You are on page 1of 16

ความรับผิดของบุคคลใน

การกระทำละเมิดโดยตนเอง
(3)
โดย
ผศ.ดร.ทศพล ทรรศนกุลพันธ์
คณะนิตศ ี งใหม่
ิ าสตร์ มหาวิทยาลัยเชย
การใชส้ ท
ิ ธิทใี่ ห ้บุคคลอืน ี หายตาม ม.421
่ เสย
• มาตรา 421  “การใชส้ ท ิ ธิซงึ่ มีแต่จะให ้เกิดเสย ี หายแก่บค
ุ คลอืน
่ นัน ้ ท่านว่า
เป็ นการอันมิชอบด ้วยกฎหมาย”
• มีการให ้นิยามโดย นักวิชาการ และผู ้พิพากษา ต่อมาตรานีว้ า่ เป็ น “การใช ้
สทิ ธิโดยไม่สจ ุ ริต” “การใชส้ ท ิ ธิเกินสว่ น” โดยขยายความการตีความไว ้
ให ้ผูกโยงกับเกณฑ์ตา่ งๆเพิม ่ เติม
• การใชส้ ท ิ ธิโดยไม่สจ ุ ริตนัน ้ ถูกเชอ ื่ มโยงกับม.5ว่า หากไม่ใชส้ ท ิ ธิโดย
สุจริตจะไม่ได ้รับการคุ ้มครองจาก ปพพ.
• และเมือ ่ เชอื่ มโยงกับ ม.6 ทีใ่ ห ้สน ั นิษฐานไว ้ก่อนว่าบุคคลกระทำการโดย
สุจริต จึงเป็ นเหตุให ้ศาลหยิบประเด็นนีข ้ น
ึ้ มาพิจารณาเองได ้ ในฐานะ
ประเด็นความสงบเรียบร ้อยและศล ี ธรรมอันดี (ม.422 ขยายเพิม ่ )
• การใชส้ ท ิ ธิเกินสว่ น ก็เป็ นการพยายามสร ้างหลักการโดยคำพิพากษา
ศาลฎีกา เพือ ่ ปรับเข ้ากับข ้อเท็จจริง

การใชมาตรา 421 ในการปรับบทเข ้ากับข ้อเท็จ
จริง
้ ยง ม.421 เพือ
• มีข ้อถกเถียงว่า ใชเพี ่ ปรับบทว่าการกระทำใดเป็ นละเมิดและต ้องชดใชส้ น ิ ไหมได ้ทันที
• แต่ความเห็นของนักวิชาการ และผู ้พิพากษา สว่ นใหญ่เห็นว่า ต ้องใชประกอบกั
้ บ ม.420 เพือ ่ ขยายความ
• ม.421 ขยายถ ้อยคำ “ทำต่อบุคคลอืน ่ โดยผิดกฎหมาย” ว่าหมายรวม การใชส้ ท ิ ธิทมี่ แี ต่ทำให ้ผู ้อืน่ เสยี
หาย
• การทำ/งดเว ้นกระทำบางอย่างทีไ่ ม่ผด ั ญา/ไม่ฝ่าฝื นกฎหมาย แต่ละเมิดสท
ิ สญ ิ ธิผู ้อืน
่ ก็มชิ อบด ้วย
กฎหมาย
• แล ้วเมือ ้
่ นำไปใชประกอบกั บ ม.420 ก็ลดความยุง่ ยากในการพิจารณาองค์ประกอบภายใน ดูทก ี่ รรมพอ!
• เจ ้าของร่วมนำรถไปรับจ ้างหาประโยชน์สว่ นตัว ถือว่าเป็ นการอันมิชอบตามม.421 ฎีกาที1่ 069/2509
• การต่อเติมบ ้านรุกล้ำออกถนนถือเป็ นการอันมิชอบตามม.421 ฎีกาที่ 2559/2532
• ฝ่ ายโจทก์นำสบ ื ให ้เห็น “ความเสย
ี หาย” จากการกระทำของจำเลย เพือ ่ สะท ้อนความจงใจใชส้ ท ิ ธิอนั มิ
ชอบ

การใชมาตรา 421 ในการปรับบทเข ้ากับข ้อเท็จ
จริง
• เกณฑ์การพิจารณาว่าการกระทำใดเข ้าตามลักษณะของ ม.421 ประกอบไปด ้วย 4 สว่ น
คือ
1) เป็ นการกระทำโดยจงใจให ้เกิดเสย ี หาย ดังโจทก์นำสบ ื ให ้ปรากฏในข ้อเท็จจริง
• ฎีกาที่ 387-388/2550 ปลูกบ ้านบนทีด ่ นิ สาธารณะปิ ดหน ้าทีด ่ น ิ ทำให ้ผู ้อืน
่ เข ้าออกทาง
สาธารณะไม่ได ้หรือไม่สะดวก โจทก์ยอ ่ มได ้รับความเสย ี หายเป็ นพิเศษ

• ฎีกาที่ 12973/2555 โจทก์และจำเลยใชน้ำจากคลองชลประทานที ผ
่ า่ นร่องน้ำในทีด ่ น
ิ ของ
จำเลยเกินสบ ิ ปี จำเลยย่อมรู ้ดีวา่ การกลบร่องน้ำในทีด ่ น
ิ จะก่อผลเสย ี หายแก่การทำนา
และเลีย ้ งปลาของโจทก์อย่างแน่นอน
• ฎีกาที่ 8293/2559 จำเลยทัง้ สใี่ ชพื ้ น้ ทีถ ่ นนสาธารณะซงึ่ มีความกว ้างเพียง 4 เมตร จอดรถ
ของตนทัง้ คันในลักษณะหวงกันการใชประโยชน์ ้ ของผู ้อืน ้
่ และใชระยะร่ นอาคารเป็ นทีว่ าง
กระถางต ้นไม ้ ไม่คำนึงถึงสท ิ ธิในการใชทางสาธารณประโยชน์
้ ของผู ้อืน ่ โจทก์ได ้รับ
ความเดือดร ้อนไม่สามารถใชพื ้ น ้ ทีถ ่ นนสว่ นทีเ่ หลือ

การใชมาตรา 421 ในการปรับบทเข ้ากับข ้อเท็จ
จริง
2) การกระทำดังกล่าวไม่ได ้ประโยชน์อน ี หายต่อผู ้อืน
ั ใดมีแต่จะเสย ่
• ฎีกาที่ ๒๑๙๑/๒๕๑๗ โจทก์ใชน้ำจากลำเหมื ้ องซงึ่ ไหลผ่านนาของ
จำเลยมานานกว่า ๑๐ ปี จำเลยถมลำเหมืองตอนทีไ่ หลผ่านทีต ่ นเพือ่ มิให ้
้ เป็ นการใชส้ ท
โจทก์ได ้ใชน้ำ ิ ธิซงึ่ มีแต่จะให ้เกิดความเสย ี หายแก่บค ุ คล
อืน

3) พิจารณาว่าเมือ่ เปรียบเทียบระหว่างการกระทำโดยใชส้ ท ิ ธิเชน ่ นัน
้ กับการ
ไม่กระทำอย่างไหนจะก่อให ้เกิดประโยชน์มากกว่าเสย ี หาย เชน ่ ถ ้าเลือก
สร ้างแผ่นป้ ายโฆษณาสอ ่ งแสงทัง้ คืนรบกวนผู ้หลับนอน และสญ ั จร
4) ผู ้กระทำมีทางเลือกอืน่ ทีจ่ ะไม่เป็ นอันตรายหรือไม่
• ฎีกาที่ ๘๑๙/๒๕๑๕ น้ำไหลผ่านห ้วยในทีด ่ น
ิ ของจำเลย จำเลยทำ
ทำนบกันไว ้ใชเป็้ นเหตุให ้น้ำท่วมนาผู ้อืน ี หายจำเลยต ้องใชค่้ าเสย
่ เสย ี
หาย
ม.421 ได ้สร ้าง ขอบเขตการใชส้ ท
ิ ธิโดยชอบ
ด ้วยกฎหมาย
• ตัวอย่างการใชส้ ท ิ ธิทอ ี่ าจสร ้างความเสย ี หายต่อผู ้อืน
่ แต่ยงั เป็ นการใช ้
สท ิ ธิของตนโดยชอบด ้วยกฎหมาย
• ฎีกาที่ 1618/2512 การจะเป็ นละเมิดตาม ม.421 ต ้องเป็ นการแกล ้งโดยผู ้
กระทำมุง่ ต่อผลเสย ี หายแต่ฝ่ายเดียว แต่ถ ้าเป็ นการกระทำโดยประสงค์
ต่อผลอันเป็ นธรรมดาแห่งสท ิ ธินัน
้ แม ้ผู ้กระทำจะเห็นว่าผู ้อืน ่ จะได ้รับ
ความเสย ี หายบ ้างก็ไม่เป็ นละเมิด
• ฎีกาที่ 1459/2529 การคัดค ้านรังวัดทีจ ่ ำเลยมีเหตุผลอันสมควรทีค ่ ด
ิ ว่า
แนวเขตทีร่ ังวัดไม่ถก ู ต ้อง จำเลยมิได ้มีเจตนาแกล ้งให ้โจทก์เสย ี หายแต่
ฝ่ ายเดียว แต่เป็ นการกระทำโดยประสงค์ตอ ่ ผลธรรมดาแห่งสท ิ ธิ แม ้
จำเลยจะเห็นว่าโจทก์จะได ้รับความเสย ี หายบ ้างก็ไม่เป็ นละเมิด (เพราะ
เป็ นการการกระทำเพือ ่ รักษาสท ิ ธิตามกฎหมายของจำเลย)
• การขูว่ า่ จะฟ้ องเป็ นการใชส้ ท ิ ธิตามธรรมดาไม่เป็ นละเมิด เว ้นแต่ขเู่ รือ ่ ยๆ
ข ้อสงั เกตต่อการใชส้ ท
ิ ธิอน
ั มิชอบด ้วยกฎหมาย
ตาม ม.421
• เป็ นการใชส้ ท ิ ธิในขอบเขตแห่งสท ิ ธิของตน แต่มงุ่ ต่อผลให ้เกิดความเสย ี หายต่อบุคคลอืน ่ ถือว่า
เป็ นการใชส้ ท ิ ธิโดยไม่สจ ุ ริต การใชส้ ท ิ ธิเกินสว่ นจึงอาจไม่ตรงนัก และไม่ต ้องพิสจ ู น์ให ้เห็น
เจตนาชวั่ ว่ากลัน ่ แกล ้ง
• การใชส้ ท ิ ธิเกินขอบเขตแห่งสท ิ ธิทต ี่ นมีอยู่ สว่ นทีเ่ กินขอบเขตเป็ นละเมิดได ้ตาม ม.๔๒๐ อาทิ
• มีสท ิ ธิยด ึ หน่วง แต่ใชส้ ท ิ ธิยด ึ ทรัพย์สน ิ (บังคับคดี) ไว ้ในลักษณะบุรม ิ ธิเป็ นทีเ่ สย
ิ สท ี หายต่อเจ ้า
หนีค ้ นอืน ่
• มีสท ิ ธิทใี่ ชประโยชน์
้ ในทรัพย์สน ิ ทีเ่ ชา่ แต่เอาทรัพย์สน ิ ทีเ่ ชา่ ไปขายเป็ นละเมิด
• เจ ้าพนักงานสอบสวนควบคุมตัวผู ้ต ้องหาเกินระยะเวลาทีก ่ ฎหมายกำหนดเป็ นละเมิด
• ถ ้าใชส้ ท ิ ธิในขอบเขต แต่แกล ้งทำให ้เกิดเสย ี หายเป็ นการใชส้ ท ิ ธิโดยไม่สจ ุ ริต
• การใชส้ ท ิ ธิโดยไม่สจ ุ ริตจึงเกิดขึน ้ โดย “ประมาทเลินเล่อ” ไม่ได ้ เพราะต ้อง จงใจให ้เกิดเส ย ี หาย
ต่อผู ้อืน่
• COMMON LAW มีสงิ่ ทีใ่ กล ้เคียงกัน คือ NUISANCE การก่อให ้เกิดความเดือดร ้อนรำคาญ
การกระทำอันฝ่ าฝื นต่อบทบัญญัตก
ิ ฎหมายที่
ิ ธิผู ้อืน
คุ ้มครองสท ่ ม.422
• มาตรา 422     “ถ ้าความเสย ี หายเกิดแต่การฝ่ าฝื นบทบังคับแห่งกฎหมายใด อันมีทป ี่ ระสงค์เพือ ่ จะ
ปกป้ องบุคคลอืน ่ ๆ ผู ้ใดทำการฝ่ าฝื นเชน ่ นัน้ ท่านให ้สนั นิษฐานไว ้ก่อนว่าผู ้นัน
้ เป็ นผู ้ผิด”
• มาตรานีช ้ ว่ ยลดภาระการนำสบ ื ของผู ้เสยี หายในการมิต ้องพิสจ ู น์องค์ประกอบภายในของจำเลย
เพราะหากแสดงให ้เห็นว่าการกระทำของจำเลยฝ่ าฝื นกฎหมายใด ก็ผลักภาระการนำสบ ื ไปฝั่ ง
จำเลยทันที
• และเมือ ่ เชอ ื่ มโยงกับ ม.6 ทีใ่ ห ้สน ั นิษฐานไว ้ก่อนว่าบุคคลกระทำการโดยสุจริต จึงเป็ นเหตุให ้ศาล
หยิบประเด็นนีข ้ นึ้ มาพิจารณาเองได ้ ในฐานะประเด็นความสงบเรียบร ้อยและศ ล ี ธรรมอันดี (ม.422
ขยายเพิม ่ )
• องค์ประกอบของมาตรา 422  ในเรือ ่ งบทสน ั นิษฐานว่า ผู ้กระทำฝ่ าฝื นกฎหมายเป็ นผู ้ผิดต ้องรับ
ผิด420
          1) มีการฝ่ าฝื นกฎหมาย
          2) เป็ นกฎหมายทีม ่ วี ตั ถุประสงค์เพือ ่ ปกป้ องบุคคลทั่วไป
          3) บุคคลอืน ่ ได ้รับความเสย ี หายต่อชวี ต ิ ร่างกาย อนามัย เสรีภาพ ทรัพย์สน ิ หรือสท ิ ธิอย่าง
หนึง่ อย่างใดอันเกิดจากการฝ่ าฝื นนัน ้
การปรับบท ม.422 เข ้ากับข ้อเท็จจริง
• ต ้องมีการกระทำทีค ่ รบองค์ประกอบความผิดตาม ม.๔๒๐ จึงจะผิดละเมิด เชน ่
• ฎีกาที่ ๒๓๗/๒๔๙๔ แม ้ฝ่ ายโจทก์จะไม่ต ้องพิสจ ู น์วา่ เป็ นความประมาทเลินเล่อของตน
แต่ก็ต ้องพิสจ ู น์วา่ มีความเสย ี หายเกิดขึน ้ ก่อน (ต ้องครบองค์ประกอบ ม. ๔๒๐)
• ฎีกาที่ ๒๙๖/๒๕๒๔ แม ้โจทก์จะขับรถเร็วกว่ากฎหมายกำหนด แต่เป็ นเพราะจำเลยไม่
ชำนาญมิใชเ่ ป็ นผลโดยตรงจากการฝ่ าฝื นของโจทก์ โจทก์จงึ มิได ้กระทำละเมิดผู ้ตาย
• มาตรา ๔๒๒ จึงเป็ นเรือ ่ งภาระการพิสจ ู น์การกระทำจงใจหรือประมาทเลินเล่อซงึ่ ปกติตก
อยูแ ่ ก่ผู ้กล่าวอ ้างหรือฟ้ อง ยกเว ้นจะได ้รับประโยชน์จะข ้อส น ั นิษฐานของกฎหมาย ฝ่ าย
ทีไ่ ม่ได ้รับประโยชน์จากข ้อสน ั นิฐานของกฎหมายย่อมเป็ นฝ่ ายมีภาระการพิสจ ู น์
• เพราะฉะนัน ้ จำเลยทีเ่ ป็ นผู ้ฝ่ าฝื นกฎหมายทีม ่ งุ่ คุ ้มครองบุคคลอืน ั นิษฐานว่าเป็ น
่ ถูกส น
ฝ่ ายผิดจึงมีภาระการพิสจ ู น์วา่ ตนเองมิได ้เป็ นฝ่ ายผิด มิได ้ประมาทเลินเล่อ
ขอบเขตการตีความ กฎหมายทีป
่ ระสงค์
ิ ธิ)ผู ้อืน
ปกป้ อง(สท ่
• กฎหมายอันมีทป ี่ ระสงค์เพือ
่ ปกป้ องบุคคลอืน ่ ๆ คือ กฎหมายทีร่ ับรองสท ิ ธิของผู ้
อืน
่ ไม่วา่ จะเป็ นกฎหมายทีม ่ โี ทษทางอาญา หรือมีลก ั ษณะเป็ นการประกันสท ิ ธิ
แบบกฎหมายมหาชน (ดูเอกสารเกีย ิ ธิมนุษยชน)
่ วกับ สท
• แต่เมือ ่ ปรับกับข ้อเท็จจริงต ้องตีความอย่างเฉพาะเจาะจงต่อการคุ ้มครองสท ิ ธิ
มิใชฝ่ ่ าฝื นกฎหมายใดๆแล ้วจะเป็ นการฝ่ าฝื นตาม ม.๔๒๒ เสมอ
• ต ้องพิจารณาว่าเป็ นกฎหมายทีม ่ งุ่ คุ ้มครองบุคคลจากความเสย ี หายต่อ
สาธารณชน เชน ่ วัตถุอน ั ตราย ก่อนลงมือผลิตต ้องขออนุญาตก่อน, กฎหมาย
จราจร ฝ่ า ONE WAY ทางเอก ทางโท, ไม่ปิดกัน ้ ถนนเมือ
่ รถไฟผ่าน ,
มาตรฐานการผลิตอาหารและยา, ความปลอดภัยในกายขนสง่ วัตถุอน ั ตราย
• ฎีกาที่ ๔๔๖/๒๕๐๑ ระเบียบของกระทรวงมหาดไทยว่าด ้วยการเบิกจ่ายรักษา
ตรวจเงินเทศบาลไม่ใชก ่ ฎหมาย
ตัวอย่าง การตีความว่า การทำฝ่ าฝื นกฎหมาย
เป็ นละเมิดหรือไม่
• สร ้างอาคารผิดเทศบัญญัตไิ ม่ถอยร่นตามทีเ่ ทศบัญญัตก ิ ำหนดไม่ใช ่
กฎหมายทีม ่ งุ่ คุ ้มครองสทิ ธิของผู ้อืน

• คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2296/2551 จำเลยต่อเติมรัว้ และตาข่ายกัน ้ มิให ้
ลูกกอล์ฟข ้ามไปตกในบ ้านโจทก์ การต่อเติมโดยไม่ได ้รับอนุญาต(ผิด
พรบ.ควบคุมอาคารฯ) กับการทีก ่ ารต่อเติมมั่นคงแข็งแรงหรือไม่ เป็ น
คนละเรือ่ งกัน เพราะหากการต่อเติมโดยมิได ้รับอนุญาตแต่แข็งแรง ก็ไม่
อาจก่อความเสย ี หายแก่บค ุ คลอืน่ ได ้ แต่หากการต่อเติมได ้รับอนุญาต
แต่การกระทำไม่แข็งแรง ก็อาจก่อให ้เกิดความเสย ี หายได ้ ดงั นัน
้ การต่อ
เติมแผงตาข่ายให ้สูงขึน ้ อีก 10 เมตร โดยมิได ้มีการอนุญาตต่อทาง
ราชการ มิใชว่ า่ จะต ้องเป็ นการกระทำละเมิดต่อโจทก์ไปทัง้ หมด
• จากคำพิพากษานี้ ทำให ้เห็นชด ั เจนว่า ม.422 เป็ นเพียงบทสน ั นิษฐาน
และต ้องใช ้ ม.420 เป็ นฐานวิเคราะห์วา่ การกระทำใดเป็ นละเมิด หาก
บุคคลหลายคนร่วมกันทำละเมิด
• ม.432 มุง่ สร ้างความรับผิดในความเสย ี หายให ้กับผู ้ร่วมกระทำละเมิด
ทัง้ หมดทุกคน
• ไม่จำเป็ นต ้องแยกเป็ นตัวการ ผู ้ใช ้ ผู ้สนับสนุน แบบกฎหมายอาญา
เพราะผิดทุกคนต ้องชดใชส้ น ิ ไหมทุกคน
• ผู ้ทีเ่ กีย
่ วข ้องทัง้ หลายต ้องร่วมรับผิดในฐานะ ผู ้กระทำละเมิดร่วม ทัง้ หมด
• บุคคลผูย ุ งสง่ เสริมหรือชว่ ยเหลือ
้ ย
• ให ้ใชตลอดถึ้ งกรณีทไี่ ม่สามารถสบ ื รู ้ตัวได ้แน่วา่ ในจำพวกทีท่ ำละเมิด
ร่วมกันนัน ้ คนไหนเป็ นผู ้ก่อให ้เกิดเสย ี หาย นั่นหมายถึง ไม่ต ้องนำสบ ื
เชอ ื่ มความสม ั พันธ์ระหว่างความเสย ี หายกับการกระทำรายบุคคล
• ผู ้ร่วมกระทำละเมิดทัง้ หลายต่างต ้องรับผิดในสว่ นทีเ่ ท่าๆกัน
• เว ้นแต่ ศาลพิเคราะห์จากพฤติการณ์วา่ ผู ้กระทำละเมิดแต่ละคนอาจต ้อง
ข ้อสงั เกตต่อ การกระทำละเมิดร่วมกันหลายคน
• ผู ้ร่วมกระทำละเมิดทัง้ หลายต ้องมีเจตนาร่วมกันในความเสย ี หายนัน ้
• จะมีการแบ่งหน ้าที/่ แบ่งงานทำหรือร่วมมือกระทำก็ได ้ ล ้วนถือว่า ร่วมกันทำละเมิด
• เพราะไม่วา่ จะร่วมกระทำในฐานะใดผลก็เหมือนกันคือร่วมรับผิดละเมิด ถ ้ามีสว่ นร่วมต่อเนือ ่ ง
มิใชภ ่ ายหลัง
• ต ้องมีความสม ั พันธ์ระหว่างการกระทำและผลจากการละเมิดร่วมกัน แต่ไม่ต ้องรู ้ว่าใครก่อมาก
น ้อย
• แต่ถ ้าหลอกล่อผู ้อืน ่ ไปทำละเมิด โดยผู ้กระทำไม่รู ้ ก็ไม่ถอ
ื เป็ นผู ้ทำละเมิด เพราะขาดองค์
ประกอบ จงใจ
• ประมาทร่วมกันทำละเมิดไม่ได ้ (NO 1+1=1)
• แต่อาจมีบค ุ คลหลายคนต่างคนต่างประมาทในกรณีละเมิดเดียวกันได ้ (2-1=1 YES)
• สมัครใจเข ้าร่วมเสย ี่ งภัย หรือ ต่างฝ่ ายต่างประมาท จึงมิใช ่ การกระทำละเมิดร่วมกันหลายคน
ผลของการร่วมกันทำละเมิด
• ต ้องร่วมกันรับผิดในความเสย ี หายทีเ่ กิดขึน ี หายจนสน
้ ต่อผู ้เสย ิ้ เชงิ ในฐานะลูกหนีร้ ว่ มกัน
ตาม ม.๒๙๑
• แต่ในสว่ นผู ้ทำละเมิดร่วมกันต ้องรับผิดเป็ นสว่ นเท่าๆกัน เว ้นแต่ศาลจะวินจ ิ ฉั ยพฤตการณ์
แล ้วเห็นเป็ นอย่างอืน่ ( ตามพฤติกรรม/ความรุนแรงของการกระทำแต่ละคน) ( ม.๔๓๒
วรรคท ้าย)
• ต่างคนต่างประมาทไม่ใชล ่ ะเมิดร่วมกัน ต่างคนต่างต ้องใชค่้ าเสย ี หายตามพฤติการณ์และ
ความร ้ายแรงของตน เว ้นแต่ความเสย ี หายนัน้ เป็ นความเสยี หายทีไ่ ม่อาจแยกชดใชได ้ ้ จงึ
ต ้องร่วมกันรับผิด ดังปรากฏใน
• ฎีกาที่ ๕๓๔/๒๕๓๔ เมือ ่ ความเสย ี หายก็ตา่ งกันทำละเมิดมิอาจแบ่งแยกกันชำระได ้ ผู ้
กระทำละเมิดทุกคนต ้องร่วมกันรับผิด ตาม ม.๒๙๑ + ๓๐๑ สว่ นในระหว่างกันเองใครจะผิด
เพียงใดเป็ นเรือ
่ งทีต
่ ้องพิจารณาอีกประเด็น
• ฎีกาที่ ๓๐๗๑-๓๐๗๒ รถยนต์ ๒ คัน ขับแซงเบียดกันไปชนรถของโจทก์ไม่ใชร่ ว่ มกันทำ
ละเมิด ต่างต ้องใชค่้ าเสยี หายตามพฤติการณ์และความร ้ายแรง ตาม ม.๔๓๘
เมือ ั พันธ์กบ
่ คดีละเมิดทางแพ่งความสม ั ความ
รับผิดทางอาญา ม.424
• มาตรา 424 ในการพิพากษาคดีข ้อความรับผิดเพือ ่ ละเมิดและกำหนดค่าสน ิ ไหม
ทดแทนนัน ้ ท่านว่าศาลไม่จำต ้องดำเนินตามตามบทบัญญัตแ ิ ห่งกฎหมายลักษณะ
อาญาอันว่าด ้วยการทีจ ่ ะต ้องรับโทษ และไม่จำต ้องพิเคราะห์ถงึ การทีผ ่ ู ้กระทำผิด
ต ้องคำพิพากษาลงโทษทางอาญาหรือไม่
• เกณฑ์ความรับผิดทางอาญาและทางแพ่งว่าด ้วยละเมิด ไม่เหมือนกันบางครัง้ ไม่ผด ิ
อาญา แต่อาจเป็ นละเมิด เชน ่ ประมาททำให ้เสย ี ทรัพย์ไม่ผด
ิ อาญา แต่เป็ นละเมิด
ตาม ม.๔๒๐ แล ้ว
• ประมวลกฎหมายวิธพ ี จิ ารณาความอาญา ม.๔๖-๔๗ ก็บญ ั ญัตส ิ อดคล ้อง คือ การ
พิจารณาพิพากษาคดีแพ่งทีเ่ กีย ่ วเนือ
่ งกับคดีอาญานัน ้ ศาลไม่จำต ้องถือข ้อเท็จจริง
ทีป่ รากฏในคำพิพากษาคดีอาญา และคำพิพากษาสว่ นแพ่งต ้องเป็ นไปตาม
บทบัญญัตแ ิ ห่งกฎหมายอันว่าด ้วยความรับผิดของบุคคลในทางแพ่งโดยไม่จำต ้อง
คำนึงถึงว่าจำเลยต ้องคำพิพากษาว่าได ้กระทำผิดหรือไม่
รับฟั งข ้อเท็จจริงจากคดีอาญา แต่มพ
ิ ักต ้องมี
คำพิพากษาไปทางเดียวกัน
• แต่ศาลในคดีแพ่งจักต ้องฟั งข ้อเท็จจริงทีย ่ ต
ุ แ
ิ ล ้วในคดีอาญา ไม่อาจสบ ื
เปลีย่ นแปลงไปเป็ นอย่างอืน ่ เชน่ ศาลในคดีอาญาพิพากษาว่าจำเลย
มิได ้กระทำให ้เกิดเพลิงไหม ้ เพราะฉะนัน ้ ในคดีแพ่งก็ต ้องฟั งข ้อยุตวิ า่
จำเลยมิใชเ่ ป็ นผู ้กระทำฯ จำเลยจึงไม่ได ้กระทำละเมิดต่อโจทก์
้ ะใชยั้ นเฉพาะคูค
• ข ้อเท็จจริงนีจ ่ วามในคดีเท่านัน ้ จะใชยั้ นบุคคลอืน ่ ใิ ช ่
่ ทีม
จำเลยมิได ้ และต ้องเกีย ่ วกับตัวคูค
่ วามเท่านัน ้ เชน ่
• ฎีกาที่ ๒๐๖๑/๒๕๑๗ แม ้ศาลในคดีอาญาพิพากษาว่าจำเลยที่ ๑
(ลูกจ ้าง) ขับรถโดยประมาท ก็ไม่ผก ู พันจำเลยที่ ๒,๓ ซงึ่ เป็ นนายจ ้างซงึ่
มิได ้ถูกฟ้ องในคดีอาญาด ้วย เพราะฉะนัน ้ จะฟั งว่าจำเลยที่ ๑ ประมาท

มิได ้ จำเลยที่ ๒,๓ ยังอาจยกข ้อต่อสูและนำส ื ในคดีแพ่งได ้ว่า จำเลยที่

๑ มิได ้ขับรถโดยประมาท
• การพยายามกระทำละเมิด ในทางละเมิด ต ้องดูวา่ เสย ี หายหรือไม่ถ ้า

You might also like