฏิกิริยาของเบสกับโลหะบางชนิด ได้ผลิตภัณฑ์เป็นเกลือของเบสและแก๊สไฮโดรเจน

4. จุดประสงค์การเรียนรู้
1) อธิบายปฏิกิริยาของกรดกับโลหะและเบสกับโลหะได้ (K)
2) ใช้ทักษะการลงความเห็นจากข้อมูล โดยนำข้อมูลจากการสังเกตการเปลี่ยนแปลงของสาร มา
อธิบายปฏิกิริยาเคมีต่าง ๆ ได้ (P)
3) ตระหนักถึงความสำคัญของการใช้อุปกรณ์การทำกิจกรรมได้ (A)

5. กิจกรรมการเรียนรู้
ใช้รูปแบบการจัดการเรียนการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ (Inquiry Cycles: 5Es)
ขัน้ ที่ 1 กระตุน้ ความสนใจ (Engagement)
1) ครูกระตุ้นความสนใจของนักเรียน เกี่ยวกับเรื่อง ปฏิกิริยาของกรดกับโลหะและเบสกับโลหะ
โดยใช้สื่อวีดิทัศน์เรื่อง ปฏิกิริยาเคมีของสังกะสีกับกรดไฮโดรคลอริก (สืบค้นได้จาก
https://www.scimath.org/other-chemistry/item/10605-2019-08-30-08-19-42 ) ซึ่งอธิบายเกี่ยวข้อง
กับปฏิกิริยาเคมีของสังกะสีกับกรดไฮโดรคลอริก ซึ่งได้ผลิตภัณฑ์เป็นเกลือของสังกะสีและแก๊สไฮโดรเจน
2) ครูเชื่อมโยงเข้าสู่กิจกรรมที่ 5.5 เรื่องปฏิกิริยาของกรดกับโลหะและเบสกับโลหะเป็นอย่างไร
โดยใช้คำถามว่า ทราบหรือไม่ว่าเมื่อกรดหรือเบสทำปฏิกิริยากับโลหะ จะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร
ขัน้ ที่ 2 ขัน้ สำรวจและค้นหา (Exploration)
3) นักเรียนอ่านชื่อกิจกรรม จุดประสงค์ และวิธีดำเนินกิจกรรม
4) ขณะที่นักเรียนแต่ละกลุ่มทำกิจกรรม ครูเดินสังเกตการทำกิจกรรมของนักเรียนแต่ละกลุ่ม
และให้คำแนะนำ ถ้านักเรียนมีข้อสงสัยในประเด็นต่าง ๆ ที่อาจเป็นปัญหา เช่น ให้ขัดโลหะด้วยกระดาษทราย
ก่อน เพื่อขจัดสารที่เคลือบผิวโลหะออก เพื่อให้เกิดปฏิกิริยาได้ดีขึ้น และควรเติมสารละลายกรดไฮโดรคลอริก
หรือสารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์ลงในหลอดทดลองแต่ละหลอดในปริมาณที่เท่ากัน ซึ่งครูควรรวบรวมปัญหา
และข้อ สงสั ยที่ พ บจากการทำกิ จกรรมของนั กเรียนเพื่ อ ใช้ เป็ น ข้อ มูล ประกอบการอภิ ป รายหลั ง จากการทำ
กิจกรรม
ขัน้ ที่ 3 ขัน้ อธิบายและลงข้อสรุป (Explanation)
5) นักเรียนบันทึกการทำกิจกรรมลงในแบบบันทึกการค้นคว้ากิจกรรมที่ 5.5 เรื่องปฏิกิริยาของ
กรดกับโลหะและเบสกับโลหะเป็นอย่างไร โดยสรุปผลของกิจกรรมและตอบคำถามท้ายกิจกรรม
ขั้นที่ 4 ขั้นขยายความรู้ (Elaboration)
6) นักเรียนเรียนรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับปฏิกิริยาของกรดกับโลหะ และเบสกับโลหะ โดยสืบค้นและ
ตอบคำถามดังนี้
- ถ้านำน้ำส้มสายชูใส่ในภาชนะที่ทำจากอะลูมิเนียม นักเรียนคิดว่าเหมาะสมหรือไม่ เพราะเหตุ
ใด
- ถ้าใช้โซเดียมไฮดรอกไซด์หรือโซดาไฟล้างท่อที่ทำจากโลหะ เนื่องจากท่ออุดตัน นักเรียนคิดว่า
เหมาะสมหรือไม่ เพราะเหตุใด
- ในบางพื้นที่มีการบรรจุลูกโป่งด้วยแก๊สที่ได้จากปฏิกิริยาของเบสกับอะลูมิเนียม นักเรียนคิดว่า
แก๊สที่ได้เป็นแก๊สชนิดใด และการบรรจุแก๊สดังกล่าวในลูกโป่งมีอันตรายหรือไม่ อย่างไร
ขั้นที่ 5 ขั้นประเมิน (Evaluation)
7) ครูและนักเรียนอภิปรายผลการทำกิจกรรม ปฏิกิริยาของกรดกับโลหะ และเบสกับโลหะ
8) ครูตรวจสอบการส่งแบบบันทึกการค้นคว้าของนักเรียนและให้คะแนนประเมินตามเกณฑ์
การประเมิน (Rubrics Score)

6. สือ่ การเรียนรู/้ แหล่งเรียนรู้


- คลิปวีดิทัศน์ ปฏิกิริยาเคมีของสังกะสีกับกรดไฮโดรคลอริก https://www.scimath.org/other-
chemistry/item/10605-2019-08-30-08-19-42
- ใบกิจกรรมที่ 5.5 เรื่องปฏิกิริยาของกรดกับโลหะและเบสกับโลหะเป็นอย่างไร
- แบบบันทึกการค้นคว้ากิจกรรมที่ 5.5 เรื่องปฏิกิริยาของกรดกับโลหะและเบสกับโลหะเป็นอย่างไร

7. การวัดและการประเมิน
ตัวชีว้ ดั /ผลการเรียนรู้ วิธกี ารวัด เครือ่ งมือวัด เกณฑ์ที่ใช้ในการประเมิน
อธิบายปฏิกิริยาของกรดกับ - การตอบคำถาม - ข้อคำถาม - ได้ไม่น้อยกว่า 2 คะแนน
โลหะและเบสกับโลหะได้ (K) - ตรวจการตอบ - คำถามท้ายกิจกรรมที่ 5.5 ระดับคุณภาพดี ถือว่าผ่าน
คำถามท้าย เรื่องปฏิกิริยาของกรดกับ การประเมินด้านความรู้
กิจกรรมที่ 5.5 โลหะและเบสกับโลหะเป็น
อย่างไร
ใช้ทักษะการลงความเห็นจาก - ตรวจการทำแบบ - แบบบันทึกการค้นคว้า - ได้ไม่น้อยกว่า 2 คะแนน
ข้อมูล โดยนำข้อมูลจากการ บันทึกการค้นคว้า กิจกรรมที่ 5.5 เรื่อง ระดับคุณภาพดี ถือว่า
สังเกตการเปลี่ยนแปลงของสาร กิจกรรมที่ 5.5 ปฏิกิริยาของกรดกับโลหะ ผ่านการประเมิน
มาอธิบายปฏิกิริยาเคมีต่าง ๆ ได้ และเบสกับโลหะเป็น ด้านกระบวนการ
(P) อย่างไร
ตระหนักถึงความสำคัญของการ - สังเกตการใช้งาน - เกณฑ์การประเมินการใช้ - ได้ไม่น้อยกว่า 2 คะแนน
ใช้อุปกรณ์การทำกิจกรรมได้ (A) อุปกรณ์ในกิจกรรม งานอุปกรณ์ในกิจกรรม ระดับคุณภาพดี ถือว่าผ่าน
ของนักเรียน ของนักเรียน การประเมินด้านเจตคติ

7.1 เกณฑ์การประเมินผลนักเรียน เกณฑ์การประเมิน (Rubrics Score)


ค่าน้ำหนัก
ประเด็นการประเมิน แนวทางการให้คะแนน
คะแนน
การให้คะแนนตอบ 3 ตอบคำถามท้ายกิจกรรมที่ 5.5 ถูกต้อง จำนวน 3 ข้อ
คำถามท้าย 2 ตอบคำถามท้ายกิจกรรมที่ 5.5 ถูกต้อง จำนวน 2 ข้อ
กิจกรรมที่ 5.5 1 ตอบคำถามท้ายกิจกรรมที่ 5.5 ถูกต้อง จำนวน 1 ข้อ หรือ ไม่ถูกต้อง
การให้คะแนนการบันทึก บันทึกผลจากการใช้ทักษะการลงความเห็นจากข้อมูล ลงในตารางบันทึก
แบบบันทึกการค้นคว้า ผลกิจกรรม โดยมีการนำข้อมูลจากการสังเกตการเปลี่ยนแปลงของสาร
3
กิจกรรมที่ 5.5 มาอธิบายปฏิกิริยาเคมีต่าง ๆ ได้อย่างสมเหตุสมผล ชัดเจน ถูกต้อง
ครบทุกประเด็นสอดคล้องกับเนื้อหาในกิจกรรม
บันทึกผลจากการใช้ทักษะการลงความเห็นจากข้อมูล ลงในตารางบันทึก
2 ผลกิจกรรม โดยมีการนำข้อมูลจากการสังเกตการเปลี่ยนแปลงของสาร
มาอธิบายปฏิกิริยาเคมีต่าง ๆ ได้ถูกต้อง แต่มีข้อผิดพลาดบางส่วน
บันทึกผลจากการใช้ทักษะการลงความเห็นจากข้อมูล ลงในตารางบันทึก
1 ผลกิจกรรม โดยมีการนำข้อมูลจากการสังเกตการเปลี่ยนแปลงของสาร
มาอธิบายปฏิกิริยาเคมีต่าง ๆ แต่มีข้อผิดพลาด ไม่สอดคล้องกับเนื้อหา
การให้คะแนน ใช้งานอุปกรณ์การทดลองในกิจกรรมได้ถูกวิธี หยิบ เคลื่อนย้ายอุปกรณ์
3
การใช้งานอุปกรณ์ อย่างระมัดระวัง ไม่หยอกล้อหรือแกล้งเพื่อนขณะกำลังใช้งานอุปกรณ์
ในกิจกรรม และหลังการใช้งานอุปกรณ์มีการเก็บรักษาอย่างถูกวิธี
ใช้งานอุปกรณ์การทดลองในกิจกรรมได้ถูกวิธี หยิบ เคลื่อนย้ายอุปกรณ์
อย่างระมัดระวัง ไม่หยอกล้อหรือแกล้งเพื่อนขณะกำลังใช้งานอุปกรณ์
2
แต่หลังการใช้งานอุปกรณ์ไม่มีการเก็บรักษาอย่างถูกวิธี หรือไม่เก็บ
อุปกรณ์เข้าตู้เก็บอุปกรณ์ตามประเภทของอุปกรณ์
ใช้งานอุปกรณ์การทดลองในกิจกรรมได้ แต่ขณะหยิบ เคลื่อนย้ายอุปกรณ์
1 หรือกำลังใช้งานอุปกรณ์ จะหยอกล้อหรือแกล้งเพื่อน อาจทำให้อุปกรณ์
เสียหายได้ และหลังการใช้งานอุปกรณ์ไม่มีการเก็บรักษาอย่างถูกวิธี

7.2 ระดับคุณภาพ
คะแนนรวมเฉลี่ย 6.00 - 5.00 หมายถึง ดีมาก
คะแนนรวมเฉลี่ย 4.00 - 3.00 หมายถึง ดี
คะแนนรวมเฉลี่ย 2.00 - 1.00 หมายถึง พอใช้

8. ข้อเสนอแนะ
...........................................................................................................................................................................

บันทึกผลหลังการสอน

1. ผลการสอน
 สอนได้ตามแผนการจัดการเรียนรู้
 สอนไม่ได้ตามแผนการจัดการเรียนรู้ เนื่องจาก ..........................................................................
.......................................................................................................................................................
2. ผลการเรียนของนักเรียน
 จำนวนนักเรียนที่ผ่านการประเมิน .......................... คน คิดเป็นร้อยละ ...............................
 จำนวนนักเรียนที่ไม่ผ่านการประเมิน ...................... คน คิดเป็นร้อยละ ...............................
 อื่น ๆ .............................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................
3. ปัญหาและอุปสรรค
 กิจกรรมการจัดการเรียนรู้ ไม่เหมาะสมกับเวลา ควรปรับปรุงในเรื่อง.........................................
 มีนักเรียนทำใบงาน/ใบกิจกรรมไม่ทันตามกำหนดเวลา คือ.........................................................
 มีนักเรียนที่ไม่สนใจเรียนคือ..........................................................................................................
 อื่น ๆ .............................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................
4. ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไข
 ควรนำแผนไปปรับปรุง เรื่อง ......................................................................................................
.......................................................................................................................................................
 แนวทางแก้ไขนักเรียนที่ไม่ผ่านการประเมิน ..................................................................................
.......................................................................................................................................................
 แนวทางแก้ปัญหานักเรียนที่ไม่สนใจเรียนคือ.................................................................................
 ไม่มีข้อเสนอแนะ

ลงชื่อ ........................................... ผู้บันทึก


(นางสาวณัฎฐ์รฎา ยงศิริ)
ครูผู้สอน

บันทึกหลังการสอน ตามแผนการจัดการเรียนรู้ฉบับนี้ ได้รับการพิจารณาจากกลุ่มงานวิชาการแล้ว

ลงชื่อ ...........................................
(นางพันณี จิตรวิเศษสม)
หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้

ลงชื่อ ...........................................
(นางพันณี จิตรวิเศษสม)
ปฏิบัติหน้าที่รองผู้อำนวยการฝ่ายวิชาการ

แบบบันทึกการประเมินคุณภาพการเรียนรูข้ องนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 3


รายวิชาวิทยาศาสตร์พนื้ ฐาน (ว23102) หน่วยการเรียนรูท้ ี่ 5 ปฏิกริ ยิ าเคมีและวัสดุในชีวติ ประจำวันI
แผนการจัดการเรียนรูท้ ี่ 5 เรือ่ ง ปฏิกริ ยิ าของกรดกับโลหะและเบสกับโลหะ .
คำชี้แจง: ทำเครื่องหมาย ✓ ในช่องค่าน้ำคะแนนแต่ละด้านตามจุดประสงค์การเรียนรู้ โดยประเมินตามเกณฑ์
(Rubrics Score)

ด้านกระบวนการ
ด้านความรู้ (K) ด้านเจตคติ (A)
ระดับคุณภาพ
คะแนนรวม

เลข ชื่อ-นามสกุล/ (P)


ที่ รหัสนักเรียน ค่าน้ำหนัก ค่าน้ำหนัก ค่าน้ำหนัก
คะแนน คะแนน คะแนน
3 2 1 3 2 1 3 2 1
1 เกรียงไกร บุญประกอบ
2 กชกร รักษาแดน
3 กฤตเมท รักษาแดน
4 กฤษณะ เสือวงษ์
5 เฉลิมพล จั่นศรี
6 นิติภูมิ กาเหว่าทอง
7 ภัทรพล ฮวดตี๋
8 ศักดิ์ดา สุภผล
9 ศุภากร อังกาบเอี่ยม
10 อนุชา เลาะมิน
11 อาทิวราห์ ลีรุ่งเรือง
12 ขจาริน แสวงทอง
13 ฉัตรมิญตรา บุญอยู่
14 ดวงรัตน์ พานิชดี
15 นนทวัล บัวจร
16 วัชรินทร์ ฝุ่นทอง
17 วิมลรัตน์ ดลสุข
18 ศิริพร แสวงทอง
19 สรวีย์ อินทรพงษ์
20 กัญญา ภูแข็ง
21 นิภัทร์ จันทร์เพ็ญ
22 ภูริภัทร เขียวเรือง
23 ปภาวี บุญมี
24 เนาวรัตน์ แก้วคำปา

เกณฑ์การพิจารณาคุณภาพ
- คะแนนรวมเฉลี่ย 6.00 - 5.00 หมายถึง ดีมาก
- คะแนนรวมเฉลี่ย 4.00 - 3.00 หมายถึง ดี
- คะแนนรวมเฉลี่ย 2.00 - 1.00 หมายถึง พอใช้
ต้องได้คะแนนเฉลีย่ ทุกประเด็นการประเมิน ไม่ตำ่ กว่า 2.00 แสดงระดับคุณภาพ ดี ขึน้ ไปเท่านัน้
ถึงจะผ่านการเรียนรูต้ ามตัวชีว้ ดั

ผลการประเมินการเรียนรูข้ องนักเรียน
ผู้เรียนที่ ผ่าน ตัวชี้วัด
มีจำนวน…………………………คน คิดเป็นร้อยละ………………………………………………..
ผู้เรียนที่ ไม่ผ่าน ตัวชี้วัด
มีจำนวน…………………………คน คิดเป็นร้อยละ………………………………………………..
1)………………………………………………........……….สาเหตุ……………….........................................................
2)………………………………………………........……….สาเหตุ……………….........................................................
3)………………………………………………........……….สาเหตุ……………….........................................................
4)………………………………………………........……….สาเหตุ……………….........................................................
5)………………………………………………........……….สาเหตุ……………….........................................................
สือ่ การเรียนรูแ้ ผนการจัดการเรียนรูท้ ี่ 5: สื่อวีดิทัศน์

คลิปวีดที ัศน์: ปฏิกริ ยิ าเคมีของสังกะสีกบั กรดไฮโดรคลอริก

สื่อวีดิทัศน์เรื่อง ปฏิกิริยาเคมีของกรดกับโลหะ อธิบายเกี่ยวข้องกับปฏิกิริยาเคมีของสัง กะสีกับกรด


ไฮโดรคลอริก ซึ่งได้ผลิตภัณฑ์เป็นเกลือของสังกะสีและแก๊สไฮโดรเจน

แหล่งทีม่ า: เว็บไซต์อ้างอิง https://www.scimath.org/other-chemistry/item/10605-2019-


08-30-08-19-42
เผยแพร่เมื่อ 30 สิงหาคม พ.ศ. 2562
(เจ้าของผลงาน สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.))
สือ่ การเรียนรูแ้ ผนการจัดการเรียนรูท้ ี่ 5: ใบกิจกรรมที่ 5.5

ใบกิจกรรมที่ 5.5 เรือ่ งปฏิกริ ยิ าของกรดกับโลหะและเบสกับโลหะเป็นอย่างไร

กิจกรรมที่ 5.5 ปฏิกริ ยิ าของกรดกับโลหะและเบสกับโลหะเป็นอย่างไร?


จุดประสงค์ สังเกตและอธิบายปฏิกิริยาของกรดกับโลหะและเบสกับโลหะ
วัสดุอปุ กรณ์ วัสดุที่ใช้ต่อกลุ่ม
1. สารละลายกรดไฮโดรคลอริกหรือสารละลาย 20 cm3
กรดเกลือ ความเข้มข้น 0.6 โมลต่อลิตร
2. สารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์หรือสารละลาย 20 cm3
โซดาไฟ ความเข้มข้นประมาณ 3 โมลต่อลิตร
3. แผ่นสังกะสี 1 แผ่น
4. แผ่นอะลูมิเนียม 1 แผ่น
5. ตะปูเหล็ก 2 ตัว
6. หลอดทดลองขนาดใหญ่ 6 หลอด
7. ที่วางหลอดทดลอง 1 อัน
8. ปากคีบ 1 อัน
9. กรรไกร 1 เล่ม
10. กระดาษทราย 1 แผ่น
11. แว่นตานิรภัย เท่าจำนวนนักเรียนในกลุ่ม
12. ถุงมือยาง เท่าจำนวนนักเรียนในกลุ่ม
วิธดี ำเนินกิจกรรม 1. ขัดแผ่นสังกะสี แผ่นอะลูมิเนียม และตะปูเหล็กด้วยกระดาษทราย
2. ตัดแผ่นสังกะสี กว้าง 1 เซนติเมตร ยาว 1 เซนติเมตร สังเกตลักษณะและบันทึกผล
แล้วใส่ลงในหลอดทดลอง หลอดที่ 1 และหลอดที่ 4 หลอดละ 1 ชิ้น
3. ตัดแผ่นอะลูเนียม กว้าง 1 เซนติเมตร ยาว 1 เซนติเมตร สังเกตลักษณะ และ
บันทึกผล แล้วใส่ลงในหลอดทดลอง หลอดที่ 2 และหลอดที่ 5 หลอดละ 1 ชิ้น
4. สังเกตลักษณะของตะเหล็กและบันทึกผล แล้วใส่ลงในหลอดทดลองหลอดที่ 3
และหลอดที่ 6 หลอดละ 1 ตัว
5. เติมสารละลายกรดไฮโดรคลอริกลในหลอดที่ 1-3 จนท่วมโลหะ และ
เติมสารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์ลงในหลอดที่ 4-6 จนท่วมโลหะในปริมาณเท่าๆ กัน
เขย่า สังเกตการเปลี่ยนแปลงตั้งแต่เริ่มต้นจนครบ 5 นาทีและบันทึกผล
การเตรียมตัว • การเตรียมสารละลายกรดไฮโดรคลอริกความเข้มข้น 0.6 โมลต่อลิตร ปริมาตร
ล่วงหน้าสำหรับครู 160 ลูกบาศก์เซนติเมตร (สำหรับ 8 กลุ่ม) เตรียมโดยรินน้ำประมาณ 80 ลูกบาศก์
กิจกรรมที่ 5.5 ปฏิกริ ยิ าของกรดกับโลหะและเบสกับโลหะเป็นอย่างไร?
เซนติเมตร ลงในภาชนะ จากนั้นรินสารละลายกรดไฮโดรคลอริกเข้มข้น 6 โมลต่อลิตร
ปริมาตร 16 ลูกบาศก์เซนติเมตร ลงในภาชนะ แล้วเติมน้ำจนมีปริมาตรรวมเป็น
160 ลูกบาศก์เซนติเมตร
• การเตรียมสารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์ความเข้มข้นประมาณ 3 โมลต่อลิตร
ปริมาตร 160 ลูกบาศก์เซนติเมตร (สำหรับ 8 กลุ่ม) เตรียมโดยรินสารละลาย
โซเดียมไฮดรอกไซด์เข้มข้นร้อยละ 50 โดยมวลต่อปริมาตร ปริมาตร 40 ลูกบาศก์
เซนติเมตร ลงในภาชนะ แล้วเติมน้ำจนมีปริมาตรรวมเป็น 160 ลูกบาศก์เซนติเมตร
ข้อเสนอแนะในการ • สารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์ที่ใช้ในกิจกรรมนี้ มีความเข้มข้นมากกว่าสารละลาย
ทำกิจกรรม โซเดียมไฮดรอกไซด์ที่ใช้ในกิจกรรมอื่น จึงควรระมัดระวังเป็นพิเศษ โดยสวมถุงมือ
ขณะเตรียมสารและทำกิจกรรมในห้องเรียน
• การขัดโลหะด้วยกระดาษทราย ควรวางโลหะบนกระดาษก่อนขัด เมื่อขัดเสร็จแล้ว
ให้ห่อผงโลหะก่อนนำไปทิ้ง

คำถามท้ายกิจกรรม

1. โลหะใดบ้างที่ทำปฏิกิริยากับกรดไฮโดรคลอริ ก ทราบได้อย่างไร
2. โลหะใดบ้างที่ทำปฏิกิริยากับสารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์ ทราบได้อย่างไร
3. จากกิจกรรม สรุปได้ว่าอย่างไร
สือ่ การเรียนรูแ้ ผนการจัดการเรียนรูท้ ี่ 5: แบบบันทึกการค้นคว้ากิจกรรมที่ 5.5

แบบบันทึกการค้นคว้ากิจกรรมที่ 5.5 เรือ่ งปฏิกริ ยิ าของกรดกับโลหะและเบสกับโลหะเป็นอย่างไร


ชื่อ-นามสกุล..........................................................................................ชัน้ .................เลขที่...........กลุม่ ที่............
 ตารางบันทึกผล
สาร ผลทีส่ งั เกตได้
สังกะสี
อะลูมเิ นียม
ตะปูเหล็ก
 ตารางบันทึกผล
หลอดที่ สาร ผลทีส่ งั เกตได้
สังกะสี + สารละลาย
1
กรดไฮโดรคลอริก
อะลูมิเนียม + สารละลาย
2
กรดไฮโดรคลอริก
ตะปูเหล็ก + สารละลาย
3
กรดไฮโดรคลอริก
สังกะสี + สารละลาย
4
โซเดียมไฮดรอกไซด์
อะลูมิเนียม + สารละลาย
5
โซเดียมไฮดรอกไซด์
ตะปูเหล็ก + สารละลาย
6
โซเดียมไฮดรอกไซด์
 คำถามท้ายกิจกรรม
1. โลหะใดบ้างที่ทำปฏิกิริยากับกรดไฮโดรคลอริก ทราบได้อย่างไร

ตอบ ………………..………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………..………………………………………………………………………………………………………………………………………………
2. โลหะใดบ้างที่ทำปฏิกิริยากับสารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์ ทราบได้อย่างไร

ตอบ ………………..………………………………………………………………………………………………………………………………………………
3. จากกิจกรรม สรุปได้ว่าอย่างไร
ตอบ ………………..…………………………………………………………………………………………………………………………………………
.…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
แนบท้ายแผนการจัดการเรียนรูท้ ี่ 5: การให้คะแนนด้านกระบวนการ (P)

แนวทางบันทึกการค้นคว้ากิจกรรมที่ 5.5 เรือ่ งปฏิกริ ยิ าของกรดกับโลหะและเบสกับโลหะเป็นอย่างไร


 ตารางบันทึกผล
สาร ผลทีส่ งั เกตได้
สังกะสี ของแข็ง สีเงิน มันวาว
อะลูมเิ นียม ของแข็ง สีเงิน มันวาว
ตะปูเหล็ก ของแข็ง สีเงิน มันวาว
 ตารางบันทึกผล
หลอดที่ สาร ผลทีส่ งั เกตได้
สังกะสี + สารละลาย
1 เกิดฟองแก๊สขึ้นทันทีในปริมาณมาก ผิวโลหะไม่มันวาว
กรดไฮโดรคลอริก
อะลูมิเนียม + สารละลาย
2 เกิดฟองแก๊สขึ้นอย่างช้า ๆ และเกิดในปริมาณน้อย
กรดไฮโดรคลอริก
ตะปูเหล็ก + สารละลาย
3 เกิดฟองแก๊สขึ้นทันที และเกิดในปริมาณมาก
กรดไฮโดรคลอริก
สังกะสี + สารละลาย
4 เกิดฟองแก๊สขึ้นอย่างช้า ๆ และเกิดในปริมาณน้อย
โซเดียมไฮดรอกไซด์
อะลูมิเนียม + สารละลาย เกิดฟองแก๊สขึ้นทันที และเกิดในปริมาณมาก
5
โซเดียมไฮดรอกไซด์ ผิวโลหะเปลี่ยนเป็นสีดำ
ตะปูเหล็ก + สารละลาย
6 ไม่พบการเปลี่ยนแปลง
โซเดียมไฮดรอกไซด์
แนบท้ายแผนการจัดการเรียนรูท้ ี่ 5: การให้คะแนนด้านความรู้ (K)

เฉลยใบกิจกรรมที่ 5.5 เรือ่ งปฏิกริ ยิ าของกรดกับโลหะและเบสกับโลหะเป็นอย่างไร

เฉลยคำถามท้ายกิจกรรม

1. โลหะใดบ้างที่ทำปฏิกริ ยิ ากับกรดไฮโดรคลอริก ทราบได้อย่างไร


แนวคำตอบ สังกะสี อะลูมิเนียม และตะปูเหล็ก ทราบได้จากการเกิดฟองแก๊สและผิวของโลหะ
เกิดการเปลี่ยนแปลง

2. โลหะใดบ้างที่ทำปฏิกริ ยิ ากับสารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์ ทราบได้อย่างไร


แนวคำตอบ สังกะสีและอะลูมิเนียม ทราบได้จากการเกิดฟองแก๊สและผิวของโลหะ
เกิดการเปลี่ยนแปลง

3. จากกิจกรรม สรุปได้วา่ อย่างไร


แนวคำตอบ โลหะบางชนิดสามารถเกิดปฏิกิริยากับกรดและเบสได้ผลิตภัณฑ์เป็นแก๊ส และ
อาจสังเกตเห็นผิว

You might also like