You are on page 1of 29

หน่วยที่ 4

ทฤษฎีวงจรไฟฟ้า
2
4.1 การแปลงแหล่งจ่าย (Source Transformation)
การแปลงแหล่งจ่ายเป็นเครื่องมือในการวิเคราะห์วงจร เพื่อทาให้การวิเคราะห์วงจรง่ายขึ้น ซึ่งเป็นพื้นฐานของ
การสมมูล (Equivalence)
การแปลงแหล่งจ่าย จะแทนแหล่งจ่ายแรงดันที่ต่ออนุกรมอยู่กับตัวต้านทานด้วย…แหล่งจ่ายกระแสที่ต่อขนานกับ
ตัวต้านทาน และ แทนแหล่งจ่ายกระแสที่ต่อขนานกับตัวต้านทานด้วย..แหล่งจ่ายแรงดันที่ต่ออนุกรมอยู่กับตัวต้านทาน

Independent source

Dependent source
3
ตัวอย่างที่ 4.1 จงหา vo

Original Circuit

4
……………………………………………………..

5
4.2 ทฤษฎีการซ้อนทับ (Superposition)
“ในวงจรไฟฟ้าที่ประกอบด้วยแหล่งจ่ายอิสระหลายๆ ตัว แรงดันที่ตกคร่อม
องค์ ป ระกอบและกระแสที่ ไ หลผ่ า นองค์ ป ระกอบแต่ ล ะตั ว จะเป็ น ผมรวมทาง
พีชคณิต ซึ่งเป็นผลจากแหล่งจ่ายอิสระแต่ละตัวที่อยู่ในวงจรเพียงตัวเดียว โดยที่
แหล่งจ่ายอื่นๆ จะไม่นามาหาค่าแรงดันและกระแส ในขณะที่หาจากแหล่งจ่ายตัว
ใดตัวหนึ่ง โดยถ้าเป็นแหล่งจ่ายแรงดันอิสระให้ปลดออกและทาการลัดวงจร ณ จุด
นั้น แต่ถ้าเป็นแหล่งจ่ายกระแสอิสระให้ปลดออก เพื่อทาให้เกิดการเปิดวงจร ณ จุดนั้น จากนั้นหาแรงดันและกระแสที่
เกิดจากแหล่งจ่ายอิสระแต่ละตัว แล้วนาผลที่ได้รวมกัน”

6
ตัวอย่างที่ 4.2 จงหา io

7
8
9
ตัวอย่างที่ 4.3 จงหา i
1) หา i1

10
2) หา i2

3) หา i3

11
4.3 ทฤษฎีของเทเวนิน (Thevenin’s Theorem)
โหลดที่มีการเปลี่ยนแปลงไม่คงที่ เมื่อถูกนามาต่อเข้ากับวงจร โดยที่องค์ประกอบในวงจรมีค่าคงที่ ซึ่งในการ
วิเคราะห์วงจรจะต้องเริ่มต้นวิเคราะห์วงจรใหม่ทุกครั้ง ดังนั้น M. Leon Thevenin จึงได้คิดค้นวิธีการแก้ปัญหานี้ ซึ่ง
เรียกว่า ทฤษฎีของเทเวนิน โดยแทนองค์ประกอบในวงจรมีค่าคงที่นั้นด้วย “วงจรสมมูล (Equivalent Circuit)”
ทฤษฎีข องเทเวนิน กล่า วไว้ว่า “วงจรสองขั้ว เชิง เส้ นใดๆ สามารถแทนด้ว ยวงจรสมมู ล ที่ ป ระกอบด้วย
แหล่งจ่ายแรงดัน VTh ต่ออนุกรมกับตัวต้านทาน RTh”
เมื่อ VTh คือ แรงดันเทเวนิน และ RTh คือ ความต้านทานเทเวนิน

วงจรสองขั้วแบบเชิงเส้นและวงจรสมมูล
12
การหาค่าแรงดันเทเวนิน VTh
ปลดโหลดที่ต่อกับขัว้ a-b ออก เพือ่ ให้ขั้ว a-b เปิดวงจร จะทาให้ไม่มีกระแสไหล ดังนั้น แรงดันตกคร่อมขั้ว a-b
จะมีค่าเท่ากับ แรงดันเทเวนิน VTh

การหาค่าความต้านทานเทเวนิน RTh
กรณีที่ 1 วงจรที่มีแหล่งจ่ายอิสระ จะสามารถหาค่า RTh ได้โดย แหล่งจ่ายแรงดันให้ลัดวงจร และ แหล่งจ่ายกระแสให้
เปิดวงจร ค่า RTh คือ ความต้านทานที่มองเข้าไปยังขั้ว a-b ที่เปิดวงจร

13
ตัวอย่างที่ 4.4 จงหา RTh
ขั้นตอน 1. ปลดโหลด RL ออกจากวงจร
2. หา RTh โดย... ปลดแหล่งจ่ายแรงดันออกและลัดวงจร และ ปลดแหล่งจ่ายกระแสออกและเปิดวงจร

14
กรณีที่ 2 วงจรมีแหล่งจ่ายไม่อิสระ จะสามารถหาค่า RTh ได้ ดังนี้

1. ให้แหล่งจ่ายอิสระทุกตัวในวงจรมีค่าเป็นศูนย์ แต่ แหล่งจ่ายไม่อิสระจะต้องไม่ถูกทำให้เป็นศูนย์


เนื่องจากแหล่งจ่ายเหล่านีถ้ ูกควบคุมจากค่าตัวแปรต่างๆ ในวงจร
2. ให้นาแหล่งจ่ายแรงดัน v0 = 1 หน่วย ต่อที่ขั้ว a-b และ
v0
คานวณหาค่ากระแส i0 => RTh 
i0

หรือ นาแหล่งจ่ายกระแส i0 = 1 หน่วย ต่อที่ขั้ว a-b


v0
และคานวณหาค่าแรงดัน v0 => RTh 
i0

15
การหาค่ากระแสและแรงดันที่โหลด

16
ตัวอย่างที่ 4.5 จงหากระแสที่ไหลผ่าน RL = 6, 16, 36 วงจรที่มีแหล่งจ่ายอิสระ

ขั้นตอน 1. ปลดโหลด RL ออกจากวงจร


2. หา RTh โดย... ปลดแหล่งจ่ายแรงดันออกและลัดวงจร และ ปลดแหล่งจ่ายกระแสออกและเปิดวงจร

17
3. หา VTh โดย...การใช้วิธกี ารวิเคราะห์วงจรแบบเมช จุดเดียวกัน

18
……………………………………………………..

19
ตัวอย่างที่ 4.6 จงหาวงจรสมมูลเทเวนิน วงจรที่มีแหล่งจ่ายไม่อิสระ

Loop 2 :
Loop 3 :
20
Loop 2 :
Loop 3 :

21
4.4 ทฤษฎีของนอร์ตัน (Norton’s Theorem)

ปี ค.ศ. 1926 หลังจาก 43 ปี ทีท่ ฤษฎีของเทเวนินได้ตีพิมพ์เผยแพร่ผลงาน E. L. Norton ได้ค้นพบทฤษฎีที่คล้าย


กับทฤษฎีของเทเวนิน เรียกว่า “ทฤษฎีของนอร์ตัน (Norton’s Theorem)”
ทฤษฎีข องนอร์ตัน กล่า วไว้ว่า “วงจรสองขั้ว เชิง เส้ นใดๆ สามารถแทนด้ว ยวงจรสมมู ล ที่ ป ระกอบด้ ว ย
แหล่งจ่ายกระแส IN ต่อขนานกับตัวต้านทาน RN ”
เมื่อ IN คือ กระแสนอร์ตัน และ RN คือ ความต้านทานนอร์ตัน

วงจรสองขั้วแบบเชิงเส้นและวงจรสมมูลของนอร์ตัน

22
การหาค่ากระแสนอร์ตัน IN
การหากระแสนอร์ตัน IN ทาได้โดยการลัดวงจรที่ขั้ว a-b และ หาค่ากระแสที่ลัดวงจรนั้น ==> iSC = IN

การหาค่าความต้านทานนอร์ตัน RN
กรณีที่ 1 วงจรที่มีแหล่งจ่ายอิสระ จะสามารถหาค่า RN ได้โดยทาให้แหล่งจ่ายอิสระทุกตัวในวงจรมีค่าเป็นศูนย์ ค่า RN
คือ ความต้านทานที่มองเข้าไปยังขัว้ a-b ที่เปิดวงจร

RN = Rin
23
กรณีที่ 2 วงจรที่มีแหล่งจ่ายไม่อิสระ จะสามารถหาค่า RN ได้ดังนี้
1. ทาให้แหล่งจ่ายอิสระทุกตัวมีค่าเป็นศูนย์ แต่แหล่งจ่ายไม่อิสระจะต้องไม่ถูกทาให้เป็นศูนย์ เนื่องจากแหล่ง
จ่ายเหล่านี้ถูกควบคุมจากค่าตัวแปรต่างๆ ในวงจร
v0
2. ให้นาแหล่งจ่ายแรงดัน v0 = 1 หน่วย ต่อที่ขั้ว a-b และคานวณหาค่ากระแส i0 => RN 
i0

v0
หรือ นาแหล่งจ่ายกระแส i0 = 1 หน่วย ต่อที่ขั้ว a-b และคานวณหาค่าแรงดัน v0 => RN 
i0

24
ตัวอย่างที่ 4.7 จงหาวงจรสมมูลนอร์ตัน

25
ตัวอย่างที่ 4.8 จงหาวงจรสมมูลนอร์ตัน

26
4.5 การส่งผ่านกาลังไฟฟ้าสูงสุด (Maximum Power Transfer)
ในทางปฏิบัติ วัตถุประสงค์ในการออกแบบวงจรเพื่อต้องการส่งกาลังไฟฟ้าไปให้กับภาระ หรือ โหลด (Load) ให้
ได้มากที่สุดจะต้องคานึงถึงความสูญเสียที่เกิดขึ้นซึ่งจะต้องน้อยที่สุด ดังนั้น ทฤษฎีเทเวนิน จึงถูกนามาประยุกต์ ใช้ใน
การหาค่ากาลังไฟฟ้าสูงสุดที่จ่ายให้กบั โหลด ดังแสดงในรูป

27
แบบฝึกหัดที่ 4
1. จงหาวงจรสมมูลของเทเวนิน ณ จุด a-b

2. จากโจทย์ ข้อ 1 จงหาวงจรสมมูลของนอร์ตัน ณ จุด a-b

3. จงคานวณหากระแส i โดยวิธี...การซ้อนทับ

28
4. จงหากระแสและกาลังไฟฟ้าที่ตัวต้านทาน 8 โอห์ม โดยวิธี...การแปลงแหล่งจ่าย

5. จงหาค่าความต้านทาน R และกาลังไฟฟ้าสูงสุดที่โหลด โดยวิธี...การส่งผ่านกาลังไฟฟ้าสูงสุด

29

You might also like