You are on page 1of 34

การวิเคราะหปรากฏการณเฟอรโรเรโซแนนซในหมอแปลงแรงดัน

(ฉบับสมบูรณ)

นําเสนอแก บริษัท พรีไซซ อีเลคตริค แมนูแฟคเจอริ่ง จํากัด


นําเสนอโดย ปรีชา สาคะรังค

ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟา คณะวิศวกรรมศาสตร
มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย
พฤษภาคม 2548

1
สารบัญ
หนา

บทที่ 1. บทนํา
1.1 ความเปนมาของปญหา 3
1.2 วัตถุประสงคของการวิจัย 3
บทที่ 2. เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของ
2.1 บทนํา 4
2.2 รายงานการพบเฟอรโรเรโซแนนซในหมอแปลงแรงดัน 5
2.3 ทฤษฎีพื้นฐาน 12
บทที่ 3. การจําลองโดยใชโปรแกรม PSCAD/EMTDC
3.1 การจําลองขั้นตอนการทํางานที่เกิดปญหา 15
3.2 การจําลองขั้นตอนการทํางานที่เสนอเพื่อแกไขปญหา 28
บทที่ 4. ผลของการวิจัย 32
บทที่ 5. สรุปผลและขอเสนอแนะ 33
เอกสารอางอิง 34

2
บทที่ 1
บทนํา

1.1 ความเปนมาของปญหา
หมอแปลงแรงดันที่ทําการติดตั้งในระบบ 22 kV ของการไฟฟาสวนภูมิภาคเกิดความผิดปกติขึ้น
โดยมีรอยไหมรวมทั้งเกิดการฉีกขาดที่ฉนวนของขดลวดดานแรงสูง และเกิดขึ้นเฉพาะดานสันของ
ขดลวด นอกจากนี้ตัวถังมีรูปรางบิดเบี้ยวและ บุชชิ่งแตกหักที่บริเวณฐาน
หมอแปลงแรงดันเปนรุนที่มีขดลวดสองชุดติดตั้งอยูในถังเดียว ลักษณะการตอดานปฐมภูมิเปน
แบบเดลตาเปด (open-delta) ทางดานทุติยภูมิตอแบบวายจุดรวมลงดิน (center tap)
การปฎิบัติงานเปนแบบตอหมอแปลงแรงดันแบบมีไฟ (hot line) เขากับระบบของการไฟฟาสวน
ภูมิภาคโดยมีการสับหรือปลดแบบสวิตซทีละเฟส (ABC หรือ CBA)

1.2 วัตถุประสงคของการวิเคราะห
เพื่อทําการวิเคราะหหาสาเหตุที่ทําใหหมอแปลงแรงดันเกิดความผิดปกติขึ้นและเสนอวิธีการแกไข

3
บทที่ 2
เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของ

2.1 บทนํา
ปรากฏการณเฟอรโรเรโซแนนซเปนปรากฏการณทางไฟฟาที่มีรายงานในป ค.ศ.1920 [7] ทั้งๆที่
บทความที่เกี่ยวกับเรโซแนนซในหมอแปลงมีรายงานในป ค.ศ.1907 [7] เฟอรโรเรโซแนนซเกิดจาก
การออสซิลเลทระหวางคาอินดักแตนซในหมอแปลงที่มีความอิ่มตัวกับคาคาปาซิแตนซในระบบ ทั้งนี้
จะตองเกิดในระบบที่มีความสูญเสียต่ํา สามารถเขียนปจจัยที่ทําใหเกิด เฟอรโรเรโซแนนซไดเปนขอๆ
ดังนี้
1. คาอินดักแตนซในหมอแปลงที่มีความอิ่มตัว
2. คาคาปาซิแตนซระหวางสายขึงในอากาศกับดิน
3. ไมมีโหลดตออยูในระบบหรือมีโหลดตออยูนอย
4. มีการสับหรือปลดทีละเฟสในระบบไฟสามเฟส
ผลกระทบจากเฟอรโรเรโซแนนซสามารถทําใหเกิดความรอนขึ้นในหมอแปลง เนื่องจากคาพีค
ของกระแสและฟลักซในแกนเหล็กมีคาสูง อุณหภูมิที่สูงภายในหมอแปลงอาจจะทําใหฉนวนมีความ
เปนฉนวนลดลงและทําใหเสียหายภายใตแรงเครียดทางไฟฟา

4
2.2 รายงานการพบเฟอรโรเรโซแนนซในหมอแปลงแรงดัน
บทความ [1] รายงานความเสียหายที่เกิดขึ้นกับหมอแปลงแรงดัน เมื่อทําการสับจายไฟดวยสวิตซ
ทีละเฟส ไดอะแกรมเสนเดียวของระบบแสดงดังรูปที่ 1 หมอแปลงแรงดันมีลักษณะการตอดานปฐม
ภูมิเปนแบบเดลตาเปด ทางดานทุติยภูมิตอแบบจุดรวมลงดิน
บทความนี้ไดแนะนําวิธีการแกปญหาเฟอรโรเรโซแนนซซึ่งทําไดโดยการใสตัวตานทานเขาไปที่
หมอแปลงแรงดันทางดานขดทุติยภูมิ คาของตัวตานทานไดจากการลองผิดลองถูกดูรูปที่ 2 ประกอบ

รูปที่ 1 [1]

รูปที่ 2 [1]

5
หมอแปลงแรงดันเกิดความเสียหายในบทความ[2] เมื่อทําการปลดไฟทีละเฟสการแกไข ทําไดโดย
ใสตัวตานทานเขาไปที่ขดทุติยภูมิดังรูปที่ 3 การจําลองโดยใชโปรแกรม EMTP และการวัดในงานจริง
ไดผลใกลเคียงกันคือการใสตัวตานทานเพิ่มเขาไปที่ขดทุติยภูมิสามารถกําจัดแรงดันเกินที่เกิดจากเฟอร
โรเรโซแนนซได

รูปที่ 3 [2]

บทความ [3] เสนอวิธีแกไขปญหาเฟอรโรเรโซแนนซโดยใชรีแอคเตอรตออนุกรมกับตัวตานทาน


ที่ขดทุติยภูมิของหมอแปลงเพื่อใชในการแดมปแรงดันเกินที่เกิดขึ้น การทํางานของรีแอคเตอรจะคลาย
กับสวิตซแมเหล็กไฟฟา ภายใตแรงดันปกติรีแอคเตอรจะมีคาอิมพีแดนซสูงทั้งนี้เพื่อปองกันการรบกวน
เครื่องมือวัด แตเมื่อเฟอรโรเรโซแนนซเกิดขึ้น คาอินดักแตนซของรีแอคเตอรจะอยูในสภาวะอิ่มตัว (คา
อิมพีแดนซต่ํา) ทั้งนี้รีแอคเตอรจะเกิดการอิ่มตัวกอนหมอแปลงแรงดัน ดังนั้นจึงทําใหตัวตานทานที่ตอ
อนุกรมกับรีแอคเตอรสามารถทําหนาที่แดมปแรงดันเกินที่เกิดขึ้นได ดูรูปที่ 4 ประกอบ

รูปที่ 4 [3]

6
ผลการจําลอง [3] ไดจากการเปลี่ยนคาตัวแปรความตานทานและคาคาปาซิแตนซในระบบดูรูปที่ 5
จะเห็นวามีชวงของคาความตานทานที่เฟอรโรเรโซแนนซไมเกิดขึ้นคือ 0.4 Ω ถึง 0.58 Ω สอดคลองกับ
บทความ [4] ที่ใชการวิเคราะหไบฟูเคชั่นแสดงพฤติกรรมของระบบที่เปลี่ยนแปลงอยางมีความหมาย
(มีเสถียรภาพหรือไมมีเสถียรภาพ) ตอการเปลี่ยนคาตัวแปรในชวงกวาง ไบฟูเคชั่นไดอะแกรมจะแสดง
พฤติกรรมของระบบในภาพรวมไดดี ดูรูปที่ 6 ประกอบ

รูปที่ 5 [3]

รูปที่ 6 [4]

7
บทความ [5] รายงานการจําลองโดยใช Transient Network Analyzer วิเคราะหเฟอรโรเรโซแนนซ
ในระบบและเสนอวิธีการแกปญหา ไดอะแกรมเสนเดียวของระบบที่ไดรับการแกไขโดยการใสตัวตาน
ทานที่ขดทุติยภูมิของหมอแปลงแสดงดังรูปที่ 7

รูปที่ 7 [5]

บทความ [6] ไดแบงวิธีการแกไขเฟอรโรเรโซแนนซออกเปนสองแบบคือแบบแอคตีพและแบบ


พาสซีพ แบบแอคตีพจะประกอบดวยการตอขนานกันระหวางอินดักเตอรกับคาปาซิเตอร และตอ
ลงกราวนผานตัวตานทาน ซึ่งไดรับการจูนความถี่ทํางานที่ 50 Hz ตอแบบถาวรที่ขดทุติยภูมิ ดูรูปที่ 8
แบบพาสซีพจะใชตัวตานทานในการแดมปซึ่งสามารถประยุกตวงจรอิเลคทรอนิกสหรือสวิตซในการ
ตัดตอตัวตานทานเขาที่ขดทุติยภูมิ การเพิ่มอุปกรณใดๆ ที่หมอแปลงแรงดันจําเปนตองพิจารณาผล
กระทบของโหลดตอการทํางานในสภาวะปกติ

8
รูปที่ 8 [6]

บทความ [7] เสนอใหเห็นวาเฟอรโรเรโซแนนซสามารถเกิดขึ้นไดทั้งระบบไฟหนึ่งเฟสและสาม


เฟส ตัวอยางหนึ่งในบทความแสดงการเกิดเฟอรโรเรโซแนนซในระบบที่มีหมอแปลงแรงดันเปนองค
ประกอบ การแกไขทําไดโดยการใสตัวตานทานที่ขดทุติยภูมิ ดูรูปที่ 9

รูปที่ 9 [7]

9
คาความตานทานที่เหมาะสมไดจากทําการจําลองหลายครั้ง นอกจากนี้ไดพิจารณาหมอแปลงที่ติด
ตั้งในระบบซึ่งผลิตมาจากหลายบริษัท วาทําไมหมอแปลงของผูผลิตแหงหนึ่งจึงเสียหายมากกวาอีก
แหงหนึ่ง จากการจําลองพบวาสาเหตุมาจากคุณลักษณะของความอิ่มตัวของหมอแปลง จากรูปที่ 10
หมอแปลง #1 เสียหายเพราะวามีระดับความอิ่มตัวต่ําที่สุด

รูปที่ 10 [7]

บทความ [8] รายงานความเสียหายที่เกิดกับหมอแปลงแรงดันในระบบ Gas Insulated Substation


154 kV เนื่องจากเฟอรโรเรโซแนนซ วิธีการแกไขทําโดยการตอตัวตานทานอนุกรมกับรีแอคเตอรเขา
ที่ขดทุตยิ ภูมิของหมอแปลง ดูรูปที่ 11 สวนรูปที่ 12 คือแรงดันเกินเฟอรโรเรโซแนนซที่วัดได

รูปที่ 11 [8]

10
รูปที่ 12 [8]

บทความ [9] พิจารณาระบบ 33 kV, 66 kV และ 230 kV รายงานวาเฟอรโรเรโซแนนซเปนสาเหตุ


ทําใหหมอแปลงแรงดันเสียหาย วิธีการแกไขทําโดยใสตัวตานทานที่ขดทุติยภูมิของหมอแปลงแรงดัน

11
2.3 ทฤษฎีพื้นฐาน
เนื่องจากเฟอรโรเรโซแนนซมีพฤติกรรมไมเปนเชิงเสนจึงทําใหเขาใจไดลําบาก ในแงของจุดทํา
งานที่มีเสถียรภาพหลายจุดทํางาน ทั้งนี้เนื่องจากเฟอรโรเรโซแนนซสามารถเปลี่ยนจุด ทํางานจาก
สภาวะทํางานปกติไปสูสภาวะทํางานผิดปกติ (แรงดันสูง) ไดจากการปฎิบัติงานปกติหรือ จากเหตุผิด
พรองในระบบ
บทความในยุคแรกๆ ไดอธิบายเฟอรโรเรโซแนนซโดยใชทฤษฏีเชิงเสน ซึ่งทําใหความเขาใจเกี่ยว
กับเฟอรโรเรโซแนนซงายขึ้น แตในระยะหลังบทความจํานวนมากไดใชทฤษฏีไมเชิงเสนมาชวยใน
การวิเคราะห ทั้งนี้เพราะทฤษฏีไมเชิงเสนสามารถหาคําตอบในชวงกวางๆได
เฟอรโรเรโซแนนซเปนการเรโซแนนซประเภทหนึ่งแตมีความซับซอนกวามาก ดังนั้นจึงควรมา
เริ่มตนทําความเขาใจวงจรเรโซแนนซเชิงเสนกอน ดูรูป 13a)วงจรอนุกรม RLC โดย Z C = jω1C ,
Z L = jωL และ Z R = R จากกฎของโอหม V = I * Z เมื่อคาความตานทานมีคานอยมากๆและ ZC = Z L
จะสงผลทําใหขนาดกระแสมีคาสูง สวนรูป 13b) วงจรขนาน RLC ถาพิจารณาในลักษณะเดียวกันจะ
ทําใหไดคาแรงดันที่มีขนาดสูง การจํากัดขนาดแรงดันและกระแสของวงจรเรโซแนนซเชิงเสนทําได
โดยการเพิ่มคาความตานทานใหแกวงจร จากลักษณะสมการเชิงเสนดังกลาวจะสังเกตไดวาสามารถ
ทํานายผลตอบสนองใดๆไดจากวงจร

รูปที่ 13 วงจรอนุกรมและวงจรขนาน RLC [10]

เฟอรโรเรโซแนนซมีพฤติกรรมที่แตกตางออกไปโดยสามารถสรุปไดดังนี้ [10]
1. ผลตอบสนองในสภาวะคงตัวตอการเปลี่ยนพารามิเตอรของระบบจะทําใหมีจุดทํางานหลายจุด
ทํางานที่มีเสถียรภาพ
2. ผลตอบสนองของระบบขึ้นอยูกับคาเริ่มตน

12
3. ปรากฏการณเรโซแนนซที่เกิดขึ้นที่ความถี่หนึ่งสามารถเกิดขึ้นไดจากพารามิเตอรของระบบใน
ชวงกวาง
4. ความถี่ที่เรโซแนนซมีไดหลายความถี่สอดคลองกับจุดทํางานที่มีเสถียรภาพ
คุณสมบัติที่สําคัญ 2 ขอของแกนเหล็กหมอแปลงคือความอิ่มตัวและฮีสเตอรรีซีส พิจารณารูป 14
ความอิ่มตัวอธิบายไดเมื่อกระแสไหลในขดลวดที่พันรอบแกนเหล็กมีคาเพิ่มขึ้นเลยจุดอิ่มตัว คาอินดัก-
แตนซของขดลวดจะเปลี่ยนอยางรวดเร็ว
ฮีสเตอรรีซีสคือขนาดของกระแสที่ทําใหแกนเหล็กอิ่มตัวมีคาไมเทากับขนาดกระแสที่ทําใหแกน
เหล็กหลุดออกจากความอิ่มตัว ขอบของการทํางานเชิงเสนและการทํางานไมเชิงเสนไมขึ้นอยูกับคา
กระแสคาเดียวแตขึ้นอยูกับคากระแสกอนการเปลี่ยนแปลง

รูปที่ 14 ฮีสเตอรรีซีสของแกนเหล็ก [10]

ขณะที่เรโซแนนซปกติ ความถี่เรโซแนนซ คือความถี่ที่อินดักแตนซและคาปาซิแตนซหักลางกัน


พอดี ผลลัพธที่ไดคือคาแรงดันและกระแสมีคาสูง แตเฟอรโรเรโซแนนซคาอินดักแตนซมีคาไมคง
ที่เพราะมีความอิ่มตัว ซึ่งทําใหคาอินดักแตนซเปลี่ยนคาได ดังนั้นความถี่เรโซแนนซจึงมีไดหลายคา
ขณะที่แกนเหล็กอิ่มตัว การเปลี่ยนแปลงของอินดักแตนซสงผลทําใหความถี่เรโซแนนซเปลี่ยนตามไป
ดวย เมื่อพิจารณาที่คาคาปาซิแตนซที่ทําใหเรโซแนนซเกิดขึ้นในวงจรเรโซแนนซเชิงเสน คานี้สามารถ
คํานวณไดแนนอน แตกับเฟอรโรเรโซแนนซการเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็ว และไมสามารถทํานายได
ของอินดักแตนซทําใหคาคาปาซิแตนซมีคาเปลี่ยนแปลงในชวงกวางตามไปดวย ในสภาวะที่แกนเหล็ก
มีความอิ่มตัว สภาวะนี้จะคงอยูตอไปจนกวากระแสจะมีขนาดลดลง ถาคาอินดักแตนซที่สภาวะอิ่มตัว

13
ทําใหเกิดเฟอรโรเรโซแนนซ ขนาดของกระแสจะเพิ่มขึ้นและยิ่งจะทําใหแกนเหล็กมีความอิ่มตัว
มากขึ้นสงผลทําใหเฟอรโรเรโซแนนซเปนจุดทํางานที่มีเสถียรภาพ ถากระแสสามารถลดลงต่ํากวา
จุดอิ่มตัวซึ่งทําใหแกนเหล็กออกจากสภาวะอิ่มตัวได และถาคาอินดักแตนซที่เปลี่ยนไปนี้ทําใหเกิด
เฟอรโรเรโซแนนซขึ้น ขนาดของกระแสจะเพิ่มขึ้นและทําใหแกนเหล็กอิ่มตัวไดอีกครั้งสงผลทําให
เปนจุดทํางานที่มีเสถียรภาพอีกจุดหนึ่ง การออกจากสภาวะอิ่มตัวหรือการเขาสูสภาวะอิ่มตัวทําใหเกิด
จุดที่มีคาอินดักแตนซที่แตกตางกันมากกวา 1 จุด จากการเปลี่ยนแปลงคาอินดักแตนซไดหลายคา ทํา
ใหมีจุดทํางานที่มีเสถียรภาพไดหลายจุด และจากคุณสมบัติฮีสเตอรรีซิสของหมอแปลงสามารถอธิบาย
ไดวาผลตอบสนองที่ไดขึ้นอยูกับคาสภาพเริ่มตนของการเปลี่ยนแปลงในระบบไฟฟากําลัง

14
บทที่ 3
การจําลองโดยใชโปรแกรม PSCAD/EMTDC

ในบทนี้จะกลาวถึงการจําลองขั้นตอนการทํางานเพื่อดูผลกระทบที่เกิดขึ้นและจําลองขั้นตอนการทํา
งานที่เสนอเพื่อลดผลกระทบที่เกิดขึ้นโดยใชโปรแกรม PSCAD/EMTDC โดยแบงเปน 2 สวนคือ การ
จําลองขั้นตอนการทํางานที่เกิดปญหา และการจําลองขั้นตอนการทํางานที่เสนอเพื่อแกไขปญหา

3.1 การจําลองขั้นตอนการทํางานที่เกิดปญหา
3.1.1 การสับโดยใชสวิตซทีละเฟสแบบ A-B-C
การปฎิบัติงานเปนแบบตอหมอแปลงแรงดันแบบมีไฟ (hot line) เขากับระบบของการไฟฟาสวน
ภูมิภาคโดยมีการสับ A-B-C วงจรการจําลองและผลการจําลองแสดงดังรูปที่ 15

รูปที่ 15

15
มุมสับที่ทําใหเกิดแรงดันเกินแสดงดังตารางที่ 1 ลําดับการสับคือ A-B-C (3.1.1)
ตารางที่ 1
ครั้งที่ มุมสับ เฟส A (คาพีค) เฟส B (คาพีค) เฟส C (คาพีค)
1 0 1.0 2.725194185 4.743376536
2 10 1.0 2.725194185 4.743376536
3 20 1.0 2.725194185 4.743376536
4 30 1.0 2.725194185 4.743376536
5 40 1.0 2.725194185 4.743376536
6 50 1.0 2.725194185 4.743376536
7 60 1.0 2.725194185 4.743376536
8 70 1.0 2.725194185 4.743376536
9 80 1.0 2.725194185 4.743376536
10 90 1.0 2.725194185 4.743376536
11 100 1.0 2.725194185 4.743376536
12 110 1.0 2.725194185 4.743376536
13 120 1.0 2.725194185 4.743376536
14 130 1.0 2.725194185 4.743376536
15 140 1.0 2.725194185 4.743376536
16 150 1.0 2.725194185 4.743376536
17 160 1.0 2.725194185 4.743376536
18 170 1.0 2.725194185 4.743376536
19 180 1.0 2.725194185 4.743376536

16
3.1.2 การสับโดยใชสวิตซทีละเฟสแบบ A-C-B
การปฎิบัติงานเปนแบบตอหมอแปลงแรงดันแบบมีไฟ (hot line) เขากับระบบของการไฟฟาสวน
ภูมิภาคโดยมีการสับ A-C-B วงจรการจําลองและผลการจําลองแสดงดังรูปที่ 16

รูปที่ 16

17
มุมสับที่ทําใหเกิดแรงดันเกินแสดงดังตารางที่ 2 ลําดับการสับคือ A-C-B (3.1.2)
ตารางที่ 2
ครั้งที่ มุมสับ เฟส A (คาพีค) เฟส B (คาพีค) เฟส C (คาพีค)
1 0 1.0 2.725194185 4.743376536
2 10 1.0 2.725194185 4.743376536
3 20 1.0 2.725194185 4.743376536
4 30 1.0 2.725194185 4.743376536
5 40 1.0 2.725194185 4.743376536
6 50 1.0 2.725194185 4.743376536
7 60 1.0 2.725194185 4.743376536
8 70 1.0 2.725194185 4.743376536
9 80 1.0 2.725194185 4.743376536
10 90 1.0 2.725194185 4.743376536
11 100 1.0 2.725194185 4.743376536
12 110 1.0 2.725194185 4.743376536
13 120 1.0 2.725194185 4.743376536
14 130 1.0 2.725194185 4.743376536
15 140 1.0 2.725194185 4.743376536
16 150 1.0 2.725194185 4.743376536
17 160 1.0 2.725194185 4.743376536
18 170 1.0 2.725194185 4.743376536
19 180 1.0 2.725194185 4.743376536

18
3.1.3 การสับโดยใชสวิตซทีละเฟสแบบ C-A-B
การปฎิบัติงานเปนแบบตอหมอแปลงแรงดันแบบมีไฟ (hot line) เขากับระบบของการไฟฟาสวน
ภูมิภาคโดยมีการสับ C-A-B วงจรการจําลองและผลการจําลองแสดงดังรูปที่ 17

รูปที่ 17

19
มุมสับที่ทําใหเกิดแรงดันเกินแสดงดังตารางที่ 3 ลําดับการสับคือ C-A-B (3.1.3)
ตารางที่ 3
ครั้งที่ มุมสับ เฟส A (คาพีค) เฟส B (คาพีค) เฟส C (คาพีค)
1 0 4.628534 2.90404 1.0
2 10 4.628534 2.90404 1.0
3 20 4.628534 2.90404 1.0
4 30 4.628534 2.90404 1.0
5 40 4.628534 2.90404 1.0
6 50 4.628534 2.90404 1.0
7 60 4.628534 2.90404 1.0
8 70 4.628534 2.90404 1.0
9 80 4.628534 2.90404 1.0
10 90 4.628534 2.90404 1.0
11 100 4.628534 2.90404 1.0
12 110 4.628534 2.90404 1.0
13 120 4.628534 2.90404 1.0
14 130 4.628534 2.90404 1.0
15 140 4.628534 2.90404 1.0
16 150 4.628534 2.90404 1.0
17 160 4.628534 2.90404 1.0
18 170 4.628534 2.90404 1.0
19 180 4.628534 2.90404 1.0

20
3.1.4 การสับโดยใชสวิตซทีละเฟสแบบ B-A-C
การปฎิบัติงานเปนแบบตอหมอแปลงแรงดันแบบมีไฟ (hot line) เขากับระบบของการไฟฟาสวน
ภูมิภาคโดยมีการสับ B-A-C วงจรการจําลองและผลการจําลองแสดงดังรูปที่ 18

รูปที่ 18

21
มุมสับที่ทําใหเกิดแรงดันเกินแสดงดังตารางที่ 4 ลําดับการสับคือ B-A-C (3.1.4)
ตารางที่ 4
ครั้งที่ มุมสับ เฟส A (คาพีค) เฟส B (คาพีค) เฟส C (คาพีค)
1 0 2.121548 1.0 2.264858
2 10 2.121548 1.0 2.264858
3 20 2.121548 1.0 2.264858
4 30 2.121548 1.0 2.264858
5 40 2.121548 1.0 2.264858
6 50 2.121548 1.0 2.264858
7 60 2.121548 1.0 2.264858
8 70 2.121548 1.0 2.264858
9 80 2.121548 1.0 2.264858
10 90 2.121548 1.0 2.264858
11 100 2.121548 1.0 2.264858
12 110 2.121548 1.0 2.264858
13 120 2.121548 1.0 2.264858
14 130 2.121548 1.0 2.264858
15 140 2.121548 1.0 2.264858
16 150 2.121548 1.0 2.264858
17 160 2.121548 1.0 2.264858
18 170 2.121548 1.0 2.264858
19 180 2.121548 1.0 2.264858

22
3.1.5 การสับโดยใชสวิตซทีละเฟสแบบ B-C-A
การปฎิบัติงานเปนแบบตอหมอแปลงแรงดันแบบมีไฟ (hot line) เขากับระบบของการไฟฟาสวน
ภูมิภาคโดยมีการสับ B-C-A วงจรการจําลองและผลการจําลองแสดงดังรูปที่ 19

รูปที่ 19

23
มุมสับที่ทําใหเกิดแรงดันเกินแสดงดังตารางที่ 5 ลําดับการสับคือ B-C-A (3.1.5)
ตารางที่ 5
ครั้งที่ มุมสับ เฟส A (คาพีค) เฟส B (คาพีค) เฟส C (คาพีค)
1 0 2.254502 1.0 2.264858
2 10 2.210302 1.0 2.264858
3 20 2.148126 1.0 2.264858
4 30 2.121548 1.0 2.264858
5 40 2.121548 1.0 2.264858
6 50 2.121548 1.0 2.264858
7 60 2.121548 1.0 2.264858
8 70 2.121548 1.0 2.264858
9 80 2.121548 1.0 2.264858
10 90 2.121548 1.0 2.264858
11 100 2.121548 1.0 2.264858
12 110 2.121548 1.0 2.264858
13 120 2.121548 1.0 2.264858
14 130 2.121548 1.0 2.264858
15 140 2.121548 1.0 2.264858
16 150 2.121548 1.0 2.264858
17 160 2.121548 1.0 2.264858
18 170 2.163701 1.0 2.264858
19 180 2.221775 1.0 2.264858

24
3.1.6 การสับโดยติดตั้งหมอแปลงแรงดันอยูเพียงตัวเดียวตอแบบ เฟส-เฟส (ตัดขดลวดชุดที่2 ออก)
การปฎิบัติงานเปนแบบตอหมอแปลงแรงดันแบบมีไฟ (hot line) เขากับระบบของการไฟฟาสวน
ภูมิภาคโดยมีการสับ A-B-C วงจรการจําลองและผลการจําลองแสดงดังรูปที่ 20

รูปที่ 20

25
มุมสับที่ทําใหเกิดแรงดันเกินแสดงดังตารางที่ 6 ลําดับการสับคือ A-B-C (3.1.6)
ตารางที่ 6
ครั้งที่ มุมสับ เฟส A (คาพีค) เฟส B (คาพีค) เฟส C (คาพีค)
1 0 1.0 2.010653 1.0
2 10 1.0 2.010653 1.0
3 20 1.0 2.010653 1.0
4 30 1.0 2.010653 1.0
5 40 1.0 2.010653 1.0
6 50 1.0 2.010653 1.0
7 60 1.0 2.010653 1.0
8 70 1.0 2.010653 1.0
9 80 1.0 2.010653 1.0
10 90 1.0 2.010653 1.0
11 100 1.0 2.010653 1.0
12 110 1.0 2.010653 1.0
13 120 1.0 2.010653 1.0
14 130 1.0 2.010653 1.0
15 140 1.0 2.010653 1.0
16 150 1.0 2.010653 1.0
17 160 1.0 2.010653 1.0
18 170 1.0 2.010653 1.0
19 180 1.0 2.010653 1.0

26
3.1.7 การสับโดยใชสวิตซสามเฟสพรอมกัน
การปฎิบัติงานเปนแบบตอหมอแปลงแรงดันแบบมีไฟ (hot line) เขากับระบบของการไฟฟาสวน
ภูมิภาคโดยใชสวิตซสามเฟสพรอมกัน วงจรการจําลองและผลการจําลองแสดงดังรูปที่ 21 ทุกมุมสับ
ไมทําใหเกิดแรงดันเกินขึ้น

รูปที่ 21

27
3.2 การจําลองขั้นตอนการทํางานที่เสนอเพื่อแกไขปญหา
3.2.1 การตอหมอแปลงแรงดันแบบวายลงดิน
จากการจําลองแสดงใหเห็นวาการตอหมอแปลงแรงดันแบบวายลงดิน สามารถขจัดปญหาแรงดัน
เกินที่เกิดขึ้นได วงจรการจําลองและผลการจําลองแสดงดังรูปที่ 22

รูปที่ 22

28
จากตารางที่ 7 จะสังเกตไดวาที่ทุกมุมสับไมพบแรงดันเกินเกิดขึ้น ลําดับการสับคือ A-B-C
ตารางที่ 7
ครั้งที่ มุมสับ เฟส A (คาพีค) เฟส B (คาพีค) เฟส C (คาพีค)
1 0 1.0 1.0 1.0
2 10 1.0 1.0 1.0
3 20 1.0 1.0 1.0
4 30 1.0 1.0 1.0
5 40 1.0 1.0 1.0
6 50 1.0 1.0 1.0
7 60 1.0 1.0 1.0
8 70 1.0 1.0 1.0
9 80 1.0 1.0 1.0
10 90 1.0 1.0 1.0
11 100 1.0 1.0 1.0
12 110 1.0 1.0 1.0
13 120 1.0 1.0 1.0
14 130 1.0 1.0 1.0
15 140 1.0 1.0 1.0
16 150 1.0 1.0 1.0
17 160 1.0 1.0 1.0
18 170 1.0 1.0 1.0
19 180 1.0 1.0 1.0

29
3.2.2 การตอตัวตานทานที่ขดทุติยภูมิของหมอแปลงแรงดัน
จากการจําลองแสดงใหเห็นวาการตอตัวตานทานที่ขดทุติยภูมิของหมอแปลงแรงดัน สามารถขจัด
ปญหาแรงดันเกินที่เกิดขึ้นได วงจรการจําลองและผลการจําลองแสดงดังรูปที่ 23

รูปที่ 23

30
จากตารางที่ 8 จะสังเกตไดวาที่ทุกมุมสับไมพบแรงดันเกินเกิดขึ้น ลําดับการสับคือ A-B-C
ตารางที่ 8
ครั้งที่ มุมสับ เฟส A (คาพีค) เฟส B (คาพีค) เฟส C (คาพีค)
1 0 1.0 1.0 1.010622246
2 10 1.0 1.0 1.010108941
3 20 1.0 1.0 1.009360443
4 30 1.0 1.0 1.008382501
5 40 1.0 1.0 1.007601891
6 50 1.0 1.0 1.007602025
7 60 1.0 1.0 1.007601975
8 70 1.0 1.0 1.007601772
9 80 1.0 1.0 1.007601425
10 90 1.0 1.0 1.007601024
11 100 1.0 1.0 1.007600545
12 110 1.0 1.0 1.007599977
13 120 1.0 1.0 1.007599360
14 130 1.0 1.0 1.007598697
15 140 1.0 1.0 1.007598154
16 150 1.0 1.0 1.007597939
17 160 1.0 1.0 1.007597751
18 170 1.0 1.0 1.007597570
19 180 1.0 1.0 1.007597408

31
บทที่ 4
การวิเคราะหผลที่ไดจากการจําลอง

ในบทนี้จะกลาวถึงการวิเคราะหผลที่ไดจากการจําลอง จากขั้นตอนการปฏิบัติงานสามารถวาดวงจร
ที่เสี่ยงตอเฟอรโรเรโซแนนซไดดังรูปที่ 18 และจากการจําลองแสดงใหเห็นผลกระทบแรงดันเกินที่เกิด
ขึ้นสอดคลองกับปจจัยที่ทําใหเกิดเฟอรโรเรโซแนนซ

รูปที่ 18 [10]

การจําลองการแกไขทั้ง 2 วิธีคือ การตอหมอแปลงแรงดันแบบวายลงดินและการตอตัวตานทานที่ขด


ทุติยภูมิของหมอแปลงแรงดันสามารถลดแรงดันเกินที่เกิดขึ้นได

32
บทที่ 5
สรุปผลและขอเสนอแนะ

จากการวิเคราะหโดยใชปจจัยเสี่ยงในการเกิดเฟอรโรเรโซแนนซและการจําลองโดยใชโปรแกรม
PSCAD/EMTDC ใหผลลัพธสอดคลองกันซึ่งสามารถสรุปเปนขอๆไดดังนี้
1. การปฏิบัติงานสับหมอแปลงแรงดัน (หมอแปลงแรงดันเปนรุนที่มีขดลวดสองชุด ติดตั้งอยูใน
ถังเดียว ลักษณะการตอดานปฐมภูมิเปน แบบเดลตาเปด (open-delta) ทางดานทุติยภูมิตอแบบวาย
จุดรวมลงดิน (center tap)) แบบ hot line โดยใชสวิตซทีละเฟสมีความเสี่ยงอยางมากตอการเกิด
เฟอรโรเรโซแนนซ
2. จากผลการจําลองคาพีคของแรงดันเกินที่เกิดขึ้นมีคาสูงถึง 4.7 p.u. ซึ่งทําใหเกิดความเครียด
ทางไฟฟาแกหมอแปลงแรงดัน
3. จากผลการจําลองพบวาเฟสแรกที่สับมีผลตอขนาดแรงดันเกินที่เกิดขึ้นดังนี้
การสับแบบ A-B-C พบคาพีคแรงดันเกินสูงสุดเทากับ 4.74 p.u.ที่เฟส C (3.1.1)
การสับแบบ A-C-B พบคาพีคแรงดันเกินสูงสุดเทากับ 4.74 p.u.ที่เฟส C (3.1.2)
การสับแบบ C-A-B พบคาพีคแรงดันเกินสูงสุดเทากับ 4.62 p.u.ที่เฟส A (3.1.3)
การสับแบบ B-A-C พบคาพีคแรงดันเกินสูงสุดเทากับ 2.26 p.u.ที่เฟส C (3.1.4)
การสับแบบ B-C-A พบคาพีคแรงดันเกินสูงสุดเทากับ 2.26 p.u.ที่เฟส C (3.1.5)
4. จากผลการจําลองพบวาการตอหมอแปลงแรงดันแบบเฟส-เฟสโดยตอเฉพาะขดเดียวสามารถ
ทําใหเกิดคาพีคแรงดันเกินสูงสุดเทากับ 2.01 p.u. (3.1.6)
5. การเกิดเฟอรโรเรโซแนนซในระหวางการสับมีดังนี้ แรงดันเกินจะเกิดกับเฟสที่ไมไดสับ
อยางตอเนื่องจนกระทั่งเฟสสุดทายถูกสับ

ขอเสนอแนะ
การแกไขที่เสนอเพื่อลดปญหาดังกลาวสามารถทําไดหลายวิธี สอดคลองกับบทความ [1] – [10]
โดยแบงออกเปนขอๆดังนี้
1. การตอหมอแปลงแรงดันแบบวายจุดรวมลงดินทั้งดานปฐมภูมิและดานทุติยภูมิ
2. การตอตัวตานทานที่ขดทุติยภูมิของหมอแปลงแรงดัน

33
เอกสารอางอิง

[1] Robert Hoerauf and Neil Nichols, “Avoiding Potential Transformer Ferroresonant Problems in Industrial Power
Systems,” , [Online]. Available: http://ieeexplore.ieee.org/Xplore/DynWel.jsp
[2] William S. Vilcheck and Michael V. Haddad, “Voltage Transformer Ferroresonance in Cogeneration
Substation”, [Online]. Available: http://ieeexplore.ieee.org/Xplore/DynWel.jsp
[3] D. Shein and S. Zissu, “Domains of Ferroresonance Occurrence in Voltage Transformers with or without
Damping Reactor”, [Online]. Available: http://ieeexplore.ieee.org/Xplore/DynWel.jsp
[4] A. Ben-Tal and D. Shein, “Domains of Ferroresonance Occurrence by Bifurcation Diagrams”, [Online].
Available: http://ieeexplore.ieee.org/Xplore/DynWel.jsp
[5] D. Ray Crane and George W. Walsh, “Large Mill Power Outages Caused by Potential Transformer
Ferroresonance”, IEEE Trans. Industry Application, vol.24, pp. 635–639, July/August 1988.
[6] D. A. Tziouvaras et-al, “Mathematical Models for Current, Voltage, and Coupling Capacitor Voltage
Transformers”, IEEE Trans. On Power Delivery, Vol. 15, No.1, January 2000, pp. 62-72
[7] M. R. Iravani et-al, “Modeling and Analysis Guidelines for Slow Transients Part III : The Study of
Ferroresonance”, IEEE Trans. On Power Delivery, Vol. 15, No.1, January 2000, pp. 255-265
[8] Eung-Bo Shim, Jung-Wook Woo and Sang-Ok Han, “Digital Time Domain Simulation of Ferroresonance of
potential Transformer in the 154 kV GAS Insulated Substation”, KIEE International Transactions on PE. 11A-4, 9-
14 (2001), pp. 9-14
[9] David A. N. Jacobson, “Examples of Ferroresonance in a High Voltage Power System”, [Online]. Available:
http://ieeexplore.ieee.org/Xplore/DynWel.jsp
[10] Ferracci, P., “Ferroresonance”, Groupe Schneider: Cahier technique n190 ,pp. 1-28, March 1998.

34

You might also like