You are on page 1of 11

1

กฎหมายแพ่ง 2
1. ดาวยืมรถเดือนไปเที่ยวงานวันลอยกระทง แต่หลังเสร็ จงานลอยกระทง ดาวยังไม่ส่งคืนกลับนาไปใช้
ส่ วนตัวต่ออีก 1 สัปดาห์ ระหว่างนั้นฝนตกหนักฟ้ าผ่ารถของเดือนพังทั้งคัน ดาวปฏิเสธว่าไม่ใช่
ความผิดของตน เป็นเหตุสุดวิสยั เดือนมาปรึ กษาท่าน ๆ จะให้คาแนะนาเดือนว่าอย่างไร
ตามหลักกฎหมายกล่าวว่า (มาตรา 203 วรรค 2)ในหนี้ มีกาหนดชาระ ถ้าหากกรณี เป็นที่สงสัยท่านให้
สันนิ ฐานไว้ก่อนว่าเจ้าหนี้จะเรี ยกให้ชาระหนี ก่อนถึงเวลานั้นหาไห้ไม่ แต่ฝ่ายลูกหนี้จะชาระก่อน
กาหนดก็ได้ (มาตรา 204 วรรค 2)ถ้าได้กาหนดเวลาชาระหนี้ ไว้ตามวันแห่ งปฎิทินและลูกหนี้ มิได้ชาระ
หนี้ ตามกาหนดไซร์ ท่านว่าลูกหนี้ตกเป็นผูผ้ ิดนัดโดยมิพกั ต้องเตือนเลย วิธีเดียวกันนี้ท่านให้ใช้บงั คับ
แก่กรณี ที่ตอ้ งบอกกล่าวล่วงหน้าก่อนการชาระหนี้ซ่ ึงได้กาหนดเวลาลงไว้อาจคานวณนับได้โดยปฎิ
ทินนับแต่เวลาที่ได้บอกกล่าว (มาตรา 217)ลูกหนี้ จะต้องรับผิดชอบในความเสี ยหายบรรดาที่เกิดแต่
ความประมาทเลินเล่อในระหว่างที่ตนผิดนัด ทั้งจะต้องรับผิดในการที่การชาระหนี้กลายเป็นพ้นวิสยั
เพราะอุบตั ิเหตุอนั เกิดขึ้นในระหว่างที่ผิดนัดด้วย เว้นแต่ความเสี ยหายนั้นถึงแม้วา่ ถึงแม้วา่ ตนจะได้
ชาระหนี้ ทนั เวลากาหนดก็คงจะต้องเกิดมีอยูน่ ้ นั เอง
ตามเหตุการณ์พอจะอนุมานจากพฤติการณ์ได้วา่ เป็นหนี้มีกาหนดชาระคือหลังจากเสร็ จงานลอยกระทง
ดาวจะต้องส่งรถคืนในทันทีโดยที่ไม่ตอ้ งเตือนเลย การที่ดาวยังไม่ส่งคืนกลับนาไปใช้ส่วนตัวต่ออีก 1
สัปดาห์ถือว่าดาวผิดนัด ดังนั้นเมื่อมีเหตุการณ์ฟ้าผ่ารถของเดือนพังทั้งคัน แม้จะเป็นเหตุสุดวิสยั ดาวก็
ต้องรับผิดชอบในความเสี ยหายบรรดาที่เกิดแต่ความประมาทเลินเล่อในระหว่างที่ตนผิดนัด ทั้งจะต้อง
รับผิดในการที่การชาระหนี้กลายเป็นพ้นวิสยั
ไม่เห็นด้วยกับดาวที่อา้ งว่าเป็นเหตุสุดวิสยั ดาวจะต้องรับผิดชอบในความเสี ยหายที่ เกิดขึ้น
2

2. แดง ขาว น้ าเงิน ร่ วมกันยืมเงินดา 60,000 บาท ต่อมาดายกหนี้ ให้น้ าเงิน 20,000 บาท และเมื่อถึง
กาหนดชาระไม่มีใครชาระ ดาจึงไปเรี ยกเอากับน้ าเงิน น้ าเงินอ้างว่าดาได้ยกหนี้ให้ตนแล้ว ให้ดาไป
เรี ยกเอาจากแดง และ ขาว ท่านเห็นด้วยกับข้ออ้างของน้ าเงินหรื อไม่
ตามหลักกฎหมาย(มาตรา291)ถ้าบุคคลหลายคนจะต้องทาการชาระหนี้โดยทานองซึ่ งแต่ละคนจาต้อง
ชาระหนี้ สิ้นเชิงไซร้ ถึงแม้วา่ เจ้าหนี้ชอบที่จะได้ชาระหนี้สิ้นเชิ งได้เพียงครั้งเดียว(กล่าวคือลูกหนี้
ร่ วมกัน)ก็ดี เจ้าหนี้จะเรี ยกชาระหนี้จากลูกหนี้ แต่คนใดคนหนึ่งสิ้ นเชิ งหรื อแต่โดยส่ วนก็ได้ ตามแต่จะ
เลือกแต่ลูกหนี้ ท้งั ปวงก็ยงั คงต้องผูกพันอยูท่ วั่ ทุกคนจนกว่าหนี้น้ นั จะได้ชาระเสร็ จสิ้ นเชิ ง (มาตรา293)
การปลดหนี้ ให้แก่ลูกหนี้ร่วมกันคนใดคนหนึ่งนั้นย่อมเป็นไปเพื่อประโยชน์แก่ลูกหนี้คนอื่นๆ เพียงเท่า
ส่ วนของลูกหนี้ที่ได้ปลดให้ เว้นแต่จะได้ตกลงกันเป็นอย่างอื่น (มาตรา296)ในระหว่างลูกหนี้
ร่ วมกันทั้งหลายนั้น ท่านว่าต่างคนต่างต้องรับผิดเป็นส่ วนเท่าๆ กัน เว้นแต่จะได้กาหนดไว้เป็นอย่างอื่น
ถ้าส่ วนที่ลูกหนี้ร่วมกันคนใดคนหนึ่งจะพึงชาระนั้นเป็นอันจะเรี ยกเอาจากคนนั้นไม่ได้ไซร์ ยังขาด
จานวนอยูเ่ ท่าไรลูกหนี้คนอื่นๆ ซึ่งจาต้องออกส่ วนด้วยนั้นก็ตอ้ งรับใช้ แต่ถา้ ลูกหนี้ร่วมกันคนใดเจ้าหนี้
ได้ปลด ให้หลุดพ้นจากหนี้อนั ร่ วมกันแล้วส่ วนที่ลูกหนี้คนนั้นจะพึงต้องชาระหนี้ก็ตกเป็นพับแก่เจ้าหนี้
ไป ตามเหตุการณ์การที่แดง ขาว น้ าเงิน ร่ วมกันยืมเงินดา 60,000 บาท ถือได้วา่ เป็นลูกหนี้ ร่วม ต่างคน
ต่างต้องรับผิดเป็นส่วนเท่าๆ กันคือคนละ 20,000 บาท และการที่ดายกหนี้ให้น้ าเงิน 20,000 บาทย่อม
เป็น ประโยชน์แก่ลูกหนี้คนอื่นๆ เพียงเท่าส่วนของน้ าเงินคือ 20,000 บาทซึ่งตกเป็นพับแก่เจ้าหนี้ ไป
ดังนั้นยังเหลือหนี้ที่คา้ งชาระ 40,000 บาท ที่แดงและขาวจะต้องชาระให้แก่ดาคนละ 20,000 บาท ซึ่งดา
จะมาเรี ยกกับน้ าเงินอีกไม่ได้เพราะได้ปลดหนี้ ให้แล้วและไม่ได้ตกลงกันเป็นอย่างอื่น
เห็นด้วยกับข้ออ้างของน้ าเงิน ซึ่งดาจะมาเรี ยกกับน้ าเงินอีกไม่ได้ ดาจะต้องไปเรี ยกเอาส่ วนที่คา้ งชาระ
40,000 บาท จากแดงและขาวคนละ20,000 บาท
3

3. แดงและเหลือง เป็นเพื่อนกัน แดงฝากสุ นขั ไว้ให้เหลืองดูแล น้ าเงินเดินผ่านมา เหลืองแหย่สุนขั ให้กดั


น้ าเงิน แต่สุนขั ตัวเล็กเลยกัดไม่เข้า น้ าเงินโกรธจึงจะฟ้ อง แดงมาปรึ กษาท่าน ๆ จะแนะนาอย่างไร
ตามหลักกฎหมายกล่าวว่า (มาตรา420)ผูใ้ ดจงใจหรื อประมาทเลินเล่อทาต่อบุคคลอื่นโดยผิดกฎหมาย
ให้เขาเสี ยหายถึงแก่ชีวิตก็ดี แก่ร่างกายก็ดี อนามัยก็ดี เสรี ภาพก็ดี ทรัพย์สินหรื อสิ ทธิ อย่างหนึ่ งอย่างใด
ก็ดี ท่านว่าผูน้ ้ นั ทาละเมิดจาต้องใช้ค่าสิ นไหมทดแทนเพื่อการนั้นตามเหตุการณ์การที่เหลืองแหย่สุนขั
ให้กดั น้ าเงินเป็นการที่ดาทาละเมิดต่อน้ าเงินโดยใช้สตั ว์เป็นเครื่ องมือถึงแม้วา่ สุ นขั จะกัดน้ าเงินไม่เข้าก็
ตาม ดาจะต้องใช้ค่าสิ นไหมทดแทนให้กบั น้ าเงินเพราะ
เป็นผูท้ าละเมิด ซึ่งไม่เกี่ยวข้องว่าเจ้าของสัตว์หรื อบุคคลผูร้ ับฝากจะเป็นใคร แดงไม่เกี่ยวข้องถึงแม้วา่ จะ
เป็ นเจ้าของสัตว์ ดาจะต้องใช้ค่าสิ นไหมทดแทนให้กบั น้ าเงินเพราะเป็นผูท้ าละเมิด

4. ก ข และ ค เป็นลูกหนี้ ร่วมกัน...เงิน ง ไป 30,000 บาท ต่อมา ก ถูกศาลสัง่ ให้เป็นคนไร้ความสามารถ


เมื่อหนี้ถึงกาหนดชาระ ง ฟ้ อง ก ข และ ค ให้ชาระหนี้แก่ตน ผูอ้ นุบาลของ ก หาเป็นโมฆียะ ข ค ก็อา้ ง
ว่าตนหลุดพ้นจากความรับผิดชอบเช่นกัน เพราะ ข ค เป็นลูกหนี้ร่วมกับ ก เมื่อ ก มีสิทธิ อย่างใด ข ค ก็
มีสิทธิ เช่นเดียวกับ ก ดังนี้ท่านเห็นด้วยกับข้ออ้างของ ก ข และ ค หรื อไม่ เพราะเหตุใด
หลักกฎหมาย
มาตรา 291 ถ้า บุคคลหลายคนจะต้องทาการชาระหนี้โดยทานองซึ่ งแต่ละคนจาต้องชาระหนี้สิ้ นเชิง
ไซร้ แม้ถึงว่าเจ้าหนี้ชอบที่จะได้รับชาระหนี้เชิ งได้แต่เพียงครั้งเดียว(กล่าว คือลูกหนี้ ร่วมกัน)ก็ดี เจ้าหนี้
จะเรี ยกชาระหนี้จากลูกหนี้แต่คนใดคนหนึ่งสิ้นเชิ ง หรื อแต่โดยส่ วนก็ได้ตามแต่จะเลือก แต่ลูกหนี้ท้ งั
ปวงก็ยงั คงต้องผูกพันอยูท่ วั่ ทุกคนจนกว่าหนี้น้ นั จะได้ชาระ เสร็ จสิ้ นเชิ ง
มาตรา 295 วรรคแรก ข้อความจริ งอื่นใด นอกจากที่ระบุไว้ในมาตรา 292 ถึง 294 นั้น เมื่อเป็นเรื่ องเท้า
ถึงตัวลูกหนี้ ร่วมกันคนใดก็ยอ่ มเป็นไปเพื่อคุณและโทษแต่ เฉพาะแก่ลูกหนี้คนนั้น เว้นแต่จะ ปรากฏว่า
กับสภาพแห่งหนี้น้ นั เอง
วินิจฉัย ก ข และ ค เป็นลูกหนี้ร่วม...กูเ้ งิน ง ไป 30,000 บาท ตามมาตรา 291 เห็นได้วา่ ก ข ค
ร่ วมกันผูกพันในสัญญาเงิน...กูอ้ นั เดียวกัน บุคคลดังกล่าวซึ่งเป็นลูกหนี้หลายคนต้องร่ วมผูกพันกันเป็น
ลูกหนี้ ร่วม
ผล ของการเป็นลูกหนี้ ร่วม คือ เจ้าหนี้ สามารถเรี ยกให้ลูกหนี้ ชาระหนี้ ได้โดยสิ้ นเชิง โดย
ลูกหนี้ ท้งั ปวงยังคงต้องผูกพันกันอยูจ่ นกว่าหนี้น้ นั จะได้ชาระจนเสร็ จ สิ้ นแล้ว
4

การที่ ก อ้างว่าหลุดพ้นจากการชาระหนี้ เพราะหย่อนความสามารถนั้น เป็นกรณี ก อ้างเหตุส่วนตัวเพื่อ


เป็ นข้อยกเว้นตามมาตรา 295 วรรค 1 ซึ่ ง ให้ถือว่าเป็นไปเพื่อคุณและโทษเฉพาะตัวลูกหนี้ คนนั้น
เท่านั้น ก ถูกศาลสัง่ ให้เป็นคนไร้ความสามารถหลังจาก ก ได้ก่อหนี้แล้วดังนั้น ในขณะที่หนี้เกิดขึ้น ก
ยังเป็นบุคคลซึ่ งมีความสามารถอยู่ ดังนี้ ระหว่าง ก และ ง เป็นหนี้ที่สมบูรณ์ ก ไม่สามารถอ้างเหตุ
ส่ วนตัวดังกล่าวให้หลุดพ้นจากการชาระหนี้ นิติกรรมไม่เป็นโมฆียะ ก ยังคงต้องชาระหนี้
ข และ ค ก็ไม่หลุดพ้นจากการรับผิดเช่นกัน เพราะ ข้ออ้างของ ก เป็นเหตุส่วนตัวเป็นคุณและโทษ
เฉพาะตัวลูกหนี้คนใดคนหนึ่งลูกหนี้คนอื่น ๆ จะยกขึ้นกล่าวอ้างไม่ได้ ข และ ค เป็นลูกหนี้ร่วมไม่หลุด
พ้นความรับผิด
ข้าพเจ้าไม่เห็นด้วยกับข้ออ้างของ ก ข และ ค เพราะบุคคลทั้ง 3 เป็นลูกหนี้ร่วม เมื่อหนี้ ถึง
กาหนดชาระ ก ขและค ต้องชาระหนี้ให้แก่ง

5. ก เป็นลูกหนี้ ซ้ือของเงินเชื่อ ข อยู่ 6 แสน บาท ต่อมากิจการของ ก ต้องขาดทุนลง ก มีทรัพย์สินอยู่


เพียงอย่างเดี ยวคือบ้านของตนเอง ก เกรงว่า ข จะมาบังคับชาระหนี้ จึงได้โอนบ้านให้แก่มารดาซึ่ งไม่มี
ที่พกั อาศัยเป็นของตนเอง โดยมิได้บอกเรื่ องหนี้ สินของตนเอง เพราะเกรงว่ามารดาจะเสี ยใจ เมื่อ ก ทา
การโอนบ้านให้แก่มารดาไปแล้ว 2 ปี ข จึงได้รู้วา่ บ้านไม่ได้เป็นของ ก เสี ยแล้ว ข มาปรึ กษาท่านเพื่อจะ
บังคับชาระหนี้รายนี้ ท่านจะให้คาปรึ กษา ข อย่างไร
หลักกฎหมาย
มาตรา 237 วรรคแรก เจ้าหนี้ชอบที่จะร้องขอให้ศาลเพิกถอนเสี ยได้ซ่ ึงนิ ติกรรมใด ๆ อันลูกหนี้ ได้
กระทาลงนั้นรู้อยูว่ า่ จะเป็ นการให้เจ้าหนี้เสี ยเปรี ยบ แต่ความข้อนี้ท่านมิได้ใช้บงั คับ ถ้าปรากฎว่าใน
ขณะที่ทานิติกรรมนั้นบุคคลซึ่งเป็นผูไ้ ด้ลาภงอกแต่การนั้นมิ ได้รู้เท่าถึงข้อความจริ งอันเป็นทางให้
เจ้าหนี้ ตอ้ งเสี ยเปรี ยบนั้นด้วย แต่หากกรณี เป็นการทาโดยเสน่หาท่านว่าเพียงแต่ลูกหนี้เป็นผูร้ ู ้ฝ่ายเดียว
เท่านั้นก็พอแล้วที่จะขอเพิกถอนได้
มาตรา 240 การ เรี ยกร้องขอเพิกถอนนั้น ท่านห้ามมิให้ฟ้องร้องเมื่อพ้นปี หนึ่งนับแต่เวลาที่เจ้าหนี้ ได้รู้
ต้นเหตุ อันเป็นมูลให้เพิกถอน หรื อพ้นสิ บปี นับแต่ได้ทานิ ติกรรม
ตาม ปั ญหา เป็นกรณี การเพิกถอนฉ้อฉล เพราะเมื่อ ก เป็นหนี้ ข อยู่ และไม่มีทรัพย์สินอื่นเหลืออยูใ่ น
การชาระหนี้ให้แก่ ข เลย มีแต่เพียงบ้านหลังเดียวและได้โอนไปให้มารดาของตนนั้นถือได้วา่ การโอน
5

ให้โดย เสน่หานั้นเป็นนิติกรรมและ ก ทาลงโดยรู ้อยูแ่ ล้วว่าเป็นทางให้ ข ซึ่งเป็นเจ้าหนี้เสี ยเปรี ยบ


เพราะไม่มีทรัพย์สินอื่นเหลือพอชาระหนี้
แต่ นิติกรรมให้โดยเสน่หานั้นเพียงแต่ ก ลูกหนี้ ฝ่ายเดียวรู ้วา่ เจ้าหนี้เสี ยเปรี ยบก็เป็นเหตุ
เพียงพอให้เจ้าหนี้ฟ้อง ขอเพิกถอนการให้ซ่ ึงเกิดจากการฉ้อฉลนั้นได้แล้ว ซึ่งตามปั ญหาแม้วา่ มารดา
ของ ก จะไม่รู้วา่ การโอนให้น้ นั ทาให้ ข เสี ยเปรี ยบก็ตาม ข ก็สามารถฟ้ องศาลให้เพิกถอนนิ ติกรรม การ
ให้โดยเสน่หานี้ได้ อีกทั้งนิ ติกรรมการโอนให้น้ ีทาขึ้นเพียง 2 ปี เท่านั้นกฎหมายให้สิทธิ เจ้าหนี้ ที่จะขอ
เพิกถอนได้ภายในสิ บปี นับแต่วนั ทานิติกรรม เพราะภายใน 1 ปี นับแต่เวลาที่เจ้าหนี้รู้ถึงการโอนให้
ดังนั้นข้าพเจ้าจะให้คาแนะนาให้ ข ฟ้ องศาลขอเพิกถอนการฉ้อฉลเสี ยภายใน 1 ปี หลังจากที่ ข
รู ้ถึงการโอนนั้นแล้ว เมื่อฟ้ องขอเพิกถอนแล้วทรัพย์สินที่โอนก็กลับคืนสู่ ก ผูโ้ อนทาให้ ข สามารถ
บังคับชาระหนี้จากทรัพย์สินนั้นได้

6. แดง เหลือง เขียว ร่ วมกัน...้้เงินเจริ ญไป 60,000 บาท ปรากฏว่าเมื่อเวลาผ่านไป 9 ปี แดงได้นาเงิน


มาผ่อนชาระให้เจริ ญบางส่วน ต่อมาเวลาล่วงเลยมา 10 ปี เศษ เจริ ญต้องการเงินคืนจากลูกหนี้ท้ งั สามคน
นี้จึงฟ้ องลูกหนี้ท้งั 3 คนดังกล่าว ให้ชาระหนี้ ที่ร่วมกัน...้้ไปทั้ง แดง เหลือง เขียว จึงมาปรึ กษาท่าน
ท่านจะให้คาแนะนาแก่เขาทั้ง3คนอย่างไร
หลักกฎหมาย
ม. 291 “ถ้า บุคคลหลายคน จะต้องกระทาการชาระหนี้ โดยกาหนดซึ่งแต่ละคนจาต้องชาระหนี้สินแล้ว
ไซร้ แม้ถึงว่าเจ้าหนี้ชอบที่จะได้รับชาระหนี้สิ้นเชิ งได้แต่เพียงครั้งเดียว (กล่าว คือลูกหนี้ร่วมกัน) ก็ดี
เจ้าหนี้ จะเรี ยกชาระหนี้ จากลูกหนี้แค่คนใดคนหนึ่งสิ้ นเชิ งหรื อโดยส่ วนก็ได้ ตามแต่จะเลือก แต่ลูกหนี้
ทั้งปวงยังคงต้องผูกพันอยูท่ วั่ ทุกคนจนกว่าหนี้น้ นั จะได้ชาระ เสร็ จสิ้ นเชิ ง
ม. 295 ข้อความจริ งอื่นใด นอกจากที่ระบุไว้ในมาตรา 292 ถึง 294 นั้น เมื่อเป็นเรื่ องเท้าตัวถึงลูกตัวหนี้
ร่ วมกันคนใดก็ยอ่ มเป็นไปเพื่อคุณและโทษ เฉพาะแก่ลูกหนี้คนนั้น เว้นแต่จะปรากฏว่าขัดกับสภาพ
แห่ งหนี้ น้ นั เอง
ความ ที่วา่ มานี้ เมื่อจะกล่าวโดยเฉพาะก็คือว่าให้ใช้แก่การให้คาบอกกล่าว การผิดนัด การที่หยิบยกอ้าง
ความผิด การชาระหนี้ อนั เป็นพ้นวิสยั แก่ฝ่ายลูกหนี้ร่วมกันคนหนึ่งกาหนดอายุความหรื อ การที่อายุ
ความสะดุดหยุดลงและการที่สิทธิเรี ยกร้องเกลื่อนกลื นกันไปกับ หนี้ สิน
6

วินิจฉัยแดง เหลือง เขียว ร่ วมกัน...กูเ้ งินเจริ ญไป ดังนั้นบุคคลทั้ง 3 จึงเป็นลูกหนี้ ร่วม และต้อง
ผูกพันที่จะชาระหนี้ ให้แก่เจ้าหนี้โดยสิ้นเชิง ต่อมาเมื่อเวลาผ่านไป 9 ปี แดงแต่ผเู ้ ดียวได้นาเงินบางส่ วน
มาผ่อนชาระหนี้ให้แก่เจริ ญ จึงเป็นกรณี ซ่ ึ งแดงรับสภาพหนี้โดยการชาระหนี้ บางส่ วน เป็นเหตุให้อายุ
ความคือระยะเวลาที่ล่วงไปแล้วนี้ ไม่นบั เข้าในอายุความ และให้เริ่ มนับอายุความขึ้นใหม่ แม้ต่อมาเวลา
จะล่วงเลยมา 10 ปี เศษแล้วก็ตามหนี้ของแดงก็ยงั ไม่ขาดอายุความ
เหลือง และเขียว แม้จะเป็นลูกหนี้ร่วมกันกับแดงแต่มิได้มีส่วนในการชาระหนี้บางส่ วนกับแดงแต่ อย่าง
ใด เพราะกรณี เป็นเรื่ องท้าวถึงตัวลูกหนี้ร่วมคนใดก็ยอ่ มเป็นเพื่อคุณและโทษแต่ เฉพาะแก่ลูกหนี้ คนนั้น
กรณี เรื่ องอายุความนี้ เป็นคุณแก่เหลืองและเขียว เหลือง เขียวจึงสามารถยกกาหนดอายุความมาเป็นข้อ
ต่อสู ้ เจริ ญว่าหนี้ ...้้ยมื นั้นขาดอายุความแล้ว เพราะได้...้้ยมื กันมาเกิน 10 ปี แล้ว ตาม ม. 295 ดังนี้
เหลือง เขียวจึงหลุดพ้นไม่ตอ้ งชาระหนี้ให้แก่เจริ ญ
แต่ แดงไม่สามารถยกเรื่ องอายุความในกรณี เหลืองกับเขียวมากล่าวอ้างได้ เพราะตนได้รับสภาพหนี้ ซึ่ ง
ทาให้อายุความในส่วนของตนสะดุดลงเป็ นโทษเฉพาะตัวของแดง แดงจึงยังคงต้องผูกพันที่จะต้อง
ชาระหนี้ ให้กบั เจริ ญแต่เพียงผูเ้ ดียว

7. ก ข และ ค ร่ วมกัน...กูเ้ งิน ง ไป 60,000 บาท เพื่อจะไปลงทุนกิจการค้าร่ วมกัน ต่อมาหนี้ถึงกาหนด


ชาระ ทั้ง ก ข และ ค เพิกเฉยไม่ชาระหนี้ ง จึงฟ้ อง ก และ ข ให้ชาระหนี้ ให้แก่ตน คนละ 30,000 บาท
ส่ วน ค นั้นเป็นนักศึกษานิติศาสตร์ มสธ. ง สงสารไม่อยากให้ ค เป็นความในศาล จึงไม่ฟ้อง ค
ก และ ข ต่อสู้ ง ว่าต่างรับผิดเป็นจานวนเท่า ๆ กัน คือ คนละ 20,000 บาท ดังนี้ ก และ ข จึงรับผิดชอบ
ร่ วมกันเพียง 40,000 บาท อีก 20,000 บาท ง ต้องไปฟ้ อง ค อีกต่างหาก
ดังนี้ ท่านเห็นด้วยกับข้ออ้างของ ก และ ข อย่างไรหรื อไม่เพราะเหตุใด
หลักกฎหมาย
มาตรา 291 บัญญัติวา่ “ถ้า บุคคลหลายคนจะต้องทาการชาระหนี้โดยทานองซึ่งแต่ละคนจาต้องชาระ
หนี้ โดยสิ้ น เชิงไซร้ แม้ถึงว่าเจ้าหนี้ชอบที่จะด้รับชาระหนี้สิ้นเชิ งได้แต่เพียงครั้งเดียว (กล่าวคือ ลูกหนี้
ร่ วม) ก็ดี เจ้าหนี้ จะเรี ยกชาระหนี้จากลูกหนี้แต่คนใดคนหนึ่งสิ้ นเชิ งหรื อแต่โดยส่ วนก็ ได้ตามแต่จะ
เลือก แต่ลูกหนี้ท้งั ปวงก็ยงั คงต้องผูกพันอยูท่ วั่ ทุกคนจนกว่าหนี้น้ นั จะใช้ชาระ เสร็ จสิ้ นเชิ ง”
มาตรา 296 บัญญัติวา่ “ในระหว่างลูกหนี้ร่วมกันทั้งหลายนั้นท่านว่า ต่างคนต่างต้องรับผิดชอบเป็น
ส่ วนเท่า ๆ กัน เว้นแต่จะได้กาหนดเป็นอย่างอื่น….”
7

กรณี นี้ เป็นเรื่ องลูกหนี้ ร่วมซึ่งเป็นบุคคลหลายคนซึ่งมีหน้าที่ร่วมกันที่จะต้อง รับผิดต่อเจ้าหนี้จะได้รับ


ชาระหนี้ โดยสิ้นเชิงหรื อแต่โดยส่วนหรื อจะเรี ยก ร้องเอาจากลูกหนี้ร่วมพร้อมกันก็ได้ ดังนั้นจึงเป็น
สิ ทธิของ ง ซึ่ งสามารถที่จะเรี ยกร้องให้ ก และ ข เท่านั้นที่จะต้องชาระหนี้ให้ ง
ระหว่าง ลูกหนี้ ร่วมด้วยกันแล้ว ลูกหนี้ ต่างต้องรับผิดเป็นส่ วนเท่า ๆ กัน แม้วา่ ก และ ข จะ
ปฏิเสธไม่ชาระเกินส่ วนของตนไม่ได้ก็ตาม เพราะต้องผูกพันอยูจ่ นกว่าเจ้าหนี้จะได้รับชาระหนี้ โดย
สิ้ นเชิ ง แต่เมื่อ ก และ ข ได้ชาระหนี้แก่ ง โดยครบถ้วนไว้แล้ว ก็มีสิทธิ ที่จะไล่เบี้ยส่ วนที่แต่ละคนได้
ออกเกินไปแทน ค ได้
ดังนั้น ข้าพเจ้าไม่เห็นชอบกับข้ออ้างของ ก และ ข โดยเห็นว่า ก และ ข ต้องชาระหนี้ เงิน...้้
คนละ 30,000 บาท ตามที่ ง ฟ้ อง แต่ท้ งั ก และ ข ก็มีสิทธิ จะไปไล่เบี้ยเอาจาก ค ในส่ วนที่แต่ละคนได้
จ่ายเกินไป คือคนละ 10,000 บาท

8. ศาลพิพากษาให้เขียวและฟ้ าร่ วมกันชดใช้ค่าสิ นไหมทดแทนแก่ม่วง ในกรณี ที่เขียวและฟ้ าร่ วมกันทา


ร้ายม่วงจนได้รับบาดเจ็บเป็นเงิน 10,000 บาท ม่วงซึ่งเป็นเจ้าหนี้ ในหนี้มูลละเมิด เห็นว่าเขียวมีฐานะ
ทางการเงินดีกว่าฟ้ ามาก จึงเรี ยกร้องเอาจากเขียวคนเดียว เขียวยอมชดใช้ให้ม่วงเพียงครึ่ งหนึ่งคือ 5,000
บาท อ้างว่าความจริ งตนเป็นผูช้ กต่อยม่วงเท่านั้น ส่ วนฟ้ าเป็นผู ้แทงทาร้ายม่วงจนม่วงได้รับบาดเจ็บ
หนัก ทั้งตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิ ชย์ มาตรา 432 วรรค สาม ก็บญั ญัติไว้วา่ ในระหว่างบุคคล
ทั้งหลายซึ่ งต้องรับผิดร่ วมกันใช้ค่าสิ นไหมทดแทนต้องรับผิด เป็นส่ วน ๆ เท่ากัน จึงขอให้ม่วงไป
เรี ยกร้องเงินที่เหลืออีกครึ่ งหนึ่ง 5,000 บาท จากฟ้ าโดยตรง ท่านเห็นด้วยกับข้ออ้างของเขียวหรื อไม่
หลักกฎหมาย
ปพพ.มาตรา 291 วาง หลักว่า ลูกหนี้ร่วมกันนั้นจะเรี ยกชาระหนี้จากลูกหนี้แต่คนใดคนหนึ่งสิ้ นเชิ งหรื อ
แต่ โดยส่ วนก็ได้ตามแต่จะเลือกแต่ลูกหนี้ท้งั ปวงยังคงต้องผูกพันอยูท่ วั่ ทุกคนจน กว่าหนี้น้ นั จะชาระ
สิ้ นเชิงได้ตาม ปพพ.มาตรา 291
ตาม ปั ญหา เขียวและฟ้ าเป็นลูกหนี้ร่วมกับในมูลละเมิด ม่วงเจ้าหนี้จึงชอบที่จะเรี ยกร้องให้เขียวหรื อฟ้ า
ลูกหนี้ คนใดคนหนึ่ งชาระหนี้โดยสิ้นเชิงหรื อแต่โดยส่ วนก็ได้ และเขียวกับฟ้ าก็ยงั คงผูกพันอยูจ่ นกว่า
หนี้ ร่วมกันจะได้ชาระสิ้นเชิงตาม ม.291
การที่เขียวยอมชดใช้ให้ม่วงเพียงครึ่ งเดียวคือ 5,000 บาท และอ้างมาตรา 432 วรรค 3 นั้น
ฟังไม่ข้ ึน เพราะมาตรา 432 วรรค 3 เป็นเรื่ องระหว่างลูกหนี้ร่วมกันที่จะไปใช้สิทธิไล่เบี้ยกัน จะยกมา
8

ต่อสู ้ม่วงซึ่งเป็นเจ้าหนี้ไม่ได้ ดังนั้นแม้เขียวจะชาระไปแล้ว 5,000 บาท เขียวก็ยงั คงผูกพันต้องชาระอยู่


จนกว่าหนี้ จะได้ชาระสิ้นเชิง คือ ต้องชาระอีก 5,000 บาท ข้ออ้างของเขียวฟังไม่ข้ ึน

9. นายสิ นทาสัญญาจะซื้อจะขายที่ดินมีโฉนดจากนายพวงสองแปลง ชาระเงินให้นายพวงบางส่ วน ตก


ลงโอนกรรมสิ ทธิ์และชาระเงินส่วนที่เหลือภายใน 6 เดือน ครบกาหนดนายพวงผิดสัญญาไม่โอนที่ดิน
ทั้งสองแปลงดังกล่าวให้นายสิ น กลับนาที่ดินแปลงแรกไปจดทะเบียนโอนขายให้นายเขียวโดยนาย
เขียวทราบว่านายพวง ได้ทาสัญญาจะซื้อจะขายที่ดินกับนายสิ นไว้ก่อนแล้วและนายสิ นไม่ทราบเรื่ อง
ต่อมานายสิ นกลัวว่านายพวงจะโอนขายที่ดินแปลงที่ส องให้แก่บุคคลอื่นจึงฟ้ อง คดีต่อศาลเพื่อขอ
บังคับให้นายพวงจดทะเบียนโอนที่ดินแปลงที่สองให้แก่นายสิ น ตามสัญญาจะซื้ อจะขายที่ดิน พร้อม
ทั้งแจ้งเรื่ องที่ฟ้องคดีดงั กล่าวให้เจ้าพนักงานที่ดินทราบ แต่นายขาวยืนยันให้เจ้าพนักงานที่ดินจด
ทะเบียนโอนขายที่ดินแปลงดังกล่าว เจ้าพนักงานที่ดินจึงจดทะเบียนโอนขายที่ดินให้ ต่อมาวันที่ 30
กันยายน 2545 นายสิ นทราบว่านายพวงจดทะเบียนโอนขายที่ดินแปลงที่สองให้นายขาว และในวันที่
30 กันยายน 2545 นาย สิ นไปตรวจสอบที่สานักงานที่ดินทราบว่านายพวงจดทะเบียนโอนขายที่ดิน
แปลง แรกให้นายเขียว นายสิ นจึงได้ฟ้องนายพวง นายเขียว และนายขาวต่อศาลเมื่อวันที่ 30 กันยายน
2547 ขอ ให้เพิกถอนนิติกรรมการซื้ อขายที่ดินทั้งสองแปลงระหว่างนายพวงกับนายขาว และนายพวง
กับนายเขียว หลังจากฟ้ องคดีดงั กล่าวแล้ว นายเขียวได้จดทะเบียนโอนขายที่ดินแปลงแรกให้แก่นาย
แดง โดยขณะที่ซ้ือขายที่ดินนายแดงไม่ทราบว่านายสิ นฟ้ องคดีเพิกถอนนิติกรรมการ ซื้ อขายแปลง
ดังกล่าวระหว่างระหว่างนายสิ นกับนายเขียว ระหว่างการพิจารณาศาลชั้นต้นได้หมายเรี ยกนายแดงเข้า
มาเป็นจาเลยร่ วม หากข้อเท็จจริ งฟังได้ดงั กล่าวข้างต้น ทั้งนายพวง นายเขียว นายขาว และนายแดงให้
การต่อสู ้วา่ นายสิ นไม่มีสิทธิฟ้องขอให้เพิกถอนและคดีขาดอายุ ความแล้ว
ให้ วินิจฉัยว่า ศาลจะพิพากษาให้เพิกถอนนิติกรรมการจดทะเบียนโอนที่ดินตามสัญญาจะซื้ อจะ
ขาย ที่ดินแปลงแรกระหว่างนายพวงและนายเขียวและระหว่างนายเขียวกับนายแดง และที่ดินแปลงที่
สองระหว่างนายพวงกับนายขาวได้หรื อไม่
ธง คาตอบ สาหรับการขอให้เพิกถอนนิ ติกรรมที่ดินแปลงแรก นายสิ นเป็นเจ้าหนี้นายพวง ใน
การที่จะบังคับให้นายพวงโอนที่ดินแปลงดังกล่าวให้ตามสัญญาจะซื้ อจะขาย ที่ดิน แม้จะมิได้มีการฟ้ อง
คดีต่อศาลก็ตาม เมื่อนายเขียวซื้อที่ดินจากนายพวงลูกหนี้โดยทราบว่ านายพวงได้ทาสัญญาจะซื้ อ จะ
ขายที่ดินไว้กบั นายสิ นไว้ก่อนแล้ว เป็นการทานิติกรรมที่ทาให้นายสิ นเจ้าหนี้ของนายพวงเสี ยเปรี ยบจึง
9

เป็นการ ฉ้อฉลนายสิ น ส่วนนายแดงแม้จะซื้ อที่ดินแปลงดังกล่าวจากนายเขียวโดยสุ จริ ต แต่เป็นการซื้ อ


ที่ดินมาภายหลังจากที่นายสิ นฟ้ องคดีเพิกถอนนิ ติกรรมการโอน ที่ดินระหว่างนายพวงกับนายเขียวแล้ว
จึงไม่ได้รับความคุม้ ครองตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิ ชย์ มาตรา 238 และ นายแดงเป็ นผูร้ ับโอน
ที่ดินของลูกหนี้ ต่อจากนายเขียวผูท้ านิติกรรมกับ ลูกหนี้ ไม่ใช่เป็นคู่กรณี ทานิ ติกรรมกับลูกหนี้ โดยตรง
จึงไม่ใช่เป็นบุคคลซึ่งเป็ นผูท้ ี่ได้ลาภงอกอันจะได้รับความคุม้ ครองตามมาตรา 237 (เทียบคาพิพากษา
ศาลฎีกา ที่ 3180/2540) เมื่อ นายสิ นฟ้ องคดียงั ไม่พน้ กาหนดหนึ่งปี นับแต่เวลาที่ได้รู้ตน้ เหตุอนั เป็น มูล
ให้เพิกถอนคดีจึงไม่ขาดอายุความ ศาลพิพากษาให้เพิกถอนนิ ติกรรมการซื้ อขายที่ดินแปลงแรกระหว่าง
นายพวงกับนาย เขียว และระหว่างนายเขียวกับนายแดงได้ ส่ วนการขอให้เพิกถอนนิ ติกรรมที่ดินแปลง
ที่สอง การที่นายขาวทราบจากเจ้าพนักงานที่ดินว่านายสิ นได้ฟ้องขอให้บงั คับนายพวงโอน ที่ดินให้นาย
สิ น แต่นายขาวยังยืนยันให้เจ้าพนักงานที่ดินจดทะเบียนนิ ติกรรมการซื้ อขายที่ดิ น ดังกล่าวตามคาขอ
การกระทาของนายขาวเห็นได้วา่ มีเจตนาโอนและรับโอนที่ดินเพื่อขัดขวางมิให้นาย สิ นซึ่งเป็นเจ้าหนี้
ของนายพวงได้รับชาระหนี้ท้งั หมด ตามที่นายสิ นได้ใช้สิทธิ ทางศาลในการเรี ยกร้องให้นายพวงชาระ
หนี้ ไว้แล้ว นิติกรรมการซื้อขายที่ดินแปลงดังกล่าวจึงเป็นนิ ติกรรมที่มีวตั ถุประสงค์เป็น การขัดต่อความ
สงบเรี ยบร้อยและศีลธรรมอันดีของประชาชน ตกเป็นโมฆะตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิ ชย์
มาตรา 150 นายทุนซึ่งเป็นผูม้ ีส่วนได้เสี ยย่อมมีสิทธิ์ฟ้ องขอให้เพิกถอนได้โดยไม่จา ต้องใช้สิทธิ ใน
เรื่ องการเพิกถอนการฉ้อฉลตามมาตรา 237 (เทียบคาพิพากษาศาลฎีกาที่ 5738 - 5739/2545) และไม่อยู่
บังคับที่จะต้องฟ้ องคดีภายใน 1 ปี ตามมาตรา 240 (เทียบคาพิพากษาศาลฎีกาที่ 2041/2547) ดังนั้น แม้
จะได้ความว่านายสิ นฟ้ องคดีดงั กล่าวเมื่อพ้นกาหนด 1 ปี นับแต่เวลาที่ได้รู้ตน้ เหตุอนั เป็นมูลให้เพิก
ถอน คดีก็ไม่ขาดอายุความ ศาลพิพากษาให้เพิกถอนนิติกรรมการจดทะเบียนโอนที่ดินแปลงที่สอง
ระหว่างนายพวง กับนายขาวได้

10. นายเอกเป็นเจ้าของแผงพระ นายเอกรับจองพระพุธชิ นราชเนื้ อทองคาราคา ๑๐,๐๐๐ บาท จากนาย


โท โดยพระดังกล่าวมีการสร้างจานวนจากัดจะได้รับพระหลังจอง ๓ เดือน โดยมีเงื่อนไขการจองว่า
หากลาดับในการจองไม่ได้รับการจัดสรร นายเอกจะคืนเงินให้นายโทเต็มจานวน ต่อมาทางวัดได้ส่ง
มอบพระให้แก่นายเอก แต่ปรากฏว่ามีผแู้ ขวนพระรุ่ นดังกล่าวไปเกิดอุบตั ิเหตุแล้วรอดตายอย่าง
ปาฏิหาริ ย ์ ราคาพระรุ่ นดังกล่าวในท้องตลาดจึงพุง่ สู งขึ้นไปถึง ๕๐,๐๐๐ บาท และนายตรีทราบว่านาย
เอกรับจองพระไว้ นายตรี จึงไปขอเช่า (ซื้ อ) พระจากนายเอกราคา ๕๐,๐๐๐ บาท นายเอกจึงให้นายตรี
10

เช่าพระไปราคา ๕๐,๐๐๐ บาท และไม่มีพระส่งมอบให้แก่นายโท นายโทจึงฟ้ องเรี ยกให้นายเอกส่ ง


มอบพระหรื อใช้ค่าเสี ยหาย ๕๐,๐๐๐ บาท
ให้วินิจฉัยว่า นายเอกต้องชาระหนี้นายโทหรื อไม่ อย่างไร
นาย เอกรับจองพระจากนายโท โดยพระดังกล่าวมีการสร้างจานวนจากัด โดยมีเงื่อนไขการ
จองว่า หากลาดับในการจองไม่ได้รับการจัดสรร นายเอกจะคืนเงินให้นายโทเต็มจานวน ต่อมาทางวัด
ได้ส่งมอบพระให้แก่นายเอก สัญญาเป็นผลเพราะเงื่อนไขการได้รับจัดสรรพระนั้นสาเร็ จแล้วตาม
ประมวลกฎหมาย แพ่งและพาณิ ชย์ มาตรา ๑๘๓ วรรคหนึ่ง(๒ คะแนน)
การ ที่นายเอกให้นายตรี เช่าพระไปจึงไม่มีพระส่งมอบให้แก่นายโท เป็นกรณี ที่การชาระหนี้
กลายเป็นพ้นวิสยั จะทาได้เพราะพฤติการณ์อนั ใดอันหนึ่ง ซึ่งนายเอกลูกหนี้ ต้องรับผิดชอบ นายเอก
ลูกหนี้ จึงต้องใช้ค่าสิ นไหมทดแทนให้แก่นายโทเจ้าหนี้ตามมาตรา ๒๑๘ วรรคหนึ่ง (๕ คะแนน) (คา
พิพากษาฎีกาที่ ๕๒๔๓/๒๕๕๐)
แม้ราคาพระที่จอง ๑๐,๐๐๐ บาท แต่ต่อมาเมื่อราคาพระรุ่ นดังกล่าวในท้องตลาดสู งขึ้นถึง
๕๐,๐๐๐ บาท ผลต่างจากราคาที่สูงขึ้นย่อมเป็นค่าสิ นไหมทดแทนเพื่อความเสี ยหายเช่นที่ตามปกติยอ่ ม
เกิดขึ้นแต่การไม่ชาระหนี้น้ นั ตามมาตรา ๒๒๒ วรรคหนึ่ง นายโทจึงมีสิทธิเรี ยกค่าเสี ยหายจากนายเอก
ได้จากราคาจองพระ ๑๐,๐๐๐ บาท และผลต่างราคา ๔๐,๐๐๐ บาท รวมเป็ นเงิน ๕๐,๐๐๐ บาท (๒
คะแนน) (คาพิพากษาฎีกาที่ ๕๒๔๓/๒๕๕๐) เมื่อค่าเสี ยหายดังกล่าวเป็นหนี้เงิน นายเอกจึงมีสิทธิ
ได้รับดอกเบี้ยในระหว่างผิดนัดร้อยละเจ็ดครึ่ งต่อปี ด้วยตามมาตรา ๒๒๔ วรรคหนึ่ง (๑ คะแนน)
ข้ อสังเกต คาพิพากษาฎีกานี้ ตดั สิ นข้อกฎหมายที่นกั ศึกษาต้องอ่านและจดจา เพราะเป็นฎีกาที่
วางหลักกฎหมายที่น่าสนใจ หากนักศึกษายังไม่เคยอ่านฎีกานี้ นักศึกษาอาจตอบเรื่ องการไม่ชาระหนี้
ตามมาตรา ๒๑๕ หรื ออาจจะตอบว่าเป็นความเสี ยหายอันเกิดแต่พฤติการณ์พิเศษที่คาดเห็นก่อนแล้ว
ตามมาตรา ๒๒๒ วรรคสอง ซึ่งเหตุผลยังไม่ถูกต้อง ตัวอย่างตามคาพิพากษาฎีกานี้หากนามาออก
ข้อสอบผูช้ ่วยผูพ้ ิพากษานักศึกษาต้อง ตอบเหตุผลตามคาพิพากษาฎีกา แม้จะตอบถูกธงแต่ถา้ ให้เหตุผล
ไม่ตรงตามคาพิพากษาฎีกา นักศึกษาอาจจะได้คะแนนน้อยมากถึงไม่ได้คะแนนเลย
11

11. สินทาสัญญาขายที่ดินแปลงหนึ่งของตนให้แก่ ทรัพย์ โดยตกลงกันว่าจะจดทะเบียนโอนในวันที่


30 กันยายน 2551 แต่ เนื่องจากบนที่ดินแปลงนี้ มีบุคคลอื่นเข้ามาปลูกเพิงพักอาศัยอยู่ 5 ครอบรัว สิ น
กับทรัพย์จึงตกลงกันว่า สิ นจะต้องจัดการให้ครอบครัวดังกล่าวย้ายออกไปจากที่ดินภายในวันที่ 29
กันยายน 2551 ปรากฏว่า สิ นได้จดั การให้ครอบครัวดังกล่าวย้ายออกไปตามกาหนดแล้ ว โดยต้องจ่าย
ค่าขนย้ายและค่ารื้ อถอนให้รวม 120,000 บาท เงินจานวนนี้ สิ นต้องกูม้ าจากธนาคาร เสี ยดอกเบี้ยร้อยละ
11 ต่อปี ครั้นวันที่ 30 กันยายน 2551 ทรัพย์กลับผิดสัญญาไม่ยอม จดทะเบียนรับโอนที่ดินแปลงนี้จาก
สิ นเพราะเห็นว่าราคาแพงเกินไป สิ นจึงมาปรึ กษานักศึกษาว่าจะฟ้ องศาลเรี ยกค่าเสี ยหายจานวน
120,000 บาทที่เสี ยไปเป็นค่าขนย้ายและรื้ อถอนดังกล่าว พร้อมดอกเบี้ยอัตราร้อยละ 11 ต่อปี และเรี ยก
ค่าเสี ยหายจากการที่ทรัพย์ประพฤติผิดสัญญาไม่ยอมรับโอนที่ดินด้วย อีก 50,000 บาท พร้อมดอกเบี้ย
อัตราร้อยละ 7.5 ต่อปี นักศึกษาจะให้คาปรึ กษาแก่สินว่า สิ นจะสามารถเรี ยกค่าเสี ยหายกับดอกเบี้ย
ดังกล่าวได้หรื อไม่ และด้วยเหตุผลอย่างไร
ค่าเสี ยหาย 120,000 บาทนั้นเรี ยกได้เพราะเป็นค่าเสี ยหายที่ตามปกติยอ่ มเกิดจากการไม่
ชาระหนี้ ตาม ป.พ.พ.มาตรา 222 วรรคหนึ่ง ส่ วนดอกเบี้ยร้อยละ 11 ต่อปี นั้นเรี ยกไม่ได้ เพราะ
ไม่ใช่ค่าเสี ยหายที่ตามปกติยอ่ มเกิดจากการไม่ชาระหนี้ แต่ถือว่าเป็นค่าเสี ยหายอันเกิดแต่พฤติการณ์
พิเศษ แต่ก็ไม่ปรากฏว่าทรัพย์ได้คาดเห็นหรื อควรจะได้คาดเห็นพฤติการณ์เช่นนั้นล่วง หน้า ตามมาตรา
222 วรรคสอง สิ นจึงเรี ยกดอกเบี้ยอัตราดังกล่าวไม่ได้ อย่างไรก็ตามถือว่าเป็นหนี้เงิน สิ นยังสามารถ
เรี ยกดอกเบี้ยระหว่างผิดนัดได้ในอัตราร้อยละ 7.5 ต่อปี ตามมาตรา 224 วรรคหนึ่ง ส่ วนค่าเสี ยหายที่
ทรัพย์ผิดสัญญา 50,000 บาทนั้น สิ นเรี ยกได้พร้อมดอกเบี้ยอัตราร้อยละ 7.5 ต่อปี ตามมาตรา 222 วรรค
หนึ่ง, 224 วรรคหนึ่ง

You might also like