You are on page 1of 6

ครั้งที่ 4

เอกสารประกอบคาบรรยาย
กฎหมายลักษณะแห่ งหนี้ (LLA2202) ภาคเรียน 1/2566

สิ ทธิเรียกร้ องให้ ลูกหนีช้ าระหนี้

1. เจ้ าหนีม้ ีสิทธิเรียกร้ องเมื่อใด


1.1 กาหนดเวลาชาระหนี้
1.1.1 หนีไ้ ม่มีกาหนดเวลา
หนี้ ไม่ ไ ด้ ก าหนดระยะเวลาว่ า จะช าระกั น เมื่ อ ใด มาตรา 203 วางหลัก ว่ า หากไม่ ไ ด้
กาหนดเวลาชาระหนี้ กนั จะต้องชาระหนี้ กนั เมื่อใด ซึ่ งเป็ นไปตามหลักทัว่ ไปว่า เมื่อหนี้ เกิดขึ้นแล้วเจ้าหนี้ ก็
เรี ยกให้ลูกหนี้ปฏิบตั ิชาระหนี้ได้ทนั ที และลูกหนี้ก็ยอ่ มชาระหนี้ได้ทนั ที
แต่หากเป็ นกรณี แม้ไม่ได้ตกลงกัน แต่ตามพฤติการณ์ ต่างๆ อาจทาให้อนุ มานได้ว่าเจ้าหนี้
ลูกหนี้ตกลงให้ชาระหนี้กนั เมื่อใด ก็ให้ชาระกันเมื่อนั้น โดยพิจารณาตามขนมธรรมเนียมประเพณี ทางการค้า
หรื อการปฏิบตั ิของคู่สัญญา เช่น เคยมีการซื้อขายกันเป็ นประจาให้เครดิตในการชาระหนี้หนึ่งเดือนมาตลอด
กรณี มาตรานี้ ยงั กาหนดสิ ทธิให้แก่ลูกหนี้ได้ชาระหนี้ ได้โดยพลันเช่นเดียวกัน เช่น กรณี กูย้ ืม
เงินไม่มีกาหนดชาระหนี้ คืน ผูใ้ ห้กูจ้ ะเรี ยกให้ผูก้ ูช้ าระหนี้ ได้โดยพลัน ไม่จาต้องบอกกล่าวก่อนฟ้อง เพราะ
โจทก์เรี ยกให้จาเลยชาระหนี้ได้โดยพลัน (ฎีกาที่ 873/2518 , 1962/2525, 2103/2535)
1.1.2 หนีก้ าหนดเวลา
กรณี หนี้ มีกาหนดเวลา ก็ให้ลูกหนี้ ชาระหนี้ ภายในเวลาที่กาหนด เจ้าหนี้ จะเรี ยกให้ชาระหนี้
ก่อนนั้นหาได้ไม่ แม้แต่จะเป็ นกรณี เป็ นที่สงสัย ก็ไม่ให้เจ้าหนี้ เรี ยกชาระหนี้ ได้ก่อนนั้นได้ แต่อย่างไรก็ตาม
ลูกหนี้จะชาระหนี้ก่อนกาหนดนั้นได้ ตามป.พ.พ.มาตรา 203 วรรคสอง
ตามบทบัญญัติดงั กล่าวเป็ นกรณี กฎหมายสันนิ ษฐานไว้เพื่อประโยชน์แก่ลูกหนี้ ฝ่ายเดียว คือ
ลูกหนี้ จะชาระหนี้ ก่อนกาหนดก็ได้ แต่ตอ้ งเป็ นกรณี เป็ นข้อสงสัยเท่านั้น หากไม่สงสัยก็ไม่นาบทบัญญัติ
ดังกล่าวมาใช้บงั คับ เช่น สัญญาซื้ อขายข้าวสาร แต่สัญญาไม่ได้ระบุเวลาส่ งมอบข้าวสาร แต่สัญญาระบุว่า
ให้ผซู ้ ้ื อชาระราคาในวันที่ 30 กันยายน 2529 กรณี จึงพออนุมานได้ว่า คู่กรณี ตกลงให้ผูข้ ายส่ งมอบข้าวสาร
ในวันดังกล่าวด้วย (ฎีกาที่ 105/2536)

ผูช้ ่วยศาสตราจารย์เพชร ขวัญใจสกุล


คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎสุ ราษฎร์ธานี
2

1.2 ลูกหนีล้ ะเลยไม่ ชาระหนี้


หากลูกหนี้ ชาระหนี้ตรงตามเวลาที่กาหนด หนี้ ก็ระงับ ก็ไม่มีปัญหาอะไรที่จะต้องพิจารณาต่อไป แต่
ปั ญ หาจะเกิ ดเมื่ อลูกหนี้ ละเลยไม่ช าระหนี้ กฎหมายให้อานาจเจ้าหนี้ บ ังคับ เอากับ ลู กหนี้ หรื อไม่ และจะ
บังคับ ช าระหนี้ อย่างไร ซึ่ งก็ มี บ ทบัญ ญัติ ตามประมวลกฎหมายแพ่ งและพาณิ ช ย์ มาตรา 213 วรรคแรก
บัญญัติวา่ “ลูกหนีล้ ะเลยไม่ ชาระหนีข้ องตน เจ้ าหนีจ้ ะร้ องขอต่ อศาลให้ สั่งบังคับชาระหนีห้ นีก้ ไ็ ด้”
คาว่า ลูกหนี้ละเลย หมายถึ งลูกหนี้ มีเจตนาไม่ชาระหนี้ หรื อไม่สนใจที่จะชาระหนี้ แต่อย่างไรก็ดี
จะต้องไม่ใช่เป็ นกรณี ที่การชาระหนี้ กลายเป็ นพ้นวิสัย เพราะการชาระหนี้เป็ นพ้นวิสัยลูกหนี้ และเมื่อการพ้น
วิสัยไม่ใช่ความผิดของลูกหนี้ ดังนี้ ไม่ตอ้ งรับผิดซึ่งบังคับตามมาตรา 219 เจ้าหนี้จึงไม่อาจบังคับชาระหนี้ได้

2. เจ้ าหนีม้ ีสิทธิบังคับชาระหนีอ้ ย่างไร


2.1 สิทธิบังคับชาระหนีโ้ ดยทั่วไป
เมื่อหนี้ถึงกาหนดหากลูกหนี้ไม่ชาระหนี้ เจ้าหนี้ก็ตอ้ งบังคับให้ลูกหนี้ชาระหนี้ แต่เจ้าหนี้จะใช้กาลัง
ข่มขู่บงั คับด้วยตนเองไม่ได้มีกฎหมายใดอานาจแก่เจ้าหนี้ อย่างนั้น แต่เจ้าหนี้ ตอ้ งนาคดีมาฟ้ องร้องต่อศาล
เพื่อขออานาจศาลบังคับให้ลูกหนี้ ชาระหนี้ ได้ แล้วศาลจะใช้อานาจในการบังคับให้ลูกหนี้ ชาระหนี้ ให้แก่
เจ้าหนี้ หากเป็ นคดี ล ะเมิ ดส่ วนใหญ่ ก็ เป็ นเรื่ องขอให้ จาเลย(ลู ก หนี้ )ชาระค่าเสี ย หาย หากจาเลยไม่ชาระ
ค่าเสี ยหายเจ้าหนี้ ก็นาเจ้าพนักงานบังคับคดียึดทรัพย์ ขายทอดตลาดนาเงินมาชาระหนี้ ให้แก่เจ้าหนี้ ตามคา
พิพากษา กรณี จะมีปัญหายุ่งยากก็คือหนี้ ที่เกิดจากสัญญาในรู ปแบบต่างๆ ที่ไม่ใช่เป็ นการชาระเงินหรื อส่ ง
มอบทรัพย์
ตามบทบัญญัติมาตรา 194, 208, 213 และมาตรา 320 อาจกล่าวได้ว่า โดยหลักทัว่ ไปเจ้าหนี้ มีสิทธิ
บังคับให้ลูกหนี้ชาระหนี้โดยเฉพาะเจาะจงได้ เว้นแต่เป็ นกรณี ที่สภาพแห่งหนี้ไม่เปิ ดช่องให้บงั คับเช่นนั้นได้

2.2 วิธีการต่างๆ ในการบังคับชาระหนี้


การบังคับให้ลูกหนี้ชาระหนี้น้ นั มีหลายอย่าง พอที่จะแยกออกเป็ นดังนี้
2.2.1 การบังคับชาระหนีโ้ ดยเฉพาะเจาะจง
การบังคับชาระหนี้ โดยเฉพาะเจาะจงเป็ นพื้นฐานของหนี้ ทุกชนิ ด ไม่ว่าจะเป็ นหนี้ ให้โอน
ทรัพย์สิน หรื อส่ งมอบทรัพย์ หนี้ ให้กระทาการ หรื อหนี้ ให้งดเว้นกระทาการ เจ้าหนี้ อาจขอให้ลูกหนี้ ชาระ
หนี้ ได้ทุกชนิ ด หากลูกหนี้ ไม่ชาระหนี้ ไม่ใช่เพียงแต่เจ้าหนี้ จะได้รับค่าเสี ยหายเท่านั้น หนี้ กระทาการ หนี้ งด
เว้นกระทาการ ลูกหนี้ มีหน้าที่ตอ้ งชาระหนี้ โดยเฉพาะเจาะจงตามที่ได้ทาสัญญาต่อกันไว้ ตามหลักกฎหมาย
ที่ ว่า “สั ญ ญาเป็ นกฎหมายส่ วนตั ว ของคู่ สั ญ ญา” เว้น เสี ย แต่ ว่า การช าระหนี้ เป็ นเรื่ อ งเฉพาะตัว ต้อ งมี
คุณสมบัติเฉพาะตัวของคู่สัญญาเท่านั้น กรณี อย่างนี้ ไม่สามารถบังคับให้ชาระหนี้ เพราะสภาพแห่ งหนี้ ไม่
เปิ ดช่องให้กระทาได้ เจ้าหนี้จาต้องรับค่าเสี ยหายแทน กรณีเป็ นไปตามบทบัญญัติมาตรา 208 มาตรา 320
3

ตามบทบัญญัติท้ งั สองมาตราดังกล่าวจะเห็ นได้ว่า เมื่ อลูกหนี้ ให้สัญญาไว้อย่างไร ก็ตอ้ ง


ปฏิบตั ิให้เกิดผลตรงตามที่สัญญาไว้ เช่นทาสัญญาซื้อขายที่ดิน ก็ตอ้ งโอนที่ดินตามที่ซ้ือขายกัน จะโอนที่ดิน
แปลงอื่นหรื อจะยอมชดใช้ค่าเสี ยหายให้แก่เจ้าหนี้ไม่ได้
กรณี ละเมิดโดยปกติตอ้ งชดใช้ค่าเสี ยหาย แต่บางครั้งอาจมี การชาระหนี้ โดยตรงซึ่ งไม่ใช่
เป็ นค่าเสี ยหาย เช่นทาละเมิดเอาทรัพย์ของผูอ้ ื่นไป กรณี ดงั กล่าวต้องคืนทรัพย์ให้แก่เจ้าของ แต่อย่างไรก็ดี
การบังคับ ชาระหนี้ จะต้องไม่ ใช่ เป็ นการเฉพาะตัวของลูกหนี้ เช่ นจ้างให้นักจิตรกรมาวาดรู ป กรณี น้ ี หาก
ลูกหนี้ ไม่ยอมวาดรู ปจะบังคับให้ลูกหนี้ วาดรู ปไม่ได้ เพราะเป็ นการเฉพาะตัวของลูกหนี้ ซึ่ งเป็ นข้อยกเว้น
การบังคับชาระหนี้โดยเฉพาะเจาะจง
มาตรา 213 วรรคแรก บัญญัติวา่ “ถ้ าลูกหนี้ละเลยเสี ยไม่ ชาระหนี้ของตน เจ้ าหนี้จะร้ องขอ
ต่อศาลให้ สั่งบังคับชาระหนีก้ ไ็ ด้ เว้นแต่สภาพแห่ งหนีจ้ ะไม่เปิ ดช่ องให้ ทาเช่ นนั้นได้”
มาตราดังกล่ าววางหลัก ว่าหากสภาพแห่ งหนี้ ไม่ เปิ ดช่ องให้ท าเช่ นนั้นได้ ก็ ไม่ ส ามารถ
บังคับชาระหนี้เอาได้
กรณี ที่เป็ นสภาพแห่งหนี้ไม่เปิ ดช่องให้บงั คับชาระหนี้ได้โดยตรง อาจเกิดขึ้นเพราะ
(1) ทรัพย์อนั เป็ นวัตถุแห่ งหนี้ ไม่มีอยู่หรื อไม่อยู่ในอานาจของลูกหนี้ เช่ นสัญญาซื้ อ
ขายที่ดิน แต่ปรากฏว่าที่ดินเป็ นของผูอ้ ื่นหรื อโอนไปยังผูอ้ ื่นแล้วไม่อาจกลับมาได้ (ฎีกาที่ 874/2490)
(2) หนี้ ซ่ ึ งเป็ นการเฉพาะตัว โดยปกติ ก ารชาระหนี้ ไม่จาเป็ นต้องกระทาด้วยตนเอง
เสมอไป แต่ถา้ สัญ ญาบางชนิ ดท ากันโดยมุ่ง หวังจะให้ ลูก หนี้ ชาระหนี้ ด้วยตนเองเพราะต้องการความรู ้
ความสามารถหรื อคุณสมบัติเฉพาะตัวของลูกหนี้ โดยเฉพาะ กรณี ดงั กล่าวลูกหนี้ ตอ้ งชาระหนี้ ดว้ ยตนเองจะ
ให้ผอู ้ ื่นชาระหนี้ แทนไม่ได้ เช่น สัญญาจ้างนักร้องให้ร้องเพลงงานวันแต่งงาน โดยระบุเฉพาะเจาะจงว่าต้อง
เป็ นนักร้องชื่อ นาย ก. เท่านั้น ดังนี้ นาย ก. ซึ่ งเป็ นลูกหนี้ ตอ้ งชาระหนี้ ดว้ ยการกระทาด้วยตนเองเท่านั้น จะ
ให้ผอู ้ ื่นชาระหนี้ แทนไม่ได้ หากนาย ก.ไม่ชาระหนี้ จะบังคับให้นาย ก. มาร้องเพลงไม่ได้เพราะสภาพแห่ ง
หนีไม่เปิ ดช่องให้กระทาได้
กรณี ว ตั ถุ แ ห่ ง หนี้ เป็ นการกระท าหรื อ งดเว้น การกระท า ซึ่ งโดยสภาพลู ก หนี้ ต้อ ง
ปฏิบตั ิการชาระหนี้ ดว้ ยตนเอง หากลูกหนี้ ไม่ชาระหนี้ เจ้าหนี้ ไม่อาจบังคับชาระหนี้ โดยเฉพาะเจาะจงได้ แต่
ถ้าหนี้ น้ นั บุคคลอื่นอาจชาระหนี้ ให้แทนได้เจ้าหนี้ จะร้องขอต่อศาลสั่งให้บุคคลภายนอกชาระหนี้ แทนโดย
ลูกหนี้เป็ นผูอ้ อกค่าใช้จ่ายได้
ส่ วนกรณี วตั ถุแห่งหนี้เป็ นการโอนทรัพย์เฉพาะสิ่ ง หรื อการชาระหนี้ เงิน อาจมีการบังคับ
ชาระหนี้ โดยเฉพาะเจาะจงได้เสมอ หากลูกหนี้ ไม่ยอมโอน ศาลอาจพิพากษาให้โอนโดยถือเอาคาพิพากษา
แทนเจตนา หรื อถ้าลูกหนี้ ไม่ยอมโอนหรื อส่ งมอบทรัพย์ หรื อชาระหนี้ เงิน ศาลก็อาจออกหมายบังคับคดีให้
เจ้าพนักงานบังคับคดี ยึดทรัพย์บงั คับคดีนาทรัพ ย์มาให้เจ้าหนี้ หรื อนาทรัพย์ออกขายทอดตลาดนาเงินมา
ชาระให้แก่เจ้าหนี้เพื่อชดใช้หนี้ต่อไป
4

2.2.2 การให้ บุคคลภายนอกชาระหนี้


กรณี ที่ ไ ม่ ใ ช่ เป็ นการช าระหนี้ เป็ นการเฉพาะตัว คื อ การช าระหนี้ ไม่ ต้อ งการใช้ค วามรู ้
ความสามารถพิเศษใดเป็ นพิเศษ กรณี เช่นนี้ ลูกหนี้ อาจให้คนอื่นชาระหนี้ แทนได้ เช่นสัญญาจ้างนักร้องแต่
ไม่ได้ระบุเจาะจงชื่ อนักร้อง จ้างผูร้ ับเหมาสร้างบ้าน ขุดคูน้ า ตัดหญ้า กรณี ดงั กล่าวไม่ใช่เป็ นการใช้ความรู ้
ความสามารถเฉพาะตัว การชาระหนี้ อาจให้บุคคลอื่นกระทาการแทนก็ได้ แต่หากลูกหนี้ ไม่ชาระหนี้ ก็ไม่
สามารถบังคับเอาเนื้ อตัวร่ างกายให้ลูกหนี้ กระทาการไม่ได้ แต่อย่างไรก็ตาม สามารถฟ้องร้องต่อศาล ขอให้
ศาลมีคาสั่งให้บุคคลภายนอกกระทาการอันนั้น โดยลูกหนี้เสี ยค่าใช้จ่ายก็ได้
ตามประมวลกฎหมายแพ่งพาณิ ชย์ มาตรา 213 วรรคสอง บัญญัติว่า “เมื่อสภาพแห่ งหนี้ไม่
เปิ ดช่ องให้ บังคับชาระหนี้ได้ ถ้ าวัตถุแห่ งหนี้เป็ นอันให้ กระทาการอันหนึ่งอันใด เจ้ าหนี้จะร้ องขอต่ อศาลให้
สั่ งบังคับให้ บุคคลภายนอกกระทาการอันนั้นโดยให้ ลูกหนีเ้ สี ยค่ าใช้ จ่ายให้ กไ็ ด้ ”
กรณี มาตราดังกล่าวเป็ นเรื่ องการชาระหนี้ โดยเฉพาะเจาะจง โดยพิจารณาทางด้านเจ้าหนี้
ได้รับชาระหนี้โดยถูกต้องครบถ้วน ส่ วนใครเป็ นผูช้ าระไม่ใช่เป็ นข้อสาคัญ
“ศาลให้ สั่งบังคับให้ บุคคลภายนอกกระทาการอันนั้น” ไม่ได้หมายความว่าจะศาลจะสั่งบังคับ
บุคคลภายนอกได้ กรณี น้ ีบุคคลภายนอกจะต้องกระทาด้วยความสมัครใจ โดยให้ลูกหนี้เป็ นผูอ้ อกค่าใช้จ่าย

2.2.3 การถือเอาคาพิพากษาแทนเจตนาของลูกหนี้
มาตรา 213 วรรคสอง บัญญัติว่า “.....แต่ถา้ วัตถุแห่ งหนี้ เป็ นอันให้กระทานิ ติกรรมอย่างใด
อย่างหนึ่งไซร้ ศาลจะสั่งให้ถือเอาตามคาพิพากษาแทนการแสดงเจตนาของลูกหนี้ก็ได้”
กรณี เป็ นการทาสัญญาว่าจะทานิ ติกรรมบางอย่ าง ซึ่ งการบังคับชาระหนี้ ก็ตอ้ งทานิ ติกรรม
ให้แก่ กัน หากไม่ยอมท านิ ติกรรม จะร้ องขอต่อศาลให้ศาลบังคับ ให้ลูกหนี้ แสดงเจตนาก็ไม่ได้เพราะจะ
บังคับการแสดงเจตนาของลูกหนี้ ไม่ได้ แต่ขอให้ศาลเพียงให้ศาลพิ พากษาว่าให้ถือเอาคาพิพ ากษาแสดง
เจตนา
ตัวอย่ าง 1 นาย ก. ท าสัญ ญาจะขายที่ ดินให้แก่ นาย ข. แล้วไม่ ยอมไปท าจดแจ้งโอนทาง
ทะเบียนที่ดิน ดังนี้ นาย ก. สามารถนาคดีฟ้องร้องต่อศาล ให้ศาลพิพากษาให้นาย ข. ซึ่ งเป็ นลูกหนี้ ไปจดแจ้ง
โอนทางทะเบียน หากไม่กระทาให้ถือเอาคาพิพากษาแสดงเจตนา
ตัวอย่ าง 2 สามีภริ ยาทาหนังสื อหย่ากันแล้ว แต่ไม่ยอมไปจดทะเบียนหย่า อีกฝ่ ายหนึ่งนาคดี
ไปฟ้องร้อง และขอให้ศาลพิพากษาให้ไปจดทะเบียนหย่า หากฝ่ ายจาเลยไม่ยอมให้ถือเอาคาพิพากษาแทน
การแสดงเจตนาของจาเลยได้ โดยไม่จาต้องเอาตัวจาเลยไปจดทะเบียนหย่า (ฎีกาที่ 580/2508) แต่อย่างไรก็ดี
ต่อมาศาลฎีกาได้วินิจฉัยว่า การหย่าโดยคาพิพากษาโดยพ.ร.บ.จดทะเบียนครอบครัว ฯ วางหลักว่า ให้ผูม้ ี
ส่ วนได้เสี ยยื่นสาเนาคาพิพากษาถึงที่สุดที่รับรองถูกต้องต่อนายทะเบียน และขอให้นายทะเบียนบันทึกการ
หย่านั้น โดยศาลไม่จาต้องสั่งให้ถือเอาคาพิพากษาแทนการแสดงเจตนา(ฎีกาที่ 3608/2531, 3232/2533)
5

2.2.4 การให้ ลูกหนีเ้ สียค่าใช้ จ่ายในการรื้อถอน


มาตรา 213 วรรคสาม บัญญัติว่า “ส่ วนหนี้ ซ่ ึ งมีวตั ถุเป็ นอันจะให้งดเว้นการอันใด เจ้าหนี้ จะ
เรี ยกร้องให้ร้ื อถอนการที่ได้กระทาลงแล้วนั้นโดยให้ลูกหนี้ เสี ยค่าใช้จ่าย และให้จดั การอันควรเพื่อกาลภาย
หน้าด้วยก็ได้”
กรณี ที่มีหนี้ ซ่ ึ งวัตถุแห่ งหนี้ ตอ้ งงดเว้นกระทาการบางอย่าง แต่ลูกหนี้ ฝ่าฝื นกระทาลงไป เช่น
นาย ก. กับนาย ข. เป็ นเพื่อนบ้านและมี บริ เวณบ้านติ ดกัน ทั้งสองคนทาสัญญาว่าจะไม่สร้างกาแพงรั้วสู ง
ปิ ดบังบ้านหรื อทางลมซึ่งกันและกัน หากนาย ข. ฝ่ าฝื น ดังนี้นาย ก.ฟ้องศาลให้งดเว้นกระทาการตามที่ได้ทา
สัญญาต่อกันได้ แต่ศาลไม่จาต้องพิพากษาให้นาย ข.รื้ อรั้วเอง ศาลอาจพิพากษาว่าให้นาย ข. รื้ อรั้ว หากนาย
ข. ไม่ร้ื อให้นาย ก.รื้ อเอง โดยให้นาย ข. เป็ นผูอ้ อกค่าใช้จ่าย ตามมาตรา 213 วรรคสาม
แต่หากเป็ นการผิดสัญญาหนี้ งดเว้นกระทาการในกรณี อื่น เช่นลูกหนี้ สัญญาว่าจะไม่เปิ ดเผย
ความลับทางการค้าของเจ้าหนี้ หากลูกหนี้ผิดสัญญาคงเรี ยกได้เพียงแต่ค่าเสี ยหายเท่านั้น
ฎีกาที่ 365-367/2518 จาเลยตกลงกับโจทก์ว่า เมื่อจาเลยทาถนนผ่านที่ดินโจทก์แล้วจะให้
เป็ นทางสาธารณะเพื่อให้ประชาชนได้ใช้ถนนโดยสะดวกอย่างถนนสาธารณะ แต่ต่อมาจาเลยได้ขดุ ถนนกั้น
ปิ ดถนนนั้นเสี ยเอง เช่นนี้ ศาลพิพากษาห้ามจาเลยมิให้ปิดกั้น ขุด หรื อขัดขวางในการที่โจทก์และประชาชน
ในถิ่นนั้นจะใช้ถนนสายนั้นสัญจรไปมาได้อย่างสะดวกตามที่ตกลงไว้กบั โจทก์
ผูร้ ้ื อถอนอาจเป็ นบุคคลภายนอกเป็ นผูร้ ้ื อก็ได้

2.2.5 การเรียกค่าเสียหาย
มาตรา 213 วรรคท้ าย บัญ ญัติว่า “อนึ่ งบทบัญ ญัติ ในวรรคทั้ง หลายที่ ก ล่ าวมาก่ อ นนี้ หา
กระทบกระทัง่ ถึงสิ ทธิที่จะเรี ยกเอาค่าเสี ยหายไม่”
ในกรณี ที่สภาพแห่งหนี้ไม่เปิ ดช่องให้กระทาการชาระหนี้ได้ เจ้าหนี้ยอ่ มให้
บุคคลภายนอกกระทาการแทนโดยลูกหนี้ เป็ นผูอ้ อกค่าใช้จ่าย หรื อลูกหนี้ ไม่ยอมทานิ ติกรรมเจ้าหนี้อาจฟ้อง
ให้ศาลพิพากษาให้เอาคาพิพากษาแสดงเจตนา หรื อลูกหนี้ชาระหนี้ไม่ถูกต้อง ดังที่กล่าวมาแล้วเจ้าหนี้ยงั คงมี
สิ ทธิเรี ยกค่าเสี ยหายเพิ่มเติมได้ตามมาตรา 213 วรรคท้าย
แต่ถา้ สภาพแห่งหนี้ไม่เปิ ดช่องและไม่มีทางเลือกอื่นใด เจ้าหนี้คงต้องเรี ยกร้องให้
ลูกหนี้ชาระค่าสิ นไหมทดแทน

2.3 อานาจของศาลในการบังคับคดีให้ แก่เจ้ าหนี้


หากลู ก นี้ ไม่ ช าระหนี้ เจ้า หนี้ ไม่ มี สิ ท ธิ บ ัง คับ ช าระหนี้ ได้ด้ว ยตนเองต้อ งให้ อ านาจรั ฐ เข้า มา
ดาเนินการแทนให้ คือการนาคดีไปฟ้องร้องต่อศาล
ในกรณี ลู กหนี้ ไม่ ชาระหนี้ ซ่ ึ งวัตถุแห่ งหนี้ เป็ นเงิ น ศาลก็จะพิ พ ากษาให้ลูก หนี้ (จาเลย) ชาระเงิ น
ให้แก่เจ้าหนี้ (โจทก์) หากไม่ชาระก็ให้ดาเนิ นการยึดทรัพ ย์บงั คับคดี ต่อไป ส่ วนวิธีการบังคับคดี ก็ให้ศาล
6

แต่งตั้งเจ้าพนักงานบังคับคดียดึ ทรัพย์ของลูกหนี้ ตามคาพิพากษา นาออกขายทอดตลาดนาเงินมาชาระให้แก่


เจ้าหนี้ตามคาพิพากษาต่อไป
ส่วนวัตถุแห่งหนี้เป็ นการส่ งมอบทรัพย์ ศาลสั่งให้ลูกหนี้ ส่งมอบทรัพย์ หากไม่ส่งมอบทรัพย์ ให้เจ้า
พนักงานยึดทรัพย์มาให้เจ้าหนี้ หรื อให้ลูกหนี้ ออกไปจากอสังหาริ มทรัพย์ เพื่อให้เจ้าหนี้จะได้เข้าครอบครอง
ทรัพย์
สาหรับหนี้ กระทาการ ศาลจะสั่งให้ลูกหนี้ กระทาด้วยตนเองไม่ได้ โจทก์อาจจะให้บุคคลภายนอก
ชาระหนี้แทนโดยให้จาเลยเป็ นผูอ้ อกค่าใช้จ่าย
แต่ ห ากเป็ นหนี้ ที่ ลู ก หนี้ ต้อ งกระท าการด้วยตนเอง เพราะต้องใช้ค วามรู ้ ค วามสามารถเป็ นการ
เฉพาะตัว เช่ นนักร้ อง จิ ตรกร อย่างนี้ ศาลไม่มี อานาจไปบังคับ ให้ลูกหนี้ กระท าการได้ คงมี สิท ธิ แต่เพี ยง
เรี ยกร้องค่าเสี ยหายได้เท่านั้น
กรณี ที่ ตอ้ งงดเว้นกระท าการบางอย่าง หากลูกหนี้ ฝ่าฝื นกระทาการไป เช่ นลูกหนี้ ป ล่อยของเสี ย
โรงงานลงแม่น้ า หากศาลสั่งให้หยุดแล้วไม่ยอมหยุด ก็ไม่สามารถบังคับโดยวิธีอื่นใดได้นอกจากต้องจับกุม
และกักขังลูกหนี้แทนตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาตรา 297

You might also like