You are on page 1of 38

POWER POINT TEMPLATE

Company's new low-cost and easy-to-use Web-site


design tool will help entrepreneurs spiff up their online.

บทที่ ๕ เครื่องจักรกลไฟฟากระแสตรง
(Direct Current Machine)

เอกสารประกอบการสอน
303206 Introduction to Electrical Engineering
จัดทําโดย ผศ.ดร.สราวุฒิ วัฒนวงคพิทักษ
ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟาและคอมพิวเตอร
คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยนเรศวร
POWER POINT TEMPLATE
Company's new low-cost and easy-to-use Web-site

4.1 บทนา design tool will help entrepreneurs spiff up their online.

ตัวอย่างการใช้งานของเครื่องกาเนิดและมอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรงในชีวิตประจาวัน

Hair Dryer
มอเตอร์ในเครื่องเป่าผม ทาหน้าที่
ไดนาโมสาหรับจักรยาน เป่าลมร้อนที่เกิดจากขดลวดที่มี
ขนาด 6V 3W กระแสไหลผ่าน
สาหรับแสงไฟและ
GPS บนมือถือ

DC Motor Applications
Bike Charge dynamo เครื่องมือเสริมสวย ในรถยนต์
เป็นอุปกรณ์ชาร์จแบตเตอรี่ที่ถูกติดอยู่ตรง เครื่องใช้ภายในบ้าน สว่าน เครื่อง
ส่วนของวงล้อจักรยาน โดยสามารถเพิ่มพลัง ตัดหญ้า อุปกรณ์ในออฟฟิส
ในการชาร์จแบตเตอรี่สารองบนสมาร์ทโฟน เครื่องมือทางการแพทย์ เป็นต้น

2
จัดทาโดย ผศ.ดร.สราวุฒิ วัฒนวงค์พิทักษ์ ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้าและคอมพิวเตอร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ ม.นเรศวร
POWER POINT TEMPLATE
เอกสารประกอบการสอน รายวิชา 303206
Company's new low-cost and easy-to-use Web-site

5.1 บทนา design tool will help entrepreneurs spiff up their online.

ทฤษฎีการแปรผันพลังงานกลไฟฟ้า

V,I T ,

 จากแผนภาพเราสามารถแปรผันพลังงานไปมาระหว่างทางไฟฟ้าและทางกล โดยอาศัยหลักการแปรผันพลังงานกลไฟฟ้า
(Electromechanical energy conversion) - เกี่ยวข้องสนามแม่เหล็กไฟฟ้า
1. เครื่องจักรกลไฟฟ้าที่สามารถแปลงจาก พลังงานกลเป็นพลังงานไฟฟ้า เรียกว่า เครื่องกาเนิดไฟฟ้า (Generator)
2. เครื่องจักรกลไฟฟ้าที่แปลงจาก พลังงานไฟฟ้าเป็นพลังงานกล เรียกว่า มอเตอร์ไฟฟ้า (Motor)
 โดยทั่วไป เครื่องจักรกลไฟฟ้าทั้งมอเตอร์ไฟฟ้าและเครื่องกาเนิดไฟฟ้านั้นมีโครงสร้างภายในที่คล้ายกันได้ ดังนั้น เราสามารถ
กาหนดการใช้งานของเครื่องจักรกลไฟฟ้าให้มันทาหน้าที่เป็นได้ทั้งมอเตอร์และเครื่องกาเนิดได้นั่นเอง
 นอกจากการใช้งานแล้ว ในทางปฎิบัติ เรื่องของ การสูญเสีย (Losses) ที่เกิดขึ้นในระบบนั้นมีความสาคัญมาก ซึ่งสามารถเกิดขึ้น
ได้กับทุกส่วนในระบบ
 ในอุตสาหกรรมจะนิยมใช้เครื่องจักรกลกระแสตรง (DC Machine) เพราะควบคุมความเร็วรอบและแรงบิดได้ง่าย

3
จัดทาโดย ผศ.ดร.สราวุฒิ วัฒนวงค์พิทักษ์ ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้าและคอมพิวเตอร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ ม.นเรศวร
POWER POINT TEMPLATE
เอกสารประกอบการสอน รายวิชา 303206
Company's new low-cost and easy-to-use Web-site

5.2 ส่วนประกอบของเครื่องจักรไฟฟ้ากระแสตรง design tool will help entrepreneurs spiff up their online.

โครงสร้างของเครื่องจักรไฟฟ้ากระแสตรง จะประกอบด้วย 2 ส่วนใหญ่ๆ คือ


1. ส่วนที่อยู่กับที่ (Stator Part)
2. ส่วนที่เคลื่อนที่หรือส่วนทีห่ มุน (Rotor Part)

ส่วนประกอบที่สาคัญในเครื่องจักรกลไฟฟ้ากระแสตรง

*** Rotor บางครั้ง จะเรียกว่า Armature

4
จัดทาโดย ผศ.ดร.สราวุฒิ วัฒนวงค์พิทักษ์ ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้าและคอมพิวเตอร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ ม.นเรศวร
POWER POINT TEMPLATE
เอกสารประกอบการสอน รายวิชา 303206
Company's new low-cost and easy-to-use Web-site

5.2 ส่วนประกอบของเครื่องจักรไฟฟ้ากระแสตรง design tool will help entrepreneurs spiff up their online.

ภาพตัดขวาง

โครงสร้างเครื่องจักรกลไฟฟ้ากระแสตรง

5
จัดทาโดย ผศ.ดร.สราวุฒิ วัฒนวงค์พิทักษ์ ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้าและคอมพิวเตอร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ ม.นเรศวร
POWER POINT TEMPLATE
เอกสารประกอบการสอน รายวิชา 303206
Company's new low-cost and easy-to-use Web-site

5.2 ส่วนประกอบของเครื่องจักรไฟฟ้ากระแสตรง design tool will help entrepreneurs spiff up their online.

1. ส่วนที่อยู่กับที่ (Stator Part)


1.1 โครงหรือเปลือก (Frame or Yoke) ทาจากเหล็กหล่อ ทาหน้าที่
(1) ยึดขั้วแม่เหล็ก และส่วนประกอบทั้งหมด รวมถึงทาหน้าที่เป็นฝาครอบป้องกันทางกล
(2) เป็นทางเดินของเส้นแรงแม่เหล็ก (Magnetic Circuit)
เส้นแรงแม่เหล็กจะมีทิศออกจากขั้ว N ไปยังขั้ว S เสมอ

1.2 แกนขั้วแม่เหล็กและขดลวดสนาม (Pole shoes and Field Winding) ทาจากแผ่นเหล็กบางๆ (Laminated s


heet steel) อัดซ้อนเข้าด้วยกัน โดยแต่ละแผ่นจะเคลือบไว้ด้วยฉนวน แกนขั้วแม่เหล็กนี้จะยื่นออกมาจากโครง
และมีขดลวดสนามทาหน้าที่สร้างสนามแม่เหล็กทาให้เกิดขั้วแม่เหล็กที่แกน โครง
Frame
ขดลวดสนาม
Field Winding

ขั้วแม่เหล็ก
Pole

6
จัดทาโดย ผศ.ดร.สราวุฒิ วัฒนวงค์พิทักษ์ ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้าและคอมพิวเตอร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ ม.นเรศวร
เอกสารประกอบการสอน
POWER POINT TEMPLATE รายวิชา 303206
5.2 สวนประกอบของเครื่องจักรไฟฟากระแสตรง
Company's new low-cost and easy-to-use Web-site
design tool will help entrepreneurs spiff up their online.

2. สวนที่เคลื่อนที่หรือสวนทีห่ มุน (Rotor Part)


2.1 แกนอารเมเจอร (Armature Core) ทําจากแผนเหล็กบางๆ อัดซอนๆกัน เพื่อลดกระแสไหลวน (Eddy current)
ในแกนเหล็ก แกนเหล็กอารเมเจอรจะทําเปนชองสลอต เพื่อบรรจุขดลวดอารเมเจอร และแกนเหล็กจะเจาะรูไวเพื่อชวย
ในการระบายความรอน เนื่องจากการสูญเสียตางๆ

แกนอาร์เมเจอร์

ตัวอยางเครื่องตัดหินออน

7
จัดทาโดย ผศ.ดร.สราวุฒิ วัฒนวงค์พิทักษ์ ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้าและคอมพิวเตอร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ ม.นเรศวร
POWER POINT TEMPLATE
เอกสารประกอบการสอน รายวิชา 303206
Company's new low-cost and easy-to-use Web-site

5.2 ส่วนประกอบของเครื่องจักรไฟฟ้ากระแสตรง design tool will help entrepreneurs spiff up their online.

2.2 ขดลวดอาร์เมเจอร์ (Armature Coil) ขดลวดที่บรรจุลงในช่องสล๊อตของแกนเหล็กอาร์เมเจอร์โดยขดลวดนั้นทาจาก


ลวดทองแดงอาบฉนวน
 ขดลวดอาร์เมเจอร์จะมีลักษณะการพันอยู่ 2 รูปแบบ คือ
1. การพันแบบแลป (Lap Winding)
2. การพันแบบเวฟ (Wave Winding)
 ปลายของขดลวดจะถูกนาไปต่อเข้ากับคอมมิวเตเตอร์
1. การพันแบบแลป (Lap Winding)
• ได้แรงดันต่า แต่ กระแสสูง เช่นในงานเชื่อม หรือต้องใช้กระแสไฟฟ้าสูง
• จานวนแปรงถ่าน จะเท่ากับ จานวนขั้ว
• วงจรขนานของขดลวดที่พันอาร์เมเจอร์ มีค่าเท่ากับ จานวนขั้ว (A = P) ลักษณะการพันขดลวด
อาร์เมเจอร์ในสล๊อตของ
2. การพันแบบเวฟ (Wave Winding) แกนอาร์เมเจอร์
• ได้แรงดันสูง แต่ กระแสต่า เช่น เครื่องกาเนิดไฟฟ้าที่ใช้ทั่วไป จ่ายโหลดที่มีแรงดันสูงๆ
• จานวนแปรงถ่าน จะเท่ากับ จานวนขั้ว เช่นกันกับ แบบแลป
• วงจรขนานของขดลวดที่พันในอาร์เมเจอร์มีค่าเท่ากับ 2 วงจร โดยไม่คานึงถึงขั้วของเครื่องกาเนิดไฟฟ้า (A = 2)

8
จัดทาโดย ผศ.ดร.สราวุฒิ วัฒนวงค์พิทักษ์ ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้าและคอมพิวเตอร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ ม.นเรศวร
POWER POINT TEMPLATE
เอกสารประกอบการสอน รายวิชา 303206
Company's new low-cost and easy-to-use Web-site

5.2 ส่วนประกอบของเครื่องจักรไฟฟ้ากระแสตรง design tool will help entrepreneurs spiff up their online.

แบบแลป (Lap Winding)

แบบเวฟ (Wave Winding)

9
จัดทาโดย ผศ.ดร.สราวุฒิ วัฒนวงค์พิทักษ์ ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้าและคอมพิวเตอร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ ม.นเรศวร
POWER POINT TEMPLATE
เอกสารประกอบการสอน รายวิชา 303206
Company's new low-cost and easy-to-use Web-site

5.2 ส่วนประกอบของเครื่องจักรไฟฟ้ากระแสตรง design tool will help entrepreneurs spiff up their online.

ตัวอย่างการพันแบบแลป (Lap winding)

ข้อสังเกตุ
- จานวนแปรงถ่าน จะเท่ากับ จานวนขั้ว (4 อัน)
- วงจรขนาน ในอาร์เมเจอร์มีค่าเท่ากับ จานวนขั้ว (4 วงจร)

10
จัดทาโดย ผศ.ดร.สราวุฒิ วัฒนวงค์พิทักษ์ ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้าและคอมพิวเตอร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ ม.นเรศวร
POWER POINT TEMPLATE
เอกสารประกอบการสอน รายวิชา 303206
Company's new low-cost and easy-to-use Web-site

5.2 ส่วนประกอบของเครื่องจักรไฟฟ้ากระแสตรง design tool will help entrepreneurs spiff up their online.

ตัวอย่างการพันแบบเวฟ (Wave winding)

ข้อสังเกตุ
- จานวนแปรงถ่าน จะเท่ากับ จานวนขั้ว (4 อัน) เช่นกัน กับแบบแลป
- วงจรขนาน ในอาร์เมเจอร์มีค่าเท่ากับ 2 วงจร โดยไม่คานึงถึงขั้วของเครื่องกาเนิดไฟฟ้า

11
จัดทาโดย ผศ.ดร.สราวุฒิ วัฒนวงค์พิทักษ์ ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้าและคอมพิวเตอร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ ม.นเรศวร
เอกสารประกอบการสอน
POWER POINT TEMPLATE รายวิชา 303206
5.2 สวนประกอบของเครื่องจักรไฟฟากระแสตรง
Company's new low-cost and easy-to-use Web-site
design tool will help entrepreneurs spiff up their online.

A $C
2.3 คอมมิวเตเตอร (Commutator) เปนสวนที่ทําหนาที่ เปลี่ยนไฟฟากระแสสลับใหเปนกระแสตรง า

 คอมมิวเตเตอรทําจากแทงทองแดงที่มีลักษณะคลายลิ่มเปนซี่ๆ ระหวางซี่ทองแดงจะคั่นไวดวยฉนวนหนา เชน ฉนวนไมกา


 คอมมิวเตเตอรจะยึดติดไวบนเพลาอันเดียวกับแกนเหล็กอารเมเจอร

·
แปรง

12
จัดทาโดย ผศ.ดร.สราวุฒิ วัฒนวงค์พิทักษ์ ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้าและคอมพิวเตอร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ ม.นเรศวร
กั
ร้
เอกสารประกอบการสอน
POWER POINT TEMPLATE รายวิชา 303206
5.2 สวนประกอบของเครื่องจักรไฟฟากระแสตรง
Company's new low-cost and easy-to-use Web-site
design tool will help entrepreneurs spiff up their online.

2.4 แปรงถาน (Brushes) เปนสวนที่สัมผัสกับผิวหนาของคอมมิวเตเตอร ทําหนาที่ เชื่อมตอหรือเปนสะพานไฟระหวาง


วงจรภายนอกกับคอมมิวเตเตอร ซึ่งตอกับ วงจรขดลวดอารเมเจอรที่พันรอบแกนเหล็กอารเมเจอรอีกที
 แปรงถานมีสวนผสมของถานแกรไฟต (Graphite Carbon) ทําเปนแทงสี่เหลี่ยม ถูกกดไวที่ตําแหนงอยูกับที่โดยมีสปริงกด
แทงแปรงถาน

Commutator

13
จัดทาโดย ผศ.ดร.สราวุฒิ วัฒนวงค์พิทักษ์ ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้าและคอมพิวเตอร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ ม.นเรศวร
POWER POINT TEMPLATE
เอกสารประกอบการสอน รายวิชา 303206
Company's new low-cost and easy-to-use Web-site

5.3 หลักการทางานของเครื่องจักรกลไฟฟ้ากระแสตรง design tool will help entrepreneurs spiff up their online.

เครื่องจักรกลไฟฟ้ากระแสตรง แบ่งตามหน้าที่การใช้งาน ได้ 2 แบบ ได้แก่


1. เครื่องกาเนิดไฟฟ้ากระแสตรง (DC Generator)
2. มอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรง (DC Motor)
1. เครื่องกาเนิดไฟฟ้ากระแสตรง (DC Generator)
• ตามหลักการเหนี่ยวนาของฟาราเดย์ (Faraday’s laws) (หลักการเดียวกับ AC Machine) กล่าวไว้ว่า
• เมื่อตัวนาเคลื่อนที่ตัดผ่านสนามแม่เหล็กจะเกิดการเหนี่ยวนาขึ้น หรือ เมื่อมีสนามไฟฟ้าหมุนตัดตัวนาที่อยู่กับที่ก็
จะสามารถเกิดการเหนี่ยวนาได้เช่นกัน
• แรงดันเหนี่ยวนาที่เกิดขึ้นที่ปลายขดลวดทั้งสอง ทาให้เกิดกระแสไหล เรียกว่า Electromotive force (emf)
• ในการอธิบายการทางานของเครื่องกาเนิดไฟฟ้ากระแสตรง จะกล่าวถึง ความสัมพันธ์ 3 ตัวแปร ดังนี้
• สนามแม่เหล็กไฟฟ้า (Magnetic Field ,B)
• กระแสที่เกิดเนื่องจากการเหนี่ยวนา (Current, I)
• แรงกระทาบนตัวนา (Force, F)
• การหาทิศทางของ emf หรือทิศทางกระแสที่ไหล ที่เกิดจากการที่ขดลวดตัวนาเคลื่อนที่ตัดผ่านสนามแม่เหล็กของ
เครื่องกาเนิดไฟฟ้า สามารถหาได้จาก กฎมือขวาของเฟลมมิ่ง (Fleming Right Hand Rule)

14
จัดทาโดย ผศ.ดร.สราวุฒิ วัฒนวงค์พิทักษ์ ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้าและคอมพิวเตอร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ ม.นเรศวร
POWER POINT TEMPLATE
เอกสารประกอบการสอน รายวิชา 303206
Company's new low-cost and easy-to-use Web-site

5.3 หลักการทางานของเครื่องจักรกลไฟฟ้ากระแสตรง design tool will help entrepreneurs spiff up their online.

นิ้วหัวแม่มือ ทิศทางการเคลื่อนที่ของตัวนา
นิ้วชี้ ทิศทางของสนามแม่เหล็ก
นิ้วกลาง ทิศทางกระแสในตัวนา

2. มอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรง (DC Motor)


• เมื่อมีกระแสไหลผ่านตัวนาที่วางอยู่ภายใต้สนามแม่เหล็ก จะเกิดแรงกระทาบนตัวนานั้น
• ในกรณี ของ มอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรง จะสามารถหาทิศทางของตัวแปรทั้ง 3 ตัวแปร ได้จาก กฏมือซ้ายของเฟลมมิ่ง
(Fleming Left Hand Rule)

นิ้วหัวแม่มือ ทิศทางแรงที่เกิดบนตัวนา
นิ้วชี้ ทิศทางของสนามแม่เหล็ก
นิ้วกลาง ทิศทางกระแสที่ป้อนให้ตัวนา

15
จัดทาโดย ผศ.ดร.สราวุฒิ วัฒนวงค์พิทักษ์ ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้าและคอมพิวเตอร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ ม.นเรศวร
เอกสารประกอบการสอน
POWER POINT TEMPLATE รายวิชา 303206
5.4 เครื่องกําเนิดไฟฟากระแสตรง (DC Generator)
Company's new low-cost and easy-to-use Web-site
design tool will help entrepreneurs spiff up their online.

จัดทําโดย ผศ.ดร.สราวุฒิ วัฒนวงคพิทักษ ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟาและคอมพิวเตอร คณะวิศวกรรมศาสตร ม.นเรศวร


เอกสารประกอบการสอน
POWER POINT TEMPLATE รายวิชา 303206
5.4 เครื่องกําเนิดไฟฟากระแสตรง (DC Generator)
Company's new low-cost and easy-to-use Web-site
design tool will help entrepreneurs spiff up their online.

ขอแตกตาง ระหวาง เครื่องกําเนิดกระแสตรง และ เครื่องกําเนิดกระแสสลับ

AC Generator
จะประกอบดวย Slip Rings และ Brush มีหนาที่นํา
กระแสไฟฟาที่เกิดจากการเหนี่ยวนําของขดลวดที่
อารเมเจอรกับสนามแมเหล็กสูโหลดภายนอก

DC Generator
จะประกอบดวย Split Ring หรือเรียกวา Commutator
และ Brush เพื่อแปลงจากกระแสสลับที่เกิดจากการ
เหนี่ยวนําของขดลวดที่อารเมเจอรกับสนามแมเหล็ก ไปเปน
กระแสตรง กอนที่จะนํากระแสตรงออกไปสูโหลดภายนอก

16
จัดทาโดย ผศ.ดร.สราวุฒิ วัฒนวงค์พิทักษ์ ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้าและคอมพิวเตอร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ ม.นเรศวร
POWER POINT TEMPLATE
เอกสารประกอบการสอน รายวิชา 303206
Company's new low-cost and easy-to-use Web-site

5.4 เครื่องกาเนิดไฟฟ้ากระแสตรง (DC Generator) design tool will help entrepreneurs spiff up their online.

เมื่อเพิ่มจานวน (ขดลวด+ คอมมิวเตเตอร์)


มากขึ้น จะทาให้แรงดันกระแสตรงที่
ออกมาเรียบและมีค่าสูงขึ้น

กรณี ขดลวด 2 ขด ว่าตั้งฉากกันจะมีผลให้แรง


เคลื่อนเหนี่ยวนา (emf) ที่ได้มีแรงดันกระเพื่อม
(Ripple) น้อยกว่ากรณีมีขดลวด 1 ขด ** สรุปยิ่งมีขดลวดมากขึ้น วางที่มุมต่างๆ กัน
จะทาให้ได้แรงเคลื่อนเหนี่ยวนาหรือ
กระแสไฟฟ้าที่มีความเรียบขึ้นมากเท่านั้น

แรงดันไฟฟ้าเฉลี่ย
2 ขดลวด 4 ขดลวด

17
จัดทาโดย ผศ.ดร.สราวุฒิ วัฒนวงค์พิทักษ์ ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้าและคอมพิวเตอร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ ม.นเรศวร
POWER POINT TEMPLATE
เอกสารประกอบการสอน รายวิชา 303206
Company's new low-cost and easy-to-use Web-site

5.4 เครื่องกาเนิดไฟฟ้ากระแสตรง (DC Generator) design tool will help entrepreneurs spiff up their online.

สมการของแรงเคลื่อนไฟฟ้าเหนี่ยวนาที่ได้จากเครื่องกาเนิดไฟฟ้า

กาหนดให้  = ฟลักซ์แม่เหล็กต่อขั้ว หน่วย Weber, Wb/Pole


P = จานวนขั้ว เช่น มีขั้ว N และ S คู่หนึ่ง จะนับ P = 2
N = ความเร็วรอบที่หมุนของอาร์เมเจอร์ มีหน่วยเป็น r.p.m. (รอบต่อนาที)
Z = จานวนตัวนาทั้งหมดที่พันรอบอาร์เมเจอร์ เช่น พัน 1 รอบ จะได้ค่า Z = 2
A = จานวนวงจรขนาน (นาไป หารค่า Z ในสูตรคานวณ)
ถ้า พันแบบแลป จะใช้ A = P *** จา
ถ้า พันแบบเวฟ จะใช้ A = 2 *** จา
Eg = แรงเคลื่อนไฟฟ้าเหนี่ยวนา emf โดยคิดต่อ 1 วงจรขนาน

ตามกฏของฟาราเดย์ emf ที่เกิดขึ้น ของแต่ละตัวนา จะได้ว่า


d
แรงเคลื่อนเหนี่ยวนา ต่อ 1 ตัวนา: e= (V)
dt

เส้นแรงแม่เหล็กที่ตัดกับตัวนาใน 1 รอบต่อ 1 ตัวนา: d =   P (Weber)

18
จัดทาโดย ผศ.ดร.สราวุฒิ วัฒนวงค์พิทักษ์ ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้าและคอมพิวเตอร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ ม.นเรศวร
POWER POINT TEMPLATE
เอกสารประกอบการสอน รายวิชา 303206
Company's new low-cost and easy-to-use Web-site

5.4 เครื่องกาเนิดไฟฟ้ากระแสตรง (DC Generator) design tool will help entrepreneurs spiff up their online.

N
ความเร็วรอบมีหน่วย r.p.s. (รอบต่อวินาที) : 60
(r.p.s.)
60
เวลาที่ใช้ในการหมุนครบ 1 รอบ : dt = (s)
N
d  P  PN
 แรงเคลื่อนเหนี่ยวนา (E) ต่อ 1 ตัวนา : Eg = =
60
= (V)
dt 60
N

การต่อเครื่องกาเนิดแบบเวฟ การต่อเครื่องกาเนิดแบบแลป

จานวนวงจรขนาน = 2 จานวนวงจรขนาน = P
จานวนตัวนาอนุกรมต่อหนึ่งวงจรขนาน = Z/2 จานวนตัวนาอนุกรมต่อหนึ่งวงจรขนาน = Z/P
d  PN Z  ZPN d  PN Z  ZN
Eg = =  = (ต่อ 1 วงจรขนาน) Eg = =  = (ต่อ 1 วงจรขนาน)
dt 60 2 120 dt 60 P 60

 ZN P A = 2 (ต่อแบบเวฟ)
เขียนรูปแบบทั่วไป จะได้ว่า Eg = 
60 A A = P (ต่อแบบแลป)

19
จัดทาโดย ผศ.ดร.สราวุฒิ วัฒนวงค์พิทักษ์ ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้าและคอมพิวเตอร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ ม.นเรศวร
POWER POINT TEMPLATE
เอกสารประกอบการสอน รายวิชา 303206
Company's new low-cost and easy-to-use Web-site

5.4 เครื่องกาเนิดไฟฟ้ากระแสตรง (DC Generator) design tool will help entrepreneurs spiff up their online.

การแบ่งเครื่องกาเนิดไฟฟ้ากระแสตรงจะแบ่งตามการกระตุ้นขดลวดสนาม (Field Coil) สามารถแบ่งออกเป็น 2 ชนิดคือ


1). เครื่องกาเนิดไฟฟ้ากระแสตรงชนิดใช้แหล่งจ่ายกระแสตรงจากภายนอกเป็นตัวกระตุ้น (Separately excited generator)
2). เครื่องกาเนิดไฟฟ้ากระแสตรงชนิดใช้แหล่งจ่ายกระแสตรงจากในตัวมันเองเป็นตัวกระตุ้น (Self excited generator)

20
จัดทาโดย ผศ.ดร.สราวุฒิ วัฒนวงค์พิทักษ์ ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้าและคอมพิวเตอร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ ม.นเรศวร
POWER POINT TEMPLATE
เอกสารประกอบการสอน รายวิชา 303206
Company's new low-cost and easy-to-use Web-site

5.4 เครื่องกาเนิดไฟฟ้ากระแสตรง (DC Generator) design tool will help entrepreneurs spiff up their online.

1. เครื่องกาเนิดไฟฟ้ากระแสตรงชนิด
ใช้ไฟกระตุ้นจากภายนอก (Separately excited generator) =

a

·

·e
KUL
-

Ra
+

Fa ↑
> & :

ขดลวดฟิลด์ Ia = IL

V = E g − I a Ra − 2Vb
AVL
+V+Vb+In Ra - Eg+V : %

V = En - IaRa- 2 Va

Ia = กระแสไฟฟ้าที่สร้างจากเครื่องกาเนิดไฟฟ้า (กระแสอาเมเจอร์)
V = แรงดันไฟฟ้าที่ขั้ว (Terminal Voltage) หรือแรงดันที่จุดต่อโหลด
o ต้องใช้แหล่งจ่ายกระแสตรงจากภายนอก
Ra = ความต้านทานภายในอาเมเจอร์
เพื่อสร้างสนามแม่เหล็ก ให้แก่ขดลวดฟิลด์
Eg = แรงดันไฟฟ้าเหนี่ยวนาที่เกิดขึ้นในอาเมเจอร์
IL = กระแสไฟฟ้าที่ไหลผ่านโหลด o ดังนั้น จึงไม่นิยมใช้กันในท้องตลาด
If = กระแสไฟฟ้าในวงจรขดลวดฟิลด์

21
จัดทาโดย ผศ.ดร.สราวุฒิ วัฒนวงค์พิทักษ์ ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้าและคอมพิวเตอร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ ม.นเรศวร
ร้
POWER POINT TEMPLATE
เอกสารประกอบการสอน รายวิชา 303206
Company's new low-cost and easy-to-use Web-site

5.4 เครื่องกาเนิดไฟฟ้ากระแสตรง (DC Generator) design tool will help entrepreneurs spiff up their online.

2. เครื่องกาเนิดไฟฟ้ากระแสตรงแบบอนุกรม (Series Generator)

I a = I L = I se
ขดลวดฟิลด์

V = E g − I a Ra − I a Rse − 2Vb

Vb เป็นแรงดันตกคล่อมแปลงถ่าน

Rse = ความต้านทานภายในขดลวดฟิลด์ o ขณะยังไม่ต่อโหลด จะไม่เกิดกระแสโหลด (IL) และไม่


(ออกแบบให้มีค่าน้อยมาก 0.5 ) เกิดกระแสอาร์เมเจอร์ (Ia)
Ia = กระแสในขดลวดอาร์เมเจอร์

** เนื่องจาก แรงดันที่ขั้วของเครื่องกาเนิดไฟฟ้าชนิดนี้จะเปลี่ยนแปลงมากตามการเปลี่ยนแปลงของกระแสโหลด
ดังนั้น จึงไม่เหมาะกับงานที่ต้องการแรงดันไฟฟ้าคงที่

22
จัดทาโดย ผศ.ดร.สราวุฒิ วัฒนวงค์พิทักษ์ ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้าและคอมพิวเตอร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ ม.นเรศวร
POWER POINT TEMPLATE
เอกสารประกอบการสอน รายวิชา 303206
Company's new low-cost and easy-to-use Web-site

5.4 เครื่องกาเนิดไฟฟ้ากระแสตรง (DC Generator) design tool will help entrepreneurs spiff up their online.

3. เครื่องกาเนิดไฟฟ้ากระแสตรงแบบขนานหรือชันต์ (Shunt Generator)


I a = I L + I sh

V
I sh =
Rsh

ขดลวดฟิลด์
V = E g − I a Ra − 2Vb

 ขดลวดสนามจะพันด้วยลวดเส้นเล็กและจานวนรอบมาก
Ish = กระแสไฟฟ้าในวงจรขดลวดชันต์ (If) (มีความต้านทานสูง) เรียกว่า ขดลวดชันต์ (Shunt winding)
Rsh = ความต้านทานภายในขดลวดชันต์
 เนื่องจาก ขดลวดชันต์ต่อขนานกับอาร์เมเจอร์ จึงทาให้
Vb = แรงเคลือ่ นไฟฟ้าที่ตกคล่อมแปรงถ่าน
แรงดันไฟฟ้าที่เครื่องกาเนิดผลิตได้จะค่อนข้างคงที่แม้ว่าโหลด
จะมีการเปลี่ยนแปลงก็ตาม

23
จัดทาโดย ผศ.ดร.สราวุฒิ วัฒนวงค์พิทักษ์ ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้าและคอมพิวเตอร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ ม.นเรศวร
POWER POINT TEMPLATE
เอกสารประกอบการสอน รายวิชา 303206
Company's new low-cost and easy-to-use Web-site

5.4 เครื่องกาเนิดไฟฟ้ากระแสตรง (DC Generator) design tool will help entrepreneurs spiff up their online.

4. เครื่องกาเนิดไฟฟ้ากระแสตรงแบบคอมปาวด์ (Compound generator)


 ขดลวดสนามจะมี 2 ชุด ขดลวดชันต์ และขดลวดซีรีส์ ซึ่งจะเป็นการนาข้อดีของเครื่องกาเนิดไฟฟ้ากระแสตรง
แบบขนาน กับ แบบอนุกรม มาเสริมกัน แก้จุดอ่อนของเครื่องกาเนิดแต่ละแบบ
Long Shunt
V
I sh =
Rsh

I a = I L + I sh

V = E g − I a Ra − I a Rse − Vb

Short Shunt I se = I L
V + I se Rse
I sh =
Rsh

I a = I L + I sh

V = E g − I a Ra − I L Rs − Vb

24
จัดทาโดย ผศ.ดร.สราวุฒิ วัฒนวงค์พิทักษ์ ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้าและคอมพิวเตอร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ ม.นเรศวร
POWER POINT TEMPLATE
เอกสารประกอบการสอน รายวิชา 303206
Company's new low-cost and easy-to-use Web-site

5.4 เครื่องกาเนิดไฟฟ้ากระแสตรง (DC Generator) design tool will help entrepreneurs spiff up their online.

คุณลักษณะของการจ่ายแรงดันที่โหลดของเครื่องกาเนิดกระแสตรงชนิดต่างๆ
 กราฟเปรียบเทียบ สมรรถนะในการผลิตไฟฟ้ากระแสตรง
ของเครื่องกาเนิดแต่ละชนิด เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงโหลด
 เรียกว่า กราฟคุณลักษณะ (Characteristic curves)

โพ จา
แล เสรโอน shant infez NW or แรงเค ร นไพนา

พ กศ อนโ

Sereal turiser กระแร ง-

มา รณ
ปร โ ห

25
จัดทาโดย ผศ.ดร.สราวุฒิ วัฒนวงค์พิทักษ์ ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้าและคอมพิวเตอร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ ม.นเรศวร
สู
ร้
ที่
ริ
ที่
POWER POINT TEMPLATE
เอกสารประกอบการสอน รายวิชา 303206
Company's new low-cost and easy-to-use Web-site

5.4 เครื่องกาเนิดไฟฟ้ากระแสตรง (DC Generator) design tool will help entrepreneurs spiff up their online.

โจทย์ตัวอย่างการคานวณ
1. จงคานวณ emf (Eg) กาหนดให้ เครื่องกาเนิดมี 4 ขั้ว พันแบบเวฟ มีทั้งหมด 65 สล็อต 12 ตัวนาต่อสล็อต โดยหมุนหรือปั่นไฟด้วยความเร็ว
รอบ 1200 rpm กาหนดให้ฟลักซ์ต่อขั้ว เท่ากับ 0.02 Wb.

วิธีทา โจทย์กาหนด P = 4, A = 2, N = 1200 rpm ,  = 0.02 Wb.

ขั้นตอนที่ 1 คานวณจานวนตัวนาทั้งหมด Z โดยการนา (จานวนสล็อต × จานวนตัวนา/สล็อต)

ขั้นตอนที่ 2 คานวณหา Eg

 แรงดันที่ขั้วขาออกของเครื่องกาเนิดนี้มีค่าเท่ากับ โวลต์

26
จัดทาโดย ผศ.ดร.สราวุฒิ วัฒนวงค์พิทักษ์ ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้าและคอมพิวเตอร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ ม.นเรศวร
POWER POINT TEMPLATE
เอกสารประกอบการสอน รายวิชา 303206
Company's new low-cost and easy-to-use Web-site

5.4 เครื่องกาเนิดไฟฟ้ากระแสตรง (DC Generator) design tool will help entrepreneurs spiff up their online.

2. เครื่องกาเนิดไฟฟ้ากระแสตรง 8 ขั้ว ปั่นด้วยความเร็วรอบ 1200 rpm และมีฟลักซ์ 25 mWb./Pole สามารถผลิตแรงดันไฟฟ้าได้ 440 V


จงคานวณหา จานวนตัวนา (Z)

วิธีทา เนื่องจากโจทย์ไม่ได้กาหนดว่า เป็นการพันแบบไหน ดังนั้น จึงต้องหาค่า Z ทั้งสองแบบ


โจทย์กาหนด P = 8, N = 1200 rpm,  = 25 mWb., E g = 440V
กรณี พันแบบแลป

 จานวนตัวนา กรณีพันแบบแลป จะมีจานวนทั้งหมด Z = ตัวนา

กรณี พันแบบเวฟ

 จานวนตัวนา กรณีพันแบบเวฟ จะมีจานวนทั้งหมด Z = ตัวนา

27
จัดทาโดย ผศ.ดร.สราวุฒิ วัฒนวงค์พิทักษ์ ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้าและคอมพิวเตอร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ ม.นเรศวร
POWER POINT TEMPLATE
เอกสารประกอบการสอน รายวิชา 303206
Company's new low-cost and easy-to-use Web-site

5.4 เครื่องกาเนิดไฟฟ้ากระแสตรง (DC Generator) design tool will help entrepreneurs spiff up their online.

3. เครื่องกาเนิดไฟฟ้ากระแสตรงแบบใช้ไฟกระตุ้นจากภายนอก ขณะที่ปั่นเครื่องกาเนิดด้วยความเร็ว 1000 rpm. ขณะต่อโหลด RL เครื่องกาเนิด


จะจ่ายกระแสไฟฟ้า 200 A แรงเคลื่อนไฟฟ้าที่ขั้ว 250 V ถามว่า แรงเคลื่อนไฟฟ้าเหนีย่ วนา (Eg) และค่าความต้านทาน RL มีค่าเท่าใด และเมื่อ
ทาการลดความเร็วในการปั่นไฟลงเหลือ 800 rpm. แรงเคลื่อนไฟฟ้าที่ขวั้ จะมีค่าเท่าใด
กาหนดให้ กระแสฟิลด์มีค่าเท่าเดิม แรงดันตกคล่อมแปรงถ่านทั้ง 2 เท่ากับ 2 โวลต์ และความต้านทานที่ขดลวดอาร์เมเจอร์เท่ากับ 0.04 

28
จัดทาโดย ผศ.ดร.สราวุฒิ วัฒนวงค์พิทักษ์ ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้าและคอมพิวเตอร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ ม.นเรศวร
POWER POINT TEMPLATE
เอกสารประกอบการสอน รายวิชา 303206
Company's new low-cost and easy-to-use Web-site

5.4 เครื่องกาเนิดไฟฟ้ากระแสตรง (DC Generator) design tool will help entrepreneurs spiff up their online.

4. เครื่องกาเนิดไฟฟ้ากระแสตรงแบบขนาน มีจานวนขั้ว 8 ขั้ว ต่อแบบเวฟ มีจานวนตัวนา 778 ตัวนาที่อาร์เมเจอร์ หมุนด้วยความเร็วรอบ 15


00 rpm ต่อกับภาระโหลดที่มีความต้านทาน 12.5  ที่แรงเคลื่อนไฟฟ้าที่ขวั้ 250 V และมีความต้านทานของขดลวดสนามและขดลวดอาร์
เมเจอร์ 0.24  และ 250  ตามลาดับ
จงคานวณหา กระแสไฟฟ้าที่อาร์เมเจอร์ (Ia) แรงเคลื่อนไฟฟ้าเหนีย่ วนา (Eg) และเส้นแรงแม่เหล็กต่อขั้ว ()
IL

Ish IL

Ia

Ra
Rsh R
Eg

29
จัดทาโดย ผศ.ดร.สราวุฒิ วัฒนวงค์พิทักษ์ ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้าและคอมพิวเตอร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ ม.นเรศวร
POWER POINT TEMPLATE
เอกสารประกอบการสอน รายวิชา 303206
Company's new low-cost and easy-to-use Web-site

5.4 เครื่องกาเนิดไฟฟ้ากระแสตรง (DC Generator) design tool will help entrepreneurs spiff up their online.

5. เครื่องกาเนิดไฟฟ้ากระแสตรงผสมแบบขนานสัน้ จ่ายกระแสโหลดที่ 30 A ที่แรงเคลื่อนไฟฟ้าที่ขั้ว 220 V กาหนดให้ ขดลวดอาร์เมเจอร์


ขดลวดอนุกรมและขดลวดชันท์เท่ากับ 0.05  0.30  และ 200  ตามลาดับ ถ้ากาหนดให้แรงเคลื่อนไฟฟ้าตกคล่อมที่แปรงถ่าน 1 V
ต่อแปรงถ่าน จงคานวณหา กระแสที่อาร์เมเจอร์ Ia และแรงเคลือ่ นไฟฟ้าเหนีย่ วนา Eg

V + I se Rse I se = I L
I sh =
Rsh

I a = I L + I sh

V = E g − I a Ra − I L Rs − Vb

30
จัดทาโดย ผศ.ดร.สราวุฒิ วัฒนวงค์พิทักษ์ ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้าและคอมพิวเตอร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ ม.นเรศวร
POWER POINT TEMPLATE
เอกสารประกอบการสอน รายวิชา 303206
Company's new low-cost and easy-to-use Web-site

5.4 เครื่องกาเนิดไฟฟ้ากระแสตรง (DC Generator) design tool will help entrepreneurs spiff up their online.

6. จากข้อ 5 จงคานวณหา แรงเคลื่อนไฟฟ้าเหนี่ยวนา Eg และ จานวนตัวนา Z ของ เครือ่ งกาเนิดแบบผสมขนานสัน้ ชนิด 4 ขั้ว อาร์เมเจอร์
พันแบบแลป จ่ายไฟฟ้าให้กับภาระโหลด 25 kW ที่แรงเคลือ่ นไฟฟ้า 500V ความต้านทานอาร์เมเจอร์ ความต้านทานขดลวดอนุกรมและ
ความต้านทานขดลวดสนาม มีค่า 0.03 0.04 และ 200 ตามลาดับ แรงเคลื่อนไฟฟ้าตกคร่อมแปรงถ่านทั้งหมด เท่ากับ 2 V เครื่อง
กาเนิดหมุนด้วยความเร็ว 1200 rpm และเส้นแรงแม่เหล็กต่อขั้ว 0.02 Wb

31
จัดทาโดย ผศ.ดร.สราวุฒิ วัฒนวงค์พิทักษ์ ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้าและคอมพิวเตอร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ ม.นเรศวร
POWER POINT TEMPLATE
เอกสารประกอบการสอน รายวิชา 303206
Company's new low-cost and easy-to-use Web-site

5.4 เครื่องกาเนิดไฟฟ้ากระแสตรง (DC Generator) design tool will help entrepreneurs spiff up their online.

7. A 4-pole, long-shunt lap-wound compound generator delivers a load current of (50 A) at (500 V). The armature resis
tance is (0.03 Ω), series field resistance is (0.04 Ω) and shunt field resistance is (200 Ω). The brush drop may be taken
as (1V). Determine the e.m.f. generated.
Calculate the no. of conductors if the speed is (1200 r.p.m) and flux per poles (0.02 Wb).

32
จัดทาโดย ผศ.ดร.สราวุฒิ วัฒนวงค์พิทักษ์ ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้าและคอมพิวเตอร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ ม.นเรศวร
POWER POINT TEMPLATE
เอกสารประกอบการสอน รายวิชา 303206
Company's new low-cost and easy-to-use Web-site

5.4 เครื่องกาเนิดไฟฟ้ากระแสตรง (DC Generator) design tool will help entrepreneurs spiff up their online.

8. จงคานวณหา แรงเคลื่อนไฟฟ้าเหนีย่ วนา Eg และ จานวนตัวนา Z ของ เครื่องกาเนิดแบบผสมขนานยาว ชนิด 4 ขั้ว อาร์เมเจอร์พันแบบ
แลป จ่ายไฟฟ้าให้กับภาระโหลด 25 kW ที่แรงเคลื่อนไฟฟ้า 500V ความต้านทานอาร์เมเจอร์ ความต้านทานขดลวดอนุกรมและความ
ต้านทานขดลวดสนาม มีค่า 0.03 0.04 และ 200 ตามลาดับ แรงเคลื่อนไฟฟ้าตกคร่อมแปรงถ่าน 1 V ต่อแปรงถ่าน เครื่องกาเนิด
หมุนด้วยความเร็ว 1200 rpm และเส้นแรงแม่เหล็กต่อขั้ว 0.02 Wb

Ish IL

Ia
Rse

Rsh R
Ra
Eg

33
จัดทาโดย ผศ.ดร.สราวุฒิ วัฒนวงค์พิทักษ์ ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้าและคอมพิวเตอร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ ม.นเรศวร
POWER POINT TEMPLATE
เอกสารประกอบการสอน รายวิชา 303206
Company's new low-cost and easy-to-use Web-site

5.4 เครื่องกาเนิดไฟฟ้ากระแสตรง (DC Generator) design tool will help entrepreneurs spiff up their online.

9. A 250 V, 50 kW short-shunt compound dc generator has the following data: armature resistance 0.05 Ω,
series-field resistance 0.05 Ω, and shunt-field resistance 130 Ω.
Determine the induced armature emf at rated load and terminal voltage, while taking 2 V as the total brush-contact drop.

34
จัดทาโดย ผศ.ดร.สราวุฒิ วัฒนวงค์พิทักษ์ ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้าและคอมพิวเตอร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ ม.นเรศวร
POWER POINT TEMPLATE
เอกสารประกอบการสอน รายวิชา 303206
Company's new low-cost and easy-to-use Web-site

5.4 เครื่องกาเนิดไฟฟ้ากระแสตรง (DC Generator) design tool will help entrepreneurs spiff up their online.

10. A 50 kW, 230 V compound generator has the following data: armature-circuit resistance 0.05 Ω, series-field circuit
resistance 0.05 Ω , and shunt field circuit resistance 125 Ω. Assuming the total brush-contact drop to be 2 V,
find the induced armature voltage at rated load and rated terminal voltage for: (a) short-shunt, and (b) long-shunt
compound connection.

35
จัดทาโดย ผศ.ดร.สราวุฒิ วัฒนวงค์พิทักษ์ ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้าและคอมพิวเตอร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ ม.นเรศวร
POWER POINT TEMPLATE
เอกสารประกอบการสอน รายวิชา 303206
Company's new low-cost and easy-to-use Web-site

5.4 เครื่องกาเนิดไฟฟ้ากระแสตรง (DC Generator) design tool will help entrepreneurs spiff up their online.

การบ้าน
1. A 100-kW, 250-V shunt generator has an armature-circuit resistance of 0.05 and a field circuit
resistance of 60 . With the generator operating at rated voltage, determine the induced voltage
at (a) full load, and (b) one-half full load. Neglect brush-contact drop.

2. เครื่องกาเนิดไฟฟ้ากระแสตรงแบบขนาน มีจานวนขั้ว 4 ขั้ว มีความต้านทานของขดลวดสนามและขดลวดอาร์


เมเจอร์ 150  และ 0.1  ตามลาดับ เพื่อที่จะจ่ายโหลด หลอดไฟขนาด 40 W 200V 60 ดวง
จงคานวณหา กระแสอาร์เมเจอร์และแรงเคลื่อนไฟฟ้าเหนี่ยวนาที่เกิดขึ้น กาหนดให้ แรงดันตกคล่อมที่แปรงถ่าน
ทั้งสองรวมเท่ากับ 2 V

Ans: 1.600 V 440 kW 2. Ia= 13.33A , Ia/path = 3.33A, emf(Eg) = 203.33V

36
จัดทาโดย ผศ.ดร.สราวุฒิ วัฒนวงค์พิทักษ์ ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้าและคอมพิวเตอร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ ม.นเรศวร
POWER POINT TEMPLATE
เอกสารประกอบการสอน รายวิชา 303206
Company's new low-cost and easy-to-use Web-site

5.4 เครื่องกาเนิดไฟฟ้ากระแสตรง (DC Generator) design tool will help entrepreneurs spiff up their online.

การบ้าน
1. A 100-kW, 250-V shunt generator has an armature-circuit resistance of 0.05 and a field circuit
resistance of 60 . With the generator operating at rated voltage, determine the induced voltage
at (a) full load, and (b) one-half full load. Neglect brush-contact drop.

2. เครื่องกาเนิดไฟฟ้ากระแสตรงแบบขนาน มีจานวนขั้ว 4 ขั้ว มีความต้านทานของขดลวดสนามและขดลวดอาร์


เมเจอร์ 150  และ 0.1  ตามลาดับ เพื่อที่จะจ่ายโหลด หลอดไฟขนาด 40 W 200V 60 ดวง
จงคานวณหา กระแสอาร์เมเจอร์และแรงเคลื่อนไฟฟ้าเหนี่ยวนาที่เกิดขึ้น กาหนดให้ แรงดันตกคล่อมที่แปรงถ่าน
ทั้งสองรวมเท่ากับ 2 V

Ans: 1.600 V 440 kW 2. Ia= 13.33A , Ia/path = 3.33A, emf(Eg) = 203.33V

36
จัดทาโดย ผศ.ดร.สราวุฒิ วัฒนวงค์พิทักษ์ ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้าและคอมพิวเตอร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ ม.นเรศวร

You might also like