You are on page 1of 22

บทที่ 2

การฟ้ องคดีล้มละลาย

คดี ลม้ ละลายเป็ นคดี ที่มีผลกระทบต่อสถานะและชี วิตความเป็ นอยู่ของลู กหนี้ มากกว่าคดี ทางแพ่ง
เพราะมิ เพี ย งแต่ ลู ก หนี้ จะต้องถู ก ฟ้ องร้ อง บังคับ คดี เพื่ อนาทรั พ ย์สิ นออกขายและช าระหนี้ ให้ แก่ เจ้าหนี้
ทั้งหลายแล้ว ลูกหนี้ ยงั ได้ชื่อว่าเป็ น “บุคคลล้มละลาย” ซึ่ งแม้วา่ จะหลุดพ้นจากกระบวนการล้มละลายมาแล้ว
แต่อาจไม่ได้รับโอกาสที่เริ่ มต้นใหม่ในสังคมเฉกเช่ นบุคคลปกติทวั่ ไป เช่ น การเป็ นบุคคลล้มละลายทาให้
ขาดคุ ณ สมบัติ ใ นการท างานหรื อ สมัค รงานในหน่ วยงานบางแห่ ง หรื อ การก่ อ นิ ติ สั ม พัน ธ์ ข้ ึ น ใหม่ ก ับ
บุคคลภายนอกก็อาจไม่ได้รับความไว้วางใจในทางการเงิน สิ่ งเหล่านี้ ยอ่ มเป็ นผลกระทบที่เกิดขึ้นกับบุคคลที่
เคยถูกดาเนิ นคดีลม้ ละลาย ดังนั้นการฟ้ องคดีลม้ ละลายซึ่ งเป็ นจุดแรกของกระบวนการจึงจาเป็ นต้องกาหนด
หลัก เกณฑ์ให้เกิ ดความเป็ นธรรม สร้ างความสงบสุ ข ให้เกิ ดขึ้ นในสั งคมโดยพิ จารณาจากประโยชน์ของ
เจ้าหนี้ ลูกหนี้ และสังคมโดยส่ วนรวม อาทิ หากหลักเกณฑ์ในการฟ้องคดีลม้ ละลายมีความหละหลวมมากก็
อาจเปิ ดโอกาสให้เจ้าหนี้ บ างรายใช้เป็ นเครื่ องมื อในการข่ม ขู่ลู กหนี้ ให้บ งั คับ ชาระหนี้ นอกกระบวนการ
ยุติธรรม และหากหลักเกณฑ์มีความยากลาบากมากก็จะไม่คุม้ ครองสถานะความเป็ นเจ้าหนี้ ตามกฎหมายที่
ควรได้รับชาระหนี้โดยชอบธรรม สุ ดท้ายสังคมส่ วนรวมก็คงไม่สงบสุ ข

หลักเกณฑ์ การฟ้ องคดีล้มละลาย


มาตรา 7 - 10
การฟ้องคดีลม้ ละลายประกอบไปด้วยเงื่อนไขที่สาคัญ 2 ประการคือ เงื่อนไขเกี่ยวกับลูกหนี้ (จาเลย)
(มาตรา 7-8) และเงื่อนไขเกี่ยวกับเจ้าหนี้ (ผูเ้ ป็ นโจทก์) (มาตรา 9 – 10) ดังนี้

เงื่อนไขเกีย่ วกับลูกหนี้ (จาเลย) มาตรา 7 – 8

1. ลูกหนีท้ มี่ ีหนีส้ ิ นล้ นพ้ นตัวอาจถู


อาจ กศาลพิพากษาให้ ล้มละลายได้ ถ้ า
ก. ลูกหนีน้ ้ ันมีภูมิลาเนาในราชอาณาจักร หรื อ
มาตรา
ข. ลูกหนีป้ ระกอบธุรกิจในราชอาณาจักรไม่ ว่าด้ วยตนเอง หรื อโดยตัวแทน
7
2. ในขณะทีม่ ีการขอให้ ลูกหนีล้ ้ มละลายหรื อภายในกาหนดเวลา 1 ปี ก่ อนนั้น
2
บทที่ 2 การฟ้องคดีล้มละลาย

- การที่จะฟ้องลูกหนี้ เป็ นคดีลม้ ละลายได้น้ นั ลูกหนี้จะต้องประกอบด้วยพฤติการณ์ท้ งั 3 ประการ


หากลูกหนี้ขาดพฤติการณ์ขอ้ ใดข้อหนึ่งย่อมทาให้ โจทก์ (เจ้าหนี้) ไม่มีอานาจฟ้ อง เช่น
ลูกหนี้ไม่มีหนี้สินล้นพ้นตัว
ลูกหนี้มีหนี้สินล้นพ้นตัว แต่ไมมีภูมิลาเนาในราชอาณาจักร
ลูกหนี้มีหนี้สินล้นพ้นตัว แต่ไม่ได้ประกอบธุ รกิจในราชอาณาจักรไม่วา่ ด้วยตนเอง หรื อตัวแทน
คาว่ า “หนี้สินล้ นพ้ นตัว” ในพระราชบัญญัติลม้ ละลายไม่มีบทนิ ยามหรื อบทวิเคราะห์ศพั ท์ คา
ว่า “หนี้ สินล้นพ้นตัว” ไว้ แต่จากตาราทางกฎหมาย และแนวคาพิพากษาของศาลวางหลักที่สอดคล้องกันว่า
หมายถึง “สภาพที่ลูกหนี้มีหนี้สินมากกว่าทรัพย์สินจนกระทัง่ ไม่พอชาระหนี้”

คาพิพากษาฎีกาที่ 3733/2531 การโอนขายสิ ทธิ การเช่าตึกแถว จาเลยจะต้องขออนุญาตจากผูใ้ ห้เช่าก่อน เมื่อ


ไม่ปรากฏว่าผูใ้ ห้เช่ายินยอมให้โอนขายสิ ทธิ การเช่าตึกแถวดังกล่าวก็ยงั ไม่เป็ นการแน่นอนว่าจะสามารถโอน
ขายสิ ทธิ การเช่าตึกแถวนั้นได้ จาเลยไม่มีทรัพย์สินอื่นใดอีกนอกจากสิ ทธิ การเช่าตึกแถว ถือได้วา่ จาเลยเป็ นผู ้
มีหนี้สินล้นพ้นตัว
ค าพิพ ากษาฎีก าที่ 1036/2537 จาเลยทั้งสามเป็ นหนี้ โจทก์ จานวน 1.33 ลบ. พร้ อมดอกเบี้ ยและโจทก์ มี
หนังสื อทวงถามจาเลยทั้งสามให้ชาระหนี้ แล้ว 2 ครั้ง ซึ่ งมีระยะห่ างกันไม่น้อยกว่า 30 วัน จาเลยทั้งสามไม่
ชาระหนี้ อีกทั้งจาเลยทั้งสามพร้อมกันแถลงยอมรับกันในวันสื บพยานจาเลยว่า จาเลยทั้งสามเป็ นหนี้ โจทก์
ตามฟ้ องจริ งเป็ นบุคคลมีหนี้ สินล้นพ้นตัวตามพฤติการณ์ ที่โจทก์กล่าวอ้างไม่ติดใจสื บพยานต่อไป และเมื่อ
ถึ งวันนัดฟั งคาสั่ง หรื อคาพิพากษา จาเลยทั้งสามไม่สามารถชาระหนี้ ให้โจทก์ได้ ก็ให้ศาลพิพากษาหรื อมี
คาสั่งไปตามรู ปคดี ต่อไป และเมื่ อถึ งวันนัดฟั งคาสั่งหรื อคาพิพากษา จาเลยทั้งสามมิ ได้ชาระหนี้ ให้โจทก์
ตามที่ได้แถลงต่อศาลชั้นต้น ดังนี้จึงฟังได้วา่ จาเลยเป็ นบุคคลที่มีหนี้สินล้นพ้นตัว

ลูกหนี้ ตอ้ งเป็ นผูม้ ีภูมิลาเนาในราชอาณาจักร เหตุที่กฎหมายต้องกาหนดเฉพาะลูกหนี้ มีภูมิลาเนาใน


ราชอาณาจักรเท่านั้นก็เพราะ สภาพบังคับและเขตอานาจของศาลไทยมีจากัดแต่เพียงภายในราชอาณาจักร
เท่านั้น คาพิพากษาฎีกาที่ 181/2521 การแจ้งย้ายสามะโนครัวที่อยู่ ยังไม่เป็ นการย้ายภูมิลาเนาจนกว่าจะมีการ
ย้ายถิ่นที่อยูเ่ ปลี่ยนภูมิลาเนาจริ ง ...

ลูกหนี้ประกอบธุรกิจในราชอาณาจักรไม่ ว่าด้ วยตนเอง หรื อตัวแทนในขณะที่มีการขอให้ ล้มละลาย


หรื อ ภายใน 1 ปี ก่อนนั้น มีประเด็นที่ตอ้ งพิจารณาความเห็นที่แตกต่างของนักกฎหมาย พิจารณาตามแผนผัง
ลูกหนีม้ ีภูมิลาเนาในราชอาณาจักร

ลูกหนีป้ ระกอบธุรกิจในราชอาณาจักร
หรื อ ภายใน 1 ปี ก่ อนมีการขอให้ ลูกหนีล้ ้ มละลาย
ไม่ ว่าด้ วยตนเอง หรื อโดยตัวแทน
FACULTY OF LAW, CHIANG MAI UNIVERSITY: Bankruptcy Law
3
บทที่ 2 การฟ้องคดีล้มละลาย

หลักเกณฑ์ขอ้ นี้ เพื่อให้เกิ ดความรัดกุมทาให้การใช้กฎหมายมี ประสิ ทธิ ภาพมากขึ้น เพราะ ลู กหนี้


บางรายอาจเข้ามาด้วยตนเอง หรื อส่ งตัวแทนเพื่อประกอบธุ รกิ จชั่วระยะเวลาหนึ่ งแล้วก็ออกนอกประเทศ
โดยอาศัยโอกาสที่ตนไม่มีภูมิลาเนาอยู่ในราชอาณาจักร ทาให้พน้ จากการถู กดาเนิ นคดีลม้ ละลายได้ ดังนั้น
ในมูลเหตุขอ้ นี้ทาให้ป้องกันลูกหนี้ไม่สุจริ ตอาศัยช่องว่างที่ตนไม่มีภูมิลาเนา แต่ก็อาจถูกฟ้องคดีลม้ ละลายได้
คาพิพากษาฎีกาที่ 2651/2544 ตามอนุ สัญญาว่าด้วยการเว้นการเก็บภาษี ซ้อนที่รัฐบาลไทยทาไว้กบั รัฐบาล
ส าธารณ รั ฐ อิ น เดี ยถื อได้ ว่ า บริ ษั ท จ าเลยมี ส ถาน ประกอบ การถาวรใน ประเทศไทย แต่ ค าว่ า
"สถานประกอบการถาวร"ตามอนุสัญญาดังกล่าว เป็ นเรื่ องเกี่ยวกับการยกเว้นภาษีอากรตามประมวลรัษฎากร
ไม่เกี่ยวกับระยะเวลาในการประกอบธุ รกิจดังนั้น เมื่อใบอนุญาตให้ ประกอบธุรกิจในประเทศไทยของจาเลย
สิ้ นอายุ ไปแล้ ว ไม่ มี ก ารประกอบธุ รกิจ จึ งถื อไม่ ได้ ว่ าจาเลยมี ภู มิ ล าเนาในประเทศไทย การที่ ใบอนุ ญ าต
ดังกล่าวสิ้ นอายุไปเมื่อวันที่ 30 มิถุนายน 2533 และกรมสรรพากรโจทก์ฟ้องคดีน้ ี เมื่อวันที่ 7 กรกฎาคม 2541
ก็มิใช่กรณี ที่จาเลยประกอบธุ รกิจในราชอาณาจักรในขณะที่มีการขอให้ลม้ ละลายหรื อภายในหนึ่ งปี ก่อนนั้น
โจทก์จึงไม่มีอานาจฟ้องตามพระราชบัญญัติลม้ ละลายพ.ศ. 2483 มาตรา 7

บทสันนิษฐาน “ลูกหนี้มีหนี้สินล้ นพ้ นตัว” (มาตรา 8)

เงื่อนไขในมาตรา 7 ประการหนึ่ งคื อ เจ้าหนี้ ผูเ้ ป็ นโจทก์ตอ้ งแสดงข้อเท็จจริ งต่อศาลว่า “ลู กหนี้ มี
หนี้ สินล้นพ้นตัว” แม้กฎหมายจะได้มีการอธิ บายกันว่า คือ “การที่ ลูกหนี้ มีหนี้ สินมากกว่าทรัพย์สินจนไม่
อาจชาระหนี้ ได้” แต่การพิสูจน์ให้ได้ขอ้ ความจริ งเช่นนั้นอาจเป็ นเรื่ องยากในการวินิจฉัย และหากพิสูจน์ให้
เห็นไม่ได้ก็จะไม่ครบเงื่อนไขเกี่ยวกับตัวลูกหนี้เป็ นเหตุให้เจ้าหนี้ ไม่มีอานาจฟ้ องลูกหนี้ เป็ นคดีลม้ ละลายใน
ที่ สุ ด สภาพเช่ น นี้ ย่อมเป็ นอุ ป สรรคอย่างไม่ เป็ นธรรมต่ อเจ้าหนี้ พระราชบัญ ญัติล้ม ละลายจึ ง ได้บ ญั ญัติ
มาตรา 8 ว่าด้วย ข้ อสั นนิษฐานการมีหนี้ สินล้นพ้นตัวของลูกหนี้ ข้ ึนเพื่อเจ้าหนี้ จะสามารถนาข้อเท็จจริ งที่ตรง
กับ ข้อ สั น นิ ษ ฐานมาแสดงประกอบค าฟ้ อ งว่า “ลู ก หนี้ มี ห นี้ สิ น ล้น พ้น ตัว ” และท าให้ ส ามารถฟ้ อ งคดี
ล้มละลายในขั้นต้นได้ แต่อย่างไรก็ตามกรณี ผลของมาตรา 8 มี เพียงให้เจ้าหนี้ ฟ้องคดี นาไปสู่ การพิจารณา
ค้นหาความจริ งต่อไปเท่านั้น มิได้หมายความว่าลูกหนี้ตกเป็ นบุคคลล้มละลายแล้วแต่อย่างใด

พฤติ ก ารณ์ ที่สั น นิ ษ ฐานว่ า “หนี้ สิ น ล้ น พ้ น ตั ว ” ที่ บั ญ ญั ติ ขึ้น ภายใต้ ม าตรา 8 นี้ ก าหนดขึ้น จาก
พฤติการณ์ทถี่ ือว่าผิดวิสัยของบุคคลทีม่ ีสถานะทางการเงินปกติจะจัดการทรัพย์สินทรัพย์สินเช่ นนี้

FACULTY OF LAW, CHIANG MAI UNIVERSITY: Bankruptcy Law


4
บทที่ 2 การฟ้องคดีล้มละลาย

มาตรา 8 ถ้ ามีเหตุอย่ างหนึ่งอย่ างใดดังต่ อไปนีเ้ กิดขึน้ ให้ สันนิษฐานไว้ ก่อนว่ าลูกหนีม้ ีหนีส้ ิ นล้ นพ้ นตัว

1. ถ้ าลูกหนี้โอนทรัพย์สินหรื อสิ ทธิจัดการทรัพย์ สินของตนให้ แก่ บุคคลอื่นเพื่อประโยชน์ แห่ ง


เจ้ าหนีท้ ้งั หลายของตน ไม่ ว่าได้ กระทาการนั้นในหรื อนอกราชอาณาจักร ใน การช าระหนี้ แก่
เจ้าหนี้ ลูกหนี้ มกั จะไม่นาทรัพย์สินในกิจการของตนเองให้แก่ผอู ้ ื่นเพื่อชาระหนี้ การโอนทรัพย์สินหรื อโอน
สิ ทธิ การจัดการทรัพย์สินของตนให้ผูอ้ ื่นไปจัดการเองเพื่อประโยชน์แก่เจ้าหนี้ คือ การได้รับชาระหนี้ ย่อม
ผิดปกติวสิ ัยและสันนิษฐานได้วา่ ลูกหนี้มีหนี้สินล้นพ้นตัว

2. ถ้ าลูกหนี้โอนหรื อส่ งมอบทรัพย์ สินของตนไปโดยการแสดงเจตนาลวง หรื อโดยการฉ้ อฉล


ไม่ ว่าได้ กระทาการนั้นในหรื อนอกราชอาณาจักร
ข้อนี้ ก็เป็ นการผิดวิสัยอีกกรณี หนึ่ ง คือ ลู กหนี้ โอนหรื อส่ งมอบทรัพย์สินของตนเองไปให้
ผูอ้ ื่ นโดยหลอกลวง หรื ออาจมี ก ารโอนกันจริ งแต่เจตนาให้เจ้าหนี้ ต้องเสี ยเปรี ยบหรื อเสี ยหาย การแสดง
เจตนาลวง หรื อการฉ้อฉลที่บญั ญัติน้ นั มีความหมายตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิ ชย์น้ นั เอง
การแสดงเจตนาลวง หมายถึ ง ความตั้งใจหรื อความมุ่งหมาย(ในใจ)ที่จะทาให้เห็ นว่าเป็ น
ความจริ งในสิ่ งที่ไม่จริ ง หรื อทาให้ผดิ ไปจากความเป็ นจริ ง1
การฉ้ อฉล(เจ้ าหนี้) หมายถึ ง การกระทาใด ๆ ที่ลูกหนี้ กระทาขึ้นในทางเป็ นเหตุให้เจ้าหนี้
เสี ย เปรี ย บ โดยลู ก หนี้ นั้ น ต้อ งรู ้ ว่า เจ้า หนี้ จะเสี ย เปรี ย บด้ ว ย 2 กรณี ต่ า งจากค าว่ า “กลฉ้ อ ฉล” เพราะมี
ความหมายเพียงการแสดงข้อความอย่างใดออกไปไม่ตรงต่อความจริ ง เพื่อลวงให้ผูอ้ ื่น หรื อคู่สัญญาอีกฝ่ าย
หนึ่งเชื่อตามที่ตนแสดงเจตนา และยังให้เกิดผลเพียง “โมฆียะ”3
3. ถ้ า ลู ก หนี้ โอนทรั พ ย์ สิ น ของตน หรื อ ก่ อ ให้ เกิด ทรั พ ยสิ ท ธิ อ ย่ า งหนึ่ ง อย่ า งใดขึ้น เหนื อ
ทรั พ ย์ สิ น นั้ น ซึ่ ง ถ้ า ลู ก หนี้ ล้ ม ละลายแล้ ว จะต้ อ งถื อ ว่ า เป็ นการให้ เปรี ย บไม่ ว่ า กระท าการใน หรื อ นอก
ราชอาณาจักร (ทรัพยสิ ทธิ เช่น จานอง สิ ทธิ อาศัย สิ ทธิ เก็บกิน ภารจายอม)
หมายถึง ภายในกาหนด 3 เดือนก่อนมีการขอให้ลูกหนี้ ลม้ ละลาย ลูกหนี้ ได้กระทาการโอน
หรื อก่อให้เกิดทรัพยสิ ทธิ (ไม่ตอ้ งโอนทรัพย์น้ นั ก็ได้) ให้กบั เจ้าหนี้คนหนึ่งและทาให้เจ้าหนี้คนอื่นเสี ยเปรี ยบ
ไม่วา่ การนั้นจะได้กระทาในหรื อนอกราชอาณาจักรก็ตาม (ดู มาตรา 115)

พิชยั นิลทองคา ผูพ้ พิ ากษา การฟ้องคดีลม้ ละลาย วิธีปฏิบตั ิในศาลล้มละลายกลาง กรุ งเทพมหานคร อาทตยา มิเล็นเนียม,
1

2544 หน้า 78
2
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิ ชย์ มาตรา 237 เจ้าหนี้ยอ่ มที่จะร้องขอให้ศาลเพิกถอนเสี ยได้ซ่ ึงนิติกรรมใด ๆ อันลูกหนี้ได้
กระทาลงโดยรู ้อยูว่ า่ จะเป็ นการให้เจ้าหนี้เสี ยเปรี ยบ
3
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิ ชย์ มาตรา 155 การแสดงเจตนาเพราะถูกกลฉ้อฉลเป็ นโมฆียะ

FACULTY OF LAW, CHIANG MAI UNIVERSITY: Bankruptcy Law


5
บทที่ 2 การฟ้องคดีล้มละลาย

4. ถ้ าลูกหนี้กระทาการอย่ างหนึ่งอย่ างใดดังต่ อไปนี้ เพื่อประวิงการชาระหนี้ หรื อมิให้ เจ้ าหนี้


ได้ รับชาระหนี*้
ก. ออกไปเสี ยนอกราชอาณาจักร หรื อได้ ออกไปก่ อนแล้ วและคงอยู่นอกราชอาณาจักร
ข. ไปเสี ยจากเคหสถานที่เคยอยู่ หรื อซ่ อนตัวอยู่ในเคหสถาน หรื อหลบไป หรื อโดยวิธีอื่น
หรื อปิ ดสถานทีป่ ระกอบธุรกิจ
ค. ยักย้ายทรัพย์ไปให้ พ้นอานาจศาล*

คาพิพากษาฎีกาที่ 6504/2544 จาเลยที่ 2 ร่ วมกระทาความผิดฐานกูย้ ืมเงินที่เป็ นการฉ้อโกงประชาชนและ


ต้องร่ วมกับ จาเลยที่ 1 ช าระเงิ น คื น แก่ ป ระชาชน รวมเป็ นเงิ น 13,620,000 บาท ซึ่ งเป็ นหนี้ ที่ อาจก าหนด
จานวนได้โดยแน่นอน จาเลยที่ 1 และที่ 2 มีทรัพย์สินให้ยดึ และอายัดเพียงประมาณ 100,000 บาท เท่านั้น ซึ่ ง
ต่ากว่าจานวนหนี้ ที่ตอ้ งรับผิดอยูเ่ ป็ นจานวนมาก พนักงานสอบสวนได้ออกหมายจับจาเลยที่ 2 มาดาเนิ นคดี
แต่ จาเลยที่ 2หลบหนี และในระหว่ างพิจารณาคดีของศาลชั้ นต้ นยังติดตามจับกุมจาเลยที่ 2 ไม่ ได้ พฤติการณ์
แสดงว่ า จ าเลยที่ 2 ได้ ไปเสี ยจากเคหสถานที่เคยอยู่ หรื อ หลบหนี ไป กรณีจึ งต้ องด้ วยข้ อสั นนิ ษ ฐานตาม
พระราชบัญญัติล้มละลายฯ มาตรา 8(4) ข. ว่าจาเลยที่ 2 มีหนีส้ ิ นล้นพ้ นตัว และมีหน้าที่ตอ้ งนาสื บหักล้างข้อ
สันนิษฐาน แต่เมื่อจาเลยที่ 2 ไม่นาสื บพยานหลักฐานใด จึงถือได้วา่ จาเลยที่ 2 มีหนี้สินล้นพ้นตัว

ข้ อสั งเกต
o มาตรา 8 (4) ทั้งข้อ ก – ง ต้องประกอบด้วยเจตนาพิเศษ “เพื่อประวิงการชาระหนี้ หรื อมิให้ เจ้ าหนี้
ได้ รั บ ช าระหนี้ ” เพราะบางกรณี พ ฤติ ก รรมลู ก หนี้ อาจเข้าเงื่ อ นไขแต่ ข าดเจตนาพิ เศษก็ ไ ม่ ถื อ ว่า เข้า ข้อ
สันนิ ษฐานได้ เช่น ลู กหนี้ ไปจากเคหสถานที่เคยอยู่ แต่ไปเพราะมีเหตุจาเป็ นเร่ งด่วนทางครอบครัว หรื อไป
ติดต่อธุ รกิจที่ต่างประเทศ ซึ่ งอาจต้องปิ ดเป็ นความลับเพราะเป็ นกรณี ทางการค้าการแข่งขัน
o ข้ อ 4. ค. ค าว่า “ยัก ย้ ายทรั พ ย์ ไปให้ พ้ น อ านาจศาล” มี ค วามเห็ น ของนัก กฎหมายและแนวค า
พิพากษาแบ่งเป็ น 2 แนวทาง คือ
ความเห็ น แรก เมื่ อ คดี ล้ม ละลายอยู่ภ ายใต้อ านาจศาลล้ม ละลายกลางซึ่ งมี เขตอ านาจ
ครอบคลุ มทัว่ ราชอาณาจักร นั้นหมายความว่า การ ยักย้ายต้องทาถึงขนาดให้พน้ ออกไปนอกราชอาณาจักร
จึงถือว่าเป็ นกรณี ยกั ย้ายทรัพย์ไปให้พน้ อานาจศาล
ความเห็นทีส่ อง การยักย้ายทรั พ ย์ออกไปเสี ยจากที่ ที่ท รัพ ย์น้ ันเคยอยู่จะอยู่ในเขตอานาจ
ศาลนั้น หรื อออกไปนอกเขตศาลที่ลูกหนี้ มีภูมิลาเนานั้นก็ตาม ความประสงค์ของการยักย้ายเพียงเพื่อถ่ายเท
เปลี่ยนแปลงทรัพย์เพื่อไม่ให้เจ้าหนี้ได้รับชาระหนี้ หรื อเพื่อประวิงการชาระหนี้ของเจ้าหนี้
ง. ยอมตนให้ ต้องคาพิพากษาซึ่งบังคับให้ ชาระเงินซึ่งตนไม่ ควรต้ องชาระ

FACULTY OF LAW, CHIANG MAI UNIVERSITY: Bankruptcy Law


6
บทที่ 2 การฟ้องคดีล้มละลาย

ข้ อสั งเกต คาว่า “ไม่ ควรต้ องชาระ” อาจมีได้ 2 ลักษณะคือ


o กรณีตนไม่ ได้ เป็ นหนี้เลย แต่ยอมให้ถูกฟ้ องคดี โดยไม่ต่อสู ้ คดี หรื อสู ้ คดี โดยยื่นคาให้การ
แบบให้แพ้คดี หรื อขอทาสัญญาประนอมยอมความในศาล (อาศัยคาพิพากษาเป็ นเครื่ องมือ) หรื อ กรณีเป็ น
หนี้ทอี่ าจต้ องชาระต่ อเจ้ าหนีค้ นหนึ่งคนใดจริง และเจ้าหนี้น้ นั ฟ้องคดีต่อศาล แต่การฟ้ องคดีมีขอ้ บกพร่ อง
ซึ่ งลูกหนี้รู้แล้วทาเพิกเฉยไม่ยอมต่อสู ้คดีอย่างเช่นปกติ ทาให้ตนต้องคาพิพากษาคดีน้ นั ให้ตอ้ งชาระหนี้ เป็ น
เงิน เช่น คดีโจทก์ขาดอายุความ ฟ้ องเคลือบคลุม หรื อไม่มีหลักฐาน มิได้ทาเป็ นหนังสื อ หรื อมิได้ปิดอากร
แสตมป์
ข้ อสั งเกต กฎหมายบัญญัติเพียงว่า “บังคับให้ชาระเงิน” ไม่ รวมการส่ งมอบทรัพย์ สินด้ วย ทั้ง ๆ ที่
การยอมตนให้ตอ้ งคาพิพากษาให้ส่งมอบทรัพย์สินก็อาจเป็ นการแสดงเจตนาไม่สุจริ ตเช่ นกัน แต่ อย่ างไรก็
ตามกรณี ดังกล่ าวก็อาจเข้ าข่ ายข้ อสันนิษฐานเป็ นการแสดงเจตนาลวง หรื อการฉ้ อฉล ตามมาตรา 8 (2) ได้

คาพิพ ากษาฎีกาที่ 429/2542 ข้อสันนิ ษ ฐานตาม พ.ร.บ.ล้มละลาย พ.ศ. 2483 มาตรา 8 (4) ข้อ ข. บัญญัติ
เพื่อให้คาดคะเนไว้ก่อนว่า หากจาเลยมีพฤติการณ์ต่าง ๆ ดังที่บญั ญัติไว้ แสดงว่าจาเลยน่าจะไม่สามารถชาระ
หนี้ ของตนได้และตกเป็ น ผูม้ ี หนี้ สินล้นพ้นตัวซึ่ งโจทก์จะต้องนาสื บ ข้อเท็จจริ งให้เข้ากับ ข้อสั นนิ ษฐาน
ดังกล่าวว่าจาเลยกระทาการโดยเจตนาที่จะประวิงการชาระหนี้ หรื อไม่ให้เจ้าหนี้ ได้รับการชาระหนี้ การที่
ผูร้ ั บ มอบอานาจโจทก์ เบิ ก ความว่า ไปรษณี ย ์ต อบรั บ แจ้ง ว่าย้ายไม่ ท ราบที่ อยู่ใ หม่ และทราบความจาก
น้องชายจาเลยว่า จาเลยเป็ นหนี้ บุคคลอื่นอีกหลายรายไม่สามารถชาระหนี้ ได้ ยังไม่พอฟั งตามข้อสันนิ ษฐาน
ดังกล่าวข้างต้นว่าจาเลยมีหนี้สินล้นพ้นตัว
5. ถ้ าลูกหนี้ถูกยึดทรั พย์ ตามหมายบังคับคดี หรื อไม่ มีทรั พย์ สินอย่ างหนึ่งอย่ างใดที่จะพึง ยึดมาชาระ
หนีไ้ ด้

ข้ อสั งเกต ประเด็นเรื่ องไม่ มี ทรั พ ย์ สินอย่ างหนึ่ งอย่ างใดที่พึงจะยึดมาชาระหนี้ได้ น้ั น ปั ญหาคือ
ลูกหนี้ ตอ้ งถึงขนาดแพ้คดีแพ่งเป็ นลูกหนี้ ตามคาพิพากษาแล้วไม่มีทรัพย์สินอย่างหนึ่ งอย่างใดที่จะพึงยึดมา
ชาระหนี้ ได้ หรื อเพียงแค่ตกเป็ นลู กหนี้ ของเจ้าหนี้ ธรรมดาไม่ถึงขั้นเจ้าหนี้ ตามคาพิ พ ากษาแนวทางตารา
กฎหมายและคาพิพากษาพิจารณาได้ดงั นี้
o ข้อสันนิษฐาน มาตรา 8 (5) ตีความไปในลักษณะว่า ลูกหนีน้ ่ าจะเป็ นลูกหนีต้ ามคาพิพากษาแล้ ว
กล่ าวคื อ ลู กหนี้ เป็ นลู ก หนี้ ตามคาพิ พ ากษาที่ ถูกยึดทรัพ ย์ตามหมายบังคับคดี หรื อ ลู กหนี้ เป็ นลู ก หนี้ ตาม
คาพิพากษาที่ไม่มีทรัพย์สินที่จะพึงยึดมาชาระหนี้ได้

FACULTY OF LAW, CHIANG MAI UNIVERSITY: Bankruptcy Law


7
บทที่ 2 การฟ้องคดีล้มละลาย

คาพิพากษาฎีกาที่ 887/2535 โจทก์ขอศาลออกหมายบังคับคดีและเจ้าพนักงานบังคับคดียึดทรัพย์จานองของ


จาเลยออกขายทอดตลาดแล้วได้เงิ นมาชาระหนี้ โจทก์ตามคาพิ พากษายังไม่ครบถ้วน...การที่ จาเลยถู กยึด
ทรัพย์ตามหมายบังคับคดีดงั กล่าวตาม พ.ร.บ. ล้มละลายฯ มาตรา 8 (5) ให้สันนิษฐานว่ามีหนี้สินล้นพ้นตัว
คาพิพ ากษาฎีกาที่ 7001/2537 พ.ร.บ. ล้มละลายฯ มาตรา 8 (5) ได้แบ่ งข้อสันนิ ษ ฐานไว้ก่อนว่า ลู ก หนี้ มี
หนี้ สินล้นพ้นตัวเป็ น 2 กรณี คือ ลูกหนี้ถูกยึดทรั พย์ ตามหมายบังคับคดี และลูกหนี้ไม่ มีทรั พย์ สินอย่ างหนึ่ง
อย่ างใดที่จะถึงยึดมาชาระหนี้ได้ เพียงกรณีใดกรณีหนึ่งก็เข้ าข้ อสั นนิษฐานของกฎหมายว่ าเป็ นผู้มีหนี้สินล้ น
พ้น ตัวการที่โจทก์นาสื บว่า โจทก์สืบหาทรัพย์สินของจาเลยทั้งสามแล้ว แต่จาเลยทั้งสามไม่มีทรัพย์สินอย่าง
หนึ่ งอย่างใดพึงยึดมาชาระหนี้ โจทก์ได้ตอ้ งด้วยข้อสันนิ ษฐานว่า เป็ นผูม้ ีหนี้ สินล้นพ้นตัว เมื่อไม่ปรากฏว่า
จาเลยทั้งสามนาพยานหลักฐานเข้ามาสื บว่าจาเลยทั้งสามมีทรัพย์สินดังกล่าวเพียงพอแก่การชาระหนี้ ให้แก่
โจทก์ได้ จึงไม่อาจหักล้างข้อสันนิษฐานดังกล่าวได้

6. ถ้ าลูกหนีแ้ ถลงต่ อศาลในคดีใด ๆ ว่ าไม่ สามารถจะชาระหนีไ้ ด้


o คาว่า “ศาล” หมายถึง ศาลตามพระธรรมนูญศาลยุติธรรมคาว่า “คดีใด ๆ” หมายถึง คดีแพ่ง และ
คดีลม้ ละลาย และอาจรวมถึง คดีอาญาที่เกี่ ยวกับการชาระหนี้ ทางแพ่งด้วย เช่น คดีเช็ค หรื อคดี ละเมิด หาก
ความปรากฏชัดในสานวนคดีเช่นนั้นก็น่าจะเข้าข้อสันนิษฐานแล้ว
7. ถ้ าลูกหนีแ้ จ้ งให้ เจ้ าหนีค้ นหนึ่งคนใดของตนว่ าไม่ สามารถชาระหนีไ้ ด้
ข้อสั นนิ ษ ฐานนี้ เป็ นกรณี ที่ ยงั ไม่มี การฟ้ องคดี ต่อศาล เพี ยงแต่เจ้าหนี้ ท วงถามหนี้ ต่อลู ก หนี้ และ
ลูกหนี้ ก็ยอมรับโดยชัดแจ้งว่าตนไม่สามารถชาระหนี้ ได้ (ไม่วา่ จะเป็ นการยอมรับโดยหนังสื อ หรื อวาจาก็ได้
แต่ โดยวาจาอาจไม่ ชัดแจ้งเพียงพอขึ้ นอยู่กบั ว่าลู กหนี้ จะยอมรั บ ต่อหน้าศาลล้ม ละลายหรื อไม่ ว่าเคยบอก
เจ้าหนี้เช่นนั้น)
ข้ อสั งเกต แต่การที่ลูกหนี้ เมื่อถูกเจ้าหนี้ ทวงถามและลูกหนี้ ขอผัดผ่อนการชาระหนี้ เป็ นวัน
อื่นไม่ได้หมายความว่าลูกหนี้ ไม่สามารถชาระหนี้ ได้ เพราะมีความหมายเพียงแค่ไม่อาจชาระหนี้ ได้ในวันที่
นัดหมายเท่านั้น
8. ถ้ าลูกหนีเ้ สนอคาขอประนอมหนีใ้ ห้ แก่ เจ้ าหนีต้ ้ งั แต่ สองคนขึน้ ไป
การขอประนอมหนี้ หมายถึ ง การที่ลูกหนี้ ขอทาความตกลงในเรื่ องภาระหนี้ สิน หรื อเป็ น
กรณี การขอปรับโครงสร้างหนี้ กบั เจ้าหนี้ ท้ งั หลาย โดยวิธี เช่ น ขอชาระหนี้ แต่เพียงบางส่ วน หรื อ•ขอขยาย
ระยะเวลาการชาระหนี้ หรื อ•วิธีอื่น เช่ นการส่ งมอบทรัพย์สินอย่างอื่นแทนหนี้ เงิ น หรื อ•แปลงหนี้ เป็ นทุ น
เช่น การโอนหุ น้ ในกิจการของลูกหนี้ให้เจ้าหนี้เข้าถือหุ น้

FACULTY OF LAW, CHIANG MAI UNIVERSITY: Bankruptcy Law


8
บทที่ 2 การฟ้องคดีล้มละลาย

ข้ อสั งเกต กฎหมายไม่ได้กาหนดว่าต้องกระทาการประนอมหนี้ ดว้ ยวาจา หรื อลายลักษณ์


อักษร และก็มิได้บญั ญัติดว้ ยว่าการประนอมหนี้ ตอ้ งกระทาใน หรื อนอกศาลเท่านั้น แต่ ข้อสาคัญต้ องกระทา
การขอประนอมหนีต้ ่ อเจ้ าหนีต้ ้งั แต่ สองคนขึน้ ไป
คาพิพากษาฎีกาที่ 3470/2542 การที่โจทก์ได้มีหนังสื อส่ งทางไปรษณี ยต์ อบรับทวงถามให้จาเลยทั้งสี่ ชาระ
หนี้โจทก์แล้วสองครั้งซึ่ งมีระยะเวลาห่างกันไม่นอ้ ยกว่าสามสิ บวันและจาเลยทั้งสี่ ได้รับหนังสื อแล้ว ไม่ชาระ
หนี้ โจทก์ ทั้งไม่ปรากฏว่าจาเลยทั้งสี่ มีทรัพย์สินอื่นอันจะพึงยึดมาชาระหนี้ โจทก์ได้กรณี จึงเข้าข้อสันนิษฐาน
แล้วว่าจาเลยทั้งสี่ มีหนี้สินล้นพ้นตัวตามพระราชบัญญัติ ล้มละลาย พ.ศ. 2483 มาตรา 8(5)(9) นอกจากนีย้ งั ได้
ความอีกว่ า ว่ าจาเลยเสนอขอทาสั ญญาประนีประนอมยอมความต่ อโจทก์ และต่ อบริ ษัทธนาคาร อ. ที่ฟ้อง
เรี ยกหนี้ประมาณ 800,000,000 บาทซึ่ งจ าเลยที่ 1 เองก็ยอมรั บ ว่ าไม่ สามารถผ่ อนช าระหนี้ให้ แก่ สถาบั น
การเงินได้ ดังนี้ เป็ นกรณีลูกหนี้เสนอคาขอประนอมหนี้แก่ เจ้ าหนี้ต้ ังแต่ สองคนขึ้นไปตามมาตรา 8(8) แห่ ง
พระราชบัญญัติ ล้ มละลายฯ เมื่อจาเลยทั้งสี่ มิได้นาสื บให้เห็ นว่ามีทรัพย์สิน พอสามารถชาระหนี้ ได้ท้ งั หมด
หรื อมีเหตุอื่นที่ไม่ควรให้จาเลย ทั้งสี่ ลม้ ละลาย ศาลจึงต้องสั่งให้พิทกั ษ์ทรัพย์ของจาเลย ทั้งสี่ เด็ดขาด

9. ถ้ า ลู ก หนี้ ไ ด้ รั บ หนั ง สื อ ทวงถามจากเจ้ า หนี้ ให้ ช าระหนี้ แ ล้ ว ไม่ น้ อ ยกว่ า สองครั้ ง ซึ่ ง มี
ระยะเวลาห่ างกันไม่ น้อยกว่ า 30 วัน และลูกหนี้ไม่ ชาระหนี้ การทวงถามให้ชาระหนี้ ตอ้ งกระทาโดย “เป็ น
หนังสื อ” เท่านั้น ระบุขอ้ ความให้ชดั แจ้งว่าเป็ นการทวงถามให้ชาระหนี้ และต้องอย่างน้อยสองครั้ง ในการ
ทวงถามต้องดู ว่าลู ก หนี้ ได้รับ หนังสื อเมื่ อใดเป็ นส าคัญ ระยะห่ างระหว่างฉบับ แรก กับ ฉบับ ที่ ส อง เช่ น
พิจารณาจากการลงชื่อในไปรษณี ยต์ อบรับแบบลงทะเบียน หรื อปั จจุบนั การส่ งข้อความทางระบบเครื อข่าย
Email / Homepage ก็ถือเป็ นการบอกกล่าวทวงถามได้ท้ งั สิ้ น ถ้าพิสูจน์ได้ว่าวิธีการส่ งหนังสื อทวงถามที่ มี
เทคโนโลยีท นั สมัยทาให้พิสูจน์ได้ว่าข้อความดังกล่ าวไปถึ งลู กหนี้ ครบถ้วนแล้วอย่างน้อยสองครั้งถ้าใน
หนังสื อทวงถามมีการกาหนดเวลาให้ชาระหนี้ ดว้ ย เช่น หนังสื อฉบับแรกทวงถามให้ลูกหนี้ ชาระหนี้ ภายใน
15 วัน นับ แต่วนั รั บ หนังสื อ ดังนี้ จะต้องเริ่ ม นับ ระยะเวลา 30 วัน เมื่ อพ้นก าหนด 15 วันที่ เจ้าหนี้ ให้เวลา
ลูกหนี้ ชาระหนี้ดว้ ยต้องได้ขอ้ เท็จจริ งว่า มีการทวงถามให้ชาระหนี้ครบถ้วน 2 ครั้งแล้วลูกหนี้ตอ้ งไม่ได้ชาระ
หนี้ ให้ตามที่ทวงถามด้วย หากมีการชาระหนี้ ในครั้งแรก หรื อครั้งที่สอง ไม่วา่ การชาระหนี้ จะมีจานวนมาก
น้อยเพียงใด คาพิพากษาฎีกาที่ 253/2545 หลังจากที่ศาลชั้นต้นพิพากษาให้จาเลยทั้งสามชาระหนี้ แก่โจทก์
แล้ว จาเลยทั้งสามไม่ชาระ และโจทก์มีหนังสื อทวงถามให้จาเลยทั้งสามชาระหนี้ ไม่นอ้ ยกว่า 2 ครั้ง ซึ่ งมี
ระยะเวลาห่ างกันไม่น้อยกว่า 30 วัน จาเลยทั้งสามได้รับหนังสื อดังกล่ าวแล้วและไม่ชาระหนี้ จึงเข้าข้อ
สันนิ ษฐานว่าจาเลยทั้งสามมีหนี้ สินล้นพ้นตัวตามพระราชบัญญัติลม้ ละลายฯ มาตรา 8(9) แม้โจทก์จะยัง
มิได้นายึดทรัพย์จาเลยทั้งสามตามหมายบังคับคดี แต่โจทก์ก็นาสื บว่าจาเลยทั้งสามไม่มีทรัพย์สินให้บงั คับ
ชาระหนี้ได้จาเลยทั้งสามมีหน้าที่ตอ้ งนาสื บหักล้างข้อสันนิษฐานดังกล่าว...

FACULTY OF LAW, CHIANG MAI UNIVERSITY: Bankruptcy Law


9
บทที่ 2 การฟ้องคดีล้มละลาย

สรุป มาตรา 8 เป็ นเพี ย งข้ อ สั น นิ ษ ฐานว่ า ถ้ า ลู ก หนี้ กระท าการอย่ า งหนึ่ งอย่ า งใดตามมาตรา 8
ให้สันนิ ษฐานไว้ก่อนว่า “ลูกหนี้มีหนี้ สินล้นพ้นตัว” เพื่อประโยชน์แก่เจ้าหนี้ที่ไม่สามารถนาสื บได้วา่ ลูกหนี้
มีหนี้ สินล้นพ้นตัว โดยโจทก์ไม่จาต้องบรรยายมาในฟ้ องว่าจาเลยได้กระทาการอย่างหนึ่ งอย่างใดตามมาตรา
8 โจทก์ก็นาสื บว่าลูกหนี้ ได้กระทาการอย่างหนึ่งอย่างใดตามมาตรา 8 เพื่อให้สันนิษฐานว่าลูกหนี้ มีหนี้สินล้น
พ้นตัวได้ แต่จาเลยก็สามารถนาสื บหักล้างข้อสันนิษฐานนั้นได้
คาพิพากษาฎีกาที่ 780/2542 ตามพระราชบัญญัติลม้ ละลาย พ.ศ. 2483 มาตรา 8(5) เป็ นเพียงข้อสันนิษฐานถึง
พฤติ การณ์ อย่างใดอย่างหนึ่ งหรื อเป็ น เพียงเหตุ หนึ่งที่กฎหมายให้ อานาจโจทก์ ฟ้ องจาเลยให้ ล้มละลายได้
เท่ านั้น ส่ วนการพิจารณาคดีลม้ ละลายตามคาฟ้ องของโจทก์น้ นั ศาลต้องพิจารณาเอาความจริ งด้วยว่าจาเลย
ตกอยู่ในฐานะเป็ นผูม้ ี หนี้ สิ นล้นพ้น ตัวเพี ยงใด ดังที่ บญ
ั ญัติไว้ในมาตรา 9 มาตรา 10 และมาตรา 14 โดย
คานึงถึงเหตุอื่นประกอบที่พอแสดงให้เห็นว่าจาเลย ตกอยูใ่ นภาวะดังกล่าวจริ ง...

เเงื่อนไขเกีย่ วกับเจ้ าหนี้ (ผู้เป็ นโจทก์)

เราได้ทราบแล้วว่า มูลเหตุที่จะฟ้ องคดีลม้ ละลายได้ส่วนหนึ่ งคือ ลูกหนี้ ตอ้ งมีภูมิลาเนาในราชอาณาจักรเป็ น


หลัก และมีหนี้ สินล้นพ้นตัว (มาตรา 7-8) แต่การจะฟ้ องคดีลม้ ละลายได้หรื อไม่ตอ้ งพิจารณาเงื่อนไขเกี่ยวกับ
เจ้าหนี้ ผเู ้ ป็ นโจทก์ประกอบอีกส่ วนหนึ่ ง เจ้าหนี้ ผู ้
“เจ้ าหนีจ้ ะฟ้ องลูกหนีใ้ ห้ ล้มละลายได้ กต็ ่ อเมื่อ เป็ นโจทก์ จ ะต้ อ งมี เงื่ อ นไขเช่ น ใดนั้ นขึ้ นอยู่
ลูกหนีม้ หี นีส้ ินล้ นพ้ นตัว (มาตรา 7 และ 8) สถานะของเจ้า หนี้ พิ จารณาได้ดัง นี้ คื อ เจ้ า หนี้
o ลู ก หนี้ ซึ่ ง เป็ นบุ ค คลธรรมดาเป็ นหนี้ เจ้ า หนี้ ธรรมดา(ผู้ เป็ นโจทก์ ) มาตรา 9หรื อ เจ้ า หนี้ มี
ผู้เป็ นโจทก์ คนเดียวหรื อหลายคนเป็ นจานวน ไม่ น้อยกว่ า
ประกั น (ผู้ เป็ น โจทก์ ) มาต รา 6 มาต รา 10
1,000,000 บาท หรื อ
ประกอบมาตรา 9
o ลู ก หนี้ ซึ่ ง เป็ นนิ ติ บุ ค คลเป็ นหนี้เจ้ าหนี้ผู้ เป็ น
โจทก์ คนเดียวหรื อ หลายคนเป็ นจานวน ไม่ น้ อยกว่ า o เงื่อนไขเจ้ าหนีไ้ ม่ มีประกัน (มาตรา 9)
2,000,000 บาท และ ลู ก หนี้ ที่ เป็ นบุ ค คลธรรมดา หรื อ นิ ติ
o หนี้น้ันอาจกาหนดจานวนได้ โดยแน่ นอนไม่ ว่า บุ คคลต้ องเป็ น ห นี้ ตั้ งแต่ 1,000,000 ห รื อ
หนีน้ ้ันจะถึงกาหนดชาระโดยพลันหรื อในอนาคตก็ตาม” 2,000,000 บาทขึน้ ไปแล้วแต่ กรณี
o ไม่ ใช่ “เกิ น กว่ า ” หรื อ “มากกว่ า ”
ดังนั้นแม้หนี้ เพียง 1,000,000 และ 2,000,000 บาท
(พอดี) แล้วแต่กรณี ก็ฟ้องคดีลม้ ละลายได้
“เจ้ าหนี้ผ้ ูเป็ นโจทก์ ” ในที่นี้หมายถึง เจ้ าหนี้ที่ยื่นฟ้ องคดีล้มละลาย ซึ่ งอาจจะหมายถึงเจ้ าหนี้ของ
ลูกหนีท้ ้งั หมด หรื อบางส่ วนก็ได้ ไม่ จาเป็ นต้ องยื่นฟ้ องทั้งหมด

FACULTY OF LAW, CHIANG MAI UNIVERSITY: Bankruptcy Law


10
บทที่ 2 การฟ้องคดีล้มละลาย

o เจ้า หนี้ ของลู ก หนี้ ที่ ไ ม่ ไ ด้ ยื่ น ฟ้ อ งคดี ล้ ม ละลายก็ ส ามารถยื่ น ค าขอรั บ ช าระหนี้ ได้ ต าม
กระบวนการในภายหลัง เจ้าหนี้ ของลูกหนี้สามารถรวมตัวกันให้ได้จานวนหนี้ ตามที่กฎหมายกาหนดยืน่ ฟ้อง
คดีลม้ ละลายได้ โดยไม่จาเป็ นต้องเป็ นมีมูลหนี้ หรื อลักษณะหนี้ เดียวกันเท่านั้น เช่น เจ้าหนี้ เงินกู้ เจ้าหนี้ ซ้ื อ
ขาย เจ้าหนี้ เช็คที่ข้ ึนเงินไม่ได้ ที่กฎหมายกาหนดเช่นนี้ก็เพื่อเปิ ดโอกาสให้เจ้าหนี้รายย่อยทั้งหลายสามารถใช้
สิ ทธิ ตามกฎหมายล้มละลายได้ และหากจะบัญญัติให้เจ้าหนี้ ที่จะฟ้ องลูกหนี้ ได้ตอ้ งมีหนี้ ต้ งั แต่หนึ่ งล้านบาท
ขึ้นไป โดยไม่อนุ ญาตให้รวมเจ้าหนี้ มาฟ้องได้ ก็จะเป็ นช่องว่างให้ลูกหนี้ พยายามก่อหนี้ รายย่อย ๆ ไม่ให้เกิน
กว่าจานวนที่กฎหมายล้มละลายกาหนด เช่น ยืมเงินเจ้าหนี้ 10 ราย ๆ ละ 800,000 บาท เป็ นต้น

หนีอ้ าจกาหนดจานวนได้ โดยแน่ นอน คือ


1. “หนี้เงิน” ซึ่งสามารถคิดคานวณหรื ออาจกะคานวณจานวนได้ ว่าในวันฟ้ อง (คดีล้มละลาย
นั้น) จาเลยเป็ นหนี้อยู่เท่ าใด ทั้งนี้โดยดูตามสภาพแห่ งหนี้ หรื อคานวณได้ จากตัวทรั พย์ ส่ วนใหญ่ จะเกิดจาก
นิติกรรมสั ญญา เช่น
- หนี้ ตามสัญญากูย้ ืม หนี้ ค่าดอกเบี้ยค้างชาระหนี้ ตามสัญญาซื้ อขาย หนี้ ตามสัญญาเช่ า หนี้
ตามตัว๋ เงินซึ่ งระบุจานวนเงินไว้แน่นอน หนี้ตามสัญญาเช่าซื้ อ
1. พิจารณาว่ าสภาพแห่ งหนี้จานวนนั้น ๆ ถ้ าเจ้ าหนี้นาไปเรี ยกร้ องในคดีแพ่ งสามัญแล้ ว ศาล
น่ าจะใช้ ดุลพินิจเพิกถอนดัดแปลง หรื อตัดทอนจานวนเงินที่ฟ้องนั้นได้ อีกหรื อไม่ ถ้ าศาลไม่ น่าจะเพิกถอน
เปลี่ยนแปลงได้ หนี้น้ ันย่ อมมีลกั ษณะเป็ นหนี้ทอี่ าจกาหนดจานวนได้ โดยแน่ นอน ส่ วนหนี้จานวนใดที่ขอไป
แล้ วไม่ อาจทราบได้ แน่ นอนว่ าศาลจะตัดสิ นให้ ตามจานวนที่ขอหรื อไม่ แล้ ว หนี้น้ันก็นับว่ าเป็ นหนี้ที่ไม่ อาจ
กาหนดจานวนได้ โดยแน่ นอน
ข้ อพิจารณาของหนีเ้ งินบางประเภท
o หนี้ เงินบางประเภทตามกฎหมายไม่อาจกาหนดจานวนได้แน่ นอน ย่อมส่ งผลให้แม้จะมี
สถานะเป็ นหนี้เงิน แต่ก็มิอาจนามาใช้คานวณเพื่อฟ้องร้องหรื อขอรับชาระหนี้ในคดีลม้ ละลายได้
o แต่ในบางครั้งหนี้ เงินที่ไม่อาจกาหนดจานวนได้แน่ นอน หากได้กระทาการอย่างใดอย่าง
หนึ่ งในทางกฎหมายก็อาจส่ งผลให้ หนี้เงินเหล่ านี้กลายสภาพเป็ นหนี้ที่อาจกาหนดจานวนได้ แน่ นอนได้
ดังนั้นเราจึงควรจะได้ทาความเข้าใจในหนี้เงินที่มีปัญหาเหล่านี้
หนีล้ ะเมิด
หนี้ค่าเสี ยหายที่เกิดขึ้นจากมูลละเมิดเป็ นหนี้ที่ไม่อาจกาหนดจานวนได้แน่นอน เช่น หนี้ค่าซ่ อมแซม
รถ หนี้ ค่ารักษาพยาบาล เพราะเป็ นหนี้ ที่เจ้าหนี้ กาหนดจานวนหนี้ เอาเองฝ่ ายเดี ยว ลูกหนี้ ไม่ได้ ตกลงด้วย
การเรี ยกร้องค่าเสี ยหายจาต้องฟ้องร้องดาเนินคดี และศาลจะเป็ นผูก้ าหนดค่าสิ นไหมทดแทนให้โดยพิจารณา
จากพฤติการณ์และความร้ายแรง (มาตรา 438 ป.พ.พ.)

FACULTY OF LAW, CHIANG MAI UNIVERSITY: Bankruptcy Law


11
บทที่ 2 การฟ้องคดีล้มละลาย

ข้ อสั งเกต
1. หนีค้ ่ าเสี ยหายจากมูลละเมิดอาจกลายสภาพเป็ นหนี้ทอี่ าจกาหนดจานวนได้ แน่ นอน หาก
ได้ มีการดาเนินการอย่ างใดอย่ างหนึ่งตามกฎหมาย เช่ น ประนี ประนอมยอมความ (นอกศาล/ในศาล) และ
ศาลได้มีคาพิพากษาในคดีที่มีการฟ้องละเมิดแล้ว
2. การละเมิ ด ในบางกรณี เป็ นที่ เห็ น ได้ ชั ด เจนว่ า ค่ า เสี ยหายอาจกาหนดจ านวนได้ ไม่ น้ อ ยกว่ า
1,000,000 หรื อ 2,000,000 บาทแน่ นอนโดยมิต้องรอให้ ศาลพิพากษาเสี ยก่ อน เช่น ลูกหนี้ ทาให้ไฟไหม้บา้ น
ผูเ้ สี ยหายทั้งหลัง หรื อลูกหนี้ทาให้รถคู่กรณี ทาให้เสี ยหายหมดทั้งคันซึ่ งโดยสภาพของบ้าน หรื อรถ (แพง ๆ )
เป็ นที่เห็นได้ชดั ว่าราคาเกินกว่าจานวนที่กฎหมายกาหนดแน่นอน ก็ยอ่ มถือได้วา่ หนี้ น้ นั มีจานวนแน่นอนไม่
น้อยกว่า 1,000,000 หรื อ 2,000,000 บาทได้
หนีค้ ่ าเสี ยหายกรณีผดิ สั ญญา
หนี้ ค่าเสี ยหายกรณี ผิดสัญญาเป็ นหนี้ ที่ไม่อาจกาหนดจานวนได้แน่ นอน เพราะถือเป็ นหนี้ ที่เจ้าหนี้
กาหนดเอาเองฝ่ ายเดียว ลูกหนี้ ไม่ได้ตกลงด้วย การจะได้รับชดใช้ค่าเสี ยหายต้องฟ้ องร้องดาเนิ นคดี และศาล
จะเป็ นผูพ้ ิจารณาให้ตามพฤติการณ์แห่งคดี (ลักษณะเช่นเดียวกับหนี้ในมูลละเมิด)
ข้ อสั งเกต ค่ าเสี ยหายกรณี ผิดสัญญาอาจเปลี่ ยนเป็ นหนี้ ที่อาจกาหนดจานวนได้แน่ นอน หากมี
พฤติการณ์อย่างหนึ่งอย่างใดตามกฎหมาย เช่น
- กาหนดค่าเสี ยหายกรณี ผดิ สัญญาไว้โดยชัดแจ้ง (ตกลงเป็ นสัญญา)
- ตกลงประนีประนอมยอมความกัน (ภายหลังผิดสัญญาไม่วา่ ในศาล หรื อนอกศาล)
- กรณี ฟ้องร้องและศาลมีคาพิพากษาแล้ว
หนีต้ ามคาพิพากษาในคดีแพ่ง
หนี้ ตามคาพิพากษาในคดีแพ่ง แม้จะยังไม่ถึงที่สุดก็เป็ นหนี้ ที่อาจกาหนดจานวนได้แน่นอนสามารถ
นาจานวนหนี้ ตามคาพิพากษานั้นมาใช้เป็ นฐานในการฟ้ องร้องคดีลม้ ละลายได้ เพราะแม้คู่ความอาจอุทธรณ์
หรื อฎี ก าต่อไปได้ แต่ ตราบใดที่ ศ าลสู งยังไม่ ได้พิ พ ากษากลับ หรื อแก้ไขคู่ ความต้องผูกพันในผลแห่ งค า
พิพากษาของศาลจนกว่าจะได้มีการเปลี่ยนแปลงแก้ไข
คาพิพ ากษาฎีกาที่ 177/2531 หนี้ ตามคาพิ พากษาซึ่ งยังไม่ถึงที่ สุดย่อมผูกพันคู่ความถื อได้ว่าเป็ นหนี้ อาจ
กาหนดจานวนได้แน่นอน อันอาจนามาฟ้ องให้จาเลยล้มละลายได้ แต่หนี้ ดงั กล่าวอาจถูกกลับหรื อแก้ไขโดย
ศาลอุทธรณ์ หรื อศาลฎีกาได้ ข้อเท็จจริ งไม่อาจฟั งยุติได้วา่ จาเลยเป็ นหนี้ โจทก์ตามฟ้ องหรื อไม่ จึงไม่สมควร
ให้จาเลยล้มละลายตามพระราชบัญญัติลม้ ละลายฯ มาตรา 14

FACULTY OF LAW, CHIANG MAI UNIVERSITY: Bankruptcy Law


12
บทที่ 2 การฟ้องคดีล้มละลาย

หนีต้ ามสั ญญากู้ หรื อสั ญญาอื่น ๆ


ปั ญหาคือ หนี้ ตามสัญญากู้ หรื อสัญญาอื่นๆ ที่กาหนดจานวนไว้แน่ นอน หากเจ้าหนี้ ยงั ไม่ได้นาไป
ฟ้องร้องต่อศาล หรื อนาไปฟ้ องร้องต่อศาลแล้วแต่ศาลยังไม่ได้พิพากษาให้ เจ้าหนี้ จะนาหนี้ ดงั กล่าวมาฟ้อง
ลูกหนี้เป็ นคดีลม้ ละลายได้หรื อไม่

ผูเ้ ขียนเห็ นว่า แม้หนี้ ดงั กล่าวเจ้าหนี้ จะยังไม่ได้นาไปฟ้ อง หรื อฟ้ องคดี ต่อศาลแล้ว แต่ศาลยังไม่ได้
พิพากษาให้ก็ตาม โดยสภาพของหนี้ ดงั กล่าวถือว่าอาจกาหนดจานวนได้แน่นอนอยูแ่ ล้ว (โดยตัวเอง) ดังนั้น
แม้วา่ ศาลจะยังไม่ได้พิพากษาให้ก็หาทาให้กลายสภาพเป็ นหนี้ที่ไม่อาจกาหนดจานวนได้แน่นอนไปไม่

หนีภ้ าษีอากร
หนี้ ภาษี อากรมี ล ักษณะพิ เศษเพราะอาจเป็ นได้ท้ งั หนี้ ก าหนดจานวนได้แน่ นอน หรื อหนี้ ไม่ อาจ
กาหนดจานวนได้แน่นอน ขึ้นอยูก่ บั ข้อเท็จจริ งของหนี้ภาษีอากรนั้น ๆ หลักในการพิจารณา ดังนี้
1. ถ้ าเป็ นหนี้ภาษีอากรที่เจ้ าพนักงานประเมินได้ ทาการประเมินแล้ ว ยังไม่ ได้ แจ้ งการประเมินให้ ลูกหนี้
ทราบ ถือว่ าเป็ นหนี้ที่ไม่ อาจกาหนดจานวนได้ โดยแน่ นอน เพราะยังไม่ เสร็ จสิ้ นขั้นตอนการประเมิน (ลูกหนี้
ยังมีสิทธิอุทธรณ์ การประเมินต่ อคณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์ ได้ อกี )

คาพิพากษาฎีกาที่ 1252/2531 หนี้ภาษีอากรซึ่ งโจทก์ประเมินแต่มิได้แจ้งการประเมินให้จาเลยทราบโดยชอบ


ทาให้จาเลยไม่อาจใช้สิทธิ อุทธรณ์การประเมินภาษีอากรต่อคณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์น้ นั เป็ นหนี้ ที่ไม่
อาจกาหนดจานวนได้โดยแน่นอน ตามมาตรา 9 (3) ของ พ.ร.บ. ล้มละลายฯ เพราะอาจถูกเปลี่ยนแปลงแก้ไข
หรื อเพิกถอนโดยคาวินิจฉัยของคณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์ ได้ โจทก์จึงไม่มีสิทธิ จะนาหนี้ ดงั กล่ าวมา
ฟ้องให้จาเลยล้มละลาย
คาพิพากษาฎีกาที่ 2459/2544 โจทก์ไม่มีสิทธิ นาหนี้ ค่าภาษีการค้าซึ่ งยังไม่ได้ประเมินและยังไม่ได้แจ้งการ
ประเมินให้จาเลยทราบโดยชอบมาฟ้องให้จาเลยล้มละลายได้ เนื่ องจากเป็ นกรณี ที่ไม่อาจใช้สิทธิ อุทธรณ์การ
ประเมิ นภาษี อากรต่อคณะกรรมการพิ จารณาอุ ท ธรณ์ จึ งเป็ นหนี้ ที่ ไม่ อาจกาหนดจานวนได้แน่ นอนตาม
มาตรา 9 (3) พระราชบัญญัติลม้ ละลายฯ เพราะหนี้ ภาษี การค้าตามฟ้ องอาจถู กเปลี่ ยนแปลงแก้ไข หรื อเพิก
ถอนโดยคณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์ได้
2. หากได้ แจ้ งการประเมิ นต่ อลูก หนี้แล้ ว หากลูกหนี้ไม่ อุทธรณ์ ต่ อคณะกรรมการพิ จารณาอุทธรณ์
ภายในกาหนดเวลาทีก่ ฎหมายกาหนดไว้ หนีภ้ าษีอากรนั้นก็กลายเป็ นหนี้ทอี่ าจกาหนดจานวนได้ โดยแน่ นอน
หรื อลูกหนี้อุทธรณ์ ต่อคณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์ แล้ ว และได้ มีคาวินิจฉั ยชี้ขาดให้ ลูกหนี้ชาระภาษีอากร

FACULTY OF LAW, CHIANG MAI UNIVERSITY: Bankruptcy Law


13
บทที่ 2 การฟ้องคดีล้มละลาย

จานวนเท่ าใด ถือว่าหนี้จานวนนั้นเป็ นหนี้ที่อาจกาหนดจานวนได้ แน่ นอนแม้ กฎหมายให้ สิทธิลูกหนี้ฟ้องคดี


ต่ อศาลได้ อกี ก็ตาม
คาพิพากษาฎีกาที่ 5205/2531 หนี้ ค่าภาษีอากรที่ เจ้าพนักงานประเมิ นได้คานวณโดยถู กต้องซึ่ งจาเลยเองก็
ยอมรับ แต่นาสื บต่อสู ้เพียงว่า เจ้าพนักงานประเมินแจ้งให้เสี ยภาษีมากเกิ นไปเท่านั้น ถือได้วา่ เป็ นหนี้ ที่อาจ
กาหนดจานวนได้แน่ นอนแล้ว แม้จาเลยจะได้นาคดีไปฟ้ องขอให้ศาลเพิกถอนการประเมินของเจ้าพนักงาน
ประเมินและคาวินิจฉัยของคณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์ และคดีอยูร่ ะหว่างพิจารณาของศาลก็ตาม ก็หาทา
ให้หนี้ดงั กล่าวกลายมาเป็ นหนี้ที่ไม่อาจกาหนดจานวนได้โดยแน่นอนอีกไม่
หนีค้ ่ าปรับ
ค่ าปรับ คือ ค่าเสี ยหายที่กาหนดไว้ล่วงหน้า แม้กฎหมายจะให้อานาจศาลใช้ดุลพินิจลดค่าปรับลงมา
ได้ ถ้าหากว่าศาลเห็นว่าค่าปรับที่กาหนดไว้สูงเกินส่ วน แต่ก็ถือว่าหนี้ค่าปรับเป็ นหนี้ ที่อาจกาหนดจานวนได้
แน่ นอน เพราะเป็ นกรณี ที่เจ้าหนี้ กบั ลู กหนี้ ได้ตกลงกาหนดจานวนค่าปรับไว้แน่ นอนแล้ว (ความตกลงด้วย
วาจา หรื อเป็ นหนังสื อก็ได้)

คาพิพากษาฎีกาที่ 754/2533 มูลหนี้ ที่โจทก์ฟ้องจาเลยขอให้ลม้ ละลายเป็ นมูลหนี้ ส่งมอบเครื่ องยนต์เรื อคืน


เพราะผิดสัญญาเช่าซื้ อและสัญญาเลิ กกัน โจทก์ยงั คงมีกรรมสิ ทธิ์ ในเครื่ องยนต์เรื อและมีสิทธิ ติดตามเอาคืน
หากคืนไม่ได้จึงจะใช้ราคา เมื่อปรากฏว่าจาเลยยังครอบครองและใช้ประโยชน์เครื่ องยนต์เรื อดังกล่าวอยู่ และ
อยูใ่ นสภาพที่สามารถบังคับให้จาเลยคืนเครื่ องยนต์เรื อได้ แม้โจทก์จะนาสื บว่าได้ติดตามเพื่อยึดเครื่ องยนต์
เรื อคืน แต่จาเลยมีเรื อหลายลาไม่ทราบว่าอยูใ่ นเรื อลาใด จึงไม่สามารถยึดคืนได้ ก็หาใช่วา่ การคืนเครื่ องยนต์
เรื อไม่สามารถกระทาได้จนต้องบังคับให้ใช้ราคาแทนอย่างเดียวไม่ โจทก์ยอ่ มฟ้ องร้องโดยอาศัยอานาจศาล
บังคับให้จาเลยคืนเครื่ องยนต์เรื อได้ และหากบังคับได้เช่นนี้หนี้ ค่าเครื่ องยนต์เรื อก็ไม่ใช่หนี้ ที่จะบังคับเอาแก่
จาเลยได้อีกทั้งฟ้องโจทก์ไม่มีหนี้ จานวนอื่นคงมีแต่เครื่ องยนต์เรื อเท่านั้น เมื่อหนี้ส่งมอบเครื่ องยนต์เรื อคืนยัง
อยูใ่ นสภาพที่อาจบังคับกันได้ จึงไม่แน่นอนว่าหนี้ ที่จะบังคับให้ใช้ราคาแทนการส่ งมอบเครื่ องยนต์เรื อจะมี
หรื อไม่ หนี้ ที่โจทก์นามาฟ้ องจึงยังไม่อาจกาหนดจานวนได้แน่นอนตาม พ.ร.บ. ล้มละลายพ.ศ. 2483 มาตรา
9(3) โจทก์จึงฟ้องขอให้จาเลยเป็ นบุคคลล้มละลายไม่ได้

การพิจารณาคดีลม้ ละลายต้องได้ความจริ งตามมาตรา 9 ศาลจึงมีคาสั่งพิทกั ษ์ทรัพย์ของลูกหนี้เด็ดขาด ดังนั้น


แม้คู่ความมิได้โต้เถียงเรื่ องหนี้ที่โจทก์ฟ้องกาหนดจานวนแน่นอนได้หรื อไม่ก็ตาม ศาลย่อมยกเรื่ องดังกล่าว
ขึ้นวินิจฉัยเองได้

ข้ อพิจารณาอื่นทีเ่ กีย่ วข้ องกับหนีอ้ าจกาหนดจานวนได้ โดยแน่ นอน

FACULTY OF LAW, CHIANG MAI UNIVERSITY: Bankruptcy Law


14
บทที่ 2 การฟ้องคดีล้มละลาย

บางกรณี หนี้ ชนิ ดเดี ยวกันอาจเป็ นทั้งหนี้ ที่กาหนดจานวนได้แน่ นอน และไม่อาจกาหนดจานวนได้


แน่ นอน เช่ น หนี้ ตามสัญญาซื้ อขาย ซึ่ งราคาสิ นค้าตามที่ตกลงกัน หรื อตามสภาพของสิ นค้าย่อมถื อว่าเป็ น
หนี้ที่อาจกาหนดจานวนได้แน่นอน แต่หากมีการผิดสัญญาเรี ยกค่าเสี ยหาย ในส่ วนนี้ก็ไม่อาจกาหนดจานวน
ได้โดยแน่นอน เป็ นต้น
อย่างไรก็ตามไม่ว่าหนี้ น้ นั จะกาหนดจานวนได้โดยแน่ นอนหรื อไม่ เราอาจไม่จาเป็ นต้องพิจารณา
หากข้ อเท็จจริงปรากฏว่ าหนีน้ ้ ันไม่ อาจเรียกร้ องได้ เพราะเหตุตามกฎหมาย เช่น
คาพิพากษาฎีกาที่ 1364/2514 หนี้ตามหนังสื อสัญญากูท้ ี่โจทก์นามาฟ้ องขอให้จาเลยล้มละลายคือ ดอกเบี้ย
เกิ นอัตราที่กฎหมายกาหนดไว้ ซึ่ งจาเลยค้างชาระแก่โจทก์ โจทก์หาได้ส่งมอบเงินที่วา่ ให้กูก้ นั นั้นแก่จาเลย
ไม่ สั ญญากู้ทฟี่ ้ องตกเป็ นโมฆะ จึงไม่ มีหนีต้ ามทีฟ่ ้ อง โจทก์ ฟ้องจาเลยให้ เป็ นบุคคลล้ มละลายไม่ ได้
คาพิพากษาฎีกาที่ 5494/2539 เมื่อศาลชั้นต้นพิพากษาให้จาเลยทั้งสามชาระหนี้ แก่โจทก์ 3 คดี โจทก์ชอบที่
จะร้องขอบังคับคดีแก่จาเลยทั้งสามภายใน 10 ปี นับแต่วนั ที่ศาลในคดีน้ นั ๆ พิพากษาตาม ประมวลกฎหมาย
วิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 271...เมื่อหนี้ ตามคาพิพากษาแต่ละคดี ที่โจทก์นามาฟ้ องขอให้จาเลยทั้งสาม
ล้มละลาย โจทก์มิได้ดาเนิ นการบังคับคดี เสี ยภายในสิ บปี นับแต่วนั มีคาพิพากษา โจทก์ยอ่ มหมดสิ ทธิ ที่จะ
บังคับคดีแก่จาเลยทั้งสาม โจทก์จึงไม่อาจนาหนี้ ที่พน้ กาหนดเวลาบังคับคดีดงั กล่าวแล้วมาฟ้องจาเลยทั้งสาม
ให้ลม้ ละลายได้
หนีน้ ้ันถึงกาหนดชาระหนีโ้ ดยพลัน หรื อในอนาคตก็ตามแม้วา่ หนี้น้ นั จะอาจกาหนดจานวน
ได้โดยแน่นอนแล้วและมีจานวนถึงตามที่กฎหมายกาหนดแล้วก็หาจาต้องพิจารณาว่า หนี้ที่กาหนดจานวนได้
แน่นอนดังกล่าวจะถึงกาหนดชาระแล้วในขณะยื่นฟ้ องคดีลม้ ละลาย หรื อถึ งกาหนดชาระในอนาคตอันเป็ น
เวลาภายหลังที่ยนื่ ฟ้องคดีลม้ ละลายก็ได้
ข้ อพิจารณา
การฟ้ องคดีแพ่ งใช้ หลักเกณฑ์ ที่จะฟ้ องคดีได้ ต้องได้ ข้อเท็จจริ งว่ า หนี้อันเป็ นมูลคดีฟ้องนั้นต้ องถึง
กาหนดชาระแล้ว มิเช่ นนั้นจะถือว่าเจ้ าหนีไ้ ม่ มีอานาจฟ้ อง
ดังนั้นลักษณะเช่นนี้ จึงแตกต่างจากการฟ้ องคดีลม้ ละลาย ซึ่ งสามารถนาหนี้ ที่อาจกาหนดจานวนได้
โดยแน่ น อนที่ ลู ก หนี้ เป็ นหนี้ เจ้าหนี้ ผูเ้ ป็ นโจทก์ค นเดี ย วหรื อหลายคนไม่ น้อยกว่า 1,000,000 บาท หรื อ
2,000,000 บาท แล้วแต่กรณี มาฟ้ องเป็ นคดีลม้ ละลายได้โดยไม่จาต้องรอให้หนี้ น้ นั ถึงกาหนดชาระเสี ยก่อน
(ถึงชาระโดยพลัน หรื อในอนาคตก็ได้ เหตุผลคือ
1. เหตุที่กฎหมายกาหนดเช่นนี้ เพราะว่า เมื่อลูกหนี้ มีหนี้ สินล้นพ้นตัวย่อมหมายถึงลู กหนี้ อยู่
ในสภาพที่มีหนี้ สินมากกว่าทรัพย์สินจนไม่อาจชาระหนี้ ให้เจ้าหนี้ ได้ เมื่อกรณี เป็ นเช่นนี้ ก็ยอ่ มเป็ นไปได้วา่
เมื่อหนี้ของเจ้าหนี้บางรายอาจถึงกาหนดชาระในอนาคต ลูกหนี้ก็คงไม่สามารถชาระหนี้ให้ได้อยูด่ ี

FACULTY OF LAW, CHIANG MAI UNIVERSITY: Bankruptcy Law


15
บทที่ 2 การฟ้องคดีล้มละลาย

2. ลู ก หนี้ อาจจะหลบหนี ห นี้ ไปไม่ ว่า ในหรื อ นอกราชอาณาจัก ร หรื อ ไปก่ อ หนี้ โดยการ
หลอกลวงเจ้าหนี้รายอื่น ๆ ได้อีก และในที่สุดสังคมโดยส่ วนรวมก็ยอ่ มต้องเสี ยหายมากขึ้น หากจะรอให้หนี้
นั้น ๆ ต้องถึงกาหนดชาระเสี ยก่อน หลายฝ่ ายอาจได้รับผลกระทบมาก

3. แนวคิ ดในการฟ้ องคดี ล้ม ละลายมิ ใช่ ก ารฟ้ องเพื่ อบังคับ ช าระหนี้ แก่ เฉพาะเจ้าหนี้ ผูเ้ ป็ น
โจทก์เท่านั้น แต่เป็ นการฟ้ องเพื่อให้ มีการชาระบัญชี และจัดการทรั พย์ สินของลูกหนี้นามาแบ่ งปั นแก่ บรรดา
เจ้ าหนีข้ องลูกหนีท้ ุกรายโดยเสมอภาค ดังนั้นกาหนดเวลาชาระหนี้จึงไม่ใช่ขอ้ สาคัญ เหมือนเช่นในคดีแพ่ง
เงื่อนไขเกีย่ วกับเจ้ าหนีม้ ปี ระกัน (มาตรา
ภายใต้บังคับ มาตรา 9 เจ้าหนี้มีประกันจะฟ้อง 10)
ลู ก หนี้ ใ ห้ ล้ ม ละลายได้ ก็ ต่ อ เมื่ อ มิ ไ ด้ เ ป็ น ผู้
ต้องห้ามมิให้บังคับการชาระหนี้เอาแก่ทรัพย์สิน เจ้ าหนีม้ ีประกันต้ องมีลกั ษณะดังนี้
ของลูก หนี้ เกิน กว่าตั วทรัพ ย์ที่ เป็น หลัก ประกั น o มี ลั ก ษ ณ ะ เป็ น เจ้ า ห นี้ มี ป ร ะ กั น ต าม
และกล่าวในฟ้องว่า ถ้าลูกหนี้ล้มละลายแล้วจะ ความหมายของมาตรา 6 บทนิยาม
ยอมสละหลั ก ประกั น เพื่ อ ประโยชน์ แ ก่ เจ้ า หนี้ o มิได้เป็ นผูต้ อ้ งห้ามมิ ให้บงั คับการชาระหนี้
ทั้งหลาย หรือ ตีราคาหลักประกันมาในฟ้องซึ่ง เอาแก่ ท รั พ ย์สิ น ของลู ก หนี้ เกิ น กว่าตัวทรั พ ย์ที่
เมื่อหักกับจานวนหนี้ของตนแล้วเงินยังขาดอยู่ เป็ นหลักประกัน
สาหรับลูกหนี้ซึ่งเป็นบุคคลธรรมดาเป็นจานวน
o เจ้าหนี้ตอ้ งมีเงื่อนไขครบตามมาตรา 9
ไม่น้อยกว่า 1,000,000 บาท หรือลูกหนี้ที่เป็นนิติ
o และกล่าวในฟ้ องว่าจะยอมสละหลักประกัน
บุคคลเป็นจานวนไม่น้อยกว่า 2,000,000 บาท
ฯ หรื อ ตีราคาทรัพย์สินฯ

“เจ้ าหนี้ มี ป ระกัน ” ตาม พระราชบัญ ญัติ


ล้มละลาย พ.ศ. 2483 มาตรา 6 ให้นิยามว่า

ข้ อสั งเกต คือ ในกฎหมายล้มละลายกาหนดให้เจ้าหนี้ มีประกันหมายความเฉพาะ เจ้าหนี้ มี


ประกันด้วยทรัพย์สิน และทรัพย์สินนั้นต้องเป็ นของลูกหนี้ เท่านั้น (แตกต่างจากเจ้าหนี้ มีประกันในคดีแพ่งที่จะเป็ น
ทรัพย์ของบุคคลใดก็ได้ท้ งั สิ้ น)
แต่ ไม่ รวมถึงประกันด้ วยบุคคล คือ ผู้คา้ ประกัน (แต่ ทางคดีแพ่งถือว่าเป็ นประกันอย่างหนึ่ง)

ผู้รับจานอง ได้แก่ เจ้าหนี้ซ่ ึ งมีทรัพย์สินของลูกหนี้เป็ นประกันโดยมีการทาหนังสื อสัญญาจานอง


และจดทะเบียนไว้ต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ (มาตรา 702 ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิ ชย์)

FACULTY OF LAW, CHIANG MAI UNIVERSITY: Bankruptcy Law


16
บทที่ 2 การฟ้องคดีล้มละลาย

o อสั งหาริ ม ทรั พ ย์ หรื อ สั งหาริ ม ทรั พ ย์ ช นิ ด พิเศษ เช่ น เรื อ ที่ มี ระวางตั้ง แต่ ห้ า ตัน ขึ้ น ไป
แพ (อาศัย) และสัตว์พาหนะตามความในพระราชบัญญัติสัตว์พาหนะ พ.ศ. 2482 หมวด 2
ว่าด้วยการโอนกรรมสิ ทธิ์ และจานอง
o พระราชบัญญัติจดทะเบียนเครื่ องจักร พ.ศ. 2514

กรณีอื่น ๆ ทีถ่ ือว่ าเป็ นเจ้ าหนีผ้ ้ มู ีสิทธิเหนือทรัพย์ สินของลูกหนีใ้ นทางจานอง


o บุริมสิ ทธิ ในมูลรักษาอสังหาริ มทรัพย์ (มาตรา 274, 285)
o บุริมสิ ทธิ ในมูลจ้างทาของเป็ นการทางานขึ้นบนอสังหาริ มทรัพย์ (มาตรา 275, 286)
o บุริมสิ ทธิ ในมูลซื้ อขายอสังหาริ มทรัพย์ (มาตรา 276,288)
o ห นี้ ทั้ งส าม ป ระก ารนี้ ต้ อ งน าไป จด
มาตรา 6 บทนิยาม
ทะเบี ย นตามที่ ก ฎหมายก าหนดด้ ว ย
เจ้าหนี้ผู้มีสิทธิเหนือทรัพย์สินของลูกหนี้
(มาตรา 289 ซึ่ งกาหนดให้นาบทบัญญัติวา่
ในทางจ านอง จ าน า สิ ท ธิ ยึ ด หน่ ว ง
ด้วยจานองมาบังคับ)
เจ้าหนี้ผู้มีบุริมสิทธิที่จะบังคับได้ทานอง
เดียวกับผู้รับจานา
คาพิพากษาฎีกาที่ 4971/2536 เจ้าหนี้ ได้ก่อสร้ างอาคารขึ้น
บนที่ดินของจาเลยตามสัญญาจ้างเหมาะระหว่างเจ้าหนี้ กบั จาเลย ทาให้ราคาที่ดินของจาเลยในปั จจุบนั สู งขึ้น
หนี้ ค่าก่อสร้างจึงมีอยูเ่ ป็ นคุณแก่เจ้าหนี้ ทาให้เจ้าหนี้ มีบุริมสิ ทธิ ในมูลจ้างทาของเหนื อที่ดินของจาเลยในหนี้
ค่าก่อสร้าง แต่ ตามประมวลกฎหมายแพ่ งและพาณิชย์ มาตรา 286 กาหนดให้ เจ้ าหนี้ต้องทาประมาณราคา
ชั่ วคราวไปบอกลงทะเบียนไว้ ก่อนเริ่ มลงมื อทาการก่ อสร้ างอาคารจึงจะได้ บุริมสิ ทธิรับชาระหนี้ก่อนเจ้ าหนี้
อื่น แต่เมื่อมิได้จดทะเบียน เจ้าหนี้จึงไม่มีบุริมสิ ทธิ พิเศษเหนือที่ดินของจาเลย...จึงไม่เป็ นเจ้าหนี้มีประกันตาม
มาตรา 6 (แต่ยงั เป็ นเจ้าหนี้สามัญ)

ผู้รับจานา คือ เจ้ าหนีซ้ ึ่งได้ รับมอบสั งหาริมทรัพย์ ของลูกหนีไ้ ว้เป็ นประกันการชาระหนีข้ องตน

ข้ อ พิ จ ารณา การจ าน ายัง รวมถึ ง “การจ าน าสิ ท ธิ ซึ่ ง มี ต ราสาร” ได้ ด้ ว ย (มาตรา 750
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ ) ซึ่งมีอยู่ในหลาย ๆ ลักษณะ เช่ น
o การจานาสิ ทธิ ตามใบตราส่ งสิ นค้า (มาตรา 613 ป.พ.พ)
o การจานาสิ ทธิ ตามใบประทวนสิ นค้า (มาตรา 775 ป.พ.พ.)
o การจานาสิ ทธิ ตามตัว๋ สัญญาใช้เงิน (มาตรา 983 ป.พ.พ)
o การจานาสิ ทธิ ตามใบหุน้ (มาตรา 1128 ป.พ.พ)

FACULTY OF LAW, CHIANG MAI UNIVERSITY: Bankruptcy Law


17
บทที่ 2 การฟ้องคดีล้มละลาย

คาพิพากษาฎีกาที่ 3293/2545 เงินฝากของลูกหนี้ ที่ฝากไว้กบั ธนาคารผูร้ ้องย่อมตกเป็ นกรรมสิ ทธิ์ ของผูร้ ้อง
ตั้งแต่ที่ มี การฝากเงิ น ลู ก หนี้ มี สิ ท ธิ ที่ จะถอนเงิ น ที่ ฝ ากไปได้ ผูร้ ้ องคงมี หน้าที่ ตอ้ งคื นเงิ น ให้ครบจานวน
เท่านั้นตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิ ชย์ มาตรา 672 การส่ งมอบสมุดเงินฝากจึงมิใช่ เป็ นการส่ งมอบเงิน
ฝากซึ่งเป็ นสั งหาริมทรัพย์ สมุดเงินฝากเป็ นเพียงหลักฐานการรั บฝากและถอนเงินที่ผ้ ูรับฝากออกให้ แก่ ผ้ ูฝาก
ยึดถือไว้ เพื่อสะดวกในการฝากและถอนเงินในบัญชี ของผู้ฝาก สมุดเงินฝากจึงไม่ อยู่ในลักษณะของสิ ทธิซึ่งมี
ตราสารข้ อตกลงที่ลูกหนี้มอบสมุดเงินฝากให้ ผ้ ูร้องยึดถื อไว้ เป็ นประกันหนี้ต่อผู้ร้องจึงไม่ ใช่ เป็ นการจานา
สิ ทธิซึ่งมีตราสารตามประมวลกฎหมายแพ่ งและพาณิชย์ มาตรา 750 ผูร้ ้องจึงมิใช่เจ้าหนี้มีประกันตามมาตรา
6 แห่งพระราชบัญญัติลม้ ละลายฯ

ผู้ทรงสิ ทธิยดึ หน่ วง อาจได้ สิทธิมาจาก


o มาตรา 241 และ 244 กรณี “สิ ทธิ ยึดหน่วง” โดยตรง คือ ผูใ้ ดเป็ นผูค้ รองทรัพย์สินของผูอ้ ื่น
และมีหนี้ อนั เป็ นคุ ณประโยชน์แก่ตนเกี่ยวด้วยทรัพย์สินซึ่ งครองนั้น ท่านว่าจะยึดหน่วงทรัพย์สินไว้จนกว่า
จะได้ชาระหนี้ก็ได้...
o กฎหมายลักษณะอื่น ๆ เช่ น
o ผู้ขายมีสิทธิ ยดึ หน่วงทรัพย์ที่ขายไว้ได้จนกว่าจะได้รับชาระราคา (มาตรา 488,469)
o ผู้ ค รองอสั ง หาริ ม ทรั พ ย์ ชอบที่ จ ะจับ สั ต ว์ข องผู ้อื่ น ที่ เข้า มาท าความเสี ยหายใน
อสังหาริ มทรัพย์ที่ตนครอบครองและยึดสัตว์น้ นั ไว้เป็ นประกันค่าสิ นไหมทดแทนอันจะถึงต้องใช้แก่ตนได้
(มาตรา 452)
o ผู้รับ ขน มี สิ ท ธิ ยึดหน่ วงสิ นค้าเท่ าที่ จาเป็ นไว้เพื่ อประกันกรช าระหนี้ ค่ าขนส่ งและ
อุปกรณ์ได้ (มาตรา 630)
o ตัวแทนชอบที่จะยึดหน่วงทรัพย์สินของตัวการอันตกอยูใ่ นความครอบครองของตนไว้
จนกว่าจะได้รับเงินบรรดาค้างชาระแก่ตนเพราะการเป็ นตัวแทน (มาตรา 819)
o เจ้ า ส านั ก โรงแรมชอบที่ จ ะยึ ด หน่ ว งเครื่ อ งเดิ น ทางหรื อ ทรั พ ย์สิ น อย่า งอื่ น ของคน
เดินทางหรื อแขกอาศัยอันเอาไว้ในโรงแรม...จนกว่าจะได้รับใช้เงินบรรดาที่คา้ งชาระแก่ตนเพื่อการพักอาศัย
และการอื่น ๆ ...... (มาตรา 679)

ผู้มีบุริมสิ ทธิที่บังคับได้ ทานองเดียวกับผู้รับจานา บุริมสิ ทธิ คือ สิ ทธิที่จะได้ รับชาระหนี้จาก


ทรั พย์ สินของลูกหนี้ก่อนเจ้ าหนี้อื่น (มาตรา 251) เช่น สัญญาจานา สัญญาจานอง หรื อโดยผลของกฎหมาย
เช่น หนี้ค่าภาษีอากร

FACULTY OF LAW, CHIANG MAI UNIVERSITY: Bankruptcy Law


18
บทที่ 2 การฟ้องคดีล้มละลาย

o บุริมสิ ทธิทบี่ ังคับได้ ทานองเดียวกับผู้รับจานาทีถ่ ือว่าเป็ นเจ้ าหนีม้ ีประกัน ตามพระราชบัญญัติ


ล้มละลาย พ.ศ. 2483 มีเพียง 2 ประเภท
สั ญญาจานอง คือ
สั ญ ญาจานองต้ อ งมี ข้ อ ตกลงพิ เศษยกเว้ น หลัก การบั ง คั บ  เจ้ า ห นี้ บุ ริ ม สิ ท ธิ ใ น มู ล เช่ า
จานองตาม มาตรา 733 อสังหาริ มทรัพย์ ตามประมวลกฎหมาย
“ถ้ าเอาทรัพย์ จานองหลุด และราคาทรั พย์ สินนั้นมีประมาณ แพ่ งและพาณิ ช ย์ มาตรา 260 และ 264
ตา่ กว่ าจานวนเงินทีค่ ้ างชาระกันอยู่กด็ ี หรื อถ้ าเอาทรัพย์ สินซึ่ง
เจ้าหนี้ บุริมสิ ทธิ ในมู ล(หนี้ )พักอาศัยใน
จานองออกขายทอดตลาดใช้ หนี้ได้ เงินจานวนสุ ทธิน้อยกว่ า
โรงแรม ตามประมวลกฎหมายแพ่งและ
จ านวนเงิน ที่ ค้ างช าระกัน อยู่ น้ั น ก็ดี เงิน ยัง ขาดอยู่ จ านวน
เท่ าใด ลูกหนีไ้ ม่ ต้องรับผิดในเงินนั้น”
พาณิ ชย์ มาตรา 265

เพราะเมื่อพิจารณามาตรา 266 บัญญัติวา่


“ผู้ให้ เช่ าอสั งหาริ ม ทรั พ ย์ หรื อ เจ้ าสานั ก โรงแรมโฮเต็ ลหรื อสถานที่เช่ นนั้ นจะใช้ บุ ริมสิ ทธิของตนบั งคั บ
ทานองเดียวกับผู้รับจานาก็ได้ บทบัญญัติท้ งั หลายแห่ งประมวลกฎหมายนี้ว่าด้ วยการบังคับจานานั้น ท่ านให้
นามาใช้ บังคับด้ วยโดยอนุโลม” กล่ าวคือ ผู้ให้ เช่ า หรื อเจ้ าของสานักโรงแรมมีสิทธิในทรัพย์ สินที่ลูกหนีน้ าเข้ า
มาในทีเ่ ช่ า หรื อโรงแรมออกขายทอดตลาดได้ หากกรณีมีการค้ างชาระค่ าเช่ า หรื อค่ าห้ องพัก

เจ้ าหนี้มีประกันต้ องมิได้ เป็ นผู้ต้องห้ ามมิให้ บังคับการชาระหนี้เอาแก่ ทรัพย์ สินของ


ลูกหนีเ้ กินกว่ าตัวทรัพย์ ทเี่ ป็ นหลักประกัน
หมายความว่า เจ้าหนี้ มีประกันที่จะมีสิทธิ ฟ้องคดีลม้ ละลายได้ตอ้ งเป็ นเจ้าหนี้ มีประกันที่มีสิทธิ
เรี ยกชาระหนี้ในส่ วนที่ยงั ขาดอยูไ่ ด้อีกตามกฎหมาย แม้วา่ จะได้บงั คับกับหลักประกันนั้น ๆ ไปแล้วก็ตาม
กรณี เจ้าหนี้ จะมี สิ ท ธิ เช่ นนั้นหรื อไม่ตอ้ งพิ จารณาทั้งข้อกฎหมายประกอบกับ ข้อเท็จจริ งแต่ละกรณี ทั้งนี้
เจ้าหนี้ที่เกี่ยวข้องกับกรณี ดงั กล่าวโดยตรงคือ เจ้ าหนีผ้ ้ ูรับจานอง และเจ้ าหนีผ้ ้ ูรับจานา

สั ญญาจานอง
สรุ ป สาหรับเจ้าหนี้ จานอง กรณี จะถื อว่า มิได้เป็ น ผูต้ อ้ งห้ามมิให้บงั คับการชาระหนี้ เอาแก่ทรัพย์สิน
ของลูกหนี้เกินกว่าตัวทรัพย์ที่เป็ นหลักประกัน นั้น สัญญาจานองจะต้องมีเงื่อนไขตกลงยกเว้นมาตรา 733

FACULTY OF LAW, CHIANG MAI UNIVERSITY: Bankruptcy Law


19
บทที่ 2 การฟ้องคดีล้มละลาย

สั ญญาจานา
สรุ ป สาหรั บเจ้าหนี้ จานา กรณี จะถื อว่า มิได้เป็ นผูต้ อ้ งห้ามมิ ให้บงั คับการชาระหนี้ เอาแก่ทรัพย์สินของ
ลูกหนี้เกินกว่าตัวทรัพย์ที่เป็ นหลักประกัน นั้น สัญญาจานาต้องสามารถบังคับจานาตามมาตรา 767

ดังนั้น หากในสัญญาจานองมีขอ้ ตกลงพิเศษในทานองที่เจ้าหนี้ จานองสามารถเรี ยกเงินส่ วนที่ขาดได้อยู่อีก


แม้จะบังคับจานองเอากับทรัพย์ได้ไม่ครบ ก็ถือว่าเป็ นเจ้าหนี้มีประกันที่มีคุณสมบัติตาม มาตรา 10 (1) แล้ว
และสัญญาจานองลักษณะนี้มกั จะพบในสัญญามาตรฐานของเจ้าหนี้ จานองที่เป็ น “สถาบันการเงิน”

ข้ อสาคัญ การพิจารณาหลักเกณฑ์ ตามมาตรา 7-10 นั้ นเพียงเพื่อให้ ทราบว่ า เจ้ าหนี้จะฟ้ องลูกหนี้
เป็ นคดีล้มละลายได้ น้ ันต้ องมีคุณสมบัติหรื อปฏิบัติตามเงื่อนไขดังที่กล่ าวมา (แล้ วแต่ กรณี) แต่ เมื่อฟ้ องแล้ ว
ลูกหนีจ้ ะสมควรล้ มละลายหรื อไม่ ต้องพิจารณาตามหลักมาตรา 14 ต่ อไป

เมื่ อเจ้ าหนี้มีประกัน มีคุณ สมบัติครบถ้ วน สั ญญาจานา


แล้ วจะต้ องปฏิบัติดังต่ อไปนี้ด้วย คื อ กล่ าวมาใน มาตรา 767 “เมื่อบังคับจานาได้ เงินจานวนสุ ทธิ
เท่ าใด ท่ านว่ าผู้รับจานาต้ องจัดสรรชาระหนี้ และ
ฟ้ องว่ าถ้ าลูกหนีล้ ้มละลายแล้วจะ อุปกรณ์ เพื่อให้ เสร็จสิ้นไปและถ้ ายังมีเงินเหลือก็
o ยอมสละหลักประกัน หรื อ ต้ องส่ งคืนให้ แก่ ผ้จู านาหรื อแก่ บุคคลผู้ควรจะได้
o ตีราคาหลัก ประกัน และหั กกับ จ านวน เงินนั้น ถ้ าได้ เงินน้ อยกว่ าจานวนค้ างชาระ ท่ าน
หนี้ (เมื่ อ หั ก แล้ ว เงิ น ยัง ขาดอยู่ ส าหรั บ ลู ก หนี้ บุ ค คล ว่ าลูกหนีย้ งั คงต้องรับใช้ ในส่ วนทีข่ าดอยู่น้นั ”
ธรรมดาเป็ นจานวนไม่นอ้ ยกว่าหนึ่ งล้านบาท หรื อลูกหนี้
นิติบุคคลไม่นอ้ ยกว่าสองล้านบาท)

 การยอมสละหลักประกัน คือ การที่เจ้าหนี้ ยอมปล่อยทรัพย์ซ่ ึ งเป็ นหลักประกัน


ไปรวมไว้ในกองทรัพย์สินของลูกหนี้ เพื่อแบ่งเฉลี่ยกับเจ้าหนี้ ท้ งั หลายตามส่ วนโดยเสมอภาคกัน โดยยอมให้
สิ ทธิ ในฐานะเจ้าหนี้มีประกันหมดไป กล่าวคือ ทาให้ เจ้ าหนีม้ ีประกันกลายเป็ นเจ้ าหนีธ้ รรมดา4

4
โดยทั่วไปเจ้าหนี้จะไม่ยอมเลือกวิธีการสละหลักประกันเพื่อประโยชน์ของเจ้าหนี้ทั้งหลาย และขอรับชาระหนี้อย่าง
เจ้าหนี้ธรรมดา ซึ่งเจ้าหนี้ธรรมดานัน้ จะได้รับชาระหนี้หลังจากเจ้าหนี้บุ ริมสิทธิอ่ืน ๆ และมักได้รับชาระหนี้คืนในอัตรา
ค่อนข้างต่ามาก เช่น ได้รับคืนเพียงร้อยละ 20 หรือ ร้อยละ 30 ของหนีเ้ ต็มจานวนเท่านัน้

FACULTY OF LAW, CHIANG MAI UNIVERSITY: Bankruptcy Law


20
บทที่ 2 การฟ้องคดีล้มละลาย

ตัวอย่ าง 1 ลู กหนี้ เป็ นหนี้ จานองที่ ดินแก่ เจ้าหนี้ อยูแ่ ปลงหนึ่ งเป็ นจานวน 3,000,000
บาท และหนี้ จานองรายนี้ มิได้ตอ้ งห้ามมิให้เจ้าหนี้ บงั คับการชาระหนี้ เอาแก่ทรัพย์สินของลูกหนี้ เกินกว่าตัว
ทรัพย์ที่เป็ นหลักประกัน โดยกล่ าวในฟ้ องว่า “ ถ้ าลูกหนี้ล้มละลายแล้ วจะยอมสละสิ ทธิจานองนั้นให้ เจ้ า
พนั กงานพิทัก ษ์ ท รั พ ย์ น าเข้ าเป็ นกองทรั พ ย์ สิ นของลู กหนี้แล้ วยอมเฉลี่ยอย่ างเจ้ าหนี้สามั ญ ทั่วไปในหนี้
3,000,000 บาท”
ตัวอย่าง 2 นาย ก. รับจานารถยนต์ 1 คันไว้จาก นาย ข. 500,000 บาท การสละคือ การ
สละรถยนต์คนั ดังกล่าวนั้นให้เจ้าพนักงานพิทกั ษ์ทรัพย์นาเข้ามาเป็ นทรัพย์สินของ นาย ข. (ลูกหนี้) โดย นาย
ก. ยอมรับชาระหนี้ เฉลี่ยกับเจ้าหนี้ รายอื่นอย่างเจ้าหนี้ สามัญทัว่ ไปในหนี้ จานวน 500,000 บาท โดย นาย ก.
(เจ้าหนี้ ผเู ้ ป็ นโจทก์) ก็กล่าวในฟ้ องว่า “ขอยอมสละหลักประกันในรถยนต์ คันดังกล่ าวให้ เจ้ าพนัก งานพิทักษ์
ทรัพย์ นาเข้ าเป็ นกองทรัพย์ สินของลูกหนี้ แล้ วยอมเฉลีย่ อย่ างเจ้ าหนีส้ ามัญทัว่ ไปในหนี้ 500,000 บาท”

 การตี ร าคาหลัก ประกัน คื อ การก าหนด หรื อ ประเมิ น ราคาทรั พ ย์อ ัน เป็ น
หลักประกันขึ้ นแล้วนาไปหักกับ จานวนหนี้ ที่ ลูก หนี้ เป็ นหนี้ เจ้าหนี้ ผูเ้ ป็ นโจทก์ เมื่ อหักกันแล้วต้องเหลื อ
จานวนหนี้ไม่นอ้ ยกว่าที่กฎหมายกาหนด
ตัวอย่าง 1 นาย ก. รับจานารถยนต์ไว้ 1 คันจาก นาย ข. ราคา 1,900,000 บาท ต่อมา
ปรากฏว่ารถยนต์รุ่น ดัง กล่ าวมี ราคาลดลง นาย ก. ตี ราคารถยนต์น้ ัน เพี ย ง 900,000 บาท คงเหลื อหนี้ อี ก
1,000,000 บาท นาย ก. ก็ฟ้องลูกหนี้ ให้ลม้ ละลายได้ เพราะเมื่อหักแล้วเหลือหนี้ ไม่นอ้ ยกว่า 1,000,000 บาท
โดยต้องกล่าวในฟ้ องว่า “ขอตีราคารถยนต์ อันเป็ นหลักประกันเป็ นเงิน 900,000 บาท เมื่อหักกับจานวนหนี้
ทีล่ ูกหนีม้ ีอยู่แล้ วคงเหลือหนีอ้ ยู่จานวน 1,000,000 บาท”
ข้ อสั งเกต ปั ญหาในการตีราคาหลักประกั นคือ มาตรฐานในการตีราคาหลักประกัน
อาจไม่ เหมือนกันซึ่งส่ งผลกระทบต่ อสิ ทธิในการฟ้ องคดีล้มละลาย หากตีราคาหลักประกันต่าไป เพื่อให้ยอด
หนี้ คงเหลื อเมื่อหักกับหลักประกันแล้วเป็ นไปตามเกณฑ์ฟ้องคดี ลม้ ละลายได้ หรื อลูกหนี้ ก็อาจคัดค้านว่าตี
ราคาหลักประกันต่าไป จริ ง ๆ มีมูลค่ามากกว่านั้น เมื่อเอามูลค่าตามที่ลูกหนี้ตีราคามาหักกับหนี้ อาจเหลือไม่
พอจะฟ้องคดีลม้ ละลายได้ เป็ นต้น

ข้ อควรระวังสาหรั บเจ้ าหนี้ คื อ หากตีราคาหลักประกันต่าไปโดยหวังให้ เมื่ อหักกับยอดหนี้แล้ ว


เหลือเกินจานวน สามารถฟ้ องคดีล้มละลายได้ แต่

 ลูกหนี้อาจร้ องคัดค้ านว่ า โจทก์ แกล้ งตีราคาหลักประกันต่าเกินควร ทาให้ ลูกหนี้ยัง


ไม่ ควรต้ องล้ มละลาย อาจเป็ นเหตุให้ ศาลยกฟ้ องได้ ตามมาตรา 14 พ.ร.บ. ล้ มละลายฯ

FACULTY OF LAW, CHIANG MAI UNIVERSITY: Bankruptcy Law


21
บทที่ 2 การฟ้องคดีล้มละลาย

 เมื่อถึงกระบวนการที่เจ้ าหนี้ยื่นคาขอรับชาระหนี้ เจ้ าพนักงานพิทักษ์ ทรัพย์ อาจใช้


สิ ทธิไถ่ ถอนทรัพย์ หลักประกันเสี ยเท่ ากับที่เจ้ าหนี้ตีราคา (ต่า) ไว้ (มาตรา 96 (4) พ.ร.บ. ล้ มละลายฯ) โดย
เจ้ าหนีจ้ ะได้ รับชาระหนีก้ ่ อนในส่ วนแรกเท่ ากับตนตีราคาไว้ กับอีกส่ วนทีเ่ หลือก็จะได้ รับแบบเจ้ าหนี้ธรรมดา
(เฉลีย่ กับเจ้ าหนีท้ วั่ ไป ซึ่งอาจจะได้ รับชาระคืนในอัตราทีต่ ่า เช่ น ร้ อยละ 10) เช่ น
 สัญญากูเ้ งิน 2,000,000 บาท จานาแหวนหนึ่งวง (ราคา 2,300,00 บาท) ถ้า
เจ้าหนี้ตีราคาต่าไป เช่น ตีราคาไว้เพียง 1,000,000 บาท
 ในชั้นการขอรับชาระหนี้ เจ้าพนักงานพิทกั ษ์ทรัพย์มีอานาจขอไถ่แหวน
เท่าราคาที่เจ้าหนี้ตีไว้ (ในฟ้อง) แล้วนาออกขายโดยอาจจะได้เงินถึง 2,300,000 บาท
 ส่ วนเจ้ าหนี้ก็จะได้ รับชาระหนี้เท่ ากับราคาที่ตีไว้ คื อ 1,000,000 บาท กับ
ส่ วนหนี้ที่เหลืออีก 1,000,000 บาทจะได้ รับชาระหนี้อย่ างเจ้ าหนี้ธรรมดา (โดยมากจะได้ รับชาระหนี้คืนน้ อย
เช่ น ไม่ เกินร้ อยละ 20)
หากตีราคาทรัพย์น้ นั สู งเกิ นกว่ามู ลค่าจริ ง ๆ เจ้าพนักงานพิ ทกั ษ์ทรัพย์ก็อาจยอมปล่ อยทรั พย์น้ ัน
หลุดแก่เจ้าหนี้ ตามราคาที่เจ้าหนี้ ตีไว้ในฟ้ อง ไม่ไถ่ถอน หนี้ ที่เหลือเมื่อหักกับราคาที่ตีไว้ก็จะมีสิทธิ ได้รับใน
ฐานะเจ้าหนี้ ทวั่ ไปซึ่ งอัตราชาระคื นต่ า ผลเสี ยก็คือ เจ้ าหนี้ก็จะได้ ทรั พย์ หลักประกันนั้ นไว้ แต่ มีมูลค่ าจริ ง
น้ อยกว่าราคาทีต่ นตีไว้ในฟ้ อง ซึ่งจะไม่ มีประโยชน์ ต่อเจ้ าหนีเ้ หมือนกัน

คาพิพากษาทีว่ ินิจฉัยว่ ากรณีไม่ เป็ นเจ้ าหนี้มีประกัน


คาพิพากษาฎีกาที่ 534/2504 จาเลยทาหนังสื อสัญญากูเ้ งินโจทก์ และรับเงินไปโดยนาใบรับของคลังสิ นค้ ามา
มอบไว้ ดังนี้เป็ นการกูเ้ งินโดยมีใบรับของคลังสิ นค้าเป็ นประกัน มิใช่ จานา และต่อมาจาเลยก็นาสิ นค้านั้นขาย
ไปหมดแล้ว โจทก์จึงมิใช่เจ้าหนี้มีประกัน

ค าพิ พ ากษาฎีก าที่ 1637/2511 เมื่ อ จาเลยถู ก ศาลสั่ ง พิ ท ัก ษ์ท รั พ ย์เด็ ดขาด แม้โจทก์ จะเป็ นเจ้า หนี้ ตามค า
พิพากษาก็ตอ้ งยื่นคาขอรับชาระหนี้ ต่อเจ้าพนักงานพิทกั ษ์ทรัพย์ภายในระยะเวลาที่กฎหมายกาหนดหากไม่
ยืน่ ย่อมหมดสิ ทธิ ได้รับชาระหนี้ การที่จาเลยนาโฉนดทีด่ ินมาวางเป็ นประกันในการขอทุเลาการบังคับคดีน้ ัน
ไม่ก่อให้เกิดบุริมสิ ทธิ แก่โจทก์ และถือไม่ได้วา่ โจทก์เจ้าหนี้ ตามคาพิพากษาเป็ นเจ้าหนี้ มีประกัน ตาม มาตรา
6 แห่ง พ.ร.บ. ล้มละลายฯ

FACULTY OF LAW, CHIANG MAI UNIVERSITY: Bankruptcy Law


22
บทที่ 2 การฟ้องคดีล้มละลาย

คาพิพากษาฎีกาที่ 3437/2536 โจทก์ฟ้องจาเลยให้ลม้ ละลายด้วยหนี้ เงิ นกูย้ ืมซึ่ งมีบุคคลอื่นจานองที่ดินเป็ น


ประกัน โจทก์ยอ่ มไม่ใช่เจ้าหนี้ มีประกันตาม พ.ร.บ. ล้มละลาย มาตรา 6 เพราะที่ดินที่จานองไม่ใช่ทรัพย์สิน
ของจาเลย โจทก์ไม่ใช่ผมู ้ ีสิทธิ เหนื อทรัพย์สินของจาเลยในทางจานองจึงสามารถฟ้องจาเลยให้ลม้ ละลายได้
ตาม มาตรา 9 โดยมิตอ้ งปฏิบตั ิตาม มาตรา 10

คาพิพากษาฎีกาที่ 737/2542 โจทก์นามูลหนี้ตามคาพิพากษาในคดีแพ่งถึงที่สุดมาฟ้องขอให้จาเลยล้มละลาย


โดยมู ล หนี้ ตามคาพิ พ ากษาดังกล่ าวเกิ ดจากจาเลยผิดสัญ ญาประกันผูต้ อ้ งหาต่อโจทก์และในการประกัน
ผูต้ อ้ งหานั้น จาเลยได้นาที่ดิน ตาม น.ส. 3 ของบุคคลภายนอกวางเป็ นหลักประกันไว้ ขณะที่จาเลยยืน่ คาร้อง
ขอประกันและทาสัญญาประกันผูต้ อ้ งหาโดยมิได้จดทะเบียนจานอง โจทก์ จึงไม่ ใช่ ผ้ ูมีสิทธิเหนื อทรั พย์ สิน
ของจาเลยในที่ดินที่เป็ นหลักประกัน ถือไม่ ได้ ว่าเจ้ าหนี้ตามคาพิพากษาเป็ นเจ้ าหนี้มีประกัน ดังนั้นโจทก์ จึง
สามารถฟ้ องจาเลยให้ ล้มละลายได้ ตาม พ.ร.บ. ล้มละลายฯ มาตรา 9 โดยมิต้องปฏิบัติตามความในมาตรา 10

FACULTY OF LAW, CHIANG MAI UNIVERSITY: Bankruptcy Law

You might also like