You are on page 1of 82

โดย

โดย
นาย
นายธนรั
ธนรัตตน์น์ ทัทังทอง
งทอง
(ผูพ (ผูพ
้ ิพากษาศาลอ
้ ิพากษาหั ุทธรณ์) ุทธรณ์)
วหน้าคณะในศาลอ

ภาคปกติ 2 ชั่วโมง/สัปดาห
2 ชั่วโมง/สัปดาห
ภาคค่ํา 1 ชั่วโมง/สัปดาห
1 ชั่วโมง/สัปดาห

1
ศึกษาปญหาในกฎหมายตามประมวลกฎหมาย
วิธีพิจารณาความอาญาเฉพาะบทบัญญั ติวาดวยหลัก
ทั่ ว ไป อํ า นาจพนั ก งานสอบสวนและศาล การฟ อ ง
คดีอาญาและคดีแพงเกี่ยวเนื่องกับคดีอาญาหมายเรียก
และหมายอาญา การจับ ขัง จําคุก คน ปลอยชั่วคราว
และการสอบสวน โดยการวิ เ คราะห ห ลั ก กฎหมาย
ทฤษฎี และคําพิพากษาศาลฎีกา เพื่อใหสามารถปรับ
ใชบทบัญญัติของกฎหมายไดในเชิงปฏิบัติ

2
1. กระบวนการกอนฟองคดี
2. กระบวนการหลังฟองคดี
3. กระบวนการชั้นบังคับคดี

1. กระบวนการกอนฟองคดี
1.1 เรื่องพื้นฐาน
- ความผิดอาญาแผนดิน
- ความผิดตอสวนตัว
- ผูเสียหาย ป.วิ.อ. มาตรา 2 (4), 4, 5, 6
- คํารองทุกข คํากลาวโทษ ป.วิ.อ. มาตรา 2
(7) (8)

3
(ต่อ)
1.2 ชั้นสอบสวน
1.2.1 ผูมีอํานาจสอบสวน
- ความผิดทองที่เดียว ป.วิ.อ. มาตรา 18
- ความผิ ด เกี่ ย วพั น กั น หลายท อ งที่ ป.วิ . อ.
มาตรา ๑9
- ความผิดกระทํานอกราชอาณาจักร ป.วิ.อ.
มาตรา 20
- ไมแนวาพนักงานสอบสวนคนใดรับผิดชอบ
ป.วิ.อ. มาตรา 21, 21/1

(ต่อ)

1.2.2 ขั้นตอนการสอบสวน
- คดีที่ผู เ สี ย หายเป น ผู ใ หญ ป.วิ . อ.
มาตรา 133, 134, 134/1, 134/4, 135
- คดี ที่ ผู เ สี ย หายเป น เด็ ก ป.วิ . อ.
มาตรา 133 ทวิ, 134/2

4
(ต่อ)

- คดีที่ตองมีการชันสูตรพลิกศพ ป.
วิ.อ. มาตรา 150, 155/1
- คดีอาญาเลิกกัน ป.วิ.อ มาตรา
37, 38, 39 (3)
- การชี้ตั ว บุ ค คล ป.วิ . อ. มาตรา
133 วรรคทาย, 133 ตรี

(ต่อ)
1.3 ชั้นพนักงานอัยการ
- สั่งไมฟอง/สั่งสอบสวนเพิ่มเติม/สั่งฟอง ป.วิ.อ.
มาตรา 140, 141, 142, 143, 144, 145, 145/1,
146, 147
1.4 ขณะฟองคดีอาญา
- ศาลที่ รับฟอ ง ป.วิ .อ. มาตรา 22, 23, 25,
40
- การฟ อ งคดี แ พ ง เกี่ ย วเนื่ อ งคดี อ าญา ป.วิ . อ
มาตรา 43, 44/1, 46, 51

5
(ต่อ)
2. กระบวนการหลังฟองคดี
2.1 เหตุการณเกิดขึ้นระหวางพิจารณาของศาล
- ผู เ สี ย หายขอร วมเปน โจทกกั บ อัย การ ป.วิ . อ.
มาตรา 30
- อัยการขอเขารวมเปนโจทกกับผูเสียหาย ป.วิ.อ.
มาตรา 31
- ถอนฟอง ป.วิ.อ. มาตรา 35, 36
- คดีอาญาระงับ ป.วิ.อ. มาตรา 39
- ผูเสียหายยื่นฟองแลวตายลง ป.วิ.อ. มาตรา 29

ปการศึกษา ขอ ๑ ขอ ๒ ขอ ๓


มาตรา 46,51,15 มาตรา 134/1, 19,
2550 มาตรา 2 (4), 5 (2), 30
ป.วิ.แพง 145 140, 141
มาตรา 133 ทวิ, มาตรา 2 (6), 18
2551 มาตรา 39 (4) 134/2, 134/4 วรรคสอง, 19 (3), 78
วรรคสาม, 120 (1), 93, 120
มาตรา 4, 5, 6, 5 (2), มาตรา 37, 38 (1), มาตรา 150, 155/1,
2552
30 39 (3) 143 วรรคทาย

6
(ต่อ)

มาตรา 3 (2), 5 (2), 29


2553 มาตรา 43 มาตรา 144
วรรคหนึ่ง

มาตรา 2 (7), 5 (1), มาตรา 120, 142,


2554 มาตรา 18, 19, 20
123, 15, ป.วิ.แพง 56 วรรคสาม, 165

มาตรา 29, 39 (2), มาตรา 78 วรรคสอง มาตรา 19, 120,


2555
126 วรรคหนึ่ง 84 วรรคทาย, 134 135

2556 มาตรา 36, 39 (4) มาตรา 43, 44/1 มาตรา 19, 120

(ต่อ)
มาตรา 2 (4), 30, มาตรา 143 วรรคหนึ่ง,
2557 มาตรา 5 (2), 30, 29
44/1 139-143
มาตรา 2 (4), 2 (7), 3 มาตรา 133 ทวิ, มาตรา 131, 150,
2558
(1), 120 134/2, 13 วรรคหนึ่ง 155, 143 วรรคสอง
มาตรา 35, 39 (2), 3 มาตรา 120,133,
2559 มาตรา 19, 22
(5), 4, 5, 6 133 ทวิ, 139
มาตรา 2 (4), 28 (2), มาตรา 20 วรรคหนึ่ง,
2560 มาตรา 35, 36
39 (1) วรรคสอง
มาตรา 18 วรรคสาม,
120, 143 วรรคหนึ่ง
2561 มาตรา 5 (2), 30, 44/1 มาตรา 39 (2), 2 (7)
(7)

7
(ต่อ)
มาตรา 14๕/๑ วรรค
มาตรา ๑๙(๓) และ (๔),
25๖๒ มาตรา ๒๘, ๓๙ (๔) หนึ่ง และวรรคสอง,
๓๙ (2)
๑๔๗

ตารางการบรรยาย
• ครั้งที่ 1 วันที่ 4 ธันวาคม ๒๕๖๓ : ทั่วไป / ประเภทคดีอาญา / ผูเสียหาย
• ครั้งที่ ๒ วันที่ ๑๘ ธันวาคม ๒๕๖๓ : ผูมอี ํานาจจัดการแทนผูเสียหาย / คํารองทุกข
• ครั้งที่ ๓ วันที่ ๘ มกราคม ๒๕๖๔ : ผูมีอํานาจฟองคดีอาญา/ ผูเสียหายฟองคดีแลวตายลง
โจทกรวม / รวมพิจารณา / ถอนฟอง
• ครั้งที่ ๔ วันที่ ๒๒ มกราคม ๒๕๖๔ : คดีอาญาเลิกกัน / สิทธินําคดีอาญามาฟองระงับ
• ครั้งที่ ๕ วันที่ ๕ กุมภาพันธ ๒๕๖๔ : อํานาจสืบสวนสอบสวน / การสอบสวน
• ครั้งที่ ๖ วันที่ ๑๙ กุมภาพันธ ๒๕๖๔ : การดําเนินคดีของอัยการ / การชันสูตรพลิกศพ /
เขตอํานาจศาล
• ครั้งที่ ๗ วันที่ ๑๒ มีนาคม ๒๕๖๔ : คดีแพงเกี่ยวเนื่องกับคดีอาญา / สิทธิเรียกคาสินไหม
ทดแทนของผูเสียหาย
สํานักวิจยั และวิชาการ 16

8
ขอ ๑ ) นายเหลืองเปนลูกจางของนายขาว มีหนาที่เก็บเงิน
จากลูกคาที่สั่งซื้อสินคาของนายขาวตามจังหวัดตาง ๆ แลว
นํามามอบใหนายขาวพรอมกับชําระบัญชีที่สํานักงานซึ่ง
ตั้งอยูที่เขตบางซื่อ กรุงเทพมหานคร นายเหลืองรับเงินจาก
ลูกคาในจังหวัดตาง ๆ ไวหลายครั้ง แตเก็บไวเสียเองไมนํา
เงินมามอบให นายขาวทวงถาม แตนายเหลืองบายเบี่ยง
ตลอดมา

(ต่อ)

นายขาวจึงไปรองทุกขตอพันตรวจตรีดํา พนักงาน
สอบสวนสถานีตํารวจนครบาลบางซื่อ ซึ่งไดทําการ
สอบสวนดําเนินคดีแกนายเหลือง ตอมาพนักงานอัยการ
ฟองนายเหลืองเปนจําเลยในความผิดฐานยักยอก ระหวาง
การพิจารณา นายขาวยื่นคํารองขอเขารวมเปนโจทกกับ
พนักงานอัยการ ศาลมีคาํ สั่งอนุญาต นายเหลืองใหการ
ตอสูวา พันตํารวจตรีดําพนักงานสอบสวนสถานีตํารวจ
นครบาลบางซื่อไมมอี ํานาจสอบสวน การสอบสวนไมชอบ

9
(ต่อ)
โจทกจึงไมมีอํานาจฟอง ศาลชั้นตนมีคําพิพากษาลงโทษนาย
เหลืองฐานยักยอก นายเหลืองยื่นอุทธรณ ระหวางการ
พิจารณาของศาลอุทธรณ นายขาวยื่นคํารองตอศาลอุทธรณ
วา ไมติดใจเอาความและขอถอนฟองนายเหลือง โจทกและ
นายเหลืองแถลงไมคัดคาน
ใหวินิจฉัยวา โจทกมอี ํานาจฟองนายเหลืองตอศาล
หรือไม และศาลอุทธรณจะมีคําสั่งตามคํารองของนายขาว
อยางไร
สํานักวิจยั และวิชาการ 19

การที่นายเหลืองซึ่งเปนพนักงานของนายขาว มีหนาที่
รับเงินคาสินคาจากลูกคาของนายขาวที่จังหวัดตางๆ และ
ไดรับเงินจากลูกคามาแลวหลายครั้ง แตบายเบี่ยงไมนาํ เงิน
คาสินคามามอบใหแกนายขาวกับไมมาชําระบัญชีกับนาย
ขาว ความผิดฐานยักยอกจึงอาจเกิด อางหรือเชื่อวาได
เกิดขึ้นตั้งแตนายเหลืองรับเงินจากลูกคาของนายขาวตาม
จังหวัดตางๆ จนถึงสํานักงานของนายขาวที่เขตบางซื่อ
กรุงเทพมหานคร

10
(ต่อ)
ซึ่งเปนสถานที่ที่นายเหลืองตองมาชําระบัญชีกับนายขาว
กรณีเปนเรื่องที่นายเหลืองกระทําความผิดตอเนื่องกันใน
ทองที่ตาง ๆ เกินกวาทองที่หนึ่งขึ้นไป และเปนความผิดซึ่ง
มีหลายกรรมกระทําลงในทองที่ตาง ๆ กันตามประมวล
กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา ๑๙ (๓) และ (๔)
พนักงานสอบสวนทองที่หนึ่งทองที่ใดที่เกี่ยวของมีอํานาจ
สอบสวนได พันตํารวจตรีดําพนักงานสอบสวนสถานีตํารวจ
นครบาลบางซื่อซึ่งเปนทองที่ที่เกี่ยวของ

(ต่อ)
และไดรับการรองทุกขจากนายขาว จึงเปนพนักงาน
สอบสวนในทองที่ที่พบการกระทําความผิดกอน จึงเปน
พนักงานสอบสวนผูรับผิดชอบ และมีอํานาจสอบสวน
โจทกจึงมีอํานาจฟองนายเหลือง (คําพิพากษาฎีกาที่
(๗๔๔๕/๒๕๕๕)
ความผิดฐานยักยอกเปนคดีอาญาความผิดตอสวนตัว
และยังไมถึงที่สุด เมื่อปรากฏตามคํารองของนายขาววา

สํานักวิจยั และวิชาการ 22

11
(ต่อ)
โจทกรวมไมติดใจเอาความและขอถอนฟองนายเหลือง โดย
โจทกและนายเหลืองไมคัดคาน แสดงวา นายขาวซึ่งเปน
ผูเสียหายประสงคที่จะถอนคํารองทุกข แตใชขอความผิดไป
วาถอนฟองเนื่องจากคดีนี้พนักงานอัยการเปนโจทก สวน
นายขาวเปนเพียงโจทกรวมจึงไมมีสิทธิถอนฟอง เชนนี้สิทธิ
นําคดีอาญามาฟองยอมระงับไปตามประมวลกฎหมายวิธี
พิจารณาความอาญา มาตรา ๓๙ (๒) ศาลอุทธรณชอบที่จะ
สั่งอนุญาตใหถอนคํารองทุกขและจําหนายคดีออกจากสา
รบบความ (คําพิพากษาฎีกาที่ ๔๙๖๗/๒๕๔๑) 23
สํานักวิจยั และวิชาการ

(ต่อ)

ขอ ๒ ) นายหนึ่งเปนโจทกยื่นฟองนายสองและนายสาม
วารวมกันทํารายรางกายนายหนึ่งเปนเหตุใหไดรับอันตราย
สาหัสตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๒๙๗ ศาลไต
สวนมูลฟองแลวเห็นวาฟองโจทกเกี่ยวกับนายสองไมมีมูล
พิพากษายกฟอง คงมีคําสั่งประทับฟองเฉพาะนายสาม ใน
วันนัดสืบพยานโจทก นายหนึ่งขอเลื่อนคดีเพราะปวยหนัก
ไมอาจมาศาลได ศาลไมอนุญาตใหเลื่อนคดี และมีคําสั่งงด
สืบพยานโจทก แลวพิพากษายกฟองโจทกสําหรับนายสาม

12
(ต่อ)
เนื่องจากไมมีพยานมานําสืบยืนยันความผิดของนายสาม
นายหนึ่งยื่นอุทธรณตอ ศาลอุทธรณวา พยานหลักฐานชั้น
ไตสวนมูลฟองเกี่ยวกับนายสองรับฟงไดวามีมูล และคําสั่ง
ศาลที่ไมใหเลื่อนคดีและงดสืบพยานโจทกไมชอบดวย
กฎหมาย ศาลอุทธรณวนิ จิ ฉัยวา อุทธรณของนายหนึ่งฟง
ขึ้นทั้งสองกรณีพิพากษากลับใหประทับฟองสําหรับนาย
สองไวพิจารณา พิพากษายกคําพิพากษาศาลชั้นตนสําหรับ
นายสามและยกคําสั่งศาลชั้นตนที่ไมอนุญาตใหเลื่อนคดี
และงดสืบพยานโจทก

(ต่อ)

ใหยอนสํานวนใหศาลชั้นตนดําเนินกระบวนพิจารณา
และพิพากษาใหมตามรูปคดี ต่อมาพนักงานอัยการยืน
ฟ้องนายสองและนายสามว่าร่วมกันทําร้ายร่างกาย
นายหนึงเป็ นเหตุให้ได้รบั อันตรายสาหัสในการกระทํา
ครังเดียวกันกับคดีก่อน นายสองและนายสามให้การ
ปฏิเสธและต่างยืนคําร้องว่าตนเคยถูกนายหนึงฟ้องใน
การกระทําเดียวกันนีและศาลพิพากษายกฟ้องไปแล้ว

13
(ต่อ)

พนักงานอัยการจึงไมมีสิทธิฟองนายสองและนายสามอีก
ขอใหพิพากษายกฟอง พนักงานอัยการแถลงคัดคานวา
คําพิพากษาในคดีกอนยังไมถงึ ที่สุด ขอใหพิจารณา
พิพากษาคดีตอไป
ใหวินิจฉัยวา ศาลในคดีที่พนักงานอัยการเปน
โจทกตองดําเนินคดีสําหรับนายสองและนายสามตอไป
อยางไร

ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา ๒๘
กําหนดใหทั้งพนักงานอัยการและผูเสียหายมีอํานาจฟอง
คดีอาญา ทั้งนายหนึ่งและพนักงานอัยการจึงมีอํานาจฟอง
นายสองและนายสามได อยางไรก็ตามอํานาจฟองดังกลาว
อาจระงับสิ้นไปในกรณีตาง ๆ เพราะสิทธินําคดีอาญามา
ฟองระงับไปแลวตามมาตรา ๓๙ ซึ่งกรณีหนึ่งไดแก มาตรา
๓๙ (๔)

14
(ต่อ)

เมื่อมีคําพิพากษาเสร็จเด็ดขาดในความผิดซึ่งไดฟอง
เนื่องจากกฎหมายประสงคใหการกระทําผิดคราว
เดียวกันสามารถฟองรองวากลาวกันไดเพียงครั้งเดียว
เทานั้น ดังนัน หากการกระทําผิดคราวเดียวกันได้มี
คําพิพากษาเสร็จเด็ดขาดไปแล้ว จึงห้ามนําการ
กระทํานันมาฟ้องอีกเพราะสิทธินาํ คดีอาญามาฟ้อง
ระงับไปแล้วตามมาตรา ๓๙ (๔)

(ต่อ)
ซึงคําพิพากษาเสร็จเด็ดขาดนันคือคําพิพากษาของ
ศาลทีวินิจฉัยในเนือหาของความผิดว่าจําเลย
กระทําผิดตามฟ้องหรือไม่ จึงหมายถึงคําพิพากษา
ศาลชันต้นไม่ว่าจะเป็ นคําพิพากษาในชันไต่สวนมูล
ฟ้องหรือในชันพิจารณา แม้จะมีการอุทธรณ์ฎีกาคํา
พิพากษาดังกล่าวและคดียงั ไม่ถึงทีสุดก็ตาม

15
(ต่อ)
กรณี นายสอง เมือศาลไต่สวนมูลฟ้ องแล้วเห็นว่า
คดี ไ ม่มี มูลและพิ พ ากษายกฟ้ อ ง เท่ า กับ ศาลชันต้น ได้
วิ นิ จ ฉั ย ในเนื อหาของความผิ ด แล้ว จึ ง เป็ น กรณี มี ค ํา
พิพากษาเสร็จเด็ดขาดในความผิดซึงได้ฟ้องไปแล้วตาม
ประมวลกฎหมายวิธี พิจารณาความอาญา มาตรา ๓๙
(๔ ) โดยมิ พั ก ต้อ งคํา นึ ง ว่ า คํา พิ พ ากษานี ถึ ง ที สุ ด แล้ว
หรือไม่ เพราะกฎหมายประสงค์ให้การกระทําผิ ด คราว
เดีย วกันสามารถฟ้ องร้องว่ากล่าวกันได้เพีย งครังเดีย ว
เท่านัน

(ต่อ)
ดังนั้น แมภายหลังศาลอุทธรณพพิ ากษากลับใหประทับฟอง
โจทกสําหรับนายสองไวพิจารณาพิพากษา ก็หาทําใหฟอง
โจทกในสวนนี้กลับกลายเปนฟองที่ยังมิไดมคี ําพิพากษาเสร็จ
เด็ดขาดไม เมื่อมีคําพิพากษาเสร็จเด็ดขาดในความผิดตาม
ฟองโจทกสําหรับนายสองแลว สิทธินาํ คดีอาญามาฟอง
เกี่ยวกับการกระทําในคราวเดียวกันนี้ของพนักงานอัยการ
ยอมระงับไปตามมาตรา ๓๙ (๔) ศาลในคดีที่พนักงาน
อัยการฟองนายสองจึงตองพิพากษายกฟองโจทกสําหรับ
นายสอง (เทียบคําพิพากษาฎีกาที่ ๗๒๔๖/๒๕๖๑)

16
(ต่อ)
กรณีนายสาม แมศาลชั้นตนจะเคยมีคําพิพากษายกฟอง
โจทกเกี่ยวกับนายสามไปแลว แตตอมาศาลอุทธรณ เห็น
วา คําสั่งไมอนุญาตใหเลื่อนคดีและงดสืบพยานโจทกของ
ศาลชั้นตนไมชอบ พิพากษายกคําพิพากษาศาลชั้นตน
และยกคําสั่งศาลชั้นตนที่ไมอนุญาตใหเลื่อนคดีและใหงด
สืบพยานโจทกไปแลว ใหยอนสํานวนใหศาลชั้นตน
ดําเนินกระบวนพิจารณาและพิพากษาใหมตามรูปคดี

(ต่อ)
คําพิพากษายกฟองในคดีกอนจึงเปนอันถูกยกเลิกเพิก
ถอนไปแลว ไมอาจถือไดวาศาลไดมีคําพิพากษาเสร็จ
เด็ดขาดในความผิดซึ่งไดฟองแลวตามประมวลกฎหมาย
วิธีพจิ ารณาความอาญา มาตรา ๓๙ (๔) พนักงาน
อัยการจึงมีสทิ ธิฟองนายสามในคดีนี้ได ศาลในคดีที่
พนักงานอัยการฟองนายสามจึงตองยกคํารองของนาย
สาม แลวพิจารณาพิพากษาตามรูปคดีตอ ไป (เทียบคํา
พิพากษาฎีกาที่ ๕๓๙๑/๒๕๖๒ ประชุมใหญ)

17
(ต่อ)
ขอ ๓) คดีอาญาเรื่องหนึ่ง เหตุเกิดขึ้นในกรุงเทพมหานคร
นายขาวรองทุกขตอพนักงานสอบสวนวานายดําฆานายฟา
บุตรชายของตนตาย ตอมาพนักงานสอบสวนแจงขอหาให
นายดําผูตองหาทราบวานายดํากระทําความผิดฐานฆาผูอื่น
ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๒๘๘ เมือพนักงาน
สอบสวนทําการสอบสวนเสร็จแล้ว พนักงานสอบสวน
ผูร้ บั ผิดชอบได้ทาํ ความเห็นว่าควรสังฟ้องส่งไปยังพนักงาน
อัยการพร้อมด้วยสํานวน

(ต่อ)
แตเมื่อพนักงานอัยการไดรับความเห็นและสํานวนจาก
พนักงานสอบสวน พนักงานอัยการไมเห็นชอบดวยและ
ออกคําสั่งไมฟอ งนายดําผูตองหาและสงสํานวนการ
สอบสวนพรอมกับคําสั่งดังกลาว เสนอผูบัญชาการ
ตํารวจแหงชาติ ตอมาเมื่อผูบัญชาการตํารวจแหงชาติ
พิจารณาแลวเห็นวานายดําผูตอ งหาไดกระทําความผิด
จึงสงสวนพรอมความเห็นที่แยงไปยังอัยการสูงสุดเพื่อชี้
ขาด

18
(ต่อ)
ใหวินิจฉัยวา
(ก) การสงสํานวนพรอมกับความเห็นที่แยงไปยังอัยการ
สูงสุดเพื่อชี้ขาดดังกลาวชอบดวยกฎหมายหรือไม และ
(ข)หากคดีนี้อยั การสูงสุดชี้ขาดสั่งไมฟองและไดแจงคําสั่ง
เด็ดขาดไมฟองคดีใหผูตองหาและผูรองทุกขทราบแลว
ตอมานายแดงซึ่งไดรูเห็นเกี่ยวกับการกระทําของนายดํา
ทั้งหมด แตในขณะสอบสวนไมปรากฎแกพนักงานสอบสวน
เพราะนายแดงปวยหนักตองรักษาตัวอยูในโรงพยาบาลจึง

ไมสามารถแจงใหพนักงานสอบสวนทราบ ตอมานาย
แดงไดเขาพบพนักงานสอบสวนและพาพนักงาน
สอบสวนไปคนหาพยานหลักฐานที่นายดําซุกซอนไว
อันแสดงวานายดําฆานายฟาตาย พนักงานสอบสวนจะ
ทําการสอบสวนนายดําในเรื่องเดียวกันอีกไดหรือไม

สํานักวิจยั และวิชาการ 38

19
(ก) คดีนี้เหตุเกิดขึ้นในกรุงเทพมหานครและการสอบสวน
อยูในความรับผิดชอบของเจาพนักงานตํารวจ ในกรณีที่มี
คําสั่งไมฟองและคําสั่งนั้นไมใชคําสั่งของอัยการสูงสุด การ
สงสํานวนการสอบสวนพรอมกับคําสั่งดังกลาว เสนอผู
บัญชาการตํารวจแหงชาติ จึงเปนการปฏิบตั ิตามประมวล
กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา ๑๔๕/๑ วรรค
หนึ่ง

(ต่อ)
การที่ผูบัญชาการตํารวจแหงชาติพจิ ารณาแลว เห็นวา
นายดําผูตองหาไดกระทําความผิดและสงสํานวนพรอม
กับความเห็นที่แยงไปยังอัยการสูงสุดเพื่อชี้ขาดตาม
มาตรา ๑๔๕/๑ วรรคสอง จึงชอบดวยกฎหมายแลว
(ข) คดีนีอัยการสูงสุดชีขาดสังไม่ฟ้องและได้แจ้งคําสัง
เด็ดขาดไม่ฟ้องคดีให้ผตู ้ อ้ งหาและผูร้ อ้ งทุกข์ทราบแล้ว
ต่อมานายแดงซึงได้รูเ้ ห็นเกียวกับการกระทําของนาย
ดําทังหมด

20
(ต่อ)
แต่ในขณะสอบสวนไม่ปรากฏแก่พนักงานสอบสวน
เพราะนายแดงป่ วยหนักต้องรักษาตัวอยู่ใน
โรงพยาบาล จึงไม่สามารถแจ้งให้พนักงานสอบสวน
ทราบ ตอมานายแดงปวยหนักตองรักษาตัวอยูใน
โรงพยาบาล จึงไมสามารถแจงใหพนักงานสอบสวน
ทราบ ตอมานายแดงไดเขาพบพนักงานสอบสวนและพา
พนักงานสอบสวนไปคนหาพยานหลักฐานที่นายดําซุก
ซอนไวอันแสดงวานายดําฆานายฟาตาย

(ต่อ)
ถือวาเปนกรณีไดพยานหลักฐานใหมอันสําคัญแกคดี
ซึ่งนาจะทําใหศาลลงโทษผูตองหานั้นไดตามประมวล
กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา ๑๔๗
พนักงานสอบสวนจึงทําการสอบสวนนายดําในเรื่อง
เดียวกันอีกได

21
1. คดีอาญาแผนดิน
1.1 คดีอาญาแผนดินที่รัฐเทานั้นเปนผูเสียหาย
คดีที่กฎหมายมุงประสงคใหรัฐ หรือเจาพนักงานของ
รัฐเทานั้นที่มีอํานาจหนาที่ในการดําเนินคดีกับผูกระทําผิด
ไมมีเอกชนเปนผูเสียหายจึงไมสามารถฟองรองหรือรวมเปน
โจทกกับอัยการได หากมีเอกชนไดรับความเสียหายก็เปน
เพียงผูเสียหายโดยพฤตินัยเทานั้น เชน

(ต่อ)

- ความ ผิ ด ตาม พ.ร.บ.อาวุ ธ ป น ฯ (ฎี ก าที่


1231/2533, 2713/2541)
- ความผิดตาม พ.ร.บ.ยาเสพติ ดใหโทษฯ (ฎีกาที่
1637/2548)
- ความผิ ด ตาม พ.ร.บ.จราจรทางบกฯ (ฎี ก าที่
2096/2530, 1141/2531, 1949/2542,
3449/2543, 8119/2559)

22
(ต่อ)
- ความผิดตาม พ.ร.ก.กูยืมเงินที่เปนการฉอโกง
ประชาชน (ฎีกาที่ 1562/2532, 8883/2550)
- ความผิดตาม พ.ร.บ.ศุลกากรฯ และพ.ร.บ.ให
บําเหน็จในการปราบปรามผูกระทําความผิด (ฎีกาที่
3797 – 3798/2540)
- คว า ม ผิ ด ต า ม พ . ร. บ .อ า ห า ร ( ฎี ก า ที่
6513/2546)

(ต่อ)
- ความผิดตาม พ.ร.ก.กูยืมเงินที่เปนการฉอโกง
ประชาชน (ฎีกาที่ 1562/2532, 8883/2550)
- ความผิดตาม พ.ร.บ. ศุลกากรฯ และพ.ร.บ.
ใหบําเหน็จในการปราบปรามผูกระทําความผิด (ฎีกา
ที่ 3797 – 3798/2540)
- ความผิ ด ตาม พ .ร.บ.อา หาร ( ฎี ก าที่
6513/2546)

23
(ต่อ)

ขอสังเกต ความผิดที่กลาวมาเปนความผิดตอ
รัฐ เอกชนไมใชผูเสียหายที่จะดํา เนิ นคดีแกผูกระทํ า
ความผิดได ไมวา จะเปนรองทุกขหรือฟองรอง หรือเขา
รวมเปนโจทกกับอัยการ หรืออุทธรณฎีกา และไมอาจ
มีผูจัดการแทนผูเสียหายได แตเอกชนอาจกลาวโทษ
ตอพนักงานสอบสวนใหดําเนินคดีแกผูกระทําผิดได

(ต่อ)

1.2 คดีอาญาแผนดินที่มีผูเสียหาย
คดีอาญาที่ผูกระทําความผิดได กระทําให เกิดความ
เสียหายแกรัฐและแกเอกชนกฎหมายมุงประสงคใหทั้งรัฐ
และเอกชนเปน ผูเสียหายตามกฎหมายมิใชเป นเพียงโดย
พฤตินัย เจาพนักงานของรัฐมีอํานาจหนาที่ดําเนินคดีอาญา
แทนแผนดิน และขณะเดียวกันเอกชนผูไดรับความเสียหาย
หรือผูมีอํานาจจัดการแทนผูเสียหายก็มีอํานาจดําเนินคดีกับ
ผูกระทําความผิดดวยโดยไมตองพึ่งรัฐ เชน

24
(ต่อ)

- คดีความผิดฐานทํารายรางกายตาม ป.อ.
มาตรา 295
- คดีความผิดฐานฆาผูอื่น ตาม ป.อ. มาตรา
288
- ฐานอื่นๆ เชน ป.อ.มาตรา 137 ฯลฯ

(ต่อ)

1.3 คดีอาญาความผิดตอสวนตัว (ตาม ป.วิ.อ.)


หรือคดีความผิดอันยอมความได (ตาม ป.อ.)
คดี ท่ี ค วามเสีย หายเกิด ขึ้ นกั บ ผู เสี ย หายเป น การ
เฉพาะตั ว โดยตรงไม ไ ด เ กิ ด ความเสี ย หายแก แ ผ น ดิ น
ดังนั้นผูมีอํานาจในการดําเนินคดีกับผูกระทําความผิดจึง
ไดแกตัวผูเสียหายเองตาม ป.วิ.อ.มาตรา 2 (4)

25
(ต่อ)

หรือผูมีอํานาจจัดการแทนผูเสียหายตามมาตรา
4, 5, 6 เฉพาะบุ ค คลดั ง กล า วเป น ผู ท่ี จ ะต อ ง
เริ่มตนคดีโดยการฟองรอง หรือรองทุกขภายใน
กํ า หนดเวลาตามกฎหมาย ความผิ ด ใดเป น คดี
ความผิดอันยอมความไดระบุไวชัดแจงตาม ป.อ.

(ต่อ)

คดีอาญาทั้ง 3 ประเภท แตละประเภท


มีความแตกตา งกั น เป นพื้ น ฐานในการที่ จ ะ
ดํ า เนิ น การตาม ป.วิ . อ. ในเรื่ อ งอื่ น ๆ จึ ง
จําเปนตองวิเคราะหในเบื้องตนใหไดเสียกอน
วาคดีอาญาที่เกิดขึ้นนั้นเปนประเภทใด

26
ผูเสียหายมีสิทธิดําเนินคดีทุกขั้นตอนตั้งแตการรอง
ทุก ข การฟ อ งคดี การเข า เปนโจทก รว มกั บ อั ย การ เปน
โจทกฟองคดีแ พงที่ เกี่ยวเนื่องกับคดีอาญา การถอนฟอ ง
ยอมความ การอุทธรณ-ฎีกา
ตาม ป.วิ.อ. มาตรา 2 (4) ผูเสียหาย มี 2 ประเภท
1. ผูเสียหายโดยแทจริง
2. ผูมีอํานาจจัดการแทนผูเสียหายโดยแทจริงตาม
มาตรา 4, 5, 6

(ต่อ)

1. ผูเสียหายโดยแทจริง มีหลักเกณฑ
1.1 มีการกระทําความผิดอาญาเกิดขึ้น
1.2 ผูเสียหายตองเปนบุคคลตามกฎหมาย
1.3 บุ ค คลนั้ น ต อ งได รั บ ความเสี ย หายอั น
เนื่องมาจากการกระทําความผิดนั้น
1.4 เปนผูเสียหายโดยนิตินัย

27
(ต่อ)

1.1 มี การกระทํ าความผิดเกิ ดขึ้ น การกระทํ า


ทางอาญาแบงไดเปนการคิด การตกลงใจ การตระเตรียม
การ การลงมือกระทําการ ถาลงมือแลวไม สํา เร็จ ก็เปน
เพี ยงการพยายาม ถาสํ าเร็ จก็ เป นความผิ ดสํ าเร็ จ โดย
สวนใหญกฎหมายจะเอาผิดนับตั้งแตขั้นพยายามกระทํา
ความผิด เปนตนไป เวนแตความผิดบางประเภทที่จะถือ
เปนความผิดตั้งแตในขั้นตระเตรียมการ

(ต่อ)

เชน ความผิ ดต อองคพ ระมหากษัตริย พระราชินี รัช


ทายาท ผูสําเร็จราชการแผนดิน มาตรา 107 – 110
การตระเตรี ย มการเป น กบฏ มาตรา 133 การ
ตระเตรียมการกระทําความผิดตอความมั่ นคงของรั ฐ
ภายนอกราชอาณาจักร มาตรา 128 การตระเตรียม
การวางเพลิงเผาทรัพยมาตรา 219 แตนอกจากนี้ตอง
ถือ ว าการตระเตรีย มการไม เปนความผิ ด จึงไมถื อว า
เปนกรณีที่มีการกระทําความผิดเกิดขึ้นแลว

28
(ต่อ)

1.2 เปนบุคคลที่ไดรับความเสี ย หายจากการ


กระทําความผิดนั้น อาจจะเปนบุคคลธรรมดาซึ่งตองมี
สภาพบุคคลในขณะนั้นหรือ นิ ติบุคคลซึ่ งคื อนิติบุคคล
ตาม ป.พ.พ. ได แก สมาคม มาตรา 78–109 มูลนิ ธิ
มาตรา 110–136 ห า งหุ น ส ว นสามั ญ นิ ติ บุ ค คล
มาตรา 1064 หางหุนสวนจํากัด มาตรา 1078

(ต่อ)

บริ ษั ท จํ า กั ด มาตรา 1096 หรื อ นิ ติ บุ ค คลตาม


กฎหมายอื่น เช น กระทรวงทบวง กรม ต า งๆ มี
ฐานะเป น นิ ติ บุ ค คลตามพระราชบั ญ ญั ติ ร ะเบี ย บ
บริหารราชการแผนดิน พ.ศ. 2534 มาตรา 7

29
ขอพิจารณาเกี่ยวกับนิติบุคคลที่เปนผูเสียหายและผูมี
อํานาจดําเนินการแทนตามคําพิพากษาฎีกามีดังนี้

1. กรมต า งๆ ในกระทรวงกลาโหมไม เ ป นนิ ติ


บุค คล ตาม พ.ร.บ.ระเบีย บบริ ห ารราชการแผ นดิ นฯ
โดยตาม พ.ร.บ. จัดระเบียบราชการกระทรวงกลาโหม
พ.ศ. 2503 แก ไ ขโดย พ.ร.บ.จั ด ระเบี ย บราชการ
กระทรวงกลาโหม (ฉบับที่ 5) พ.ศ.2536 บัญญัติให

(ต่อ)

ส ว นราชการกระทรวงกลาโหมเฉพาะสํ า นั ก งาน
ปลัดกระทรวง กรมราชองครักษ กองบัญชาการทหาร
สูงสุด กองทัพบก กองทัพเรือ กองทัพอากาศ เทานั้นที่
เปนนิติบุคคล กรมอื่นๆ เชน กรมแพทย กรมการขนสง
ทหารบก กรมสื่อสารทหารเรือ ไมเปนนิติบคุ คล

30
(ต่อ)

คํ าพิพากษาฎีกาที่ 1352/2544 วิ นิจฉั ยว า


มณฑลทหารบกที่ 31 เป น เพี ย งหน ว ยงานของ
ก อ ง ทั พ บ ก สั ง กั ด ก ร ะ ท ร ว ง ก ล า โ ห ม ซึ่ ง ต า ม
พระราชบัญญัติจัดระเบียบราชการกระทรวงกลาโหม
พ.ศ. 2503 มาตรา 17 กําหนดใหกองทัพบกเปนนิติ
บุคคล มณฑลทหารบกที่ 31 ไมมีฐานะเปนนิติบุคคล
จึงไมใชผูเสียหาย

(ต่อ)

2. ศาลเจา แมไมมีฐานะเปนนิติบุคคลแตมี
กฎเสนาบดี ว า ด ว ยด ว ยกุ ศ ลสถานชนิ ด ศาลเจ า
กําหนดใหผูจัดการปกครองศาลเจาที่ผูวาราชการ
จังหวัดแตงตั้งมีอํานาจหนาที่เขาเปนโจทกจําเลย
ในคดี แ พ ง และอาญาที่ เ กี่ ย วกั บ ศาลเจ าได
(ฎ.4806/40)

31
(ต่อ)
3. นิติบุคคลที่เกี่ยวกับศาสนาตางๆ
3 . 1 วั ด ทา ง ศ าส นา พุ ท ธ เฉ พ าะ วั ด ที่ ไ ด รั บ
พระราชทานวิสุงคามสีมาเทานั้นจึงจะเปนนิติบุคคล วัดที่
เปนสํานักสงฆจึงไมเปนนิติบุคคล (ฎ.7490/42)
3.2 วั ด บาทหลวงโรมั น คาทอลิ ก มี ฐ านะเท า กั บ
บริษัทจึงเปนนิติบุคคล (ฎ.4033–8037/38)
3.3 มัสยิดที่จดทะเบียนตอพนักงานเจาหนาที่แลวมี
ฐานะเปน นิติบุคคล สวนมัสยิ ดที่ ยังไม จดทะเบียนก็ยั งไม
เปนนิติบุคคล (ฎ.4480/28)

(ต่อ)

4. มีกฎหมายบัญญัติไวเปนการเฉพาะหรือ
พิจ ารณาขอ เท็ จจริง เป นกรณี ๆ ไป เช น สนามม า
โดยนายสนามมา (ฎ.1683/05) สํานักสงฆที่มิไดมี
ฐานะเป น นิ ติบุ คคล (2386/41) กองทุน หมู บ า น
(ฎ.6600/49) สหกรณ (ฎ.5865/55) คุรุสภาซึ่งมี
ปญหาในการตีความกฎหมายเกี่ยวกับผูมีอํานาจรอง
ทุกข (ฎ.241-243/59 กลับ ฎ.274-277/57)

32
(ต่อ)

1.3 บุ ค คลนั้น ต อ งได รั บ ความเสี ย หายอั น


เนื่องมาจากการกระทําความผิดนั้น
ผูเสียหายในความผิดฐานยักยอก
ผู เ สี ย หายในความผิ ด ฐานยั ก ยอก ได แ ก
เจาของกรรมสิทธิ์และผูครอบครองดูแลทรัพยขณะที่
ถู ก ยั ก ยอก ดู ฎี ก าที่ 5097/2531, 1554-
1555/2512, 2386/2541

(ต่อ)
ผูเชา ซื้อเปน ผูครอบครองใช ประโยชนรถที่ เชา ซื้ อ
เปนผูเสียหายในความผิดฐานยักยอกทรัพยที่เชาซื้อ แมผู
เชาซื้อไปรองทุกขในฐานะผูรับมอบอํานาจจากผูใหเชาซื้อ
ก็ถือวาเปนการรองทุกขในนามของตนเองดวย ผูเชาซื้อจึง
ถอนคํารองทุกขได ดูฎีกาที่ 7832/2556
ถาภายหลัง ผูเชาซื้อตายมีผูยัก ยอกทรั พยท่ีเชา ซื้ อ
สิทธิและหนาที่ตามสัญญาเชาซื้อยอมตกทอดแก ทายาท
ของผู เชา ซื้อ ทายาทของผู เช า ซื้ อ ย อ มเป นผู เสี ย หายใน
ความผิดฐานยักยอก ดูฎีกาที่ 6007/2530

33
(ต่อ)

กรณีผู เช า ซื้อ ขายรถที่ เ ช า ซื้ อ ให แ ก ผูอื่ นไป แม


ไมไดรับความยินยอมจากผูใหเชาซื้อก็ตาม เมื่อผูซื้อรถ
ยัก ยอกรถไป ทั้ งผูเชา ซื้ อ และผู ให เ ชา ซื้ อ ก็ ยั ง คงเป น
ผูเสียหาย ดูฎีกาที่ 1949/2556

(ต่อ)

ในคดี แ พ ง โจทก จํ า เลยตกลงยอมความกั น


จํ า เลยชํ า ระหนี้ ใ ห แ ก ท นายโจทก โ ดยโจทก มิ ไ ด
มอบหมายใหรับเงินแทน ทนายโจทกจึงไมมีอํานาจ
รับเงินนั้น เงินดังกลาวจึงยังไมตกเปนของโจทก เมื่อ
ทนายโจทกยักยอกเงินนั้ นโจทกไมเปนผูเสียหาย ดู
ฎีกาที่ 815/2535 (ประชุมใหญ), 190/2532

34
(ต่อ)

แตถาทนายโจทกไดรับมอบหมายจากโจทก
ให รั บ เงิ น แทนโจทก เงิ น ที่ ไ ด รั บ ย อ มตกเป น ของ
โจทกในฐานะตัวการทันที ทนายโจทกยักยอกเงิน
นั้น โจทกยอมเปนผูเสียหายในความผิดฐานยักยอก
ดูฎีกาที่ 33/2532

(ต่อ)

กรณีตัวแทนหรื อลู กจ า งรั บ เงิ นหรือสิ่ งของจาก


บุคคลภายนอกไวแทนตัวการหรือนายจางสิท ธิในเงิน
หรือสิ่งของนั้นยอมตกเปนของตัวการหรือนายจางทันที
การที่ ตั ว แทนหรื อ ลู ก จ า งยั ก ยอกเงิ น หรื อ สิ่ ง ของนั้ น
ตัวการหรือนายจา งจึงเปนผูเสีย หาย สว นผู ชํา ระเงิน
หรื อ สิ่ ง ของไม ใ ช ผู เ สี ย หาย ดู ฎี ก าที่ 373/2559,
6965-6966/2546, 2250/2544, 556/2541,
7671/2550

35
(ต่อ)
ฎีกาที่ 373/2559 จําเลยที่ 2 เปนตัวแทนประกัน
ชีวิตของบริษัท ท. เมื่อจําเลยที่ 2 รับเงินค าเบี้ยประกันที่
โจทกผูเอาประกันภัยทําสัญญาประกันชีวิตกับบริษัท ท. ไว
จากโจทก จึงเปน การรับ ไว แทนบริษั ท ท. เพื่อ นํ าไปมอบ
ใหแกบริษัท ท. เงินคาเบี้ยประกันภัยจึงตกเปนของบริษัท ท.
แลว การที่จําเลยที่ 2 เบียดบังเอาเงิ นดังกลาวไปเปนของ
ตนเองตามที่โจทกฟองบริษัท ท. เปนผูไดรับความเสียหาย
จากการกระทําของจําเลยที่ 2 ตาม ป.วิ.อ.มาตรา 2 (4)
โจทกจึงมิใชผูเสียหายและไมมีอํานาจฟองจําเลยที่ 2

(ต่อ)

กรณีหางหุนสวนสามัญไมจดทะเบียน ถือวาหุนสวน
แตละคนโดยลําพังเปนผูเสียหายในความผิดฐานยักยอก
เงินของหางหุนสวนได ดูฎีกาที่ 9948/2555
สํ า หรั บ กรณี ห า งหุ น ส ว นจํ า กั ด ถื อ ว า ห า งฯ เป น
ผู เ สี ย หายในความผิ ด ฐานยั ก ยอกทรั พ ย สิ น ของห า งฯ
หุน ส วนผูจัดการไมใช ผูเสี ย หาย ไม มี อํา นาจร องทุ กขใน
นามของตนเอง ดูฎีกาที่ 5008/2537

36
(ต่อ)

ตามกฎหมายถื อ ว า หุ น ส ว นผู จั ด การเป น บุ ค คล


ตางหากจากหางฯ แตหุนสวนผูจัดการมีอํานาจหนาที่ทํา
การแทนห า งฯ เหตุ ผ ลที่ ศ าลฎี ก าถื อ ว า ห า งฯ เป น
ผูเสียหายที่แท จริง และหุนสวนผูจัดการไมใชผูเสียหาย
คงเปนเพราะการครอบครองดูแลทรัพยสินของหุนสวน
ผูจัดการเปนการครอบครองแทนหางฯ นั่นเอง

ผูเสียหายในความผิดฐานฉอโกง โดยปกติไดแก ผูที่


ถูกหลอกลวง เชน จําเลยหลอกผู เชาซื้ อใหข ายเงินดาวน
รถยนต แ ก จํ า เลยและนํ า เอารถยนต ไ ป ผู เ ช า ซื้ อ เป น
ผูเสียหายในความผิดฐานฉอโกง ดูฎีกา 7960/2551
แมผูท่ีถูกหลอกลวงกระทํ าในฐานะผูแทนบริษัทซึ่ ง
เปนคูสัญญากับจําเลยก็ถือวาเปนผูไดรับความเสียหายจาก
การกระทํา ความผิด ฐานฉอโกงตามาตรา 2 (4) ดู ฎีก าที่
2679/2559

37
(ต่อ)
ฎีกาที่ 4684/2528 (ประชุมใหญ) การที่จําเลย
ซึ่งเปนผูจัดการของโจทกรวมหลอกลวงลูกคาของโจทกรวม
วาโจทกรวมขึ้น ราคาสินคา ลูกคาหลงเชื่อซื้อตามนั้น เงิน
ส วนที่ขายเกินกําหนดเป นเงินของลูกคาสงมอบใหจําเลย
เพราะถูก จําเลยหลอกลวง มิใ ช เ ป นเงิ นที่ จํา เลยไดรั บ ไว
เกี่ยวดวยการเปนตัวแทนตาม ป.พ.พ. มาตรา 810 จึงเปน
เงิ น ของลูก ค า ผู ถู ก หลอกลวงหาใช เ งิ น ของโจทก ร ว มไม
โจทกรวมจึงมิใชผูเสียหาย เมื่อลูกคาผูเปนเจาของเงินซึ่ง
เป นผูเสีย หายมิได รองทุกข พนักงานอัย การโจทกจึงไม มี
อํานาจฟอง

(ต่อ)

ขอสังเกต เรื่องนี้ จําเลยหลอกลวงลูกคาและเอา


เงินเฉพาะสวนที่เกินราคาสินคาไปผูที่ถูกหลอกลวงก็คือ
ลูกคาที่ซ้อื สินคาและเงินสวนที่เกินก็เปนของลูกคา ลูกคา
จึง เป น ผูเสีย หายในความผิ ดฐานฉ อโกง โจทกร วมเป น
เจาของสินคาแตไมมีสิทธิไดรับเงินคาสินคาที่ลูกคาจาย
เกินนั้น การที่จําเลยในฐานะตัวแทนของโจทกรวมรับเงิน
ไวจึงไมถือวาเปนการรับไวแทนโจทกรวม โจทก รวมจึ ง
ไมใชผูเสียหาย

38
(ต่อ)

ผู ที่ ถู ก หลอกลวงเป น ผู เ สี ย หายในความผิ ด ฐาน


ฉ อ โ ก ง แ ม จ ะ มิ ไ ด เ ป น เ จ า ข อ ง ท รั พ ย ดู ฎี ก า ที่
1341/2495 หรือผูอื่นเปนผูสงทรัพยใหก็ตาม ดูฎีกาที่
1064/2491
เจ า ของทรั พ ย สิ น ที่ ไ ม ใ ช ผู ถู ก หลอกลวงด ว ยเป น
ผูเสียหายในความผิดฐานฉอโกงไดดูฎีกาที่ 8575/2551
กรณีเจาของเงินไมไดถูกหลอกลวงแตเปนผูทําสัญญากูใน
ฐานะผูใหกูก็เปนผูเสียหายได ดูฎีกาที่ 10552/2553

(ต่อ)

แตการที่จําเลยมีเจตนาหลอกลวงทรัพยสินของคน
หนึ่ง ผูถูกหลอกลวงนําเรื่องไปบอกแกบุคคลที่สาม บุคคล
ที่ สามหลงเชื่อจึ งมอบเงิ น สว นหนึ่ งให แกผูถู กหลอกลวง
นําไปมอบใหแกจําเลย ดังนี้ ผูถูกจําเลยหลอกลวงเทานั้น
เปนผูเสียหายในความผิดฐานฉอโกง สวนบุคคลที่สามไม
เปนผูเสียหาย ดูฎกี าที่ 6969/2555

39
(ต่อ)

กรณีหางหุนสวนสามัญไมจดทะเบียนหุนสวนทุกคน
ยอมจัดการหางหุนสวนนั้นไดทุกคน จึงเปนผูเสียหายใน
ความผิ ดที่ ก ระทํ า ต อ ทรั พ ย ข องห า งฯ ได ดู ฎี ก าที่
3559/2550 เป นความผิ ดฐานฉ อ โกงหรื อยั กยอก (ดู
ฎ.9948/2555 เรื่องผูเสียหายในความผิดฐานยักยอก)

(ต่อ)

จําเลยเอาเช็คไปปลอมลายมือชื่อของผูรับเงิ น
สลักหลังโอนใหจําเลย แลวนําไปหลอกลวงธนาคารให
จายเงิน เปนการกระทําตอธนาคาร ไมไดกระทําตอ
ผูรบั เงินตามเช็ค ดังนี้ธนาคารและเจาหนาที่ธนาคารที่
ถูกหลอกลวงเปนผูเสียหายในความผิดฐานฉอโกง สวน
ผูที่มีชื่อเปนผูรับเงินตามเช็คไมใชผูเสียหายในความผิด
ดังกลาว ดูฎีกาที่ 2193/2534

40
(ต่อ)

ขอสังเกต เรื่อ งนี้ ถือว า โจทกรวมมิ ไ ดเปน


ผูเสียหายในความผิดฐานฉอโกง เพราะโจทกรวม
มิไดถูกจํา เลยหลอกลวง ทั้ งเงินที่จําเลยเบิ กจาก
ธนาคารมาไดก็ยังไมถือว าเปนเงิ นของโจทก รวม
โจทก ร ว มจึ ง ไม ไ ด รั บ ความเสี ย หายในการ
หลอกลวงของจําเลย แตการที่จําเลยปลอมลายมือ
ชื่ อ โจทก ร ว มสลั ก หลั ง เช็ ค ถื อ ว า โจทก ร ว มเป น
ผูเสียหายในความผิดฐานปลอมเอกสารแลว

(ต่อ)

ในกรณีการรับฝากเงิน ผูรับฝากมีสิทธินําเงิน
ที่รับ ฝากไปใชได เพียงแต มีห นา ที่ ตอ งคื นเงิ นแกผู
ฝากใหครบจํานวนเทา นั้น (ป.พ.พ. มาตรา 672)
หากมีผูมาหลอกลวงเอาเงินจากผูรับฝาก ผูรับฝากก็
ยั ง มี ห น า ที่ คื น เงิ น ให แ ก ผู ฝ าก ผู ฝ ากจึ ง ไม ใ ช
ผูเสี ยหายในความผิดฐานฉอ โกง ผูรั บฝากเท านั้ น
เป น ผู เ สี ย หาย ดู ฎี ก าที่ 6966-6967/2558,
87/2506 (ประชุมใหญ) , 613/2540

41
(ต่อ)

ข อ สั ง เกต เรื่ อ งนี้ โจทก ร ว มเป น ธนาคาร


จําเลยปลอมลายมือชื่อของเจาของบัญชีฝากในคํา
ขอใช บ ริการบัตร เอ.ที.เอ็ ม. จากนั้นได ลักบั ตรไป
ถอนเงินจากธนาคาร ถือวาเงินที่ไดมานั้นยังเปนเงิน
ของธนาคารไมใชเงิน ของลูก ค าผู ฝากเงิ น (เพราะ
ลู ก ค า ไม ไ ด เ ป น ผู ข อออกบั ต ร) ธนาคารจึ ง เป น
ผู เ สี ย หาย (ฐานลั ก ทรั พ ย ปลอมเอกสารและใช
เอกสารปลอม)

(ต่อ)
แตถาเปนกรณีที่จําเลยหลอกลวงเอาบัตร เอ.ที.เอ็ม.
ที่แทจริงจากลูกคาของธนาคารแลวนําไปถอนเงินจากตูเบิก
เงินดวน ถือวาเงินที่ถอนมาเปนเงินของลูกคาแลว ลู กค า
เปนผูเสียหาย เทียบฎีกาที่ 671/2539, 4611/2549
ความเสียหายในความผิดฐานฉอโกง ตองเปนความ
เสียหายโดยตรงจากการหลอกลวงของผูกระทําผิด ที่โจทก
บรรยายฟองวาการหลอกลวงของจําเลยเปนผลใหโจทกถูก
จําเลยฟองเปนคดีแพง มิใชความเสียหายโดยตรง โจทกจึง
ไมเปนผูเสียหาย ดูฎีกาที่ 1357/2533

42
(ต่อ)

ฎีกาที่ 736/2504 จําเลยหลอกลวงวาจะพา


ไปเรียนหนังสือตอที่กรุงเทพฯ ใหโจทกเตรียมหาเงิน
ไว และแนะนําใหโจทกลักเงินของบิดา โจทก ปฏิบัติ
ตาม เมื่อไดเงินมาแลวมอบใหจําเลย จําเลยไดเอาเงิน
นั้นไปเสีย ดังนี้โจทกไมใชผูเสียหายในความผิดฐานลัก
ทรัพยแตเปนผูเสียหายในความผิดฐานฉอโกง

(ต่อ)

ขอสังเกต จําเลยมีความผิดฐานใชใหโจทกลัก
ทรัพย และฐานฉอโกงโจทกสําหรับความผิดฐานลัก
ทรัพยนั้น โจทกเปนผูกระทําผิดฐานลักทรัพยเอง จึง
ไมเปนผูเสียหายโดยนิตินัย สวนความผิดฐานฉอโกง
โจทก ถู ก จํ า เลยหลอกลวง โจทก ไ ม มี ส ว นในการ
กระทําฐานนี้ดวย จึงยังคงเปนผูเสียหายในความผิด
ฐานนี้อยู

43
(ต่อ)

ฎี ก าที่ 2600/2516 ป.ตกลงว า จ า ง ส.


ซอมรถยนต คิดเปนเงิน12,500 บาท ในระหวาง
กําลังซอม จําเลยซึ่งเปนลูกจางของ ส. ไดหลอกลวง
ป. ใหเ ชื่ อ วา ทางอู ข อง ส. ให จํา เลยมาขอรั บ เงิ น
5,000 บาท เพื่อไปซื้อเครื่องอะไหลในการซอมรถ
ป.จึงมอบเงินใหจาํ เลยไป

(ต่อ)

ดังนี้ การกระทํา ของจํ าเลยเปนความผิดฐานฉ อโกง


และ ป. ไดรับความเสียหายจากการกระทําของจําเลย
แลว จึงมีอํานาจรอ งทุก ขไ ด ถึงแม ส. จะรับ เงิ นค า
ซอมแซมอีกเพียง 7,500 บาท ไวจาก ป. และมอบ
รถให ป. ไปก็ตาม ก็เปนเรื่ องระหวา ง ป.กั บ ส. ไม
เกี่ยวกับจําเลยและเงินที่จําเลยรับไป ไมทาํ ให ป. ผูถกู
หลอกลวงพนจากการเปนผูเสียหาย

44
(ต่อ)

ขอสังเกต ป. เปนผูเสียหายในความผิดฐานฉอโกง
เพราะเปนผูที่ถูกจําเลยหลอก แมภายหลัง ส.จะยอมรับเงิน
คาซอมรถยนตเฉพาะสวนที่ขาดอยูเทานั้น ไมไดให ป. ตอง
รับผิดเต็มจํานวนที่ตกลงกัน ป.ก็ยังคงเปนผูเสียหายอยู
ฎี ก าที่ 4018/2542 การที่ จํ า เลยที่ 1 นํ า ใบ
บั น ทึ ก รายการขายปลอมไปใช เ บิ ก เงิ น จากธนาคาร
ธนาคารจึงเปนผูเสียหาย ไมใชผูถือบัตรเครดิตที่ถูกปลอม
ลายมือชื่อเปนผูเสียหาย

(ต่อ)

ขอ สัง เกต โจทก ฟ อ งขอให ล งโทษจํ า เลยฐาน


ปลอมและใชเอกสารสิทธิปลอมและฐานฉอโกง จําเลย
คงฎี ก าเฉพาะป ญ หาว า ธนาคารเป น ผู เ สี ย หายใน
ความผิ ด ฐานฉ อ โกงหรื อ ไม จะเห็ น ได ว า ผู ถื อ บั ต ร
เครดิตไมใชผูที่ถูกหลอกลวง ไมใชเจาของเงิน และไม
ตองรับผิดชอบในรายการค าใชจายดังกลาว จึงไม ใช
ผูเสียหายในความผิดฐานฉอโกง

45
(ต่อ)

ส ว นความผิ ด ฐานปลอมและใช เ อกสารสิ ท ธิ


ปลอมนั้น การที่จําเลยไปปลอมลายมือชื่อของผูถือบัตร
ผูถือบัตรยอมไดรับความเสียหายในตัว ผูถือบัตรจึงเปน
ผูเสียหายในความผิดฐานนี้
ฎีกาที่ 12582/2547 แมพนักงานอัยการจะมี
คําขอทายฟองใหจาํ เลยคืนเงินแกธนาคาร ท. ผูจายเงิน
ตามใบบันทึกรายการขายที่เกิดจากการใชบัตรเครดิต
ปลอมของจําเลยก็ตาม

(ต่อ)

แต เ มื่อ ความเสีย หายที่ ธ นาคาร ท. ไดรั บ นั้ น เป น


เพียงความเสี ยหายทางแพ ง ไมใช ถูก จําเลยกระทํ า
ทางอาญา จึงไมใชผูเสียหายตาม ป.วิ.อ. มาตรา 2
(4) พนั ก งานอั ย การย อ มไม มี อํ า นาจขอให ศ าลสั่ ง
จํ า เลยคืน เงิ น ที่ ธ นาคาร ท. จ า ยใหร า น ห. ให แ ก
ธนาคาร ท. ตาม ป.วิ.อ. มาตรา 43 ได

46
(ต่อ)

ข อ สั ง เกต จํ า เลยปลอมบั ต รเครดิ ต ว า ของ


ธนาคาร ท. โดยระบุชื่อ ส. แลวนําไปซื้อสินคาที่ราน ห.
โดยอางวาจําเลยคือ ส. ธนาคาร ท. จายเงินคาสงสินคา
ใหแกราน ห. ดังนี้ ผูเสียหายในความผิดฐานฉอโกงนั้น
ปรากฏวา จํา เลยไดแ สดงตนว าเปน ส. แกรา น ห. จึง
เปนการแสดงขอความอันเปนเท็จแกพนักงานขายของ
ราน ห. เปนผูเสียหายในความผิดฐานฉอโกง

(ต่อ)

ส วนธนาคาร ท. มิได ถูก จําเลยหลอกลวงด วย ทั้ ง


ทรัพ ย สิน ที่ ม อบใหจํา เลยก็เ ปน สิ น ค า ของร า น ห.
ธนาคาร ท. จึงมิใชผูเสียหายในความผิดฐานฉอโกง
พนักงานอัยการยอมไมมีอํานาจขอใหศาลสั่งจําเลย
คืนเงิน ที่ธนาคาร ท. จายใหราน ห. ใหแกธนาคาร
ท. ได

47
ผู เ สี ย หายมอบเงิน ให จํ า เลยนํ า ไปให เ จ า
พนัก งานที่เกี่ย วของ เพื่อ ใหบุ ตรของตนเขา รั บ
ราชการโดยไม ต อ งสอบอั น เป น การหลอกลวง
ผูเสียหาย ถือวาผูเสียหายใชใหจําเลยกระทําผิด
ไ ม ใ ช ผู เ สี ย ห า ย โ ด ย นิ ติ นั ย ดู ฎี ก า ที่
1960/2534

(ต่อ)
แตถาไมปรากฏวาผูเสียหายใหเงินจําเลยไปเพี่อใหจําเลย
นําไปใหเจาพนักงานกระทําการอันมิชอบดวยหนาที่เพื่อ
ช ว ยให เ ข า รั บ ราชการโดยไม ต อ งสอบ เช น นี้ ยั ง เป น
ผู เ สี ย ห า ย โ ด ย นิ ติ นั ย ดู ฎี ก า ที่ 4 7 4 4 / 2 5 3 7 ,
4005/2551, 4691/2547
แต ถาผูถูกหลอกลวงมิไดกระทําความผิ ดใด ๆ ไม
อาจถื อ ได ว า รว มกั นนํ า สิ นบนไปให เ จา พนั ก งานเพื่ อ ให
ตนเองพนผิด ยั งคงเปนผูเสียหายตามกฎหมาย ดูฎีกาที่
4212/2550

48
(ต่อ)

แตถาหลอกลวงใหผูเสียหายเลนการพนันเพื่อเอา
เงิ นจากผูเสียหายเสี ยเองไมไดหลอกลวงใหผูเสียหาย
เข ารวมเล นการพนันเพื่อ ตมหรือ หลอกลวงบุคคลอื่ น
แล ว ผู เ สี ย หายมิ ไ ด มี ส ว นร ว มในการกระทํ า ผิ ด ฐาน
ฉ อ โกงด ว ย เป น ผู เ สี ย หายโดยนิ ติ นั ย ดู ฎี ก าที่
5612/2556, 1335/2552, 3327/2532
แต มี ฎีก าที่ 3369/2556 วิ นิ จ ฉั ย ไปอี ก ทาง
หนึ่ง ดูฎีกาดังกลาว

(ต่อ)

ฎีกาที่ 3369/2556 การที่ใหผูเสียหายเลน


การพนั น นั้ น เป น เหตุ ที่ ทํ า ให จํ า เลยทั้ ง สองได
ทรัพยสินของผูเสียหายไปเพราะผูเสียหายรวมเล น
การพนันดวย โดยผูเสียหายเปนฝายแพพนันจึงมอบ
ทรัพยสินใหจําเลยทั้งสองกับพวกไป เมื่อผู เสียหาย
ทราบดีวาเปนการเลนการพนันซึ่งเปนสิ่งผิดกฎหมาย

49
(ต่อ)

จึงถือวาผูเสีย หายรวมกันกระทําความผิดฐานเลนการ
พนัน โดยไมไดรับ อนุญาตกั บ จํ าเลยทั้ งสองกับพวกอั น
เปน ความผิดตามกฎหมาย ผูเสียหายจึงมิใช ผูเสียหาย
โดยนิตินัย แมผูเสียหายจะรองทุกขไวย อมเทากับไมมี
การรองทุกขตามกฎหมาย ซึ่งเปนผลหามมิใหการทําการ
สอบสวนตอไป ดังนั้น การสอบสวนที่ดําเนินตอมาจึงไม
กอสิทธิเกิดอํานาจแกพนักงานอัยการยื่นฟองคดี โจทก
จึงไมมอี ํานาจฟองคดีนี้

(ต่อ)

จําเลยหลอกลวงโจทกวาจะนําเงินไปปลอยกูเกิน
กวาอัตราที่กฎหมายกําหนด โจทกหลงเชื่อจึงมอบเงินให
จําเลยไปปลอยกูเปนการแสวงหาผลประโยชนอันเกิด
จากการกระทําผิดกฎหมาย โจทกไมเปนผูเสียหายโดย
นิตินยั ดูฎีกาที่ 13489/2553, 12530/2556
หลอกลวงวาจะขายธนบัตรปลอมใหเปนความตก
ลงที่มีวัตถุประสงคผิดกฎหมายไมเปนผูเสียหายโดยนิติ
นัย (ฎ.771/2493)

50
ความผิดฐานลักทรัพย ทําให เสียทรัพย รับของโจร
บุ ก รุ ก เป น การกระทํ า ที่ ก ระทบต อ กรรมสิ ท ธิ์ แ ละสิ ท ธิ
ครอบครอง ดังนี้เจาของทรัพยหรือผูครอบครองดูแลรักษา
ทรัพยนั้นเปนผูเสียหาย ในความผิดดังกลาวได เชน ผูขนสง
เปนผูครอบครองดูแลทรัพยท่ีขนสง เปนผูเสียหายโดยตรง
จากการที่ทรัพยที่ขนสงสูญหาย ดูฎีกาที่ 12578/2547,
5980-5981/2539

(ต่อ)

สั ญ ญาซื้ อ ขายสั ง หาริ ม ทรั พ ย ที่ ไ ม ใ ช ท รั พ ย


เฉพาะสิ่ง กรรมสิทธิ์ก็ยังคงเป นของผู ขาย ดู ฎีก าที่
761/2555 หรือกรณี แมก รรมสิ ท ธิ์ในทรัพย สินที่
ซื้อขายไดโอนไปยังผูซื้อ แล ว แต ตราบใดที่ผูขายยั ง
ครอบครองทรัพยสินนั้นอยู ดูฎีกาที่ 5855/2550
ทั้งสองกรณีผูขายยอมเปนผูเสียหายในความผิดฐาน
ลักทรัพย

51
(ต่อ)

ผูรับประกันภัยที่ไดชดใชคาสินไหมทดแทน
ใหแ ก ผู เ อาประกั น ภั ย (ผู เ สี ย หาย) มิ ใ ช ผู ไ ด รั บ
ความเสียหายเนื่องจากการกระทําความผิดฐานลัก
ทรัพยโดยตรง ไมใชผูเสียหายในความผิดฐานลัก
ทรัพย ดูฎีกาที่ 880/2555

ผู ครอบครองดู แ ลรั ก ษาทรั พ ย เป นผู เ สีย หายใน


ความผิดฐานลักทรัพย ทําใหเสียทรัพ ยและบุก รุก ได ดู
ฎีกาที่ 1548/2535, 1284/2514, 634/2536
ผูเชาเปนผูครอบครองอสังหาริมทรัพยที่เชา เป น
ผูเสียหายในความผิดฐานบุกรุก ดูฎีกาที่ 1355/2504
ผูให เ ชา ซึ่งเปน เจา ของกรรมสิ ทธิ์ ก็ เป น ผู เสี ย หายด ว ย
เชนกัน ดูฎีกาที่ 13489/2553

52
(ต่อ)

ฎีกาที่ 928/2520 (ประชุมใหญ) การที่โจทก


ได เ ข า ครอบครองที่ พิ พ าทซึ่ ง เป น ที่ คู เ มื อ งอั น เป น สา
ธารณสมบัตขิ องแผนดินนั้น การครองครอบของโจทกไม
อาจใชยัน ตอ รัฐไดไ มสมบู รณ ตามกฎหมายโจทกไ มใช
ผูเสียหาย ไมมีอาํ นาจฟองจําเลยในความผิดฐานบุกรุก
ผูไดรับอนุญาตเขาทําประโยชนหรืออยูอาศัยในที่
ปาสงวนแหงชาติ ก็ไมใชผูเสียหายในความผิดฐานบุกรุก
ดูฎีกาที่ 6256/2559

53
(ต่อ)
แตถาเปนเพียงที่ดินของรัฐที่อยูในเขตปฏิรูปที่ดิน ผู
ครอบครองที่ดินเปนผูเสียหายในความผิดฐานบุกรุก แมผู
บุกรุกเปนผูที่ไดรับหนังสื ออนุญ าตใหเขาทําประโยชน ใน
ที่ดนิ ก็ตาม ดูฎีกาที่ 15933/2557
ข อ สั ง เกต แม ผู ค รอบครองสาธารณสมบั ติ ข อง
แผนดิ นไมใชผูเสี ยหายในความผิดฐานบุ กรุก แตอาจเปน
ผูเสียหายในความผิดฐานทําใหเสียหายแกตนไมหรือสิ่งปลูก
สร า งที่ ผู ค รอบครองปลู ก สร า งไว ใ นสาธารณสมบั ติ ข อง
แผนดินได ดูฎีกาที่ 5310/2530, 17209/2555

ผู เสี ย หายในความผิ ด ฐานทํ า ให เสี ย ทรั พ ย ไดแ ก


เจาของทรัพยและผูครอบครองดูแลรักษาทรัพยนั้น
ผูครอบครองดูแลรักษาทรัพยจะตองเปนผู ที่ไดรับ
มอบหมายโดยตรงจากเจาของทรัพยใหเปนผูครอบครอง
ดูแลรักษาทรัพยนั้นดวย ถาเจาของเพียงแตอนุญาตใหพัก
อาศั ย อยู ใ นห อ งพั ก ผู ที่ พั ก อาศั ย ไม ใ ช ผู เ สี ย หายใน
ความผิดฐานทําใหเสียทรัพย ดูฎกี าที่ 3523/2541

54
(ต่อ)

กรณี ผู ค รอบครองดู แ ลรั ก ษาทรั พ ย ที่ จ ะเป น


ผูเสียหายในความผิดเกี่ยวกับทรัพยนี้ หมายถึง บุคคลที่
ไดรับมอบหมายโดยตรงจากเจาของทรัพยใหครอบครอง
ทรัพยนั้น เชนผูเชา ผูเชาซื้อ ผูรับฝากทรัพย ผูยืม หรือ
ตัวแทน หากเปนเพียงผูยืดถือใชทรัพยโดยอาศัยสิทธิของ
เจ า ของทรั พ ย เช น การใช ท รั พ ย ใ นฐานะบุ ต รไม ใ ช
ผูเสียหาย ดุฎีกาที่ 9270/2554

(ต่อ)
เปนเจาของที่ดิน แตไมไดเปนเจาของผูครอบครอง
รถยนตและเต็น ทซึ่งอยูในที่ ดินนั้น จึง ไม ใช ผูเสีย หายใน
ความผิ ด ฐานทํ า ให ร ถยนต แ ละเต็ น ท เ สี ย หาย ดู ฎี ก าที่
7477/2541
เรื่องทางภาระจํายอม เจาของสามยทรัพย (เจาของ
ที่ ดิ น ที่ มี สิ ท ธิ ใ ช ท างภาระจํ า ยอม) ไม ใ ช เ จ า ของหรื อ ผู
ครอบครองภารยทรัพย จึงไมเปนผูเสียหายที่จะมีอํานาจ
ฟ อ ง ผู ที่ ทํ า ใ ห ภ า ร ย ท รั พ ย นั้ น เ สี ย ห า ย ดู ฎี ก า ที่
1828/2523

55
ฎีกาที่ 1007/2524 การที่จําเลยนําความเท็จมา
ฟองโจทกเปนคดีอาญาถึงแมศาลชั้นตนจะพิพากษายกฟอง
ในชั้ น ไต สวนมู ล ฟ อ ง แต โ จทก ผู ถู ก ฟ อ งย อ มได รั บ ความ
เสียหายจากการกระทําของจําเลย โจทกจึงเปนผูเสียหาย
ตามกฎหมายและคําฟองในคดีนั้นก็ถือวาเปนคําฟองโดย
ชอบด วยกฎหมายแลว โจทก จึงมีอํ านาจฟ องจํา เลยเป น
คดีอาญาฐานฟองเท็จตาม ป.อ. มาตรา 175 ได

ค ว า ม ผิ ด ฐ า น เ บิ ก ค ว า ม เ ท็ จ แ ล ะ แ ส ด ง
พยานหลัก ฐานอัน เปนเท็จ ตามประมวลกฎหมายอาญา
มาตรา 177 และ 180 สวนไดเสียในความผิดทั้ง 2 ฐาน
นี้ คือ ผลแหงการแพ คดีช นะคดี ดัง นั้ น ผูที่ ไ ด รับ ความ
เสียหายจึงนาจะเปนคูความฝายใดฝายหนึ่งในคดีนั้นเอง
หรือเจาพนักงานในการยุติธรรม ดูฎีกาที่ 533/2541,
4804/2531, 1033/2533, 951/2531

56
(ต่อ)

ต อ มามี คํ า พิ พ ากษาฎี ก าที่ 2224/2536


วินิจฉัยวา ผูเสียหายในความผิดฐานเบิกความเท็จไม
จําเปนตองคํานึงวาเปนคูความในคดี ถาคําเบิกความ
นั้ น ไปกระทบถึ ง สิ ท ธิ ข องบุ ค คลภายนอก ทํ า ให
บุคคลภายนอกไดรับความเสียหาย ก็เปนผูเสียหายได
โจทก รวมถือเปนคูความย อมเปนผู เสี ยหายใน
ความผิดฐานเบิกความเท็จได ดูฎีกาที่ 892/2516

(ต่อ)

คู ค วามที่ จ ะเป น ผู เ สี ย หายในความผิ ด ฐานเบิ ก


ความเท็จจะตองเปนตัวความที่แทจริง ทนายความไมใช
ผูเสียหายโดยตรง ไมมีอํานาจฟอง (ฎ.ที่ 1709/2524
ประชุมใหญ)
ผูรับมอบอํานาจใหฟองหรือตอสูคดี แมจะถือวา
เปน คูความ แต ก็มิ ใชผูไ ดรับ ความเสี ย หายโดยตรงใน
ความผิดฐานเบิกความเท็จ หรือนําสืบพยานหลักฐานอัน
เปนเท็จ ดูฎีกาที่ 9127/2554

57
(ต่อ)
อยางไรก็ดี คูความไมใชผูเสียหายในความผิดฐานเบิก
ความเท็จ หรือ แสดงพยานหลั ก ฐานอั น เป นเท็ จ ในกรณี
ตอไปนี้
1. ขอความที่เบิกความในชั้นไตสวนคํารองขอยกเวน
คาธรรมเนียมศาล ถือวาเปนเรื่องสวนตัวของคูความฝายนั้น
ไมเกี่ยวกับ คูความอีกฝายหนึ่ง แม จะเปนเท็ จ คูความอี ก
ฝายหนึ่งก็ไม ใชผูเสียหายในความผิดฐานเบิกความเท็จ ดู
ฎีกาที่ 555/2514 และกรณีเชนนี้ถือวาไมเปนผูเสียหาย
ในความผิดฐานแจงความเท็จดวย ดูฎีกาที่ 1050/2518

(ต่อ)

2. กรณีคูความเบิกความเท็จในชั้นไตสวนคํา
ร อ งขอเลื่ อ นคดี ถื อ ว า ความเสี ย หายมิ ไ ด เ กิ ด แก
คู ความอีก ฝายหนึ่ งโดยตรง คู ความอีก ฝ า ยหนึ่ง นั้น
ยอมไมเปนผูเสียหาย ดูฎีกาที่ 297/2508
3. ในกรณีจําเลยเบิกความเท็จในชั้นไตสวนขอ
อนุญาตยื่นคําใหการ ไมใชกลาวหาวาโจทกกระทําผิด
โจทกจึงไมใชผูเสียหาย ดูฎีกาที่ 1572/2525

58
(ต่อ)

4. จําเลยเบิก ความเท็จ เกี่ ยวกั บค าเสี ย หาย


แตเปนคาเสียหายที่โจทกไมมีสิทธิไดรับโจทกไมเปน
ผูเสียหายในความผิดฐานเบิกความเท็จจริง แมโจทก
จะเปนคูความในคดีก็ตาม ดูฎีกาที่ 8278/2540

แม ค วามผิ ด ฐานแจ ง ความเท็ จ จะเป น


ความผิ ด ต อ เจ า พนั ก งาน แต ร าษฎรก็ อ าจเป น
ผูเสียหายได ถาไดรับความเสียหายโดยตรง เช น
ขอความเท็จนั้นมีผลทําใหผูเสียหายตองถูกดําเนิน
คดีอาญา ดูฎีกาที่ 2415/2535, 2625/2536

59
(ต่อ)

แต ก ารที่ จํ าเลยมี ชื่ อ ถื อ กรรมสิ ท ธิ์ ใ นโฉนดที่ดิ น


แทนโจทก จําเลยไปแจงเท็จวาโฉนดที่ดินสูญหาย ความ
จริงอยูที่โจทก โจทกเปนผูเสียหายในความผิดฐานแจง
ความเท็จ ดูฎีกาที่ 19287/2555
ขายที่ ดิน ไปแลวแตกลั บไปแจงความวา น.ส. 3
หรือ ส.ค. 1 หาย เพื่อนําไปขอออกใบแทนทําใหผูที่ซื้อ
ที่ดินซึ่งเปนเจาของแทจริงไดรับความเสียหาย เจาของ
ที่ดนิ เปน

(ต่อ)

ชายจดทะเบียนสมรสซอน โดยแจงตอนายทะเบียน
วาตนยังไมเคยสมรสมากอน ดังนี้ทั้งภรรยาใหมและภรรยา
เดิม เปน ผู เสียหายในความผิดฐานแจ งความเท็จ ดุฎี กาที่
2614/2518, 2583/2522, 5052/2530
ข อ สั ง เกต ตามคํ า วิ นิ จ ฉั ย แสดงว า ถ า หญิ ง ที่ จ ด
ทะเบียนสมรสภายหลังทราบวาชายมีภริยาอยูกอนแลวก็ยัง
ยอมจดทะเบียนสมรสกับชายนั้นอีก ไมเปนผูเสียหายโดย
นิตินยั ผูไดรับความเสียหาย ดูฎีกาที่ 1955/2546

60
กลาวโดยเฉพาะความผิ ดฐานปลอมเอกสาร
โดยปลอมลายมือของผูอ่นื ถือวาผูที่ถูกปลอมลายมือ
ชื่อไดรับความเสียหายจากการกระทําความผิดฐานนี้
โดยตรง จึ ง เป น ผู เ สี ย หายในความผิ ด ฐานปลอม
เอกสารและฐานใชเอกสารปลอม

สําหรับความผิดฐานใชเอกสารปลอมผูที่ไดรับ
ความเสียหายรวมถึงผูที่จําเลยนําเอกสารปลอมนั้นไป
ใชและผูไดรับความเสียหายจากการใชเอกสารนั้นดวย
ดู ฎี ก า ที่ 1 4 7 9 3 / 2 5 5 5 , 3 2 5 2 / 2 5 4 5 ,
7001/2544, 9321/2554

61
(ต่อ)

จําเลยปลอมลายมือชื่อเจามรดกวาเจามรดกทํา
หนั ง สื อ สั ญ ญาซื้ อ ขายที่ ดิ น ซึ่ ง เป น การแสดงว า เจ า
มรดกขายที่ดิน ใหแ กจํา เลยแล ว นํ า ไปยื่ น คํ า ร อ งของ
แสดงกรรมสิทธิ์และฟองรองใหทายาทโอนที่ดินใหแก
จํ า เลย ทายาทที่ มี สิ ท ธิ รั บ มรดกเป น ผู เ สี ย หายใน
ความผิดฐานปลอมเอกสารสิทธิและฐานใชเอกสารสิทธิ
ปลอม ดูฎีกาที่ 9026/2553

(ต่อ)

โจทก ซึ่งเปนเจาหนี้ยึด โฉนดที่ ดินของลู กหนี้ไ ว


เปนประกันเงินกู จําเลยที่ 1 ขอโฉนดที่ดินไป ตอมานํา
โฉนดที่ดินปลอมมาใหโจทกยึดถือแทนฉบับเดิม แมได
ความวาผูปลอมไดนําโฉนดที่ดินฉบับที่ เก็บรัก ษาไว ที่
สํานักงานที่ดินเปนแบบในการปลอมก็เปนการกระทํา
ตอโจทกโดยตรงโจทกเปนผูเสียหายฐานปลอมหรือใช
เอกสารสิ ท ธิ อั น เป น เอกสารราชการปลอม ดู ฎี ก าที่
10066/2557

62
(ต่อ)

จําเลยใชบัตรเครดิตปลอมไปชําระคาสินคาและ
บริการเปนเหตุใหธนาคารตามบัตรเครดิตตองจายเงิน
ใหแกรานคาผูรับบัตรเครดิตปลอม ถือวาธนาคารตาม
บัตรเครดิตเปน ผู เสียหายในความผิ ดฐานใชเอกสาร
ปลอม ดูฎีกาที่ 7001/2544

(ต่อ)

การปลอมหนังสือมอบอํานาจขณะเจาของที่ดิน
ยังมีชีวิต เจาของที่ดินเปนผูเสียหายสวนผูท่ีอางวาจะ
ได รั บ ที่ ดิ น ในภายหลั ง ไม ใ ช ผู เ สี ย หาย ดู ฎี ก าที่
8159/2557
ผูรับมอบอํานาจใหฟองคดี ไมเปนผูเสียหายใน
กรณี ที่ จํ า เลยปลอมหรื อ ใช เ อกสารปลอมเป น
พยานหลักฐานในคดีนั้น ดูฎีกาที่ 3561/2525

63
(ต่อ)

จําเลยปลอมลายมือชื่อผูตายเพื่อขอลางานตอ
ผูบังคับบัญชาของผูตาย กับปลอมจดหมายสงไปถึง
บุตรผูตายวาผูตายตองไปฝกสมาธิ บิดาผูตายมิใชผู
ไดรับความเสียหายจากการกระทําดังกล าว ไมเปน
ผูเสียหายในความผิดฐานปลอมและใชเอกสารปลอม
ดูฎีกาที่ 2236-2237/2550

(ต่อ)

ฎี ก าที่ 4225/2259 การที่ จํ า เลยนํ า ส.


ป.ก.4-01 ไปถายสําเนาแลวลบชื่อบิดาจําเลยผูไดรับ
อนุ ญ าตให เ ข า ทํ า ประโยชน เ ดิ ม และเปลี่ ย นเป น ชื่ อ
จํา เลย และจํ า เลยนํ า ไปขายแก น . และ จ. ทั้ ง ที่
จําเลยรับกับโจทกแลววาจะไมจําหนาย จํานํา หรือกอ
ภาระผูกพันในที่ดินพิพาทเห็นวาที่ดินพิพาทอยูในเขต
ปฏิรปู ที่ดินเพื่อเกษตรกรรมยังเปนของรัฐ

64
(ต่อ)

เพียงแตรฐั นําที่ดินมาจัดสรรใหประชาชนครอบครอง
ทํากินเทานั้น การกระทําของจําเลยดังกลาวไมกอให
น. และ จ. มี สิ ท ธิ ใ ดๆ ในที่ ดิ น พิ พ าท แม จํ า เลย
รั บรองตอ โจทกว า ไมจํ า หน า ย จํ า นํ า หรื อ ก อ ภาระ
ผูกพันในที่ดินพิพาท โจทกก็มิใชผูไดรับความเสียหาย
จากการที่จําเลยปลอมและใชเอกสารปลอม

(ต่อ)

ฎีกาที่ 1592/2528 จําเลยในฐานะครูใหญ ยื่น


เอกสารใบรับรองแพทยประกอบใบลาปวยตอผูจัดการ
โรงเรียนคือจําเลยเอง โจทกซึ่งเปนเพียงเจาของโรงเรียน
มิไดมีสวนเกี่ยวของกับการบริหารกิจการของโรงเรียนใน
ขณะนั้ น แต ป ระการใด แม ใ บรั บ รองแพทย จ ะเป น
เอกสารปลอม แตจําเลยมิไดใชเอกสารดังกลาวแสดงตอ
โจทก โจทกจึงมิใชผูเสียหายในขอหาเอกสารปลอมตาม
ป.อ.มาตรา 268

65
(ต่อ)

ฎีกาที่ 734/2530 โจทกจําเลยตางรับราชการ


ครูโรงเรียนเดียวกัน วันเกิดเหตุโจทกไปถึงโรงเรียนกอน
จําเลยและลงเวลามาทํางานวา 8.00 นาฬิกา จําเลยลบ
เวลาที่ โจทก เ ขีย นไวอ อกแล ว เขี ย นทั บ ลงไปวา 7.46
นาฬิกา เป นการแกวาโจทก มาทํางานเร็วกวา เดิม และ
เวลาที่โจทกเขียนไวเดิมกับเวลาที่จําเลยเขียนแกตางยัง
ไมถึงเวลาปฏิบัติราชการ

(ต่อ)

การเขียนแกจงึ ไมอาจเปนการโกงเวลาราชการไมนาจะ
เกิดความเสียหายแกโจทกและการแกไขเวลาดังกลาวก็
มิใชการกระทําของโจทก โจทกไมอาจถูกลงโทษทาง
วินัยได โจทกจึงไมใชผูเสียหายที่จะมีอํานาจฟองจําเลย
ในความผิดตาม ป.อ.มาตรา 264, 265

66
(ต่อ)

ฎี ก าที่ 1101/2536 โจทก เ ป น เจ า ของ


ลายมือชื่อ เมื่อจําเลยเอาลายมือชื่อไปใชโดยโจทก
ไมยินยอม โจทกยอมเป นผูเสียหายโดยไมจําตอ ง
วินิจฉัยวาที่ดินที่ไปจัดการโอนตามใบมอบอํานาจ
จะเปนของโจทกหรือไม

ความผิดฐานเจาพนักงานปฏิบัติหนาที่โดยมิชอบ
ตาม ป.อ.มาตรา 157 ในตอนแรก มีองคประกอบว า
เพื่อใหเกิดความเสียหายแกผูหนึ่งผูใดนั้น หมายความ
รวมถึงเพื่ อใหเกิดความเสียหายแกบุคคลหรือเอกชนผู
หนึ่ ง ผู ใ ดด วย เอกชนจึ ง อาจเป น ผูเ สี ย หายได (ฎี ก าที่
7030/2551) เชน

67
(ต่อ)

การที่เจาพนักงานละเวนการปฏิบัติหนาที่
เพื่ อ ช ว ยผู ก ระทํ า ความผิ ด อาญาผู เ สี ย หายใน
ความผิ ด อาญาฐานนั้ น ย อ มเป น ผู เ สี ย หายใน
ความผิดฐานเปนเจาพนักงานปฏิบัติหนาที่โดยมิ
ชอบได ดูฎีกาที่ 4881/2541, 2294/2517,
611/2497

(ต่อ)
เจาพนักงานตํ ารวจจดคํา พยานเป นเท็ จเพื่อ ช วย
ผู ก ระทํ า ผิ ด มิ ใ ห รั บ โทษ หรื อ รั บ โทษน อ ยลง เป น การ
ปฏิ บั ติ ห น า ที่ โ ดยมิ ช อบ ผู เ สี ย หายหรื อ ผู จั ด การแทน
ผูเสียหายในความผิดดังกลาวเปนผูเสียหายในความผิด
ฐานปฏิบัติหนาที่โดยมิชอบ ดูฎกี าที่ 2294/2517
ฎีกาที่ 611/2497 ผูใหญบานละเวนไมจับผูฉุด
คราโจทก โดยเจตนาชวยไม ใหผูทํ า ผิดต อ งรับ โทษทาง
อาญา โจทก ไ ด ชื่ อ ว า เป น ผู เ สี ย หายมี อํ า นาจฟ อ งใน
ความผิดตามมาตรา 142 กําหมายลักษณะอาญาได

68
(ต่อ)

ฎีกาที่ 3035/2523 จําเลยเปนผูใหญบานละ


เวนการจับกุมผูบุกรุกที่สาธารณะ มิใชเปนการกระทํา
เพื่อ ใหเกิดความเสียหายแกโ จทกตามความหมายใน
ป.อ.มาตรา 157 เพราะผลของการไมจับกุมมิไดเปน
เหตุใหเกิดความเสียหายแกโจทกเลย

(ต่อ)

การที่ จําเลยแจงความตอพนักงานสอบสวนวา
โจทกเปนผูกระทําผิดฐานบุกรุกที่สาธารณะเปนการ
กระทําอีกกรรมหนึ่งตางหากจากการกระทําดังกลาว
แม โจทก จ ะได รับ ความเสี ย หายจากการกระทํา ของ
จําเลยในขอนี้ก็หาทําใหโจทก เปนผูเสียหายในขอหา
ตาม ป.อ.มาตรา 157 ไปดวยไม โจทกจึงไมมีอํานาจ
ฟองในขอหานี้

69
(ต่อ)

ฎี ก าที่ 3509/2549 การกระทํ า ของ


จํ า เลยที่ เ ป น ความผิ ด คื อ การใช อํ า นาจในฐานะ
พนั ก งานอั ย การสั่ ง ไม ฟ อ งผู ถู ก กล า วหาว า หมิ่ น
ประมาทโจทก ผลของการกระทํ า ของจํ าเลยคื อ
โจทกในฐานะผูเสีย หายไมไ ดรับ การเยี ย วยาตาม
กฎหมาย ดัง นั้ น โจทก จึ งเปนผู เสี ย หายจากการ
กระทํ า ผิ ด ของจํ า เลยโดยตรง โจทก จึ ง เป น
ผูเสียหาย

(ต่อ)

ขอสัง เกต เรื่ อ งนี้ ศาลฎีก าวินิจฉัยว าการ


กระทําของจํ าเลยเปนความผิดตาม ป.อ.มาตรา
157 และมาตรา 200
แต โ ดยทั่ ว ไปความผิ ด ต อ ตํ า แหน ง หน า ที่
ราชการเปน ความเสีย หายที่ ก ระทํ าต อรั ฐ รั ฐจึง
เป น ผู เ สี ย หาย ราษฎรไม ใ ช ผู เ สี ย หาย ดู ฎี ก าที่
3042/2537, 3437/2527

70
เจ า หนี้ ข ณะที่ มี ก ารกระทํ า ความผิ ด (ขณะ
จํ า เลยโอนที่ ดิ น เพื่ อ ให พ น จากการบั ง คั บ คดี ) แม
ตอมาเจาหนี้นั้นไดโอนสิทธิเรียกรองตามคําพิพากษา
ไปใหผูอื่นแลวก็ยังคงเปนผูเสียหายในความผิดฐาน
โกงเจาหนี้ได ดูฎีกาที่ 8782/2558

(ต่อ)

ฎีกาที่ 8782/2558 ป.วิ.อ.มาตรา 2(4) บัญญัติ


วา “ผูเสียหาย หมายความถึงบุคคลผูไดรับความเสียหาย
เนื่องจากการกระทําผิดฐานใดฐานหนึ่ ง...” ซึ่งบุคคลที่
ไดรับความเสียหายจากการกระทําความผิดดังกลาวตอง
พิจารณาขณะที่ความผิดเกิดขึ้นวาบุคคลนั้นไดรับความ
เสียหายจากการกระทํา ความผิ ดนั้ นหรื อไม อีก ทั้งสิท ธิ
ของการเปนผูเสียหายเปนสิทธิเฉพาะตัวและไมอาจโอน
สิทธิความเปนผูเสียหายไปยังบุคคลอื่นได

71
(ต่อ)

สิทธิในการเปนผูเสียหายในคดีอาญาจึงตอง
พิจารณาในขณะที่มีการกระทําความผิดเกิดขึ้น แม
ขณะที่โจทกฟองคดีนี้โจทกโอนสิทธิเรียกรองตามคํา
พิ พากษาในคดีแ พงใหแก บริ ษัท บ. แล วก็แ ต วันที่
จํา เลยกระทําความผิดโจทกยังเปนเจา หนี้ ตามคํ า
พิพากษาในคดีดังกลาว

(ต่อ)

เมื่อจําเลยโอนขายที่ดินของจําเลยใหแก น. เพื่อมิ
ใหโจทกซ่ึงเปนเจาหนี้ตามคําพิพากษาไดรับชํ าระ
หนี้ทั้งหมดหรือบางสวน โจทกจึงเปนผูที่ไดรับความ
เสียหายจากการกระทําความผิดฐานโกงเจาหนี้ของ
จําเลยโจทกยอมอยูในฐานะผูเสียหายและมีอํานาจ
ฟองจําเลยได

72
ความผิ ดตาม พ.ร.บ. วาดวยความผิดอันเกิ ดจากการใช
เช็ ค ฯ เกิ ด ขึ้ น เมื่ อ ธนาคารตามเช็ ค ปฏิ เ สธการจ า ยเงิ น
ผูเสียหายคือผูทรงเช็คในขณะที่ธนาคารปฏิเสธการจายเงิน
เท า นั้ น ดู ฎี ก าที่ 103/2529 ผู รั บ โอนเช็ ค หลั ง จาก
ธนาคารปฏิเสธการจายเงินไมใชผูเสียหาย แมจะเปนเช็คผู
ถื อ ซึ่ ง โ อ น ไ ด โ ด ย ก า ร ส ง ม อ บ ก็ ต า ม ดู ฎี ก า ที่
5407/2546, 1891/2524

(ต่อ)

แมผูเสียหายจะไดรับชําระหนี้ตามเช็คจากผูทรง
คนก อ นแล ว ก็ ต าม ก็ ยั ง เป น ผู เ สี ย หายอยู (ฎี ก าที่
2353/2537)
ผูรับโอนเช็คภายหลังธนาคารปฏิเสธการจายเงิน
ไม ใ ช ผู เ สี ย หายแม ผู รั บ โอนจะนํ า เช็ ค ไปขึ้ น เงิ น และ
ธนาคารปฏิเสธการจา ยเงินอี ก ก็ต าม เพราะไมทํา ให
จําเลยมีความผิดขึ้นอีก (ฎีกาที่ 2703/2523)

73
(ต่อ)

เช็ ค ระบุชื่อ ผูรั บเงิ นและผู น้ั นได รับ เช็ ค ไว ใ น
ครอบครองตองถือวาผูน้ันเปนผูทรงเช็ ค โจทกรวม
จะอา งวา ผูนั้น มี ความสั ม พันธ ในฐานะเปนตั วแทน
ของโจทกรวมในการรับเช็คก็ไมมีผลทําใหโจทกรวมมี
ฐานะเปน ผูทรงเช็คพิพ าทตามกฎหมาย โจทกรวม
ไมใชผูเสียหายดูฎีกาที่ 5526/2552

(ต่อ)
ถาผูทรงเช็คถึงแกความตายกอนธนาคารปฏิเสธการ
จายเงิน (กอนความผิดเกิด) สิทธิในเช็คยอมเปนมรดกตก
ทอดแกทายาท ถือวาทายาทเปนผูทรงเช็ค เมื่อตอธนาคาร
ปฏิเสธการจายเงิน ทายาทจึงเปนผูเสียหายในความผิดตาม
พ.ร.บ. ว า ด วยความผิ ดอั นเกิดจากการใชเช็ค ฯ ดู ฎีก าที่
3619/2543
สั่งจายเช็คผูถอื ชําระหนี้ใหแกบริษทั บริษัทเปนผูทรง
เช็คและเปนผูเสียหาย สวนกรรมการผูมีอํานาจของบริษัท
ไมใชผูเสียหาย(ฎีกาที่ 5799/2549)

74
(ต่อ)

จํา เลยออกเช็ค หลายฉบับ เพื่ อ ชํ า ระหนี้ มู ล หนี้


จํา นวนเดี ยวกัน ธนาคารปฏิ เสธการจ า ยเงินทุก ฉบั บ
เมื่อจําเลยถูกฟองตามเช็คฉบับหนึ่งไปแลว โจทกไมใช
ผูเสียหายตามเช็คฉบับหลังอีก ดูฎีกาที่ 3254/2526,
3822/2529 (วินิจฉัยทํานองเดียว)
รับโอนเช็คมาเพื่ อฟอ งคดี อาญา ถือวา ไม สุจริต
ไมเปนผูเสียหาย ดูฎีกาที่ 3413-3415/2528

ความผิดฐานพรากผูเยาวทั้งตาม ป.อ.มาตรา 317,


318 และ 319 กฎหมายมุงคุมครองอํานาจปกครองของ
บิดามารดา ผูปกครองหรือผูดูแล มิใชตัวผูเยาวท่ีถูกพราก
ผูเสียหายในความผิดดังกลาวจึงไดแกบดิ ามารดา ผูปกครอง
หรือ ผูดูแล ดั งนี้ผูปกครองดู แ ลแมจะมิ ได เปนบิ ดามารดา
หรือเปนบิดาไมชอบดวยกฎหมาย ก็เปนผูเสียหายได ดูฎีกา
ที่ 8420-8421/2558, 7238/2549

75
(ต่อ)

ฎีกาที่ 8420-8421/2558 แมผูรองที่ 2


มิไดเปน บิ ดาโดยชอบดว ยกฎหมายของผูร องที่ 1
กรณีผูรองที่ 2 จึงมิใชผูใชอํานาจปกครองของผูรอง
ที่ 1 ซึ่งเปน ผูเยาว เหมือ นผูรองที่ 3 ที่ เปนมารดา
ชอบดวยกฎหมายอันเปนผูใชอํานาจปกครองตาม
กฎหมายก็ตาม แตเมื่อผูรองที่ 2 เปนบิดาที่แทจริง
ของผูรอ งที่ 1 ตองถือวาผูรองที่ 2 อยูในฐานะผูดูแล
ผูรอ งที่ 1

(ต่อ)

และเปนผูเสียหายในความผิดฐานรวมกันพราก
ผูเยาวอายุกวาสิบหาป แตยังไมเกินสิบแปดปไป
เสียจากบิดาซึ่งเปนผูดูแลตาม ป.อ.มาตรา 319
วรรคแรก ด ว ยผู ร อ งที่ 2 ย อ มมี สิ ท ธิ เ รี ย กค า
สินไหมทดแทนตาม ป.วิ.อ.มาตรา 44/1 ได

76
(ต่อ)

ฎี ก าที่ 7238/2549 ความผิ ด ฐานพราก


ผู เ ยาว ไ ม เ ต็ ม ใจไปด ว ยเพื่ อ การอนาจารตาม ป.อ.
มาตรา 318 วรรคสาม หรือความผิดฐานพรากผูเยาว
ไปเพื่อการอนาจารโดยผูเยาวเต็มใจไปดวยตามมาตรา
319 วรรคแรก มี อ งค ป ระกอบความผิ ด ร ว มกั น
ประการหนึ่งวา

(ต่อ)

“ผูใดพรากผูเยาวอายุกวาสิบหาปแตยังไมเกินสิบ
แปดปไปเสียจากบิดามารดา ผู ปกครองหรือผูดูแล...”
ซึ่งจะเห็นไดวาวัตถุแหงการกระทําความผิดกฎหมายทั้ง
สองมาตรานี้ที่กฎหมายมุงคุมครองคืออํานาจปกครอง
ของบิ ดามารดา ผู ป กครองหรื อ ผู ดู แ ลนั่ นเอง มิ ใช ตั ว
ผูเยาวที่ถูกพราก ดังนั้น ผูเสียหายคือบุคคลผูไดรับความ
เสียหายเนื่อ งจากการกระทํ าความผิ ดทั้ งสองมาตรานี้
ตามมาตรา 2 (4) แหง ป.วิ.อ. จึงไดแกบิดามารดา

77
(ต่อ)

ผูปกครอง หรือผูดูแลผูเยาวทั้งสองในขณะที่จําเลยทั้ง
สามกับพวกรวมกันกระทําความผิด หาใชตัวผูเยาวคือ
โจทกรวมทั้งสองไม
ขอสังเกต เรื่องนี้ แม ล. เปนนา สวน จ. เป น
ยายของผูเยาวทั้งสอง แต เมื่อทั้ งสองเปนผู ปกครอง
หรื อ ผู ดู แ ลผู เ ยาว ทั้ง สอง จึ ง ถื อ วา ล. และ จ. เปน
ผูเสียหายในความผิดฐานพรากผูเยาวไปเพื่ออนาจาร

ความผิดฐานหมิ่นประมาทบุคคลใดบุคคลหนึ่งซึ่งอยู
ในกลุ ม บุค คล โดยไม ไ ด เ จาะจงว า หมายถึ ง ผู ใ ดหรื อ จาก
ถอยคําที่หมิ่น ประมาทไม อาจทราบว าเป นผู ใด ผูที่ อยู ใน
ก ลุ ม นั้ น ค น ใ ด ค น ห นึ่ ง ไ ม ใ ช ผู เ สี ย ห า ย ( ฎี ก า ที่
1325/2548, 3954/2539)
แตถาเปนการหมิ่นประมาททุกคนที่อยูในกลุมบุคคล
นั้ น คนใดคนหนึ่ ง เป น ผู เ สี ย หาย ฎี ก า 448/2489,
295/2505 (ประชุมใหญ)

78
(ต่อ)

นิ ติ บุ ค คลเป น ผู เ สี ย หายในความผิ ด ฐานหมิ่ น


ประมาทได สาขาของนิติบุคคลหรื อศู นยการศึ กษาที่
จัดตั้งขึ้นตามกฎหมายก็ถือเปนหนวยงานหนึ่งของนิติ
บุคคลนั้น ดังนี้ การหมิ่นประมาทสาขาของนิติบุคคล
หรือศูนยการศึกษาของสถาบันอุดมศึกษาเอกชน ถื อ
เปนการหมิ่นประมาทนิติบุคคลนั้น นิติบุคคลนั้นจึงเปน
ผูเสียหาย ดูฎีกาที่ 18162/2557

ฎี ก า 1943/2497 ความผิ ด
ฐานตอสูขัดขวางเจาพนักงาน เปนการ
กระทํ า ต อ เจ า พนั ก งาน โจทก มิ ใ ช เ จ า
พนัก งานผูถูก จํ า เลยต อ สู ขั ดขวางไมใช
ผูเสียหายที่จะมาฟองทางอาญา

79
ฎีกาที่ 507/2542 จํา เลยเปน ตัว แทนของ
คณะนายทหารประเทศเนเธอรแลนด นําเช็ค 4 ฉบับ
ไปชําระหนี้ใหแกการสื่อสารแหงประเทศไทย 3 ฉบับ
และบริษัท ท. อีก 1 ฉบับ ซึ่งตราบใดที่เช็คทั้งสี่ฉบับ
ยังมิไดสงมอบใหแกการสื่อสารฯ และบริษทั ท.

เช็คทั้ ง สี่ ฉบับ จึ งยัง ไม โอนไปยัง การสื่ อ สาร


และบริ ษั ท ท. คณะนายทหารดั ง กล า วยั ง เป น
เจาของเช็คทั้งฉบับและเปนผูไดรับความเสียหาย
ในความผิดฐานเอาไปเสียซึ่งเอกสารของผูอื่นตาม
ป.อ.มาตรา 188

80
ฎีกาที่ 267/2557 โจทกรวมเปนผูสมัครรับ
เลือกตั้งเชนเดียวกับจําเลยการใหทรัพยสินเพื่อจูงใจ
ให ล งคะแนนเลื อ กตั้ ง ให แ ก จํ า เลยดั ง กล า วมี
ผลกระทบตอการเลือกตั้ง และมีผลเสียหายแกโจทก
รวม อาจทําใหโจทกรวมซึ่ งเปนผูสมั ครรับเลือกตั้ง
ไมไดรับการเลือกตั้งโจทกรวมจึงไดรับความเสียหาย

(ต่อ)

เนื่ อ งจากการกระทํ า ความผิ ด ของจํ า เลยที่ 1 ตาม


พ.ร.บ. การเลือ กตั้ง สมาชิ ก สภาทอ งถิ่น หรื อ ผู บ ริ ห าร
ทองถิ่น พ.ศ. 2545 มาตรา 135 ใหถือวาผูสมัครรับ
เลื อ กตั้ ง ในเขตเลื อ กตั้ ง ที่ มี ก ารกระทํ า ความผิ ด ตาม
พระราชบัญญัตินี้เกิดขึ้นเปนผู เสียหายตาม ป.วิ.อ. ใน
เขตเลือกตั้งนั้น ดังนั้น โจทกรวมจึงถือเปนผูเสียหายและ
มีสิทธิยื่นคํารองขอเขารวมเปนโจทกตาม ป.วิ.อ.มาตรา
30

81
82

You might also like