You are on page 1of 13

1

เอกสารโครงร่ างบทเรียน
ครั้งที่ 7
เงื่อนไขเงื่อนเวลา

วัตถุประสงค์
1. เข้าใจเรื่ องเงื่อนไข และเงื่อนเวลา
2. สามารถนาเรื่ องเงื่อนไขหรื อเงื่อนเวลามาใช้กบั นิติกรรมได้
3. อธิบายเรื่ องเงื่อนไขเงื่อนเวลาที่ไม่มีผลตามกฎหมายได้
หัวข้ อเนื้อหา
1. เงื่อนไข
1.1 ชนิดของเงื่อนไข
1.1.1 เงื่อนไขบังคับก่อน
1.1.2 เงื่อนไขบังคับหลัง
1.2 เงื่อนไขที่ไม่สมบูรณ์
1.2.1 เงื่อนไขที่สาเร็จแล้วหรื อไม่อาจสาเร็ จได้ในเวลาทานิติกรรม\
ก. เงื่อนไขที่สาเร็จแล้ว
ข. เงื่อนไขที่ไม่อาจเกิดขึ้น หรื อไม่อาจสาเร็ จได้
1.2.2 ที่ไม่ชอบด้วยกฎหมายหรื อขัดต่อความสงบเรี ยบร้อยหรื อศีลธรรมอันดีของ
ประชาชน
1.2.3 เงื่อนไขที่เป็ นการพ้นวิสยั
1.2.4 เงื่อนไขบังคับก่อนซึ่งจะสาเร็ จหรื อไม่สุดแล้วแต่ใจของลูกหนี้
1.3 ผลของนิติกรรมที่มีเงื่อนไข
1.4 ผลเมื่อเงื่อนไขนั้นสาเร็จ
2. เงื่อนเวลา
2.1 ประเภทของเงื่อนเวลา
2.2 เงื่อนเวลากาหนดโดยเหตุการณ์ที่กาหนดไว้แน่นอน
2.3 การเปรี ยบเทียบระหว่างเงื่อนไขและเงื่อนเวลา
2.4 ประโยชน์ของเงื่อนเวลา
2.4.1. หลักทัว่ ๆไปการกาหนดเงื่อนเวลาเป็ นประโยชน์แก่ฝ่ายลูกหนี้
2.4.2 การกาหนดเงื่อนเวลาที่เป็ นประโยชน์แก่ฝ่ายเจ้าหนี้
2.4.3 การกาหนดเงื่อนเวลาให้เป็ นประโยชน์แก่ท้ งั ฝ่ ายเจ้าหนี้และลูกหนี้ท้ งั สองฝ่ าย
2.5 การที่ลูกหนี้ถือเอาประโยชน์จากเงื่อนเวลาไม่ได้
2

กิจกรรมการเรียนการสอน
1. ทาแบบประเมินก่อนเรี ยน
2. ศึกษาเอกสารการสอน
3. เข้าฟังการบรรยาย
4. ทาแบบประเมินหลังเรี ยน
สื่ อการสอน
1. เอกสารการสอน
2. แบบฝึ กหัด
3. รายการสอนทางอินเตอร์เน็ต
4. การสอนเสริ ม (ถ้ามี )
3

เอกสารคู่มือการเรียนรู้
ครั้งที่ 7
เงื่อนไขและเงื่อนเวลา
บทนา
เราอาจแบ่งนิติกรรมได้เป็ นหลายประเภท เช่น นิติกรรมฝ่ ายเดียว นิติกรรมหลายฝ่ าย ฯลฯ และเมื่อเกี่ยวกับเรื่ อง
เงื่อนไข เงื่อนเวลา ตามที่ประมวลกฎหมายแพ่งพาณิ ชย์ได้กาหนดไว้เราอาจแบ่งได้เป็ น 2 ประเภทคือ
1. นิตกิ รรมทีม่ ผี ลทันที เช่น นาย ก ให้เงินนาย ข 10,000 บาท โดยเสน่หา ทาให้การให้มีผลทันที
2. นิตกิ รรมทีม่ เี งื่อนไข หรื อ เงื่อนเวลากาหนด เช่น นาย ก จะให้เงินนาย ข เมื่อนาย ข จบเป็ นนิติศาสตรบัณฑิต ซึ่งนิติ
กรรมดังกล่าวไม่มีผลทันทีกล่าวคือมีเงื่อนไขว่า นาย ข ต้องจบการศึกษาก่อน เราเรี ยกว่า เป็ นนิติกรรมที่มีเงื่อนไข
ประมวลกฎหมายแพ่งพาณิ ชย์ได้กาหนด เรื่ อง เงื่อนไข ไว้ควบคู่กบั เรื่ องเงื่อนเวลา ซึ่งผลในทางกฎหมายมีความแตกต่างกัน
เงื่อนไข กาหนดไว้ ในมาตรา 182 หมายถึงข้อความใดอันบังคับไว้ให้นิติกรรมเป็ นผลหรื อสิ้นผลต่อเมื่อมีเหตุการณ์อนั
ไม่แน่นอนว่าจะเกิดขึ้นหรื อไม่ในอนาคต ข้อความนั้นเรี ยกว่าเงื่อนไข
เงื่อนเวลา กาหนดไว้ ในมาตรา 192 หมายถึง เงื่อนเวลาเริ่ มต้นหรื อสิ้นสุดนั้น ให้สนั นิษฐานไว้ก่อนว่า กาหนดไว้เพื่อ
เป็ นประโยชน์แก่ฝ่ายลูกหนี้ เว้นแต่จะปรากฏโดยเนื้อความแห่งตราสารหรื อโดยพฤติการณ์แห่งกรณี ได้วา่ ได้ต้ งั ใจจะให้
เป็ นประโยชน์แก่ฝ่ายเจ้าหนี้แก่คกู่ รณี สองฝ่ ายด้วยกัน
เรื่ องเงื่อนไข จึงเป็ นเรื่ องเหตุการณ์อนั แน่นอนหรื อไม่แน่นอน แต่เรื่ องเงื่อนเวลาจึงเป็ นเรื่ องการกาหนดด้วยเวลา ซึ่ง
ตีความได้วา่ เป็ นเรื่ องแน่นอนที่จะเกิดขึ้นเพียงแต่รอเวลาเท่านั้น
ตัวอย่ าง 1 นาย ก จะให้เงินนาย ข เมื่อนาย ข ได้เป็ นนิติศาสตรบัณฑิต ซึ่งยังไม่แน่นอน เพราะนาย ข อาจจะเรี ยนไม่จบ
เพราะไม่ขยันเรี ยน
ตัวอย่ าง 2 นาย ก จะให้เงินนาย ข ในวันตรุ ษจีนปี 2548 เป็ นเงื่อนเวลา กล่าวถึงเมื่อถึงตรุ ษจีน ซึ่งมาถึงแน่นอน นาย ก ต้อง
ให้เงินนาย ข
1. เงื่อนไข
ข้อความใดอันบังคับไว้ให้นิติกรรมเป็ นผลหรื อสิ้นผลต่อเมื่อมีเหตุการณ์อนั ไม่แน่นอนว่าจะเกิดขึ้นหรื อไม่ในอนาคต
ข้อความนั้นเรี ยกว่าเงื่อนไข

เงื่อนไขมีความหมาย 2 ประการ
1. เหตุการณ์ที่จะเกิดขึ้นในอนาคต หมายถึงเหตุการณ์น้ นั ยังไม่เกิดขึ้น
เช่น ตามตัวอย่างที่ 1 นาย ข ยังไม่จบเป็ นนิติศาสตรบัณฑิต
2. เหตุการณ์ที่ไม่แน่นอนว่าจะเกิดขึ้นหรื อไม่
เช่น ยังไม่แน่นอนว่า นาย ข จะจบนิติศาสตรบัณฑิตหรื อไม่ เพราะถ้าไม่ขยันอาจพ้นสภาพหรื อ ไม่จบ เพราะเที่ยวเก่ง

1.1 ชนิดของเงื่อนไข
ประมวลกฎหมายแพ่งพาณิ ชย์ได้กาหนดไว้ในมาตรา 183
4

มาตรา 183 ว่า “ นิติกรรมใดมีเงื่อนไขบังคับก่อน นิติกรรมนั้นย่อมเป็ นผลต่อเมื่อเงื่อนไขนั้นสาเร็จแล้ว


นิติกรรมใดมีเงื่อนไขบังคับหลัง นิติกรรมนั้นย่อมสิ้นผลในเมื่อเงื่อนไขนั้นสาเร็จแล้ว
เงื่อนไขจึงมี 2 ประเภทคือ
1.1.1 เงื่อนไขบังคับก่อน
1.1.2 เงื่อนไขบังคับหลัง

1.1.1 เงื่อนไขบังคับก่ อน หมายถึง ข้อกาหนดที่ผทู ้ านิติกรรมกาหนดไว้ในนิติกรรม ซึ่งกาหนดให้นิติกรรมเป็ นผลตาม


กฎหมาย ต่อเมื่อมีเหตุการณ์อนั ใดอันหนึ่งเกิดขึ้น หรื อที่มาตรา 183 กล่าวไว้วา่ “นิตกิ รรมเป็ นผลเมื่อเงื่อนไขสาเร็จ”
ตัวอย่ าง นาย ก จะให้เงินนาย ข เมื่อได้เป็ นนิติศาสตร์บณ ั ฑิต ( ขณะนี้นาย ข กาลังเรี ยนที่นิติศาสตร์ มรส ) เมื่อนาย ข สาเร็ จ
การศึกษา นิติกรรมการให้น้ นั จะมีผล หรื อเรี ยกว่า นิติกรรมมีผลเมื่อเงื่อนไขสาเร็จ
คาพิพากษาฎีกาที่ 1901/2526 จาเลยประสงค์จะให้เช่าที่ดินมีกาหนดเวลาเกิน 3 ปี จึงระบุในสัญญาว่า จาเลยมอบให้โจทก์
เป็ นนายหน้าไปจัดการดาเนินการจดทะเบียนการเช่าที่ดิน ณ สานักงานที่ดิน แล้วจาเลยยอมจ่ายค่านายหน้าให้แก่โจทก์ เป็ น
จานวนเงิน 5 % ของเงินค่าเช่า โดยจ่ายให้ในวันจดทะเบียนที่ดิน ณ สานักงานที่ดิน เป็ นสัญญาที่มีเงื่อนไขบังคับก่อน คือ
ถือเป็ นการจดทะเบียนการเช่าระหว่างผูใ้ ห้เช่า ( จาเลย) กับผูเ้ ช่าที่สานักงานที่ดิน เป็ นเงื่อนไขความสาเร็ จของการเป็ น
นายหน้า เมื่อยังไม่ได้มีการจดทะเบียนการเช่า เพราะผูเ้ ช่าผิดสัญญา ดังนี้ โจทก์ยงั ไม่มีสิทธิเรี ยกค่านายหน้าจากจาเลย

1.1.2 เงื่อนไขบังคับหลัง หมายถึง ข้อกาหนดที่ผทู ้ านิติกรรมกาหนดไว้ในนิติกรรม ซึ่งกาหนดให้นิติกรรมที่มีผลตาม


กฎหมายอยูแ่ ล้วต้องสิ้นผลลง ในเมื่อมีเหตุการณ์อนั ไดอันหนึ่งเกิดขึ้น ตามที่มาตรา183 ได้กาหนดให้ “ นิตกิ รรมนั้นสิ้นผล
เมื่อเงื่อนไขนั้นสาเร็จ ”
ตัวอย่ าง นาย ก ให้นาย ข ซึ่งกาลังเรี ยนระดับปริ ญญาตรี ที่ มรส. ยืมรถยนต์ของตนเองใช้ โดยมีเงื่อนไขว่า ถ้านาย ข ได้
เป็ นนิติศาสตรบัณฑิต จะต้องส่งรถยนต์คืนนาย ก จะเห็นได้วา่ นิติกรรมการให้ยมื มีผลอยูแ่ ล้ว แต่จะสิ้นผล หมายถึง สัญญา
ยืมจะสิ้นผลลงเมื่อเงื่อนไขนั้นสาเร็ จ กล่าวคือการที่นาย ข ได้เป็ นนิติศาสตรบัณฑิต แล้วสัญญายืมจะสิ้นผลนาย ข ต้องคืน
รถยนต์ให้แก่นาย ก

1.2 เงื่อนไขทีไ่ ม่ สมบูรณ์

1.2.1 เงื่อนไขทีส่ าเร็จแล้ วหรื อไม่ อาจสาเร็จได้ ในเวลาทานิตกิ รรม\


ก. เงื่อนไขทีส่ าเร็จแล้ ว
ข. เงื่อนไขทีไ่ ม่อาจเกิดขึน้ หรื อไม่ อาจสาเร็จได้
1.2.2 ทีไ่ ม่ ชอบด้ วยกฎหมายหรื อขัดต่ อความสงบเรียบร้ อยหรื อศีลธรรมอันดีของประชาชน
1.2.3 เงื่อนไขทีเ่ ป็ นการพ้นวิสัย
1.2.4 เงื่อนไขบังคับก่ อนซึ่งจะสาเร็จหรื อไม่ สุดแล้ วแต่ ใจของลูกหนี้
5

1.2.1 เงื่อนไขทีส่ าเร็จแล้วหรื อไม่ อาจสาเร็จได้ ในเวลาทานิติกรรม


มาตรา 187 ถ้าเงื่อนไขสาเร็ จแล้วในเวลาทานิติกรรม หากเป็ นเงื่อนไขบังคับก่อน ให้ถือว่านิติกรรมนั้นไม่มีเงื่อนไข หาก
เป็ นเงื่อนไขบังคับหลัง กฎหมายให้ถือว่า นิติกรรมนั้นเป็ นโมฆะ
ถ้าเป็ นอันแน่นอนในเวลาทานิติกรรมว่าเงื่อนไขนั้นไม่อาจสาเร็ จได้ หากเป็ นเงื่อนไขบังคับก่อนให้ถือว่า นิติกรรมนั้น
เป็ นโมฆะ หากเป็ นเงื่อนไขบังคับหลังให้ถือว่า นิติกรรมนั้นไม่มีเงื่อนไข
ตราบใดที่คู่กรณี ยงั ไม่รู้วา่ เงื่อนไขได้สาเร็ จแล้วตามวรรคหนึ่ง หรื อไม่อาจสาเร็ จได้ตามวรรคสอง ตราบนั้นคู่กรณี ยงั มี
สิ ทธิและหน้าที่ตามมาตรา 184 หรื อมาตรา 185
ก. เงื่อนไขทีส่ าเร็จแล้ ว
เงื่อนไขบังคับก่อน ผล นิติกรรมนั้นไม่มีเงื่อนไข
เงื่อนไขบังคับหลัง ผล นิติกรรมนั้นเป็ นโมฆะ
ตัวอย่ าง 1 เงื่อนไขบังคับก่อน
นาย ก จะให้รถนาย ข ถ้านาย ข เป็ นนิติศาสตรบัณฑิต ถ้านาย ข จบนิติศาสตร์ มรส แล้ว
( เงื่อนไขสาเร็ จแล้ว ) ถือว่า นิติกรรมนั้นไม่มีเงื่อนไข หมายถึง ต้องยกรถยนต์ให้แก่นาย ก ทันที
ตัวอย่ าง 2 เงื่อนไขบังคับหลัง
นาย ก ให้นาย ข ยืมรถยนต์บอกว่า ให้ส่งคืนเมื่อนาย ข เป็ นนิติศาสตรบัณฑิตทั้งๆที่ขณะนั้นนาย ข จบนิติศาสตร์แล้ว นิติ
กรรมเป็ นโมฆะ หมายถึงว่า นิติกรรมนั้นๆสูญเปล่า เพราะ นาย ก ให้รถยนต์แก่นาย ข ผลคือนาย ข ก็ตอ้ งคืนทันทีไม่ได้ใช้
รถยนต์ เพราะเงื่อนไขสาเร็ จแล้ว การตกลงในลักษณะนี้ นิติกรรมมีผลและสิ้นผลในเวลาเดียวกัน ในทางปฏิบตั ิยอ่ มไม่มี
ประโยชน์ ดังนั้น ตามกฎหมายจึงกาหนดไว้ให้นิติกรรมเป็ นโมฆะ ซึ่งถูกต้องตามหลักเหตุผลที่ควรเป็ นแล้ว

ข. เงื่อนไขทีไ่ ม่ อาจเกิดขึน้ หรื อไม่ อาจสาเร็จได้


เงื่อนไขบังคับก่อน นิติกรรมเป็ นโมฆะ
เงื่อนไขบังคับหลัง นิติกรรมไม่มีเงื่อนไข
ตัวอย่ าง 1 เงื่อนไขบังคับก่ อน
นาย ก บอกว่า จะยกรถยนต์ให้นาย ข ถ้านาย ค บุตรนาย ข จบนิติศาสตร์ ขณะนั้น นาย ค ถึงแก่ความตายแล้ว ถือว่า เป็ น
เงื่อนไขที่เป็ นไปไม่ได้ เพราะอย่างไรก็ตาม นาย ก ไม่สามารถที่จะให้รถยนต์แก่นาย ข ได้ ซึ่งผลตามกฎหมาย ซึ่งเป็ นไป
ตามหลักเหตุผลคือ การให้รถยนต์เป็ นโมฆะ เพราะอย่างไรนิติกรรมการให้ไม่มีทางเป็ นไปได้
ตัวอย่ าง 2 เงื่อนไขบังคับหลัง
นาย ก ให้นาย ข ยืมใช้รถยนต์ และถ้านาย ค บุตรของ นาย ข จบนิติศาสตร์จะให้สญ ั ญาสิ้นสุดลง ปรากฏว่า ขณะที่ให้
รถยนต์แก่นาย ข ยืม นาย ค ได้ถึงแก่ความตายไปแล้ว จะเห็นได้วา่ การยืมไม่สิ้นสุดลง ยังคงยืมไปได้ การตกลงเงื่อนไข
เช่นนั้น ไม่มีประโยชน์แก่คู่กรณี แม้กาหนดเงื่อนไขไว้ ผลก็คงไม่มีทางเป็ นไปได้สญ ั ญาไม่สิ้นสุดลง ดังนั้น ตามหลัก
กฎหมายได้กาหนดไว้ตามหลักเหตุผลคือ นิติกรรมนั้น กลายเป็ นนิติกรรมที่ไม่มีเงื่อนไข
*ข้ อสังเกต การทีต่ ้ องงดเว้ นกระทาการบางอย่ างเมื่อเงื่อนไขยังไม่สาเร็จ*
6

มาตรา 187 วรรคสาม “ ตราบใดทีค่ ู่กรณียงั ไม่ รู้ ว่าเงื่อนไขได้ สาเร็จแล้ วตามวรรคหนึ่ง หรื อไม่อาจสาเร็จได้ ตามวรรคสอง
ตราบนั้นคู่กรณียงั มีสิทธิและหน้ าทีต่ ามมาตรา 184 และมาตรา 185 ”

มาตรา 184 และมาตรา 185 เป็ นเรื่ องที่ตอ้ งปฏิบตั ิของคู่กรณี เช่นสิ ทธิในการจาหน่าย รับมรดก ป้องกันรักษา หรื อทา
การประกันสิ ทธิ ซึ่งจะได้กล่าวต่อไปเมื่อศึกษาเรื่ องผลของเงื่อนไขต่อไป
1.2.2 เงื่อนไขทีไ่ ม่ ชอบด้ วยกฎหมายหรื อขัดต่ อความสงบเรียบร้ อยหรื อศีลธรรมอันดีของประชาชน
มาตรา 188“ นิติกรรมใดมีเงื่อนไขอันไม่ชอบด้วยกฎหมาย หรื อขัดต่อความสงบเรี ยบร้อยหรื อศีลธรรมอันดีของประชาชน
นิติกรรมนั้นเป็ นโมฆะ”
1. เงื่อนไขที่ไม่ชอบด้วยกฎหมาย หมายถึงเงื่อนไขที่มีกฎหมายกาหนดไว้โดยชัดแจ้ง
ตัวอย่ าง นาย ก จะยกรถยนต์ให้นาย ข เมื่อนาย ข ได้ทาการฆ่านาย ค
2. เงื่อนไขที่ขดั ต่อความสงบเรี ยบร้อยของประชาชน หมายถึงเงื่อนที่กระทบต่อความปลอดภัยของประเทศ ทาให้เกิด
ความระส่ าระสาย เช่นเดียวกับเรื่ องนิติกรรมที่ขดั กับมาตรา 150
คาพิพากษาฎีกาที่ 133/2505 นาย ก จะให้แหวนเพชรแก่นาย ข เมื่อได้ไปเป็ นพยานเท็จ การให้เป็ นโมฆะ
เงื่อนไขที่ขดั ต่อศีลธรรมอันดีของประชาชน หมายถึงเงื่อนไขที่กาหนดไว้เป็ นการกระทบกับทัศนะด้านจริ ยธรรมของ
ประชาชน
ตัวอย่ าง นาย ก ตกลงจะให้แหวนแก่นาย ข เมื่อนาย ข นาเด็กสาวมาเป็ นภรรยาน้อยของนาย ก เงื่อนไขดังกล่าวเป็ นการขัด
กับศีลธรรมอันดีของประชาชน นิติกรรมการให้ดงั กล่าวเป็ นโมฆะ
1.2.3 เงื่อนไขทีเ่ ป็ นการพ้นวิสัย
มาตรา 189 นิติกรรมใดมีเงื่อนไขบังคับก่อนและเงื่อนไขนั้นเป็ นการพ้นวิสยั นิติกรรมนั้นเป็ นโมฆะ
นิติกรรมใดมีเงื่อนไขบังคับหลังและเงื่อนไขนั้นเป็ นการพ้นวิสยั ให้ถือว่า นิติกรรมนั้นไม่มีเงื่อนไข
เงื่อนไขทีเ่ ป็ นพ้ นวิสัย หมายถึง เรื่ องที่กาหนดเป็ นเงื่อนไขนั้นเป็ นที่เห็นได้โดยแน่นอนหรื อเห็นได้โดยทัว่ ไปว่า เป็ นไป
ไม่ได้หรื อไม่อาจสาเร็ จได้
เงื่อนไขบังคับก่อน ผล นิติกรรมเป็ นโมฆะ
เงื่อนไขบังคับหลัง ผล นิติกรรมไม่มีเงื่อนไข
ตัวอย่ าง 1 เงื่อนไขบังคับก่อน
นาย ก จะยกแหวนให้นาย ข ถ้านาย ข แต่งงานกับลิงได้ จะเห็นได้วา่ อย่างไรก็ตามนาย ข ไม่มีทางที่จะสมรสได้ ดังนั้น การ
ให้น้ นั เป็ นโมฆะ
ตัวอย่ าง 2 เงื่อนไขบังคับหลัง
นาย ก ให้แหวนแก่นาย ข และบอกว่า การให้จะสิ้นสุดลงเมื่อนาย ข สมรสกับลิงจะเห็นได้วา่ เมื่อเป็ นไปไม่ได้เช่นนี้
สัญญาไม่มีทางที่จะสิ้นสุดลง กฎหมายจึงกาหนดว่า นิติกรรมดังกล่าวไม่มีเงื่อนไข
1.2.4 เงื่อนไขบังคับก่ อนซึ่งจะสาเร็จหรื อไม่ สุ ดแล้ แต่ ใจของฝ่ ายลูกหนี้
มาตรา 190 บัญญัติวา่ นิติกรรมใดมีเงื่อนไขบังคับก่อน และเป็ นเงื่อนไขอันจะสาเร็ จได้หรื อไม่สุดแล้วแต่ใจของฝ่ ายลูกหนี้
นิติกรรมนั้นเป็ นโมฆะ
7

ข้ อสังเกต
1. ต้องเป็ นเงื่อนไขบังคับก่อนเท่านั้น
2. ต้องเป็ นเงื่อนไขที่แล้วแต่ใจของลูกหนี้ ไม่ใช่เจ้าหนี้
3. ต้องเป็ นความสมัครใจของลูกหนี้โดยแท้จริ ง
คาพิพากษาฎีกาที่ 963/2537 การที่จาเลยทั้งสองตกลงจะคืนมัดจาให้แก่โจทก็เมื่อจาเลยทั้งสองขายที่ดินได้น้ นั ข้อตกลง
ดังกล่าวไม่ได้ข้ ึนอยูท่ ี่ความพอใจ หรื อความสมัครใจของจาเลยทั้งสองแต่ฝ่ายเดียว แต่ข้ นึ อยูก่ บั บุคคลภายนอก ซึ่งจะเป็ นผู ้
ซื้อด้วยว่า มีความพอใจหรื อไม่ ที่จะซื้อตามข้อเสนอของจาเลยทั้งสองหรื อไม่ ดังนี้เงื่อนไขบังคับก่อนดังกล่าวจึงไม่ใช่
เงื่อนไขอันจะสาเร็ จได้หรื อไม่สุดแล้วแต่ใจของลูกหนี้จึงไม่เป็ นโมฆะ
1.3 ผลของนิติกรรมทีม่ ีเงื่อนไข
1.3.1 ผลระหว่างทีเ่ งื่อนไขยังไม่ สาเร็จ
(1) การทาให้ เป็ นการเสื่ อมเสียแก่วตั ถุแห่ งนิตกิ รรม
(2) สิทธิในการทีจ่ ะจาหน่ าย รับมรดก หรื อจัดการป้องกันรักษาสิทธิในความหวัง
(3) หน้ าทีท่ จี่ ะต้ องทาการโดยสุ จริต
มาตรา 184 ในระหว่างที่เงื่อนไขยังไม่สาเร็ จ คู่กรณี ฝ่ายหนึ่งฝ่ ายใดแห่งนิติกรรมอันอยูใ่ นบังคับเงื่อนไขจะต้องงดเว้นไม่
กระทาการอย่างหนึ่งอย่างใด ให้เป็ นที่เสื่ อมเสี ยประโยชน์แก่คู่กรณี อีกฝ่ ายหนึ่งซึ่งพึงจะได้จากความสาเร็ จแห่งเงื่อนไขนั้น
(1) การทาให้ เป็ นการเสื่ อมเสี ยแก่ วตั ถุแห่ งนิติกรรม
ตัวอย่ าง นาย ก จะยกรถยนต์ให้นาย ข เมื่อนาย ข จบเป็ นนิติศาสตรบัณฑิต ระหว่างที่นาย ข ยังไม่จบการศึกษานาย ก จะให้
เป็ นการเสื่ อมเสี ยสิ ทธิแก่นาย ข ไม่ได้เช่น การนาเอารถยนต์ไปขายให้แก่นาย ค ไม่ได้เพราะเมื่อ ข สาเร็ จการศึกษานาย ก
ไม่มีรถยนต์ส่งมอบให้แก่นาย ข และหากไม่สามารถส่งมอบให้นาย ข ได้นาย ก ก็ผิดสัญญาต้องชดใช้ให้แก่นาย ข
(2) สิ ทธิในการทีจ่ ะจาหน่ าย รับมรดก หรื อจัดการป้ องกันรักษาสิ ทธิในความหวัง
มาตรา 185 ในระหว่างที่เงื่อนไขยังไม่สาเร็ จนั้น สิ ทธิและหน้าที่ตา่ งๆของคู่กรณี มีอย่างไร จะจาหน่าย จะรับมรดก จะ
จัดการป้ องกันรักษา หรื อจะทาประกันไว้ประการใดตามกฎหมายกาหนดก็ยอ่ มได้
ตัวอย่างการจาหน่ ายสิ ทธิหรื อหน้ าที่ นาย ก ซื้อรถยนต์จากนาย ข โดยมีเงื่อนไขบังคับก่อน และเมื่อเงื่อนไขยังไม่
สาเร็ จ นาย ก และนาย ข จะจาหน่ายสิ ทธิดงั กล่าวไปได้ เช่น นาย ก จะโอนสิ ทธิการซื้อรถยนต์ดงั กล่าวไปให้แก่นาย ค ย่อม
ได้ นาย ค ต้องเป็ นผูช้ าระราคาให้แก่นาย ข
การที่มาตรา 185 กาหนดไว้เป็ นการจาหน่ายสิ ทธิ หรื อ หน้าที่ตามที่มีต่อกัน ในระหว่างที่เงื่อนไขยังไม่สาเร็ จ
ตัวอย่างการรับมรดกสิ ทธิและหน้ าที่
จากตัวอย่างแรก หากนาย ข ตายไปก่อนที่เงื่อนไขจะสาเร็จ ทายาทของนาย ข ย่อมรับไปทั้งสิ ทธิและหน้าที่ตามที่กฎหมาย
มรดกกาหนดไว้ ( มาตรา 1600 ) ทายาทของนาย ข ต้องส่งมอบรถยนต์ให้แก่นาย ก เมื่อเงื่อนไขสาเร็ จ เพราะกฎหมาย
กาหนดว่า ระหว่างเงื่อนไขไม่สาเร็ จสิ ทธิหน้าที่ต่างๆ สามารถรับมรดกกันได้
ตัวอย่างการจัดการป้ องกันสิ ทธิ
จากตัวอย่างแรกนาย ก และนาย ข มีสิทธิที่จะฟ้องไม่ให้บุคคลอื่นที่ทาให้เกิดความเสี ยหายแก่ทรัพย์ได้ เช่น ฟ้องนาย ค ที่
ขับรถมาทาให้รถยนต์เสี ยหายได้
8

ตัวอย่างการทาประกันสิ ทธิ
จากตัวอย่างแรก นาย ก หรื อ นาย ข สามารถทาการประกันสิ ทธิดงั กล่าวได้ เช่น การหาธนาคารมาค้ าประกันการซื้อขาย
รถยนต์ดงั กล่าวได้
(3) หน้ าที่ทจี่ ะต้ องทาการโดยสุ จริต
มาตรา 186 ถ้าความสาเร็ จแห่งเงื่อนไขจะให้เป็ นทางให้คู่กรณี ฝ่ายใดเสี ยเปรี ยบ และคู่กรณี ฝ่ายนั้นกระทาการโดยไม่สุจริ ต
จนเป็ นเหตุให้เงื่อนไขนั้นไม่สาเร็จ ให้ถือว่า เงื่อนไขนั้นสาเร็จแล้ว
ถ้าความสาเร็ จแห่งเงื่อนไขจะเป็ นทางให้คู่กรณี ฝ่ายใดได้เปรี ยบ และคู่กรณี ฝ่ายนั้นกระทาการโดยไม่สุจริ ต
จนเป็ นเหตุให้เงื่อนไขนั้นสาเร็จ ให้ถือว่า เงื่อนไขนั้นมิได้สาเร็ จเลย
ผลของการทาการโดยไม่ สุจริ ตให้ เงื่อนไขสาเร็จ
ตัวอย่าง 1 นาย ก ตกลงทาสัญญาซื้อขายจากนาย ข โดยตกลงกันว่า ถ้านาย ข ได้ทาถนนในที่ดินเสร็จแล้ว จะโอนที่ดินให้
นาย ก ต่อมาราคาที่ดินสูงขึ้นนาย ข จึงไม่ทาถนนให้เสร็ จ เป็ นกรณี ตามมาตรา 186 วรรคแรก คือ นาย ข ไม่สุจริ ตทาให้
นาย ก เสี ยเปรี ยบให้ถือว่า เงื่อนไขการทาถนนนั้นสาเร็ จ ต้องโอนที่ดินให้กบั นาย ก
ตัวอย่าง 2 นาย ก ตกลงขายเครื่ องจักรให้นาย ข โดยกาหนดว่า ถ้าเครื่ องจักรเสี ยภายใน 1 เดือน นาย ข สามารถคืนได้
พร้อมเงินเต็มจานวน นาย ข นาเครื่ องจักรไปใช้งานแล้วไม่พอใจ จึงทาให้เครื่ องจักรเสี ย ภายในกาหนด 1 เดือน เพื่อนามา
คืนให้นาย ก กรณี ดงั กล่าวเป็ นไปตามมาตรา 186 วรรคสอง เป็ นกรณี ที่ไม่สุจริ ตทาให้เงื่อนไขนั้นสาเร็ จ ให้ถือว่า เงื่อนไข
นั้นไม่สาเร็ จ คือถือว่า เครื่ องจักรนั้นไม่เสี ยเลย
1.4 ผลเมื่อเงื่อนไขสาเร็จ
1.4.1 โดยหลักทัว่ ไป คือ
นิติกรรมที่มีเงื่อนไขบังคับก่อน เมื่อเงื่อนไขสาเร็จ นิ ติกรรมนั้นมีผล
นิติกรรมที่มีเงื่อนไขบังคับหลัง เมื่อเงื่อนไขนั้นสาเร็จ นิติกรรมนั้นสิ้นผล
ตามที่กาหนดไว้ในมาตรา 183
1.4.2 บางกรณี มาตรา 183 วรรค 3
ถ้าคู่กรณี แห่งนิติกรรมได้แสดงเจตนาไว้ดว้ ยกันว่า ความสาเร็ จแห่งเงื่อนไขนั้นให้มีผลย้อนหลังไปถึงเวลาใดเวลาหนึ่งก่อน
สาเร็ จ ก็ให้เป็ นไปตามเจตนาเช่นนั้น
ตัวอย่าง นาย ก ทาสัญญาซื้อขายสวนจากนาย ข ว่า หากนาย ข ทาการปรับปรุ งสวนเสร็จเรี ยบร้อย จะโอนให้นาย ข และ
เมื่อโอนแล้ว ให้สญ
ั ญามีผลย้อนหลัง ตั้งแต่วนั ลงนามในสัญญา กล่าวคือดอกผลที่เกิดขึ้น ณ วันลงนามในสัญญาด้วย
9

2. เงื่อนเวลา
กฎหมายไม่ได้ให้ความหมายคาว่า เงื่อนเวลาไว้ ต่างจากเรื่ องเงื่อนไข ที่กฎหมายให้ความหมายไว้ชดั เจนในมาตรา 182 อย่างไรก็
ดีสรุ ปจากมาตรา 191 ได้วา่ เรื่ องเงื่อนเวลาเป็ นเหตุการณ์ ทแี่ น่ นอนและรู้ ว่าจะเกิดขึน้ เมื่อใด ต่างจากเรื่ องเงื่อนไขที่ไม่แน่นอน
อาจเกิดขึ้นหรื อไม่เกิดขึ้นก็ได้

มาตรา 191 นิติกรรมใดมีเงื่อนเวลาเริ่ มต้นกาหนดไว้ ห้ามมิให้ทวงถามให้ปฏิบตั ิการตามนิติกรรมนั้นก่อนถึงเวลาที่กาหนด


นิติกรรมใดมีกาหนดเวลาสิ้นสุดไว้ นิติกรรมนั้นย่อมสิ้นผลเมื่อถึงเวลาที่กาหนด

2.1 ประเภทของเงื่อนเวลา
1. เงื่อนเวลาเริ่มต้ น การให้มิให้มีการทวงถามให้มีการปฏิบตั ิตามนิติกรรมเมื่อมีเหตุการณ์ที่แน่นอนเกิดขึ้นตามที่กาหนด
ไว้
2. เงื่อนเวลาสิ้นสุ ด ข้อกาหนดให้นิติกรรมสิ้นผลเมื่อมีเหตุการณ์ที่แน่นอนกาหนดไว้เกิดขึ้น

2.2 เงื่อนเวลากาหนดโดยเหตุการณ์ ทกี่ าหนดไว้ แน่ นอน


มี 2 ประเภท คือ
(1) เหตุการณ์ ทแี่ น่ นอน รู้ ว่าจะเกิดขึน้ เมื่อใด อาจกาหนดไว้ เป็ นวัน เดือน ปี หรื อเป็ นชั่วโมง นาที ได้
ตัวอย่ าง นาย ก กาหนดไว้วา่ จะให้นายยืมรถยนต์ในวันที่ 1 มกราคม 2546 การกาหนดเช่นนี้เป็ นการกาหนดเงื่อนเวลาที่
แน่นอนทราบแน่วา่ จะเกิดเมื่อใด
(2) เหตุการณ์ ในอนาคตทีแ่ น่ นอนแต่ ยงั ไม่ ทราบว่ าจะเกิดขึน้ เมื่อใด
ตัวอย่ าง นาย ก บอกว่าจะจ่ายค่าเลี้ยงดูให้แก่ลูกของนาย ข ตาย จะเห็นได้วา่ เหตุการณ์เช่นนี้เกิดขึ้นแน่นอน อย่างไรนาย ข ก็ตอ้ ง
ตายแต่ยงั ไม่ทราบว่า การตายจะเกิดขึ้นเมื่อใด

2.3 การเปรียบเทียบระหว่างเงื่อนไขและเงื่อนเวลา
- เงื่อนไขและเงื่อนเวลาเป็ นข้ อกาหนดในอนาคตเหมือนกัน
- เงื่อนไขเป็ นเรื่ องที่ไม่แน่นอนว่า จะเกิดขึ้นหรื อไม่แต่เรื่ องเงื่อนเวลาเป็ นเรื่ องที่เกิดขึ้นแน่นอนแต่ยงั ไม่ทราบว่า
จะเกิดขึ้นเมื่อใด
- ผลของนิติกรรมเหมือนกันเนื่องจากเป็ นเรื่ องที่ทาให้นิติกรรมเป็ นผลหรื อสิ้นผลเหมือนกัน
- เงื่อนไขแบ่งเป็ นเรื่ องเงื่อนไขบังคับก่อนเงื่อนไขบังคับหลัง
-เงื่อนไขการบังคับก่อน มีผลทาให้นิติกรรมนั้นสาเร็ จ
-เงื่อนไขการบังคับหลังทาให้นิติกรรมนั้นสิ้นผล
-แต่การกาหนดเงื่อนเวลาเริ่ มต้น นิติกรรมนั้นเป็ นผลแล้ว แต่ไม่สามารถเรี ยกให้ปฏิบตั ิการชาระหนี้ได้
เท่านั้น
10

2.4 ประโยชน์ แห่ งเงื่อนเวลา


มาตรา 192 วรรคแรก เงื่อนเวลาเริ่ มต้นหรื อสิ้นสุดนั้น ให้สนั นิษฐานไว้ก่อนว่า กาหนดไว้เพื่อเป็ นประโยชน์แก่ลูกหนี้ เว้นแต่จะ
ปรากฏโดยเนื้อความแห่งตราสารหรื อโดยพฤติการณ์แห่งกรณี วา่ ได้ต้ งั ใจให้เป็ นประโยชน์แก่ฝ่ายเจ้าหนี้หรื อคู่กรณี ท้ งั สองฝ่ าย
ด้วยกัน
2.4.1. หลักทัว่ ๆไปการกาหนดเงื่อนเวลาเป็ นประโยชน์ แก่ ฝ่ายลูกหนี้
ตัวอย่าง
ก ให้ ข กูเงินจานวน 10,000 บาท กาหนดชาระคืนวันที่ 1 มกราคม 2546 เป็ นการกาหนดเพื่อประโยชน์ของลูกหนี้ กล่าวคือ
ลูกหนี้สามารถนาเงินดังกล่าวไปหมุนใช้ได้ตามกาหนดเวลาดังกล่าวตามกฎหมายเรื่ องเงื่อนเวลา ก จะเรี ยกต้นเงินคืนก่อน
กาหนดหรื อตามเงื่อนเวลาที่กาหนดไม่ได้
2.4.2การกาหนดเงื่อนเวลาทีเ่ ป็ นประโยชน์ แก่ ฝ่ายเจ้ าหนี้
บางกรณี ที่เป็ นการกาหนดเงื่อนเวลาที่เป็ นประโยชน์กบั เจ้าหนี้ เช่น กาหนดให้ตอ้ งคืนเงินตามสัญญากูเ้ มื่อวันที่ 1 มกราคม 2546
แต่กาหนดสงวนสิ ทธิเป็ นประโยชน์กบั เจ้าหนี้ไว้ดว้ ยว่า เจ้าหนี้อาจเรี ยกคืนเงินต้นเมื่อใดก็ได้ ดังนั้น แม้ยงั ไม่ครบกาหนดตาม
สัญญาเจ้าหนี้ยอ่ มสามารถที่จะเรี ยกต้นเงินคืนได้
2.4.3การกาหนดเงื่อนเวลาให้ เป็ นประโยชน์ แก่ ท้งั ฝ่ ายเจ้ าหนีแ้ ละลูกหนีท้ ้งั สองฝ่ าย
ตัวอย่าง การที่ฝากเงินกับธนาคารประเภทการฝากประจา 1 ปี ธนาคารกาหนดว่า จะต้องฝากให้ครบ 1 ปี จึงให้ดอกเบี้ยตามที่
ธนาคารกาหนด แต่ถา้ ลูกค้าฝากไม่ครบ 1 ปี จะไม่ได้ดอกเบี้ยอัตราดังกล่าว กล่าวคือเป็ นการกาหนดเงื่อนเวลาที่เป็ นประโยชน์
แก่ท้ งั สองฝ่ าย ลูกค้าไม่สามารถถอนเงินก่อนกาหนดได้ เพราะธนาคารต้องการนาเงินไปใช้ประโยชน์ แต่เงื่อนเวลาก็เป็ น
ประโยชน์กบั ฝ่ ายลูกค้าเช่นเดียวกันเพราะถ้าฝากเงินได้ตามกาหนด จะได้ดอกเบี้ยในอัตราที่สูงกว่าการฝากออมทรัพย์ทวั่ ไป

2.5 การทีล่ ูกหนีถ้ ือเอาประโยชน์ จากเงื่อนเวลาไม่ ได้


เนื่องจากการที่กฎหมายกาหนดว่า เงื่อนเวลาโดยทัว่ ไปกาหนดเพื่อประโยชน์ของลูกหนี้ เช่น การกาหนดให้ลูกหนี้
เงินกูต้ อ้ งชาระเงินคืนตามกาหนดที่ได้ตกลงกันไว้ ปกติแล้ว เจ้าหนี้จะไม่สามารถเรี ยกให้ชาระหนี้ก่อนกาหนดได้ ยกเว้น ลูกหนี้
ได้กระทาการบางอย่างเป็ นการสละประโยชน์แห่งเงื่อนเวลาตามมาตรา 193
มาตรา 193 ในกรณี ดงั ต่อไปนี้ ฝ่ ายลูกหนี้จะถือประโยชน์แห่งเงื่อนเวลาสิ้นสุดไม่ได้
(1) ลูกหนี้ถูกศาลสัง่ พิทกั ษ์ทรัพย์เด็ดขาดตามกฎหมายว่าด้วยล้มละลาย
(2) ลูกหนี้ไม่ให้ประกันเมื่อจาต้องให้
(3) ลูกหนี้ได้ทาลาย หรื อทาให้ลดน้อยถอยลงซึ่งหลักประกัน
(4) ลูกหนี้นาทรัพย์สินของบุคคลอื่นมาให้เป็ นประกันโดยเจ้าของทรัพย์สินนั้นมิได้ยนิ ยอมด้วย

2.5.1 ลูกหนีถ้ ูกศาลสั่ งพิทักษ์ ทรัพย์ เด็ดขาดตามกฎหมายว่ าด้ วยการล้ มละลาย


การที่จะฟ้องล้มละลายได้หมายถึงการที่ลูกหนี้มีหนี้สินพ้นตัวไม่สามารถชาระหนี้ได้ หรื อมีหนี้สินมากกว่าทรัพย์สิน ไม่สามารถ
ทาการชาระหนี้ได้ต่อไป การฟ้องร้องกรณี ลม้ ละลายต่างจากการฟ้องธรรมดาคือทรัพย์สินทุกอย่างรวมถึงรายได้จากการทามาหา
เลี้ยงชีพทุกอย่างตกอยูภ่ ายใต้การบังคับคดี เรี ยกว่า การพิทกั ษ์ทรัพย์เด็ดขาดก่อนที่จะมีคาพิพากษาให้เป็ นบุคคลล้มละลาย และ
11

สถานะการเป็ นบุคคลล้มละลายจะคงอยูช่ วั่ ระยะเวลาหนึ่ง ถูกจากัดการทานิติกรรมต่างๆ แต่การฟ้องบังคับคดีโดยทัว่ ไปเป็ น


เพียงการที่ให้มีการนาเอาทรัพย์สินเพียงพอกับการชาระหนี้ไปขายทอดตลาดเท่านั้น ลูกหนี้จะอยูใ่ นฐานะลูกหนี้ธรรมดา และ
เมื่อได้มีการชาหนี้เสร็ จสิ้นแล้วลูกหนี้อยูใ่ นสถานะปกติทานิติกรรมต่างๆได้
เมื่อมีคาสัง่ ศาลให้พิทกั ษ์ทรัพย์ของลูกหนี้ เจ้าหนี้สามารถเรี ยกให้ชาระหนี้ได้ทนั ทีโดยไม่ตอ้ งให้ถึงกาหนดตามเงื่อน
เวลาที่กาหนดไว้ เพราะลูกหนี้มีหนี้สินล้นพ้นตัวไม่สานารถชาระหนี้ได้แล้ว ถือว่าลูกหนี้ไม่สามารถถือเอาประโยชน์ในเงื่อน
เวลาได้อีกต่อไป
2.5.2 ลูกหนีไ้ ม่ ให้ ประกันเมื่อจาต้ องให้
ถ้าได้มีการกาหนดไว้เมื่อมีการทาสัญญาให้ลูกหนี้ตอ้ งส่งมอบหลักประกัน แต่ลูกหนี้ผิดสัญญาไม่ให้หลักประกันถือว่าลูกหนี้ไม่
อาจถือประโยชน์ในเงื่อนเวลาได้อีกต่อไป
ตัวอย่าง นาย ก กูเ้ งินจากนาย ข นาย ก ได้ให้เงินกูแ้ ก่ ในวันที่ทาสัญญา กาหนดชาระเงินกูค้ ืนอีก 1 ปี ข้างหน้า และ ก สัญญาว่า
ในอีก 10 วันข้างหน้าจะไปจดทะเบียนจานองบ้านไว้ให้เป็ นประกัน แต่ต่อมาปรากฏว่า นาย ก ไม่ยอมจดทะเบียนจานองให้ ดังนี้
ถึงแม้ยงั ไม่ครบกาหนดชาระคืนเงินกูต้ ามที่ได้ตกลงกันไว้ ข สามารถเรี ยกคืนเงินกูด้ งั กล่าวได้ทนั ที ถือว่า ก ไม่อาจถือประโยชน์
แห่งเงื่อนเวลาได้อีกต่อไป ตามมาตรา 193 โดยไม่ให้หลักประกันเมื่อจาต้องให้
2.5.3 ลูกหนีไ้ ด้ ทาลายหรื อทาให้ ลดน้ อยถอยลงซึ่งหลักประกันอันได้ ให้ ไว้
ลูกหนี้บางรายได้ให้หลักประกันไว้เป็ นการประกันการปฏิบตั ิการทาสัญญา แต่ได้ทาให้หลักประกันมีมูลค่าลดน้อยลง
ตัวอย่าง ก กูเ้ งิน ข 1 ล้านบาท โดยจดทะเบียนจานองที่ดินและบ้าน มูลค่ารวมกันประมาณ1ล้านบาท ไว้เป็ นประกัน กาหนด
ชาระหนี้อีก 1ปี 3 เดือนต่อมานาย ก ได้ร้ื อถอนบ้านไว้ไปปลูกที่อื่น ผลคือทาให้มูลค่าหลักประกันลดลง หากมีการบังคับจานอง
นาบ้านออกขายทอดตลาดอาจทาให้ไม่คุม้ หนี้ ทาให้เจ้าหนี้เสี ยเปรี ยบได้ ดังนั้น นาย ข สามารถที่จะเรี ยกให้นาย ก ชาระหนี้ได้
ก่อนครบกาหนด 1 ปี นาย ก ไม่สามารถที่จะใช้ประโยชน์แห่งเงื่อนเวลาได้อีกต่อไปตามมาตรา 193
2.5.4 ลูกหนีน้ าทรัพย์ สินของบุคคลอื่นมาให้ เป็ นประกัน โดยเจ้ าของทรัพย์ ไม่ ได้ ยนิ ยอมด้ วย
เนื่องจากการให้หลักประกันไว้แก่เจ้าหนี้ จะเป็ นผลให้เจ้าหนี้สามารถยึดทรัพย์สินดังกล่าวแทนการชาระหนี้ได้ หาก
เจ้าของที่แท้จริ งไม่ยนิ ยอมให้มีการเอาทรัพย์มาเป็ นหลักประกัน ตามกฎหมายเรื่ องทรัพย์เจ้าของที่แท้จริ งสามารถที่จะเอาทรัพย์
ของตนคืนได้ ทาให้เจ้าหนี้ไม่มีหลักประกันอีกต่อไป ซึ่งไม่เป็ นธรรมแก่เจ้าหนี้ มาตรา 193 จึงให้เจ้าหนี้เรี ยกคืนให้ปฏิบตั ิการ
ชาระหนี้ได้ก่อนกาหนดแห่งเงื่อนเวลา เงื่อนเวลาที่กาหนดไว้ดงั กล่าวไม่เป็ นประโยชน์กบั ลูกหนี้อีกต่อไป
ตัวอย่ าง จากตัวอย่างที่แล้วหากปรากฏว่า บ้านและที่ดินเป็ นของนาย ค และนาย ค ไม่ได้ยนิ ยอมให้มีการนาเอาบ้านและที่ดินมา
จานองเป็ นหลักประกัน และเมื่อเจ้าหนี้ทราบความจริ ง สามารถเรี ยกให้นาย ก ชาระหนี้คืนได้ทนั ที แม้ยงั ไม่ถึงกาหนด 1 ปี ตามที่
ตกลงไว้ก็ตาม
12

คาถามประกอบคู่มือการเรียนรู้
ครั้งที่ 7
ตอบคาถามต่ อไปนี้
1. จงตอบคาถามต่อไปนี้ ว่าสิ่ งที่กาหนดเป็ นเงื่อนไขหรื อเงื่อนเวลา ประเภทใด
1.1 นาย ก จะให้นาย ข เช่าบ้านของตนถ้านาย ข ย้ายมาที่หาดใหญ่ ซึ่งคาดว่า จะเป็ นปี หน้า
1.2 นาย ก ได้ให้นาย ข เช่าบ้านของตนที่หาดใหญ่ โดยมีขอ้ ตกลงว่า ถ้านาย ข ย้ายมาที่กรุ งเทพ จะให้การ
เช่าสิ้นสุดลง
1.3 นาย ก ต้องการให้นาย ข ยกบ้านให้แก่ตนเมื่อ นาย ข ตาย
1.4 นาย ก จะให้นาย ข กูย้ มื เงิน 1 ล้านบาทเมื่อตนขายบ้านได้
1.5 นาย ก ให้นาย ข กูย้ มื เงินโดยจะส่งมอบเงินให้เมื่อปี ใหม่ 2547
2. จงตอบคาถามต่อไปนี้ ว่าเงื่อนไขต่อไปนี้ใช้หรื อไม่ เพราะเหตุใด
2.1 นาย ก จะยกที่ดินให้นางสาว ข ถ้านางสาว ข ยอมเป็ นภรรยาน้อยตน
2.2 นาย ก จะเช่าบ้านนาย ข ถ้านาย ก ย้ายมากรุ งเทพ แต่ขณะนี้นาย ก อยูก่ รุ งเทพแล้ว
2.3 นาย ก ให้ ข เช่าบ้าน และสัญญาเช่าสิ้นสุดลงเมื่อ ก ย้ายมากรุ งเทพ ขณะนี้ ก เข้ามาอยูท่ ี่กรุ งเทพแล้ว
2.4 นาย ก จะยกบ้านให้นาย ข แต่บา้ นที่กล่าวถึงได้ขายไปให้นาย ค แล้ว
2.5 นาย ก จะยกบ้านให้นาย ข เมื่อนาย ข ย้ายจากเชียงใหม่มากรุ งเทพ ขณะที่ตกลงกันนาย ข อยูเ่ ชียงใหม่
13

You might also like