You are on page 1of 47

24/07/63

การรับผิดในการกระทําของผู้รับจ้ าง

การรับผิดในการกระทําของผู้รับจ้ าง มาตรา ๔๒๘


หลัก
"ผูว้ ่าจ้างทําของไม่ตอ้ งรับผิดเพือความเสี ยหายอันผูร้ ับจ้างได้ก่อให้เกิดขึน
แก่บุคคลภายนอกในระหว่างการทําการงานทีว่าจ้าง AD4

ข้อยกเว้ น
เว้นแต่ผวู ้ ่าจ้างจะเป็ นผูผ้ ิดในส่ วนการงานทีสังให้ทาํ หรื อในคําสังทีตน
ให้ไว้ หรื อในการเลือกหาผูร้ ับจ้าง"

1
สไลด ์ 2

AD4 เพราะผ็ร ับจ ้างเป็ นผ็กระทําให ้เกิดความเสียหาย มิใช่ผูว้ ่าจ ้างเป็ นผ็กระทํา
Ampassacha Disatha-Amnarj, 20/06/2563
24/07/63

กรณีให้ ผ้วู ่าจ้ างรับผิด


• มาตรา ๔๒๘ ผูว้ า่ จ้างทําของไม่ตอ้ งรับผิดเพือความเสี ยหาย อันผูร้ ับจ้างได้
AD3

ก่อให้เกิดขึนแก่บุคคลภายนอกในระหว่างการทํางานทีว่าจ้าง เพราะผูว้ า่ จ้างไม่มี


อํานาจบังคับบัญชา
• ข้อยกเว้น ๓ กรณี ทีกําหนดให้ผวู้ ่าจ้างต้องรับผิด หากไม่เข้าข้อยกเว้น ผูเ้ สี ยหายมี
หน้าทีนําสื บให้ได้ความว่าผูว้ า่ จ้างเป็ นผูผ้ ดิ ตามมาตรา ๔๒๘ (ฎ.๑๖๒/๒๕๔๔) AD1

• ตามมาตรานีเป็ นเรื องผูว้ า่ จ้างต้องรับผิดขณะเป็ นผูท้ าํ ละเมิดเอง ไม่ใช่ให้รับผิด


ร่ วมกับผูร้ ับจ้าง แต่ถา้ ผูร้ ับจ้างทําละเมิดด้วยก็อาจเป็ นความผิดร่ วมกัน หรื อต่างทํา
ละเมิดแล้วแต่กรณี ตามมาตรา ๔๓๒

๑.รับผิดเพราะการงานทีสังให้ ทาํ

• เช่น สังให้ขดุ ดินของคนอืนมาถมในทีดินของตน หรื อจ้างสร้างบ้านรุ กลําทีดิน


ของบุคคลอืน
ในการก่อสร้างอาคาร ผูว้ ่าจ้างเป็ นผูค้ วบคุมอาคาร เมือเกิดความเสี ยหายแก่
บุคคลอืน ถือว่าผูว้ ่าจ้างเป็ นผูผ้ ิดในส่วนการงานทีสังให้ทาํ ผูว้ า่ จ้างต้องรับผิด

2
สไลด ์ 3

AD1 ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิ ชย ์ มาตรา 428 บัญญัตวิ ่า"ผู ้ว่าจ ้างทําของไม่ต ้อง


ร ับผิดเพือความเสียหายอันผูร้ บั จ ้างได ้ก่อให ้เกิดขึนแก่บุคคลภายนอกในระหว่างทํา
การงานทีว่าจ ้าง เว ้นแต่ผูว้ ่าจ ้างจะเป็ นผูผ้ ด
ิ ในส่วนการงานทีสังใหท้ ําหรือในคําสังที
ตนใหไ้ ว ้หรือในการเลือกหาผู ้รบั จ ้าง" โจทก ์จึงมีหน้าทีจะต ้องนํ าสืบใหไ้ ด ้ความว่า
จําเลยเป็ นผู ้ผิดตามมาตรา 428 ดังกล่าว แต่ข ้อเท็จจริงตามทางนํ าสืบของโจทก ์ไม่
ปรากฏว่าจําเลยเป็ นผูผ้ ด ิ ในส่วนสังใหท้ ําหรือในคําสังทีตนใหไ้ ว ้แก่ผู ้รบั จ ้างอย่างไร
และในการเลือกผูร้ บั จ ้างคือบริษท ั ฟ. ซึงเป็ นผูต้ อกเสาเข็มและก่อสร ้างฐานรากก็
ปรากฏว่าเป็ นผูม้ ค ี วามรู ้ความสามารถเป็ นพิเศษในการก่อสร ้างอาคารสูง การที
จําเลยว่าจ ้างบริษท ั ป. เป็ นผูค้ วบคุมการก่อสร ้างให ้เป็ นไปตามแบบ ย่อมหมายความ
ว่าจําเลยไม่ได ้เข ้าไปเกียวข ้องหรือสังการในการทํางานแต่อย่างใด เพราะเป็ นหน้าที
ของบริษท ั ทังสอง เมือความเสียหายเกิดขึน โจทก ์จะต ้องไปเรียกร ้องค่าเสียหายเอา
จากผูก้ อ
่ สร ้างคือบริษท ั ฟ. ซึงเป็ นผูท้ ําละเมิด จําเลยไม่ได ้กระทําการอย่างหนึ งอย่าง
ใดอันทําให ้จําเลยต ้องรบั ผิดตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิ ชย ์ มาตรา 428
Ampassacha Disatha-Amnarj, 20/06/2563

AD3 สัญญาจ ้างทําของตามมาตรา ๕๘๗ ผูร้ บั จ ้างมีหน้าทีจะต ้องส่งมอบผลสําเร็จแห่ง


การงาน ต่างกับนายจ ้างลูกจ ้างและตัวการตัวแทน ตรงทีผู ้ว่าจ ้างไม่มส
ี ท
ิ ธิออกคําสัง
บังคับบัญชาผูร้ บั จ ้าง
Ampassacha Disatha-Amnarj, 20/06/2563
24/07/63

๑.รับผิดเพราะการงานทีสังให้ ทาํ
จ้างให้ฝังเสาเข็มโดยไม่ได้กาํ หนดวิธีการฝังเสาเข็มไว้ เมือผูร้ ับจ้างตอก
เสาเข็มก่อให้เกิดความเสียหายแก่สิงปลูกสร้างข้างเคียง ผูว้ า่ จ้างไม่ตอ้ งรับผิด
• ฎ.๔๕๗/๒๕๑๔ "คําสังของจําเลยผูว้ า่ จ้างทีสัง ส. ผูร้ ับจ้างว่าให้ทาํ การก่อสร้าง
อาคารไปตามแบบแปลนี จําเลยได้ยนไว้ ื ต่อเทศบาล และเทศบาลได้อนุ ญาตแล้ว
เป็ นคําสังกําชับให้ปฏิบตั ิตามสัญญาจ้างเหมาระหว่างจําเลยผูว้ า่ จ้างกับ ส. ผูร้ ับจ้าง
ไม่เป็ นคําสังเกียวกับการทําการก่อสร้างอาคารของ ส. ผูร้ ับจ้าง ข้อเท็จจริ งไม่
ปรากฏว่าจําเลยเป็ นผูส้ งให้
ั ส. ตอกเสาเข็มด้วยเครื องจักรอันก่อให้เกิดความ
เสียหายแก่โจทก์ การตอกเสาเข็มจึงเป็ นการกระทําของ ส. ผูร้ ับจ้างเอง จําเลยจึง
ไม่ตอ้ งรับผิดใช้ค่าเสี ยหายแก่โจทก์"

๑.รับผิดเพราะการงานทีสังให้ ทาํ
แต่ถา้ ผูว้ า่ จ้างเลือกจ้างให้ผรู้ ับจ้างฝังเสาเข็มโดยวิธีการตอก เพราะเห็นว่า
เสียค่าใช้จ่ายน้อย ถ้าการตอกเสาเข็มเป็ นเหตุให้เกิดความเสี ยหายแก่ทีดินข้างเคียง
ผูว้ า่ จ้างต้องรับผิดในส่ วนการงานทีสังให้ทาํ
• ฎ.๙๘๔/๒๕๓๑ "จําเลยจ้าง น.ตอกเสาเข็มเพือสร้างอาคารชุดโดยจําเลยเลือกจ้างให้ผรู้ ับจ้างฝังเสาเข็มโดยวิธี
ตอกเพราะเห็นว่าเสี ยค่าใช้จ่ายน้อยกว่าวิธีเจาะทัง ๆ ทีตระหนักดีวา่ การตอกเสาเข็มจะทําให้ทีดินข้างเคียงถูก
กระทบกระเทือนอย่างรุ นแรง อันเป็ นเหตุให้อาคารโจทก์และผูอ้ ืนในบริ เวณใกล้เคียงเสี ยหาย แต่จาํ เลยก็ไม่สนใจ ถือ
ได้วา่ จําเลยผูว้ า่ จ้างเป็ นผูผ้ ิดในส่วนการงานทีสังให้ทาํ จึงต้องรับผิดในความเสียหายดังกล่าวต่อโจทก์จาํ เลยจ้าง น.
ตอกเสาเข็มเพือสร้างอาคารชุดโดยจําเลยเลือกจ้างให้ผรู ้ ับจ้างฝังเสาเข็มโดยวิธีตอกเพราะเห็นว่าเสี ยค่าใช้จ่ายน้อยกว่า
วิธีเจาะทัง ๆ ทีตระหนักดีวา่ การตอกเสาเข็มจะทําให้ทีดินข้างเคียงถูกกระทบกระเทือนอย่างรุ นแรง อันเป็ นเหตุให้
อาคารโจทก์และผูอ้ ืนในบริ เวณใกล้เคียงเสี ยหาย แต่จาํ เลยก็ไม่สนใจ ถือได้วา่ จําเลยผูว้ า่ จ้างเป็ นผูผ้ ิดในส่ วนการงาน
ทีสังให้ทาํ จึงต้องรับผิดในความเสียหายดังกล่าวต่อโจทก์"

3
24/07/63

๒.รับผิดเพราะคําสั งทีตนให้ ไว้


• เช่น สังให้คนขับรถแท็กซี ขับด้วยความเร็ วสู งเพือให้ทนั เครื องบิน ทําให้
รถแท็กซีเสี ยหลักชนบุคคลอืน
• คําสังนีไม่ใช่คาํ สังบังคับบัญชาแบบลูกจ้างหรื อคําสังตามสัญญาแบบ
ตัวแทน แต่เป็ นคําสังแบบแนะนํา ชีแนะ

๒.รับผิดเพราะคําสั งทีตนให้ ไว้


• ฎ.๒๑๓๔/๒๕๓๒ “การตอกเสาเข็มและการขุดดินทําห้องใต้ดินบริ เวณก่อสร้าง
ของจําเลยทําให้บา้ นของโจทก์และสิ งปลูกสร้างอย่างอืนได้รับความเสี ยหายแม้
จําเลยจะมิได้เป็ นผูต้ อกเสาเข็มเอง แต่กไ็ ด้ว่าจ้างบริ ษทั อืนทําและจําเลยควบคุม
การตอกเสาเข็มให้ถูกต้องตามจํานวนและตอกตรงจุดทีกําหนดให้ตอก การตอก
เสาเข็มดังกล่าวกระทําไปตามคําสังหรื อคําบงการของจําเลย ความเสี ยหายที
เกิดขึนจึงเกิดจากการกระทําตามคําสังของจําเลยโดยตรง จําเลยหาพ้นจากความรับ
ผิดตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิ ชย์ มาตรา 428 ไม่”

4
24/07/63

๓.รับผิดเพราะการเลือกหาผู้รับจ้ าง
• เช่น การจ้างคนไม่ดี หรื อไม่มีความสามารถ จ้างเขาสร้างอาคารสู งๆ ทังๆ
ทีผูร้ ับจ้างก่อสร้างได้เฉพาะห้องแถวธรรมดาเพียงชันสองชัน แต่ไปจ้าง
ให้เขาสร้างคอนโดมิเนียมสูง ๒๐-๓๐ ชัน ถือว่าผูว้ ่าจ้างมีส่วนผิดในการ
เลือกหาผูร้ ับจ้าง

สิทธิไล่เบีย
• ความรับผิดของผูว้ า่ จ้างตามมาตรานี ไม่ใช่ความรับผิดเพือการละเมิดของ
บุคคลอืนดังลูกจ้างกับตัวแทน
• แต่ตามมาตรานี เป็ นเรื องทีผูว้ ่าจ้างต้องรับผิดเพราะเป็ นผูล้ ะเมิดเสี ยเอง
• ส่ วนผูร้ ับจ้างจะต้องรับผิดด้วยหรื อไม่กอ็ ยูท่ ีว่าการกระทําของผูร้ ับจ้าง
เป็ นละเมิดหรื อไม่
• หากเป็ นละเมิดก็อาจต้องร่ วมรับผิดหรื อต่างคนต่างรับผิด

5
24/07/63

สิทธิไล่เบีย
• หากต้องร่ วมรับผิดแล้วก็อาจมีการไล่เบียได้ตามมาตรา ๒๒๙, ๒๙๖,
๔๓๒
• จ้างทําโครงสร้างป้ ายโฆษณา แต่เลือกผูร้ ับจ้างไม่ดี ผูร้ ับจ้างสร้างโดย
ประมาทเลินเล่อโครงสร้างทีกําลังก่อสร้างพังลงมา ทําความเสี ยหายแก่
บุคคลอืน ผูว้ า่ จ้างต้องรับผิดต่อผูเ้ สี ยหาย ? ไล่เบียได้?
• หากผูว้ า่ จ้างกับผูร้ ับจ้างร่ วมกันทําละเมิด ผูว้ า่ จ้างก็ไล่เบียจากผูร้ ับจ้างได้
ตามมาตรา ๔๓๒, ๒๙๖

ฎ ๗๐๘๖/๒๕๕๒
โจทก์บรรยายฟ้องว่าจําเลยกับผูร้ บั เหมาร่วมกันทําละเมิด แต่ก ารเป็ นผูร้ บั เหมา
อาจเป็ นผูร้ บั จ้างทําของหรือเป็ นลูกจ้างจําเลยทีจําเลยจ้างแรงงานก็ได้ โจทก์มิได้บรรยาย
ฟ้องว่าจําเลยเป็ นผูว้ ่าจ้างให้ผรู้ บั เหมาทําการตอกเสาเข็มอันเป็ นลักษณะของการจ้างทํา
ของและตามคํา ให้ก ารของจํา เลยก็ มิ ไ ด้ใ ห้ก ารว่ า จํา เลยเป็ นผู้ว่ า จ้า งทํา ของแต่ เ ป็ น
คําให้การยอมรับว่าจําเลยเป็ นผูต้ อกเสาเข็ม ตามคําฟ้องและคําให้การประเด็นแห่งคดีจึงมี
เพียงว่าจําเลยเป็ นผูก้ ระทําละเมิดหรือไม่เท่านัน ไม่มีประเด็นว่าจําเลยเป็ นผูว้ ่าจ้างทําของ
ตาม ป.พ.พ. มาตรา ๔๒๘ ทีศาลชันต้นวินิจฉัยว่าจําเลยเป็ นผูว้ ่าจ้างทําของไม่ตอ้ งรับผิด
ตามมาตรา ๔๒๘ เป็ นการวินิจฉัยนอกประเด็นแห่งคดีจึงไม่ชอบด้วย ป.วิ.พ. มาตรา ๘๗,
๑๔๒, ๑๗๗ วรรคสอง

6
24/07/63

ฎ ๒๘๓๕/๒๕๕๒
จําเลยที ๑ เป็ นผูว้ า่ จ้าง ท. ให้รบั เหมาก่อสร้างบ้านโดยจําเลยที ๒ เป็ นคนมาติดต่อรับเงินค่าจ้าง
จากจําเลยที ๑ จําเลยที ๑ และที ๒ มีสิทธิทีจะบอกกล่าวให้ ท. ทํางานตรงไหนก็ได้ตามทีต้องการ จําเลย
ที ๒ เป็ นผูส้ งให้
ั ท. เปลียนแปลงขนาดเสาเข็มทีมีขนาดใหญ่ขึน ราคาแพงกล่าวเดิม และเป็ นคนเอาเงิน
ให้ ท. ไปซือ จึงฟั ง ได้ว่า จํา เลยที ๒ เป็ น ตัวแทนของจําเลยที ๑ ซึงจํา เลยที ๑ ต้องรับ ผิด ชอบในการ
กระทําของตัวแทน ดังนัน แม้ ท. จะเป็ นผูด้ าํ เนินการตอกเสาเข็ม แต่จาํ เลยที ๑ ก็มีส่วนผิดในส่วนการ
งานทีสังให้ทาํ และการที ท. ไม่ได้เรียนวิชาช่างมาโดยตรง เพิงรับเหมางานก่อสร้างให้จาํ เลยที ๑ เป็ นงาน
แรก ก็ เ กิ ด เหตุ ท ํา ให้ บ ้า นของโจทก์ทั งสองเกิ ด รอยร้า ว เสี ย หาย แสดงว่ า ท. เป็ นผู้ข าดความรู ้
ความสามารถ การทีจําเลยที ๑ ว่าจ้างให้ ท. เป็ นผูร้ บั เหมาก่อสร้างถือว่าเป็ นความผิดของจําเลยที ๑ ใน
การเลือกหาผู้รบั จ้างมาก่ อสร้างด้วย ทังเมื อจําเลยที ๑ ถูกฟ้องเป็ นคดี อาญา จําเลยที ๑ ก็ ให้ก ารรับ
สารภาพ ถือได้ว่าจําเลยที ๑ กระทําละเมิดต่อโจทก์ทงสอง ั และแม้โจทก์ทงสองจะมิ
ั ได้ฟ้อง ท. ก็ไม่เป็ น
เหตุให้จาํ เลยที ๑ พ้นความรับผิด

ฎ ๓๙๐/๒๕๕๐
จําเลยซึงเป็ นผูว้ ่าจ้างเป็ นผูก้ าํ หนดวิธีการให้ผรู้ บั จ้างตัดต้นไม้และให้
คนควบคุมดูแลการตัดต้นไม้ตลอดเวลา แต่ในวันทีมีการตัดต้นไม้และทําให้
ไม้ลม้ พาดสายไฟฟ้าแรงสูงในทีดินของโจทก์ขาดก่อให้เกิดความเสียหายกลับ
ไม่มีผใู้ ดควบคุม การทีผูร้ บั จ้างไม่มีความรู ค้ วามชํานาญในการตัดต้นไม้ทีจะ
ก่อให้เกิดความเสียหายแก่สงก่ ิ อสร้างข้างเคียงหรือไม่ยอมทําตามวิธีการที
ถูกต้อง ถือได้ว่าจําเลยเป็ นผูผ้ ิดในส่วนการงานทีสังให้ทาํ หรือในคําสังทีให้ไว้
หรือในการเลือกหาผูร้ บั จ้าง จําเลยจึงต้องรับผิดต่อโจทก์ตามประมวล
กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา ๔๒๘

7
24/07/63

ฎ ๒๐๗๗/๒๕๔๒
จําเลยที ๑ เป็ นผูว้ ่าจ้างให้จาํ เลยที ๒ และที ๓ ก่อสร้างตึก ซึงอยู่ติดกับอาคารพิพาท
ของโจทก์และตาม สัญญารับจ้างเหมางานการก่อสร้างระหว่างจําเลยที ๑ กับจําเลยที ๒ และ
สัญญาจ้างเหมาก่อสร้างระหว่างจําเลยที ๑ กับจําเลยที ๓ ได้ระบุไว้ชัดแจ้งว่าการก่อสร้าง
ของจํา เลยที ๒ และที ๓ จะต้องกระทํา ตามคําสังของจํา เลยที ๑ ตามข้อบังคับในสัญญา
ดังกล่าว หากจําเลยที ๒ และที ๓ ไม่ปฏิบัติตาม จําเลยที ๑ มีสิทธิบอกเลิกสัญญาได้ เมือ
ปรากฏข้อ เท็ จ จริง ว่ า ในระหว่ า งการก่ อสร้า งจํา เลยที ๑ ได้ไ ปควบคุม ดูแ ลการก่ อ สร้า ง
ตลอดเวลาและมี ขอ้ สัญญาให้จาํ เลยที ๑ บอกเลิก สัญญาได้ห ากจํา เลยที ๒ และที ๓ ไม่
ปฏิบตั ิตามคําสังของจําเลยที ๑เช่นนีย่อมถือได้ว่า จําเลยที ๑ เป็ นผูผ้ ิดในส่วนการงานทีสังให้
ทํา หรือคําสังทีตนให้ไว้ หรือในการเลือกหาผูร้ บั จ้างตามทีบัญญัติไว้ในมาตรา ๔๒๘ ตาม ป.
พ.พ. เมือการก่อสร้างอาคารของจําเลยที ๒ และที ๓ ก่อให้เกิดความเสียหายแก่อาคารของ
โจทก์ จําเลยที ๑ จึงต้องร่วมรับผิดในความเสียหายทีเกิดขึน

ข้ อสอบสมัยที ๖๓ ปี การศึกษา ๒๕๕๓


นายสมได้ว่าจ้างนายควงผูร้ บั เหมาให้ยกบ้านเดียว ๒ ชัน ขึนสูง เพราะนําท่วมบ่อย นายกวง
ใช้แม่แรงยก ทําให้คานบ้านร้าว นายสมเห็นว่านายกวงไม่ค่อยรู ว้ ิธียกบ้านจึงสังให้หยุดไว้ก่อน นายก
วงบอกว่าจะเพิมคนงานและแม่แรงทีจะใช้ยกให้ครบทุกเสาของบ้านจะได้ยกแม่แรงขึนพร้อมกันและ
รับรองว่าครังนียกได้แน่ แต่หากไม่ยอมให้ทาํ จะริบเงินมัดจํา นายสมเสียดายเงินมัดจําจึงยอมให้ทาํ
ใหม่ นายกวงได้เพิมคนงานและแม่แรงจนครบเสาทุกต้น แต่หลังจากใช้แม่แรงยกครังแรก บ้านเริม
เอียง นายสมตะโกนบอกว่าบ้านเอียง แต่นายกวงไม่ฟังกลับสังดีดแม่แรงเป็ นครังที ๒ จึงทําให้บา้ นพัง
ครืนลงมาทับนายสีคนงานได้รบั อันตรายสาหัสเป็ นอัมพาตตลอดชีวิต หัวหน้าฝ่ ายโยธาของสํานักงาน
เขตทีเกิดเหตุมาตรวจทําให้ทราบว่ายกบ้านผิดวิธี เพราะใช้แม่แรง และยึดโยงไม่แน่นหนา ผูร้ บั เหมา
ตัดเสาไม่ให้ยึดติดกันจนทําให้บา้ นลอย เป็ นเหตุให้บา้ นล้มลงมา ทังยังเป็ นการทําอย่างผิดกฎหมาย
ไม่แจ้งให้สาํ นักงานเขตรับทราบก่อนเพือจะได้ส่งผูเ้ ชียวชาญมาตรวจสอบ ทังนี การยกบ้านขึนตาม
หลักวิชาการแล้ว จะต้องใช้ไฮโดรลิกทีรับนําหนักตัวบ้านได้ ๓ ถึง ๔ เท่าตัว นายสีฟอ้ งใครได้บา้ ง

8
24/07/63

ข้ อสอบสมัยที ๖๗ ปี การศึกษา ๒๕๕๗


บริษั ท มันคง จํา กัด เป็ น บริษัท รับ เหมาก่ อ สร้า งอาคารสูง ที มี ชื อเสี ย ง ได้รับ จ้า งก่ อสร้า งอาคาร
คอนโดมิเนียมสูง ๖ ชัน ทีได้รบั อนุญาตก่อสร้างแล้ว นายมุ่งผูว้ ่าจ้างได้สง่ มอบทีดินทีก่อสร้างในวันทําสัญญา
มีกาํ หนดแล้วเสร็จและส่งมอบอาคารทีก่อสร้างใน ๑ ปี บริษัทมันคง จํากัด ได้จา้ งนายเร่งเป็ นผูร้ บั เหมางาน
เทปูนทังหมด โดยต้องอยู่ในความควบคุมของวิศวกรผูค้ วบคุมงานของบริษัทมันคง จํากัด เมือลงเสาเข็มและ
ก่อสร้างโครงสร้างอาคารเสร็จ วิศวกรผูค้ วบคุมงานได้แจ้งแก่นายเร่งว่าปูนทีใช้เทพืนคอนกรีตมีส่วนผสมของ
สารเร่งความแข็งของคอนกรีตด้วย เมือเทพืนคอนกรีตในแต่ละชันเสร็จจะต้องรอให้ครบ ๒๔ ชัวโมง ก่อนพืน
คอนกรีตถึงจะแข็งตัวจึงจะเทพืนคอนกรีตในชันถัดขึนไปได้ หากเทพืนในชันถัดไปก่อนครบ ๒๔ ชัวโมง พืน
คอนกรีตทียังไม่แข็งตัวจะรับนําหนัก ไม่ได้ตึก จะพัง การเทพืนคอนกรีตในแต่ละชันได้ดาํ เนิ นโดยถูก ต้อง
ภายใต้การควบคุมของวิศวกรผูค้ วบคุมงาน แต่เมือถึงเย็นวันที ๑๑ เมษายน ๒๕๗ หลังเลิกงานนายเร่งจะรีบ
ไปงานสงกรานต์ทีจังหวัดของตนในวันรุ่งขึน นายเร่งคิดว่าแม้ปูนทีเทพืนชัน ๕ ยังไม่ครบ ๒๔ ชัวโมง ขาด
เล็กน้อย คงไม่เป็ นไร จึงสังให้คนงานเทปูนพืนชัน ๖ ในคืนนันโดยพลการ พอใกล้สว่าง พืนคอนกรีตทีชัน ๕
รับนําหนักไม่ไหวได้ทรุดตัวถล่มลงทังตึก เป็ นเหตุให้คนงานได้รบั บาดเจ็บและเสียชีวิตหลายรายให้วินิจฉัยว่า
นายเร่ง บริษัทมันคง จํากัด และนายมุ่ง จะต้องรับผิดฐานละเมิดหรือไม่

ความรับผิดในการทําละเมิดของผู้ไร้
ความสามารถ
AD5

9
สไลด ์ 18

AD5 แยกเป็ นความรบั ผิดของบิดา มารดาและผู ้อนุ บาล มาตรา ๔๒๙ และความร ับผิด
ของผด้ ูแล คือ ครู นายจ ้าง และผูร้ ับดูแล ตามาตรา ๔๓๐
Ampassacha Disatha-Amnarj, 20/06/2563
24/07/63

ความรับผิดของบิดา มารดา และผู้อนุบาล


• มาตรา ๔๒๙ "บุคคลใดแม้ไร้ความสามารถเพราะเหตุเป็ นผูเ้ ยาว์หรื อAD6

วิกลจริ ตก็ยงั ต้องรับผิดในผลทีตนทําละเมิด บิดามารดาหรื อผูอ้ นุบาลของ


AD7

บุคคลเช่นว่านี ย่อมต้องรับผิดร่ วมกับเขาด้วย เว้นแต่จะพิสูจน์ได้ว่าตนได้


ใช้ความระมัดระวังตามสมควรแก่หน้าทีดูแลซึ งทําอยูน่ น" ั

ผู้ไร้ ความสามารถรับผิด
• มาตรานี ยืนยันว่าคนทีไร้ความสามารถไม่ว่าจะเป็ นผูเ้ ยาว์หรื อวิกลจริ ตก็
ต้องรับผิดในผลละเมิดทีตนได้ก่อให้เกิดขึน เรื องความสามารถของผูไ้ ร้
ความสามารถเพราะเป็ นผูเ้ ยาว์หรื อวิกลจริ ตตามกฎหมายมีเฉพาะเรื องการ
ทํานิ ติกรรม กล่าวคือ ผูไ้ ร้ความสามารถมีแต่ถูกจํากัดในการใช้สิทธิ โดย
ลําพัง จึงไม่อาจต้องรับผิดในการแสดงเจตนาทํานิติกรรม แต่ในทางละเมิด
เป็ นการกระทําทีไม่มีสิทธิ ผูไ้ ร้ความสามารถจึงต้องรับผิดในทางละเมิด
เช่นเดียวกับบุคคลธรรมดา

10
สไลด ์ 19

AD6 บุคคลทียังไม่บรรลุนิตภ
ิ าวะ ไม่ว่าโดยอายุหรือโดยการสมรส
Ampassacha Disatha-Amnarj, 20/06/2563

AD7 รวมถึงบุคคลทีศาลสังให ้เป็ นคนไร ้ความสามารถและทีมิไดส้ งให


ั เ้ ป็ นคนไร ้
ความสามารถด ้วย
Ampassacha Disatha-Amnarj, 20/06/2563
24/07/63

ผู้ไร้ ความสามารถรับผิด
• ผูเ้ ยาว์หรื อผูว้ ิกลจริ ตเป็ นผูท้ าํ ละเมิดก็ตอ้ งรับผิดชดใช้ค่าสิ นไหมทดแทน
ตามมาตรา ๔๒๐ ส่ วนบิดามารดาหรื อผูอ้ นุบาลต้องร่ วมรับผิดด้วยตาม
มาตรา ๔๒๙ นี
• ผูเ้ สี ยหายจะเลือกฟ้ องบิดามารดาหรื อผูอ้ นุบาลให้รับผิดโดยเฉพาะ โดยไม่
ต้องฟ้ องผูไ้ ร้ความสามารถซึ งเป็ นผูท้ าํ ละเมิดด้วย (ฎ.๙๓๔/๒๕๑๗) หรื อ
จะฟ้ องให้ร่วมรับผิดกับผูไ้ ร้ความสามารถด้วยก็ได้

บิดามารดารับผิด
• หน้าทีควบคุมดูแลและให้การศึกษาแก่บุตรผูเ้ ยาว์ตามมาตรา ๑๕๖๔
• อํานาจปกครองตามมาตรา ๑๕๖๖ ๑๕๖๗
• ฎ.๕๕๔๕/๒๕๔๖ บิดามารดาทีชอบโดยกฎหมายเท่านันทีจะต้องร่ วมรับ
ผิดในผลทีผูเ้ ยาว์ทาํ ละเมิด รวมถึงผูร้ ับบุตรบุญธรรมด้วย

11
24/07/63

เด็กทีเกิดโดยอาศัยเทคโนโลยี
• ตาม พรบ. คุม้ ครองเด็กทีเกิดโดยอาศัยเทคโนโลยีช่วยการเจริ ญพันธุ ์ทาง
การแพทย์ พ.ศ. ๒๕๕๘ มาตรา ๒๙ " เด็กทีเกิดจากอสุ จิ ไข่ หรื อตัวอ่อน
ของผูบ้ ริ จาค แล้วแต่กรณี โดยใช้เทคโนโลยีช่วยการเจริ ญพันธุ์ทาง
การแพทย์
• ไม่วา่ จะกระทําโดยการให้ภริ ยาทีชอบโดยกฎหมายของสามีซึงประสงค์จะ
มีบุตรเป็ นผูต้ งครรภ์
ั หรื อให้มีการตังครรภ์แทนโดยหญิงอืน ให้เด็กนันเป็ น
บุตรชอบด้วยกฎหมายของสามีและภรรยาทีชอบโดยกฎหมาย:7j’ประสงค์
จะมีบุตร

ผู้อนุบาลรับผิด
• ผูอ้ นุ บาลตามมาตรานี หมายถึง บุคคลทีศาลสังตังให้เป็ นผูอ้ นุบาลของ
คยนไร้ความสามารถ

12
24/07/63

เหตุยกเว้ น
ตามมาตรา ๔๒๙ หน้าทีนําสื บว่าไม่ตอ้ งรับผิดอยูก่ บั บิดามารดา
หรื อผูอ้ นุบาล โจทก์นาํ สื บเพียงว่า ผูเ้ ยาว์หรื อคนไร้ความสามารถนัน
ทําละเมิดตามมาตรา ๔๒๐ หรื อมาตราอืนๆและผูเ้ ยาว์หรื อคนไร้
ความสามารถเป็ นบุตรหรื อเป็ นผูอ้ ยู่ในอนุ บาลของจําเลยซึ งเป็ นบิดา
มารดาหรื อเป็ นผูอ้ นุ บาลแค่นีก็พอ จําเลยต้องพิสูจน์ให้ได้ว่าตนได้ใช้
ความระมัดระวังดูแล หากไม่นาํ สื บก็ตอ้ งแพ้คดี

กรณีได้ ใช้ ความระมัดระวัง


• ฎ. ๖๑๒/๒๔๘๘ "ตามปกติยอ่ มเป็ นการเหลือวิสัยทีบิดามารดาจะดูแลป้ องกันบุตรไม่ให้ไปทํา
การฉุ ดคร่ าหญิง ฉะนันบิดามารดาจึงไม่ตอ้ งร่ วมรับผิดในการละเมิดทีบุตรไปทําการฉุดคร่ า
หญิง เมือบุตรไปทําการฉุดคร่ าเขามาแล้วบิดามารดาช่วยป้ องกันปิ ดบังเหตุการณ์จากผูม้ า
ติดตามนันเป็ นเรื องช่วยแก้บุตรให้พน้ จากความร้ายมิใช่เป็ นการปล่อยปละละเลยหรื อส่ งเสริ ม
ให้บุตรไปทําละเมิด จึงไม่เป็ นเหตุทีจะพึงให้รับผิดในการละเมิดร่ วมกับบุตร จําเลยถูกฟ้ องให้
ร่ วมรับผิดในการละเมิดทีบุตรกระทํา จําเลยให้การว่าเป็ นการนอกเหนือจากขอบเขตอํานาจที
จําเลยจะพึงระมัดระวังดูแลตามหน้าทีอันควรดังนี ถือว่าจําเลยได้ต่อสู ใ้ นข้อว่าได้ใช้ความ
ระมัดระวังตามสมควรแล้ว แต่เหลือวิสัยทีจะระมัดระวังได้

13
24/07/63

สิทธิไล่เบีย
• มาตรา ๔๓๑ "ในกรณี ทีกล่าวมาใน ๒ มาตราก่อนนัน ท่านให้นาํ
บทบัญญัติแห่งมาตรา ๔๒๖ มาใช้บงั คับโดยอนุโลม"
• เมือบิดามารดาหรื อผูอ้ นุบาลใช้ค่าสิ นไหมทดแทนให้แก่ผเู ้ สี ยหายเพราะ
การทําละเมิดของบุคคลผูไ้ ร้ความสามารถแล้ว ย่อมใช้สิทธิ ไล่เบียจาก
บุคคลผูไ้ ร้ความสามารถได้ตามมาตรา ๔๓๑ ทํานองเดียวกับมาตรา ๔๒๖

ฎ ๑๓๗๘๙/๒๕๕๕
ป.พ.พ. มาตรา ๔๒๙ บัญ ญัติให้บิดามารดาต้องร่ว มรับผิด ในผลที
ผู้เ ยาว์ก ระทํา ละเมิ ด ต่ อ บุ ค คลอื น เว้น แต่ จ ะพิ สูจ น์ไ ด้ว่ า ตนได้ใ ช้ค วาม
ระมัดระวังตามควรแก่หน้าทีดูแลซึงทําอยู่นนั ตามคําให้การ จําเลยที ๒ และ
ที ๓ หาได้ยกความข้อนีขึนต่อสูโ้ จทก์ทงสองให้
ั ชดั แจ้ง คงให้การเพียงว่าไม่มี
ส่วนรูเ้ ห็นหรือเกียวพันกับการกระทําผิดของจําเลยที ๑ ซึงไม่ใช่ความหมาย
อย่างเดียวกันกับการใช้ความระมัดระวังตามควรแก่หน้าทีดูแลซึงทําอยู่นัน
คําให้การของจําเลยที ๒ และที ๓ จึงไม่ชัดแจ้ง ย่อมไม่มีประเด็นทีจะนําสืบ
พิสจู น์ให้พน้ ความรับผิดตามกฎหมาย

14
24/07/63

ฎ ๘๑๓๘/๒๕๕๕
ขณะเกิดเหตุจาํ เลยที ๑ มีอายุ ๑๙ ปี เศษ ใกล้บรรลุนิติภาวะ แม้จะยังเป็ นผูเ้ ยาว์และ
ต้องอยู่ในความปกครองดูแลของจําเลยที ๒ และที ๓ ซึงเป็ นบิดามารดาตามกฎหมายก็ตาม
แต่จาํ เลยที ๑ ก็ทาํ งานหาเลียงชีพด้วยตนเองไม่เป็ นภาระแก่บิดามารดา การทีจําเลยที ๒
และที ๓ อนุญาตให้จาํ เลยที ๑ ขับรถจักรยานยนต์ก็เนืองมาจากต้องใช้เป็ นพาหนะในการ
เดินทางไปทํางาน ทังจําเลยที ๑ ได้รบั ใบอนุญาตขับรถจักรยานยนต์ย่อมแสดงให้เห็นว่า
จําเลยที ๑ มีวุฒิ ภ าวะพอสมควรที จําเลยที ๒ และที ๓ จะไว้ว างใจจํา เลยที ๑ ในการ
ดํารงชีวิตในสังคมทีจะไม่ก่อความเดือดร้อนเสียหายแก่ผอู้ ืน นอกจากนีไม่ปรากฏว่าจําเลยที
๑ เคยขับรถจักรยานยนต์ก่อให้เกิดความเดือดร้อนรําคาญแก่ผอู้ ืน หรือเกิดอุบตั ิเหตุเฉียวชน
อยู่เสมอ อันจะทําให้จาํ เลยที ๒ และที ๓ ควรต้องทักท้วงหรือห้ามปรามมิให้จาํ เลยที ๑ ขับ
รถจักรยานยนต์อีกจนกว่าจะบรรลุนิติภาวะ เช่นนีถือได้ว่า จําเลยที ๒ และที ๓ ได้ใช้ความ
ระมัดระวังดูแลจําเลยที ๑ ตามสมควรแก่หน้าทีดูแลซึงทําอยู่นนแล้ั ว จําเลยที ๒ และที ๓ จึง
ไม่ตอ้ งร่วมกับจําเลยที ๑ รับผิดต่อโจทก์

ฎ ๖๙๖๗/๒๕๔๑
จําเลยที ๑ ซึงเป็ นบุตรโดยชอบด้วยกฎหมายของจําเลยที ๒ มีอายุ ๑๕ ปี เศษ และ
เป็ นนักเรียนชันมัธยมศึกษาปี ที ๔ ก่อนทีจําเลยที ๒ จะออก ไปกิจธุระนอกบ้าน จําเลยที ๒
ได้น ํา รถจั ก รยานยนต์ คั น เกิ ด เหตุ เ ข้ า ไปเก็ บ ไว้ใ นบ้า นพร้อ มกั บ ใส่ กุ ญ แจล๊ อ ก คอ
รถจักรยานยนต์เพือป้องกันมิให้จาํ เลยที ๑ นํารถจักรยานยนต์ออกไปใช้ และจําเลยที ๒
นําเอากุญ แจติดตัวไปด้วยการทีจําเลยที ๑ ได้นาํ กุญแจรถยนต์กระบะไปไขออก ได้โดย
บังเอิญแล้วนําไปให้เพือนรุ ่นพีต่อสายไฟตรงติดเครืองยนต์ให้ ทังไม่ปรากฏว่าจําเลยที ๑
เป็ นผูท้ มีี นิสยั หรือความประพฤติไม่ดีมาก่อน เห็นได้วา่ จําเลยที ๒ ได้ใช้ความระมัดระวังตาม
สมควรแก่หน้าทีดูแลซึงทําอยู่นนเหมาะสมกั
ั บอุปนิสยั และความประพฤติของจําเลยที ๑ผู้
เป็ นบุตรแล้วทุกประการ จําเลยที ๒ จึงไม่ตอ้ งร่วมรับผิดในเหตุละเมิดทีจําเลยที ๑ ก่อขึนต่อ
โจทก์ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา ๔๒๙

15
24/07/63

ฎ ๖๙๖๗/๒๕๔๑
จําเลยที ๑ ซึงเป็ นบุตรโดยชอบด้วยกฎหมายของจําเลยที ๒มีอายุ ๑๕ ปี เศษ และ
เป็ นนักเรียนชันมัธยมศึกษาปี ที ๔ ก่อนทีจําเลยที ๒ จะออกไปกิจธุระนอกบ้าน จําเลยที ๒
ได้น ํา รถจั ก รยานยนต์ คั น เกิ ด เหตุ เ ข้ า ไปเก็ บ ไว้ ใ นบ้ า นพร้อ มกั บ ใส่ กุ ญ แจล็ อ กคอ
รถจัก รยานยนต์เพือป้องกันมิให้จาํ เลยที ๑ นํารถจักรยานยนต์ออกไปใช้ และจําเลยที ๒
นําเอากุญแจติดตัวไปด้วย การทีจําเลยที ๑ ได้นาํ กุญแจรถยนต์ก ระบะไปไขออกได้โดย
บังเอิญแล้วนําไปให้เพือนรุ น่ พีต่อสายไฟตรงติดเครืองยนต์ให้ ทังไม่ปรากฏว่าจําเลยที ๑
เป็ นผูท้ ีมีนิสัยหรือความประพฤติไม่ดีมาก่อน เห็นได้ว่าจําเลยที ๒ ได้ใช้ความระมัดระวัง
ตามสมควรแก่หน้าทีดูแลซึงทําอยู่นนั เหมาะสมกับอุปนิสยั และความประพฤติของจําเลยที
๑ ผูเ้ ป็ นบุตรแล้วทุกประการ จําเลยที ๒ จึงไม่ตอ้ งร่วมรับผิดในเหตุละเมิดทีจําเลยที ๑ ก่อ
ขึนต่อโจทก์ตาม ป.พ.พ. มาตรา ๔๒๙

ข้ อสอบสมัยที ๖๐ ปี การศึกษา ๒๕๕๐


นางแอนรับราชการเป็ นครู ชันประถมโรงเรียนวังทองสังกัดกรุ งเทพมหานคร วันหนึง
นางแอนทําหน้าทีเป็ นครู เวรทีต้องนําเด็กนักเรียนขึนรถยนต์ของโรงเรียนไปส่งตามบ้านหลัง
เลิกเรียน ขณะรถจะออกจากโรงเรียน นางสาวดรุ ณซึงเป็ นญาติของนางแอนมาตามบอกว่า
บุตรสาวอายุ ๓ ขวบ ของนางแอนตัวร้อนเป็ นไข้อยู่ทีบ้านให้รีบกลับไปรับบุตรพาไปหาแพทย์
นางแอนจึง ให้น างสาวดรุ ณ ไปกับรถช่ว ยนําเด็ ก นักเรีย นไปส่ งตามบ้านแทนและได้ก ําชับ
นางสาวดรุ ณให้คอยระวังเด็กชายเบิมนักเรียนทีอยู่บนรถโดยบอกว่าให้นงอยู ั ่ใกล้ ๆ เพราะ
เด็กชายเบิมเป็ นเด็กทีมีนิสยั เกเรชอบทําร้ายเด็กนักเรียนทีเล็กกว่า ระหว่างทางเด็กชายเบิมซึง
นังอยู่ทา้ ยรถติดกับนางสาวดรุ ณได้เดินไปด้านหน้าเล่นกับเด็กนักเรียนคนอืน นางสาวดรุ ณก็
ไม่ว่าอะไร เด็กชายเบิมเล่นกับเด็กอืนได้พกั หนึงก็ชกถูกตาขวาของเด็กชายน้อยนักเรียนอีกคน
หนึงจนได้รบั บาดเจ็บสาหัส ให้วินิจฉัยว่า เด็กชายน้อยมีสิทธิฟ้องเรียกค่าสินไหมทดแทนจาก
เด็กชายเบิม นางแอน นางสาวดรุ ณ และกรุงเทพมหานครได้หรือไม่

16
24/07/63

ข้ อสอบสมัยที ๖๑ ปี การศึกษา ๒๕๕๑


คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยปั ญญาชน ซึงเป็ นมหาวิทยาลัยเอกชน จดทะเบียนเป็ น
นิติบุคคล จัด ให้มีการรับน้องใหม่ขึนในวันหยุดเรียนภายในมหาวิทยาลัย โดยมีอาจารย์บุญมี เป็ น
อาจารย์ฝ่ายกิจการ นักศึกษาคอยดูแลอยู่ห่าง ๆ นายเอก อายุ ๑๙ ปี ประธานนักศึกษาปี ที ๒ ซึงเป็ น
ผูจ้ ัด การ "รับ น้อง" คนหนึง สังให้น ้องใหม่ ทุก คนดื มเหล้า โดยอ้า งว่า เพือ "สปิ ริต " ของ "ชาววิ ศ ว
ปั ญญาชน" นายโท อายุ ๑๘ ปี ซึงเป็ นนักศึกษาปี ที ๑ จําใจต้องดืมโดยไม่เต็มใจ นายเอกเห็นว่านาย
โทไม่เต็มใจดืมจึงบังคับให้ดมอีื กสามแก้ว จนนายโทถึงกับอาเจียน นายเอกยังสังให้นายตรี อายุ ๑๘ ปี
นักศึกษาน้องใหม่อีกคนหนึงแสดง "สถานการณ์จาํ ลอง" เกียวกับพฤติกรรมทางเพศโดยให้นายตรี
กระทําต่อตนเอง นายตรีทาํ ด้วยความฝื นใจ แต่เหตุทียอมทําก็เพราะเชือโดยสนิทใจว่าเป็ นเรืองของ
"สปิ รติ " และอีกเหตุหนึงก็ดว้ ยฤทธิ ของแอลกอฮอล์ ทีตนดืมด้วยความสมัครใจ หลังเหตุการณ์รบั น้อง
ได้มีการเผยแพร่ภาพเหตุการณ์ทีเกิดขึนแก่นายโทและนายตรีไปทัวทางอินเตอร์เน็ต ยังความอับอาย
แก่บุคคลทังสองเป็ นอย่างยิง โดยเฉพาะนายตรีถึงกับเกิดอาการซึมเศร้าต้องรักษาตัวกับจิตแพทย์ให้
วินิจฉัยว่า นายโทและนายตรีจะฟ้องใครให้ตอ้ งรับผิดเพือชดใช้ค่าสินไหมทดแทนประเภทใดได้บา้ ง
หรือไม่ เพียงใด

ความรับผิดของผู้ดูแล

17
24/07/63

ความรับผิดของผู้ดูแล
• มาตรา ๔๓๐ "ครู บาอาจารย์ นายจ้าง หรื อบุคคลอืนซึ งรับดูแลบุคคลผูไ้ ร้
ความสามารถอยูเ่ ป็ นนิ ตย์กด็ ี ชัวครังชัวคราวก็ดี จําต้องรับผิดร่ วมกับผูไ้ ร้
ความสามารถในการละเมิดซึ งเขาได้กระทําลงในระหว่างทีอยูใ่ นความ
ดูแลของตน ถ้าหากพิสูจน์ได้วา่ บุคคลนันๆ มิได้ใช้ความระมัดระวังตาม
สมควร"

ผู้ดูแล
ความสํ าคัญของผู้รับผิดตามมาตรานีอยู่ทีการเป็ นผู้รับดูแลบุคคลไร้
ความสามารถ ไม่ ว่าจะรับดูแลอยู่เป็ นประจําหรือชัวครังชัวคราว โดยไม่
คํานึงถึงว่าการรับดูนันมีสินจ้ างหรือไม่
การรับดูแลตามมาตรานีมี ๓ ลักษณะ คือ
๑. รับดูแลโดยกฎหมายบังคับ
๒. รับดูแลโดยสัญญา
๓. รับดูแลโดยข้อเท็จจริ ง

18
24/07/63

คําพิพากษาศาลฎีกาที ๑๒๙๗๙/๒๕๕๘
เจ้าพนักงานตํารวจนําตัวผูเ้ ยาว์ส่งสถานพินิจฯ เป็ นหน้าทีตามประมวล
กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญากําหนดไว้ไม่มีเจตนารับดูแลผูเ้ ยาว์ เมือผูเ้ ยาว์
หลบหนี ไปทําละเมิ ด เจ้าพนักงานตํารวจไม่ตอ้ งรับผิดเพราะไม่อยู่ในบังคับ
ตาม ป.พ.พ. มาตรา ๔๓๐ ส่วนสํานักงานตํารวจแห่ งชาติ ไม่ตอ้ งรับผิดเพราะ
เป็ นเพียงความบกพร่ องในการปฏิบตั ิหน้าทีของเจ้าพนักงานตํารวจไม่ได้ทาํ
ละเมิดโดยตรงทีหน่ วยงานของรัฐจะต้องรับผิดตาม พ.ร.บ.ความรับผิดทาง
ละเมิดของเจ้าหน้าที พ.ศ.๒๕๓๙ มาตรา ๕ วรรคหนึง

คําพิพากษาศาลฎีกาที ๑๒๐๖/๒๕๓๕
จําเลยที ๒ เป็ นเพียงเจ้าของหอพักทีจําเลยที ๑ ซึงเป็ นผูเ้ ยาว์เช่าอยู่ และ
เป็ นผูใ้ ช้ให้จาํ เลยที ๑ ขับรถยนต์คนั เกิดเหตุไปเพือกิจธุระของตนเท่านันถือ
ไม่ได้ว่าจําเลยที ๒ เป็ นบุคคลผูร้ ับดูแลจําเลยที ๑ ไว้ และจะต้องร่ วมรับผิดกับ
จําเลยที ๑ ในการละเมิดตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิ ชย์ มาตรา ๔๓๐
เพราะเจ้าของหอพักมีหน้าทีเพียงดําเนินกิจการหอพักและควบคุมการเข้าพัก
ในหอพักเท่านัน

19
24/07/63

๑. รับดูแลโดยกฎหมายบังคับ
เช่น สถานพินิจและคุม้ ครองเด็กและเยาวชน ซึ งเยาวชนถูกจับ
กล่าวหาว่าไปกระทําผิดแล้วนําตัวไปควบคุมดูแลหรื อพนักงาน
สอบสวนควบคุมผูเ้ ยาว์ซึงถูกกล่าวหาว่ากระทําผิด
หรื อกรณี ทีผูป้ กครองทีศาลมีคาํ สังตังให้เป็ นตามบรรพ ๕ กรณี นี
กฎหมายให้อาํ นาจควบคุมดูแลคนไร้ความสามารถ

๒. รับดูแลโดยสั ญญา

• พีเลียง สถานรับเลียงเด็ก
• ครู อาจารย์
• ผูร้ ับดูแลโดยสัญญาจ้าง

20
24/07/63

๓. รับดูแลโดยข้ อเท็จจริง
• บิดาทีมิชอบด้วยกฎหมายให้การอุปการะเลียงดูบุตรทีเกิดนอกสมรสตามหน้าที
ทางศีลธรรม
• ความผูกพันทางสายเลือด ปู่ ย่าตายาย ลุงป้ าน้าอาทีรับเลียงผูเ้ ยาว์
• รับเด็กหลงทางมาเลียงดูให้มาอาศัยเพือตามหาพ่อแม่
• การรับดูแลโดยข้อเท็จจริ งนี หมายถึง ดูแลในความเป็ นอยู่ ข้อสําคัญการทํา
ละเมิดต้องเกิดขึนในขณะอยูใ่ นความดูแลของบุคคลนัน

• ผู้รับดูแลตามมาตรา ๔๓๐ แบ่ งเป็ น

ประเภทผู้ดูแล ๑. ครูบาอาจารย์
๒. นายจ้าง
๓. ผู้รับดูแล

21
24/07/63

๑. ครูบาอาจารย์
• บุคคลทีให้การศึกษาอย่างใดอย่างหนึง จะมีสินจ้างหรื อไม่กไ็ ด้
• จะต้องมีหน้าทีควบคุมดูแลด้วยและเหตุละเมิดเกิดในระหว่างการรับดูแล
• หากมีนกั เรี ยนทําละเมิด คนทีจะรับผิดเฉพาะในขณะทําละเมิดต้องมีหน้าทีรับดูแลด้วย ซึง
อาจเป็ นผูอ้ าํ นวยการ ผูจ้ ดั การ อาจารย์ใหญ่ ครู ผปู ้ กครอง ครู ประจําชัน
• ความรับผิดมากหรื อน้อยนันขึนอยูก่ บั อํานาจหน้าทีดูแลขณะเกิดเหตุวา่ มากน้อยเพียงใด
• เหตุละเมิดไม่จาํ เป็ นต้องเกิดขึนระหว่างสอนหรื อในห้องเรี ยน
• อาจารย์ในมหาวิทยาลัยไม่ได้อยูใ่ นบังคับมาตรานี มีแต่หน้าทีให้การศึกษา
• ฉะนันเพียงแต่สืบได้วา่ ไม่บกพร่ องในการควบคุมดูแล ก็พน้ ความรับผิดแล้ว แม้จะอบรบ
สังสอนไม่ดีกไ็ ม่ตอ้ งรับผิด

๒. นายจ้ าง
• ผูม้ ีความสัมพันธ์กบั ผูไ้ ร้ความสามารถตามสัญญาจ้างแรงงาน
• นายจ้างมีหน้าทีอบรบสังสอนฝึ กฝนลูกจ้างให้ฝึกวิชาชีพประเภททีเรี ยกว่า
ลูกมือฝึ กหัด
• นายจ้างต้องรับผิดในเหตุละเมิดทีผูไ้ ร้ความสามารถทําระหว่างทีอยูใ่ น
ความควบคุมดูแลของนายจ้าง
• ถ้าละเมิดได้กระทําในทางการทีจ้างด้วยและนายจ้างไม่ดูแลให้ดี นายจ้าง
ต้องร่ วมรับผิดตามมาตรา ๔๒๘ ทีลูกจ้างได้ทาํ ละเมิดในทางการทีจ้าง กับ
ร่ วมรับผิดตามมาตรา ๔๓๐ ในฐานะทีดูไม่แลให้ดี

22
24/07/63

• บุคคลอืนซึ งรับดูแลผูไ้ ร้ความสามารถ


• อาจเป็ นผูป้ กครองตามมาตรา ๑๕๘๕ สถาน
รับเลียงเด็ก
๓. ผู้รับดูแล • ผูด้ ูแลคนบ้า
• บิดานอกกฎหมายรับเลียงบุตร
• ญาติพีน้องรับเลียงดูหลาน

• หน้าทีนําสื บความรับผิดชอบของผูด้ แู ลใน ๓


ประเภทดังกล่าวตามมาตรา ๔๓๐ ตกอยูแ่ ก่
ผูเ้ สี ยหาย
เหตุยกเว้น • โดยจะต้องนําสื บว่าเหตุเกิดจากผูเ้ ยาว์หรื อคน
วิกลจริ ตทําละเมิด
• และผูร้ ับดูแลขาดความระมัดระวังตามสมควร
แก่หน้าทีดูแลซึ งทําอยูน่ นั

23
24/07/63

• เมือครู อาจารย์ นายจ้าง หรื อผูร้ ับดูแลได้ชดใช้ค่า


สิ นไหมให้แก่ผเู ้ สี ยหายแล้ว ย่อมมีสิทธิ ไล่เบียจาก
ผูไ้ ร้ความสามารถซึ งเป็ นผูท้ าํ ละเมิดได้ตามมาตรา
สิทธิไล่เบีย ๔๓๑
• ผูไ้ ร้ความสามารถมิได้ทาํ ละเมิดต่อผูด้ แู ล ผูร้ ับ
ดูแลจึงไม่มีสิทธิ ไล่เบียต่อบิดามารดาหรื อผูอ้ นุบาล
ตามมาตรา ๔๒๙

ฎ ๑๒๙๗๙/๒๕๕๘
เจ้า พนั ก งานตํา รวจนํา ตัว ผู้เ ยาว์ส่ ง สถานพิ นิ จ ฯ เป็ นหน้า ที ตาม
ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญากําหนดไว้ไม่มีเจตนารับดูแลผูเ้ ยาว์
เมือผูเ้ ยาว์หลบหนีไปทําละเมิด เจ้าพนักงานตํารวจไม่ตอ้ งรับผิดเพราะไม่อยู่
ในบังคับตาม ป.พ.พ. มาตรา ๔๓๐ ส่วนสํานักงานตํารวจแห่งชาติ ไม่ตอ้ งรับ
ผิดเพราะเป็ นเพียงความบกพร่องในการปฏิบตั ิหน้าทีของเจ้าพนักงานตํารวจ
ไม่ได้ทาํ ละเมิดโดยตรงทีหน่วยงานของรัฐจะต้องรับผิดตาม พ.ร.บ.ความรับ
ผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที พ.ศ.๒๕๓๙ มาตรา ๕ วรรคหนึง

24
24/07/63

ฎ ๑๐๒๓๙/๒๕๔๖
ขณะเกิดเหตุคดีนี จําเลยที ๒ จดทะเบียนหย่ากับจําเลยที ๑ แล้ว โดยมีขอ้ ตกลงกันว่า
ให้จาํ เลยที ๓ ซึงเป็ นบุตรผูเ้ ยาว์อยู่ในอํานาจปกครองของจําเลยที ๑ แต่เพียงผูเ้ ดียว จําเลยที
๒ จึ งไม่มีอาํ นาจปกครองเพือจัด การดูแลบุตรผูเ้ ยาว์ตามที กฎหมายกําหนดต่อ ไป การที
จําเลยที ๓ ไปกระทําละเมิดต่อผูอ้ ืน จะนํา ป.พ.พ. มาตรา ๔๒๙ มาปรับใช้บงั คับในส่วนที
เกียวกับการทีจําเลยที ๒ จะต้องร่วมรับผิดด้วยหรือไม่ ไม่ได้
หลังจากจดทะเบียนหย่าแล้ว จําเลยที ๒ ไม่ได้พกั อาศัยอยู่กับจําเลยที ๑ และที ๓ แม้
จําเลยที ๒ ยังมีชือในทะเบียนบ้านร่วมกับจําเลยที ๑ และที ๓ และภายหลังเกิดเหตุ จําเลยที
๒ ได้ไปเจรจาค่าเสียหายกับโจทก์หรือไปดูแลจําเลยที ๓ เป็ นครังคราว พฤติการณ์เหล่านียัง
รับฟั งไม่ได้ว่าจําเลยที ๒ เป็ นผูร้ บั ดูแลจําเลยที ๓ ตาม ป.พ.พ. มาตรา ๔๓๐ จําเลยที ๒ จึง
ไม่ตอ้ งร่วมรับผิดในผลแห่งละเมิดของจําเลยที ๓

ฎ ๑๒๐๖/๒๕๓๕
จําเลยที ๒ เป็ นเพียงเจ้าของหอพักทีจําเลยที ๑ ซึงเป็ นผูเ้ ยาว์เช่าอยู่ และเป็ น
ผูใ้ ช้ใ ห้จ าํ เลยที ๑ ขับรถยนต์คันเกิ ด เหตุไ ปเพื อกิจธุระของตนเท่านันถื อไม่ไ ด้ว่ า
จําเลยที ๒ เป็ นบุคคลผูร้ บั ดูแลจําเลยที ๑ ไว้ และจะต้องร่วมรับผิดกับจําเลยที ๑ ใน
การละเมิด ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิ ชย์ มาตรา ๔๓๐ เพราะเจ้า ของ
หอพักมีหน้าทีเพียงดําเนินกิจการหอพักและควบคุมการเข้าพักในหอพักเท่านัน

25
24/07/63

ข้ อสอบสมัยที ๗๐ ปี การศึกษา ๒๕๖๐


นายศุกร์มีบา้ นอยู่ทีจังหวัดเชียงใหม่นาํ นายพุธบุตรชายอายุ ๑๗ ปี มาเรียนหนังสือและพัก
อาศัยอยูก่ บั นางเสาร์ทีกรุงเทพมหานคร โดยนายศุกร์ขอให้นางเสาร์ซงเป็
ึ นมารดาช่วยดูแลและกําชับมิ
ให้หลานขับรถยนต์เพราะเกิดเหตุบอ่ ย ต่อมานายพุธได้ออ้ นวอนขอให้นางเสาร์ซือรถยนต์ให้มิฉะนันจะ
ไม่เรียนหนังสือ ด้ว ยความรักและตามใจหลาน นางเสาร์จึงซือรถยนต์ให้ขับ วันหนึงนายพุธ ได้น าํ
รถยนต์ดงั กล่าวไปรับนางสาวเดียร์อายุ ๑๖ปี เพือนสาวขับขึนทางด่วนกาญจนาภิเษกด้วยความเร็วสูง
ถึง ๑๘๐ กิโลเมตรต่อชัวโมง เพืออวดเพือนสาว แต่พอถึงทางโค้งรถเสียหลักพลิกควํา เป็ นเหตุให้
นางสาวเดียร์ได้รบั อันตรายสาหัส นายเดชบิดาของนางสาวเดียร์ได้ชาํ ระเงินค่ารักษาพยาบาลบุตรสาว
จนหายบาดเจ็ บ แต่มื อ ขวาของนางสาวเดี ย ร์พิ ก ารหงิ ก งอรัก ษาไม่ ห ายและช่ ว ยยกของหนัก ใน
ครอบครัวเช่นเคยไม่ได้ นายศุกร์ได้ชาํ ระคํารักษาพยาบาลนางสาวเดียร์ให้แก่นายเดชครบถ้วนแล้ว
ให้วินิจฉัยว่า นายเดชจะฟ้องเรียกร้องค่าสินไหมทดแทนทีทําให้นางสาวเดียร์มือขวาพิการหงิก
งอจากใครได้หรือไม่ เป็ นค่าอะไร

ความรับผิดในการทําละเมิดของ
ผู้แทนนิติบุคคล

26
24/07/63

ความรับผิดในการทําละเมิดของผู้แทนนิติบคุ คล

• ปั จจุบนั มีการแยกนิ ติบุคคลตามกฎหมายมหาชนออกจาก ปพพ.


• ผูแ้ ทนของนิ ติบุคคลทีเป็ นหน่วยงานของรัฐให้รับผิดตาม พรบ. ความ
รับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที พ.ศ. ๒๕๓๙

• "นิ ติบุคคลต้องมีผแู ้ ทนคนหนึงหรื อหลายคน


ทังนีตามทีกฎหมาย ข้อบังคับ หรื อตราสารจัดตัง
มาตรา ๗๐ จะได้กาํ หนดไว้
• ความประสงค์ของนิติบุคคลย่อมแสดงออกโดย
ผูแ้ ทนของนิ ติบุคคล"

27
24/07/63

• นิ ติบุคคลจะต้องรับผิดจากการกระทําละเมิดของผูแ้ ทนนิ ติบุคคลก็ต่อเมือ


ความเสี ยหายทีเกิดขึนนัน เกิดจากการกระทําภายในขอบวัตถุประสงค์หรื อ
ขอบแห่งอํานาจหน้าทีของนิติบุคคล ทํานองเดียวกับลูกจ้างต้องทําใน
ทางการทีจ้าง หรื อตัวแทนทําในกิจการทีได้รับมอบหมาย
• เมือนิ ติบุคคลต้องรับผิดตามมาตรา ๗๖ ก็ตอ้ งรับผิดในฐานะลูกหนีร่ วมตาม
มาตรา ๒๙๑
• แต่ถา้ ผูแ้ ทนนิ ติบุคคลทํานอกขอบวัตถุประสงค์หรื อนอกขอบแห่งอํานาจ
หน้าทีของนิติบุคคล นิติบุคคลก็ไม่ตอ้ งรับผิด

ความรับผิดเพือละเมิดของผู้ร่วมกระทํา

28
24/07/63

ความรับผิดเพือละเมิดของผู้ร่วมกระทํา
• มาตรา ๔๓๒ "ถ้าบุคคลหลายคนก่อให้เกิดเสี ยหายแก่บุคคลอืนโดยร่ วมกันทํา
ละเมิด ท่านว่าบุคคลเหล่านันจะต้องร่ วมกันรับผิดใช้ค่าสินไหมทดแทนเพือความ
เสียหายนัน ความข้อนีท่านให้ใช้ตลอดถึงกรณี ทีไม่สามารถสื บรู ้ตวั ได้แน่วา่ ใน
จําพวกทีทําละเมิดร่ วมกันนัน คนไหนเป็ นผู้ ก่อให้เกิดเสี ยหายนันด้วย
• อนึง บุคคลผูย้ ยุ งส่งเสริ มหรื อช่วยเหลือในการทําละเมิด ท่านก็ให้ถือว่าเป็ นผูก้ ระทํา
ละเมิดร่ วมกันด้วย
• ในระหว่างบุคคลทังหลายซึงต้องรับผิดร่ วมกันใช้ค่าสิ นไหมทดแทนนัน ท่านว่าต่าง
ต้องรับผิดเป็ นส่ วนเท่า ๆ กัน เว้นแต่โดยพฤติการณ์ศาลจะวินิจฉัยเป็ นประการอืน"

ฎ.๗๓๐/๒๔๙๓
"เอาเรื อนและครัวไฟของผูอ้ ืนไปขายโดยไม่
ตัวอย่ างฎีกาเรือง มีอาํ นาจ ผูซ้ ื อก็ทราบแต่ยงั ขืนซือไว้ แล้วรื อครัวไฟ
นันไป ย่อมเป็ นการละเมิดสิ ทธิ ของเจ้าของ ผูท้ ีรู้
ร่ วมทําละเมิด เห็นการซื อขายรายนีมาแต่ตน้ เมือไปช่วยผูซ้ ื อรื อ
ด้วย ย่อมเป็ นการละเมิดสิ ทธิ ของเจ้าของด้วย ผูล้ ง
มือกระทําต้องรับผิดในค่าเสี ยหายร่ วมกัน"

29
24/07/63

คําพิพากษาศาลฎีกาที ๗๔๘/๒๕๕๒
เหตุละเมิดเกิดขึนก่อนที พ.ร.บ.ความทางละเมิดของเจ้าหน้าที พ.ศ.๒๕๓๙ มีผลใช้บงั คับ แม้โจทก์จะ
ฟ้ องคดีนีในวันที ๑๘ มกราคม ๒๕๔๔ ซึ งพระราชบัญญัตินีใช้บงั คับแล้ว แต่เมือ พ.ร.บ.ความรับผิดทาง
ละเมิดของเจ้าหน้าที พ.ศ.๒๕๓๙ มิได้มีบทบัญญัติให้ใช้บงั คับแก่คดีละเมิดทีเกิดขึนก่อนพระราชบัญญัติฉบับ
นีมีผลใช้บงั คับ ความรับผิดทางละเมิดของผูท้ าํ ละเมิดทีเกิดขึนก่อนพระราชบัญญัติฉบับนีใช้บงั คับจึงต้องอยู่
ภายในบทบัญญัติแห่ง ป.พ.พ.
จําเลยที ๑ เป็ นผูค้ วบคุมงานจ้างก่อสร้างถนน จําเลยที ๒ ถึงที ๖ เป็ นคณะกรรมการตรวจการจ้าง แต่
ผูร้ ับจ้างก่อสร้างถนนไม่ถูกต้องตามแบบทําให้ถนนชํารุ ด การทีจําเลยที ๑ ไม่ทาํ หน้าทีควบคุมการก่อสร้าง
ถนน ส่วนจําเลยที ๒ ถึงที ๖ มิได้ไปตรวจรับงานจ้างพร้อมกันไม่ชอบด้วยระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี วา่
ด้วยการพัสดุ พ.ศ.๒๕๓๕ ถือว่าจําเลยทังหกประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรงในการปฏิบตั ิหน้าทีตามทีได้รับ
มอบหมายจากนายอําเภอสรรคบุรีเป็ นเหตุให้โจทก์ได้รับความเสี ยหาย จําเลยทังหกจึงต้องร่ วมกันรับผิดใช้ค่า
สิ นไหมทดแทนเพือความเสี ยหายนันตาม ป.พ.พ. มาตรา ๔๓๒ วรรคแรก

กรณีนิตบิ คุ คลเป็ นผู้ทําละเมิด


การกระทําละเมิดของนิติบุคคลเกิดจากการกระทําตามหน้าทีของผูแ้ ทนนิติบุคคล นิติบุคคล
จึงต้องรับผิดชดใช้ค่าสิ นไหมทดแทนเพือความเสี ยหายนันตามมาตรา ๗๖ไม่ถือว่านิติบุคคล
ทําละเมิดด้วยตนเองเมือผูแ้ ทนนิติบุคคลทําละเมิดต่อบุคคลอืน แม้จะอยูใ่ นวัตถุประสงค์หรื อ
อํานาจหน้าทีของนิติบุคคล ก็ถือว่าผูแ้ ทนนิติบุคคลเป็ นผูท้ าํ ละเมิดตามมาตรา ๔๒๐, ๔๒๓,
และ ๔๒๘ ต้องรับผิดต่อผูเ้ สี ยหายเป็ นส่ วนตัวแต่ถา้ เป็ นการทําละเมิดในหน้าที นิติบุคคล
ต้องรับผิดเพือความเสี ยหายนันตามมาตรา ๗๖ เป็ นการรับผิดในฐานะลูกหนีร่ วมตามมาตรา
๒๙๑ มิใช่ผแู้ ทนนิติบุคคลกับนิติบุคคลร่ วมกันทําละเมิดตามมาตรา ๔๓๒

30
24/07/63

• ในระหว่างผูร้ ่ วมทําละเมิดกันเองตามวรรคท้ายให้
แบ่งส่วนรับผิดเท่าๆกัน
• เมือใช้ค่าสิ นไหมทดแทนไปแล้ว ก็ฟ้องไล่เบียผูท้ าํ
ละเมิดคนอืน ๆ ได้ ตามมาตรา ๒๒๙(๒๓), ๒๒๖
สิทธิไล่ เบีย • เว้นแต่โดยพฤติการณ์ศาลจะวินิจฉัยให้เป็ นอย่างอืน
คนหนึ งใช้ค่าสิ นไหมทดแทนแก่ผเู้ สี ยหายแล้วย่อม
ได้รับช่วงสิ ทธิ ไล่เบียจากอีกคนหนึงตามส่วนทีต้อง
รับผิดได้ ตามมาตรา ๒๙๑, ๒๙๖, ๓๐๑

กรณีมิได้ ร่วมทําละเมิด
• ศาลมีอาํ นาจกําหนดความเสี ยหายตามสมควรแก่พฤติการณ์และความ
ร้ายแรงแห่งละเมิดตามมาตรา ๔๓๘ โดยอาจให้ร่วมรับผิดหรื อแบ่งส่ วนรับ
ผิดได้ตามพฤติการณ์
• กรณี แยกไม่ออกว่าใครเป็ นคนก่อความเสี ยหายต่อบุคคลอืน ศาลอาจจะ
พิพากษาให้ร่วมรับผิดในฐานะลูกหนีร่ วม แต่ไม่ใช่กรณี ตามมาตรา ๔๓๒
• กรณี เหตุทีก่อให้เกิดความเสี ยหายมีความสําคัญเท่าเทียมกัน ศาลให้ร่วมรับ
ผิดกันได้

31
24/07/63

32
24/07/63

33
24/07/63

๑. สัตว์
๒. ความเสี ยหายเกิดขึน
เพราะสัตว์
๓. ผูร้ ับผิด
๔. ผูเ้ สี ยหาย
๕. เหตุยกเว้นความรับผิด
๖. สิ ทธิ ไล่เบีย

34
24/07/63

คําพิพากษาศาลฎีกาที ๒๖๓๔/๒๕๔๒
จําเลยที ๒ และที ๓ เป็ นเจ้าของช้างพลายนวล จําเลยที ๔ และที ๕ เป็ นบุตร
จําเลยที ๓ และเป็ นผูร้ ับเลียงรับรักษาช้างพลายนวลไว้แทนเจ้าของ จําเลยที ๔ และที
๕ นําช้างพลายนวลเข้ามาแห่ในงานขบวนแห่นาคกับช้างอืน ๆ ซึงมีชา้ งของโจทก์
รวมอยูด่ ว้ ย ช้างพลายนวลชนช้างของโจทก์ได้รับบาดเจ็บและตายในเวลาต่อมา จําเลย
ที ๒ และที ๓ ไม่ได้ร่วมรู้เห็นในการทีจําเลยที ๕ นําช้างมาร่ วมในขบวนแห่นาค
เพราะอยูค่ นละหมู่บา้ นกัน แสดงให้เห็นว่า จําเลยที ๔ และที ๕ เป็ นผูร้ ับเลียงรับรักษา
ช้างพลายนวลโดยเด็ดขาด โดยจําเลยที ๒ และที ๓ มิได้รับประโยชน์และเกียวข้อง
ด้วย ความรับผิดย่อมตกแก่จาํ เลยที ๔ และที ๕ ผูร้ ับเลียงรับรักษาไว้แทนเจ้าของ ตาม
ป.พ.พ. มาตรา ๔๓๓ จําเลยที ๒ และที ๓ จึงไม่ตอ้ งร่ วมรับผิดด้วย

35
24/07/63

ความเสียหายเกิดขึนเพราะสั ตว์
เจ้าของหรื อผูร้ ับเลียงรับรักษาจะรับผิดต่อเมือสัตว์ได้ก่อให้เกิดความ
เสี ยหายขึน หากเป็ นการกระทําของสัตว์โดยตรง เช่น กัด ขวิด เตะ สุนขั หอน
ในเวลากลางคืนจนชาวบ้านนอนไม่หลับ สัตว์ทีนําเชือโรคมาแพร่ ไปยังสัตว์
ของผูอ้ ืน นําเสื อเดินผ่านฝูงวัว ทําให้ววั แตกตืนเกิดความเสี ยหายขึน ถือว่ามี
การกระทําของสัตว์แล้ว
เจ้าของขีม้าไปชนคนอืนบาดเจ็บ นอกจากเจ้าของจะต้องรับผิดตาม
มาตรานีแล้ว เจ้าของยังต้องรับผิดฐานละเมิดตามมาตรา ๔๒๐ ด้วย เพราะเป็ น
การกระทําโดยจงใจหรื อประมาทเลินเล่อ เว้นแต่เหตุทีชนนันเพราะบังคับม้า
ไม่อยู่ ก็รับผิดตามมาตรานีอย่างเดียว อย่างไรก็ตามการพิสูจน์ตามมาตรานีย่อม
ง่ายกว่ามาตรา ๔๒o ความรับผิดตามมาตรานีอยูท่ ีความเสียหายเกิดขึนเพราะ
สัตว์ มิใช่สตั ว์ได้กระทําผิด ปัญหาเรื องความผิดใช้เฉพาะคนเท่านัน

36
24/07/63

ผู้รับเลียงรับรักษา
ั ใ่ นขณะเกิดเหตุ อาจรับดูแลโดยสัญญา
• หมายถึง ผูซ้ ึ งดูแลรักษาสัตว์นนอยู
คือพวกรับจ้างเลียงสัตว์หรื อพวกสัตวแพทย์ สถานพยาบาลเกียวกับสัตว์
ช่วงทีเอาไปเลียงเอาไปรักษาตามสัญญาเกิดไปกัดใครเข้าคนทีรับเลียงรับ
รักษาก็ตอ้ งรับผิด หรื ออาจจะรับเลียงรับรักษาโดยข้อเท็จจริ งก็ได้
• การรับเลียงรับรักษานีจะต้องเป็ นการกระทําแทนเจ้าของ (ขาดจากเจ้าของ)
อาจทําแทนในฐานะตัวแทน หรื อแบบจัดการงานนอกสังก็ได้
• การรับเลียงรับรักษานี อาจได้ค่าตอบแทนหรื อไม่กไ็ ด้

37
24/07/63

ผู้รับเลียงรับรักษา
มาตรานีบัญญัติว่า ผูร้ ับผิดคือเจ้าของสัตว์หรื อบุคคลผูร้ ับเลียงรับรักษาไว้
แทนเจ้าของ โดยใช้คาํ ว่า "หรื อ" มิได้ใช้คาํ ว่า "และ" ผูร้ ับผิดตามมาตรานีจึงมี
เพียงผูเ้ ดียวคือเจ้าของหรื อผูร้ ับเลียงรับรักษา มิใช่ทงเจ้
ั าของและผูร้ ับเลียงรับ
รักษาจะต้องรับผิดทังคู่ หากมีผรู้ ับเลียงรับรักษา เจ้าของไม่ตอ้ งรับผิด ผูร้ ับเลียง
รับรักษารับผิดผูเ้ ดียว หากไม่มีผรู้ ับเลียงรับรักษาผูร้ ับผิดคือเจ้าของ จะเลือกฟ้ อง
คนใดคนหนึงหรื อทังสองคนไม่ได้
แต่หากเป็ นการทําการแทนเจ้าของ เจ้าของผิดตามมาตรา ๔๒๗, ๔๓๓

ฎ.๙๗๓/๒๔๗๙
"จําเลยที ๒ ได้รับมอบหมายให้เลียงช้างของจําเลยที ๑ ช้างของจําเลยที
๑ แทงช้างของโจทก์ตาย ข้อเท็จจริ งไม่ปรากฏว่าจําเลยที ๑ ที ๒ มี
ค่าแรงแก่กนั ศาลฎีกาวินิจฉัยว่า เมือไม่ปรากฏว่าจําเลยที ๒ เป็ น
ตัวแทนหรื อลูกจ้างของจําเลยที ๑ ต้องอาศัยมาตรา ๔๓๓ ว่าเจ้าของ
หรื อผูร้ ับเลียงเป็ นผูผ้ ิด จําเลยที ๑ มอบให้จาํ เลยที ๒ ไปเลียง จําเลยที
๒ ต้องรับผิด"

38
24/07/63

คําพิพากษาศาลฎีกาที ๒๔๘๘/๒๕๒๓
สุ นขั ในบ้านจําเลยออกจากบ้านไปกัดโจทก์ ภริ ยาจําเลยรับว่าเป็ น
เจ้าของ เมือกรณี เป็ นทีสงสัย ต้องสันนิ ษฐานว่าสุ นขั เป็ นสิ นสมรสตาม
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา ๑๔๗๔ จําเลยจึงเป็ นเจ้าของสุ นขั
ด้วย
สุ นขั หลบหนี ออกไปได้ขณะจําเลยเปิ ดประตู สุนขั จึงออกไปกัดโจทก์
ได้แสดงว่าจําเลยมิได้ใช้ความระมัดระวังอันสมควรในการเลียงดูสุนขั จําเลย
ต้องชดใช้ค่าเสี ยหายให้โจทก์รวมทังทดแทนความตกใจและทุกข์ทรมานด้วย

สัตว์อาจก่อความเสี ยหายโดยทําต่อตัวบุคคล
ถึงชีวิตหรื อร่ างกายหรื อก่อความรําคาญ เช่น สุ นขั
ผู้เสี ยหาย เห่าหอนในเวลากลางคืนจนนอนไม่หลับ ทําต่อ
สิ งของแตก เสี ยหายหรื อทําต่อสัตว์ของเขา

39
24/07/63

เหตุยกเว้นความรับผิด

• เจ้าของหรื อผูร้ ับเลียงรับรักษาจะพ้นความรับผิดต่อเมือพิสูจน์วา่ ตนได้


ใช้ความระมัดระวัง ซึ งมีอยู่ ๒ กรณี
๑. ได้ใช้ความระมัดระวังอันสมควรแก่การเลียงการรักษาตามชนิด
และวิสัยของสัตว์ หรื อตามพฤติการณ์อย่างอืน
๒. ความเสี ยหายย่อมเกิดขึนแม้ใช้ความระมัดระวังถึงเพียงนันแล้ว

ฎ. ๒๔๘๘/๒๕๒๓
"สุ นขั หลบหนี ออกไปได้ขณะจําเลยเปิ ดประตู สุ นขั จึงออกไป
กัดโจทก์ได้แสดงว่าจําเลยมิได้ใช้ความระมัดระวังอันสมควรในการ
เลียงดูสุนขั จําเลยต้องชดใช้ค่าเสี ยหายให้โจทก์ รวมทังทดแทนความ
ตกใจและทุกข์ทรมานด้วย"

40
24/07/63

• การเลียงหรื อการดูแลรักษาไม่ว่าจะเป็ นเจ้าของหรื อผูร้ ับเลียงรับ


รักษาก็ตอ้ งเลียงโดยใช้ความระมัดระวังตามสมควร ตามชนิด
และวิสัยของสัตว์ป่า
• หากเป็ นสัตว์เลียง อาจเลียงแบบปล่อยให้เป็ นอิสระได้
• แต่ถา้ เป็ นสัตว์ป่าประเภทดุร้าย แม้จะเลียงให้เชืองแล้วแต่โดย
ธรรมชาติยงั ดุร้ายอยู่ ผูเ้ ลียงต้องระวังกว่าเลียงสัตว์บา้ น บางอย่าง
อาจต้องเลียงอย่างขังกรง

ตามพฤติการณ์ อย่ างอืน


หมายถึง พฤติการณ์อนั เกิดจากเหตุภายนอก เช่น ฟ้ าผ่า
แผ่นดินไหว หรื อบุคคลอืนทําเสี ยงดังเป็ นเหตุให้ฝงู สัตว์แตกตืนวิงไป
ชนคนได้รับบาดเจ็บ มิได้หมายถึงเกิดจากเหตุภายในของสัตว์นนเอง ั
เช่น หมาบ้าหรื อช้างตกมัน หรื อแม้กระทังเหตุเกิดจากเจ้าของ
หรื อผูร้ ับเลียงรับรักษาหีื อคนทีเป็ นบริ วารล้วนแต่เป็ นพฤติการณ์ทีเกิด
จากเหตุภายในยังต้องรับผิดตามมาตรานี

41
24/07/63

ฎ.๕๙๑/๒๕๑๐
"การทีผูเ้ ลียงกระบือดุพากระบือเดินไปในทางทีไม่ใช่ทางสําหรับ
กระบือเดิน และเข้าไปใกล้บา้ นทีมีกระบืออืนผูกล่ามอยู่ ซึ งอาจเป็ น
ั งเข้าไปชนกระบือทีผูกล่ามอยูไ่ ด้ ดังนีเป็ นการ
เหตุให้กระบือดุนนวิ
ประทําโดยประมาทปราศจากความระมัดระวังตามวิสัยของบุคคลที
เลียงสัตว์ดุ"

สิทธิไล่เบีย
มาตรา ๔๓๓ วรรคสอง "อนึ งบุคคลผู้ • "เร้ า" คือ กระตุ้นเตือน
ต้องรับผิดชอบดังกล่าวมาในวรรคต้นนัน จะ ปลุกใจ กระตุ้นสุ นัขให้
ใช้สิทธิไล่เบียเอาแก่บุคคลทีเร้าหรื อยัวสัตว์ กัด
นันโดยละเมิด หรื อเอาแก่เจ้าของสัตว์อืนอัน • "ยัว" คือ พูดหรื อทําให้
มาเร้าหรื อยัวสัตว์นนๆก็
ั ได้" กําเริบหรือโกรธ เอาไม้
แหย่ ลงิ ให้ โกรธ

42
24/07/63

การตีความคําว่ า "โดยละเมิด"
ความเห็นแรก
คนทีจะถูกไล่เบียได้จะต้องเร้าหรื อยัวสัตว์โดยละเมิดตามมาตรา ๔๒๐ คือ
จะต้องเป็ นการไปเร้าหรื อยัวสัตว์โดยจงใจหรื อประมาทเลินเล่อทําให้เขา
เสี ยหายโดยไม่ชอบด้วยกฎหมาย
ความเห็นทีสอง
ถ้าเป็ นการเร้าหรื อยัวสัตว์โดยมิชอบ แค่นีก็พอแล้ว คําว่า ละเมิดไม่ได้
แปลว่าต้องละเมิดตามมาตรา ๔๒๐ แค่ทาํ โดยไม่ชอบก็ถือว่าเป็ นการ
ละเมิดตามวรรคสองแล้ว

ข้ อสอบสมัยที ๖๒ ปี การศึกษา ๒๕๕๒


นางสาพาเด็กหญิงเขียวบุตรสาวซึงอยู่ในรถเข็นเด็กไปเทียวเดินเล่นในสวนสาธารณะ
แห่ งหนึงของกรุ งเทพมหานคร ขณะที เดินอยู่นันนายแดงได้แหย่สุนัขพันธุ์รอทไวเลอร์ของ
เด็ กชายเหลื อง ซึงบิด ามารดาปล่ อยให้พามาเดินเล่นโดยไม่มีต ะกร้อครอบปาก สุนัขของ
เด็กชายเหลืองมีนิสยั ดุรา้ ยโมโหง่ายและตัวใหญ่ เมือถูกนายแดงแหยจึงโกรธเห่าเสียงดังและ
กระชากสายจูงหลุดจากมือเด็กชายเหลืองวิงไล่ตามจะกัดนายแดง นายแดงวิงผ่านไปทางที
นางสาเข็นรถของเด็กหญิงเขียวอยู่ สุนขั ดังกล่าววิงไล่ตามมาพบเด็กหญิงเขียวจึงกัดเด็กหญิง
เขียวจนถึงแก่ความตาย ส่วนนางสาตกใจสินสติลม้ ลงแขนหัก ต้องพักจากหน้าทีการงานเป็ น
เวลาหนึงเดือน นายแดงวิงตกท่อระบายนําในสวนสาธารณะนันซึงบํารุ งรักษาไม่เพียงพอขา
หักรักษาตัวหนึงเดือนเช่นกัน
ให้วินิจฉัยว่า นางสา และนายแดงจะเรียกค่าสินไหมทดแทนจากใครได้บา้ ง

43

You might also like