You are on page 1of 4

ความแตกต่างระหว่าง เงื่อนไข มูลเหตุจูงใจ และวัตถุประสงค์ของนิติกรรม

นิติกรรม เป็ นเครื่ องมือสาหรับบุคคล เพื่อสร้างสิ ทธิและหน้าที่ผูกพันกันโดยสมัครใจและอยู่ในของเขตที่กม.


กาหนด โดยประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิ ชย์ได้กาหนดความหายของ “นิติกรรม” ไว้ในมาตรา 149 ว่า “ นิติกรรม
หมายความว่า การใดๆอันทาลงโดยชอบด้วยกม.และด้วยใจสมัคร มุ่งโดยตรงต่อการผูกนิติสัมพันธ์ข้ นึ ระหว่างบุตคล
เพื่อที่จะก่อ เปลี่ยนแปลง โอน สงวนหรื อระงับซึ่งสิ ทธิ” ซึ่งเงื่อนไข มูลเกตุจูงใจ และวัตถุประสงค์ของนิติกรรมนั้น เป็ น
ส่วนหนึ่งในการทานิติกรรม กล่าวคือ
เงื่อนไข ตามมาตรา 182 ให้ความหมายของ เงื่อนไข ไว้ชดั เจนว่าหมายถึงข้อความอันบังคับ ไว้ให้นิติกรรมเป็ นผล
(เงื่อนไขบังคับก่อน) หรื อสิ้นผล(เงื่อนไขบังคับหลัง) ต่อเมื่อมีเหตุการณ์อนั ไม่แน่นอนว่าจะเกิดขึ้นหรื อไม่ในอนาคต ซึ่งเมื่อ
บุคคลทานิติกรรมถูกต้องตามหลักเกณฑ์ที่กม.กาหนดไว้แล้ว โดยปกตินิติกรรมย่อมเกิดผลทันที แต่มนบางกรณี ผูท้ านิติ
กรรมยังไม่ตอ้ งการให่เกิดผลในทันทีหรื อต้องการให้สิ้นผลลงในอนาคต จึงเกิดเป็ นเงื่อนไขที่กม.ก็ตอ้ งบังคับให้เป็ นไปตาม
เจตนาของผูท้ านิติกรรม และที่สาคัญเงื่อไขนี้ตอ้ งเป็ นข้อกาหนดของบุคคล ไม่ใช่ขอ้ บังคับของกม. และเนื่องจากเงื่อนไข
เป็ นสิ่ งที่ผนู ้ ทานิติกรรมใช้เสรี ภาพเข้ามากาหนดเพิ่มเติม จึงเป็ นเพียงองค์ประกอบเสริ มของนิติกรรมที่ไม่จาเป็ นต้องมี นิติ
กรรมก็สามารถเกิดขึ้นสมบูรณ์เป็ นผลได้ทุกประการ ตัวอย่างเช่น A ตกลงจะให้เงินแก่ B 20,000บาท โดยมีขอ้ กาหนดว่า
จะมห้เงินจานวนดังกล่าว ต่อเมื่อ B เรี ยนจบมัธยมศึกษาตอนปลาย ข้อกาหนดนี้เป็ นเงื่อนไข เพราะเป็ นเหตุการณ์ที่จะเกิดขึ้น
ในอนาคตที่กาหนดความเป็ นผล คือการให้เงิน 20,000 บาท ซึ่งในขณะที่ทานิติกรรม B ยังเรี ยนไม่สาเร็จและไม่มีความ
แน่นอนเพราะBอาจจะเรี ยนสาเร็จหรื อไม่ก็ได้ และข้อกาหนดนี้ก็ไม่สใช่ขอ้ บังคับของกฎหมาย
มูลเหตุจูงใจ เป็ นจุดเริ่ มต้นของกระบวนการก่อเจตนา และเป็ นเพียงแต่เหตุบางอย่างที่มากระตุน้ ให้เกิดความอยาก
หรื อตัดสิ นใจในการทานิติกรรม ซึ่งเป็ นเรื่ องภายในจิตใจของแต่ละคนที่แตกต่างกันออกไป โดยที่ไม่ได้มีความสาคัญทาง
กฎหมาย แต่ก็เป็ รส่วนหนึ่งในการทาให้นิติกรรมนั้นเกิดขึ้น ตัวอย่างเช่น A ต้องการซื้อกระเป๋ าไปอวดเพื่อน เหตุจูงใจนี้คือ
การอวดเพื่อนซึ่งกฎหมายไม่ได้ให้ความสาคัญว่าจะซื้อประเป๋ าไปเพื่อสิ่ งใด เพียงแต่สนใจว่าการทานิติกรรมนั้นครบ
องค์ประกอบสมบูรณ์หรื อมีผลอย่างไรเท่านั้น
วัตถุประสงค์ หมายถึงความประสงค์หรื อความมุ่งหมายในการทานิติกรรม หรื ออาจหมายถึงประโยชน์สุดท้ายที่
คู่กรณี หวังจะได้จากการทานิติกรรมนั้น ซึ่งวัตถุประสงค์ก็คือเป้าหมายในการทานิติกรรมนัน่ เอง โดยแม้ว่าในประมวล
กฎหมายแพงล่วและพาณิ ชย์จะไม่ได้บญ ั ญัติไว้อย่างชัดเจนว่าการทานิ ติกรรมจะต้องมีเป้าหมายหรื อวัตถุประสงค์ก็ตาม แต่
คาว่า”มุ่ง” ในรวามหมายของนิติกรรมตามมาตรา149 ย่อมป็ นที่เข้าใจว่าเป็ นนิติกรรมที่ตอ้ งมีเป้าหมายเสมอ มิฉะนั้นก็จะ
กลายเป็ นเรื่ องที่ไม่จริ งจังอะไร ไม่สามารถทราบได้ว่าจะทาไปทาไมหรื อเพื่ออะไร เพราะการทานิ ติกรรมนั้นเป็ นการทา
เพื่อให้ได้มาซึ่งแระโยชน์อย่างใดอย่างหนึ่ง เพราะฉะนั้นก็ตอ้ งมีประโยชน์ที่ม่งหวังจะได้ ดังนั้นวัตถุประสงค์จึงเป็ น
องค์ประกอบที่เป็ นสาระสาคัญของนิติกรรม หากขาดไปนิติกรรมก็มิอาจเกิดได้ ตัวอย่างเช่น A ทาสัญญาซื้อขายที่ดิน จากB
วัตถุประสงค์ในการทานิติกรรมนี้ คือ A ต้องการได้กรรมสิ ทธิ์ในที่ดินของ B แต่อย่างไรก็ตามวัตถุประสงค์น้ ีก็ตอ้ งอยู่
ภายในขอบเขตที่กฎหมายกาหนดไว้ กล่าวคือ วันถุประสงค์น้ นั ต้องไม่ขดั ต่อกฎหมาย ความสงบเรี ยบร้อยหรื อศิลธรรมอันดี
ของประชาชน หรื อไม่เป็ นการพ้นวิสัย
**หมายเหตุ** ถ้าคู่กรณี อีกฝ่ ายหนึ่งได้รูถึงมูลเหตุจูงใจของอีกฝ่ ายหนึ่ง มูลเหตุจูงใจนั้นก็จะกลายเป็ นวัตถุประสงค์ของกาน
ทานิติกรรมได้
จากที่กล่าวข้างต้น จึงอาจสรุ ปได้ว่าเงื่อนไข มูลเหตุจูงใจ และวัตถุประสงค์ของนิติกรรม มีความแตกต่างกัน ดังนี้

1. ความสาคัญต่อการทานิติกรรม
เงื่อนไข : เป็ นเพียงองค์ประกอบเสริ มในการทานิติกรรมที่ไม่จาเป็ นต้องมี นิติกรรมนั้นก็สามารถ
สมบูรณ์และมีผลได้ทุกประการ
มูลเหตุจูงใจ : เป็ นเรื่ องภายในจิตใจของแต่ละบุคคล ซึ่งไม่ได้มีความสาคัญในทางกฎหมาย
วัตถุประสงค์ : เป็ นองค์ประกอบที่เป็ นสาระสาคัญในการทานิติกรรม ถ้าขาดวัตถุประสงค์ไปนิติกรรมก็
จะไม่สามารถเกิดขึ้นได้
2. ลักษณะ
เงื่อนไข : เป็ นสิ่ งที่กาหนดความเป็ นผลหรื อสิ้นผลของนิติกรรม
มูลเหตุจูงใจ : เป็ นสิ่ งที่กาหนดความความอยาก การตัดสิ นใจในการทานิติกรรม
วัตถุประสงค์ : เป็ นสิ่ งที่กาหนดว่าการกระทานั้นจะเป็ นนิติกรรมหรื อไม่ และกาหนดความสมบูรณ์ของ
นิติกรรม
3. พิจารณาตามทฤษฎีและความแน่นอนระหว่างในการทานิติกรรม
เงื่อนไข : เป็ นเรื่ องในทางภาวะวิสัย (oggettivo) ซึ่งเป็ นการกาหนดถึงเหตุการณ์ในอนาคตที่ไม่แน่นอนว่า
จะเกิดขึ้นหรื อไม่ เพราะถ้าแน่นอนว่าจะเกิดขึ้นแล้วอาจทาให้นิติกรรมนั้นไม่มีเงื่อนไขหรื ออาจตกเป็ น
โมฆะได้
มูลเหตุจูงใจ : เป็ นเรื่ องในทางอัตวิสัย (soggettivo) ที่ไม่แน่นอน อาจเปลี่ยนแปลงเมื่อไหร่ ก็ได้ เพราะเป็ น
เรื่ องภายในจิตใจของแต่ละบุคคล
วัตถุประสงค์ : เป็ นเรื่ องในทางภาวะวิสัย (oggettivo) ที่มีความแน่นอน ไม่เปลี่ยนแปลง เพราะถ้าไม่
แน่นอนก็อาจกลายเป็ นเรื่ องเล่นๆไม่จริ งจังอะไร จนทาให้ไม่อาจเกิดเป็ นนิติกรรมได้
4. บทบาทในการก่อให้เกิดนิ ติกรรม
เงื่อนไข : เป็ นเหตุการณ์ในอนาคต ซึ่งในขณะที่ทานิติกรรมนั้นยังไม่เกิดขึ้น
มูลเหตุจูงใจ : เป็ นสิ่ งที่เกิดขึ้นก่อนการทานิติกรรม เพราะมูลเหตุจูงใจนั้นเป็ นขั้นตอนแรกของ
กระบวนการแสดงเจตนา
วัตถุประสงค์ : เกิดขึ้นในขณะทานิ ติกรรมเพราะเป็ นความมุ่งหมายและเป็ นองค์ประกอบของการทานิติ
กรรม
ถึงแม้จะมีความแตกต่างกันมากแต่ อย่างไรก็ดีเงื่อนไข มูลเหตุจูงใจ และวัตถุประสงค์ของนิติกรรมก็ยงั คงมี
ลักษณะที่เหมือนกัน คือ ทั้งสามเป็ นส่วนประกอบของนิติกรรม ที่มีบทบาททาให้นิติกรรมนั้นมีผลบังคับตามกฎหมายและ
เป็ นไปตามหลักเสรี ภาพในการแสดงเจตนาเช่นเดียวกัน

ส่วนผลทางกฎหมายที่เกี่ยวข้องมีดงั นี้
• เงื่อนไข
1. เงื่อนไขบังคับก่อน นิติกรรมนั้นจะมีผลตามกฎหมายก็ต่อเมื่อ เงื่อนไขนั้นสาเร็จ ตามมาตรา 183 ว.1
2. เงื่อไขบังคับหลัง จะสิ้นผลก็ต่อเมื่อ เงื่อนไขนั้นสาเร็จตามมาตรา 183 ว.2
3. กรณี ที่นิติกรรมตกเป็ นโมฆะ
3.1 เงื่อนไขบังคับก่อน ที่จะสาเร็จหรื อไม่สุดแล้วแต่ใจของลูกหนี้ มาตรา 190
3.2 เงื่อนไขบังคับหลังที่เงื่อนไขสาเร็จแล้วในขณะทานิติกรรม มาตรา 187 ว.1
3.3 เงื่อนไขบังคับก่อนที่ไม่อาจสาเร็จได้ในเวลาทานิติกรรม มาตรา 187 ว.2
3.4 เงื่อนไขที่ขดั ต่อกม.หรื อขัดต่อความสงบเรี ยบร้อยหรื อศิลธรรมอันดีของปชช. มาตรา 188
3.5 เงื่อนไขบังคับก่อนที่พน้ วิสัย มาตรา189
4. กรณี ที่นิติกรรมถือว่าเป็ นนิติกรรมที่ไม่มีเงื่อนไข
4.1 เงื่อนไขบังคับก่อน ที่สาเร็จแล้วในขณะทานิติกรรม มาตรา 187 ว.1
4.2 เงื่อนไขบังคับหลังที่ไม่อาจสาเร็จได้ในเวลาทานิติกรรม มาตรา 187ว.2
4.3 เงื่อนไขบังคับหลังที่พน้ วิสัย มาตรา 189
5. เงื่อนไขที่ถูกทาให้ไม่สาเร็จ โดยไม่สุจริ ต ให้ถือว่า เงื่อนไขนั้นาเร็จแล้ว มาตรา 186 ว.1
6. เงื่อนไขที่ถูกทามห้สาเร็จ โดยไม่สุจริ ต ให้ถือว่าเงื่อนไขนั้นไม่สาเร็จ มาตรา 186ว.2
7. หน้าที่ของคู่กรณี ที่จะต้องงดเว้น ไม่ให้คู่กรณี อีกฝ่ ายเสื่ อมเสี ยประโยชน์ ในระหว่างที่เงื่อนไขยังไม่สาเร็จ
มาตรา 184
8. การคุม ้ ครองสิ ทธิของคู่กรณี ในระหว่างที่เงื่อนไขยังไม่สาเร็จ สิ ทธิและหน้าที่ต่างๆมีอย่างไร จะจาหน่าย รับ
มรดก ป้องกันรักษา หรื อทาประกันไว้ประการใดตามกม.ก็ย่อมทาได้ มาตรา 185
9. ผลย้อนหลังแห่งเงื่อนไข เมื่อเงื่อนไขสาเร็จแล้ว ถ้ากาหนดไว้ให้นิติกรรมมีผลย้อรหลังไปถึงระยะเวลาใด ก็
ให้เป็ นเช่นนั้น มาตรา 183ว.3
กล่าวคือ การนาเอาเหตุการณ์ในอนาคตที่ไม่แน่นอนมากาหนดเกี่ยวกับผลของนิติกรรม ย่อมหมายความว่า นิติ
กรรมนั้นเกิดขึ้นในทางข้อเท็จจริ งและมีความสมบูรณ์ทางกฎหมายแล้ว เพียงแต่จะมีผลหรื อไม่ข้ งึ อยู่กบั เหตุการณ์
ในอนคตที่ไม่แน่นอนที่ผูท้ านิติกรรมได้กาหนดไว้ และระหว่างรอว่าเงื่อนไขจะสาเร็จหรื อไม่น้ นั แสดงว่านิติ
กรรมยังไม่มีผลเลย และจะมีผลหรื อไม่ก็ยงั ไม่แน่นอนด้วย เพราะเป็ นเรื่ องในอนาคตที่ไม่มีใครกาหนดได้ ดังนั้น
เงื่อนไขจึงกาหนดผลทุกอย่างของนิติกรรมไม่ใช่เพียงผลบางส่วน เช่น สัญญาซื้อขายที่อยู่ภายใต้เงื่อนไขบังคับ
ก่อน ย่อมหมายความว่าระหว่างรอเงื่อนไขสาเร็จกรรมสิ ทธิ์กยังไม่โอน หนี้ของผูข้ ายในการส่งมอบและหนี้ขอบผู ้
ซื้อที่จะต้องชาระราคาก็ยงั ไม่เกิด ผลทุกย่างรอหมด แม้นิติกรรมจะเกิดขึ้นในทางข้อเท็จจริ งและสมบูรณ์แล้วใน
สายตาของกฎหมายก็ตาม แต่ทนั ที่เหตุการณ์ในอนคตนั้นเกิดขึ้น ผลทุกอย่างก็จะเกิดขึ้นทันที คือกรรมสิ ทธิ์จะ
โอนไป หนี้ในการส่งมอบทรัพย์สินของผูข้ ายและหนี้ในการชาระราคาของผูซ้ ้ือ ก็เกิดขึ้นทันที แต่ระหว่างที่รอ
ความสาเร็จแห่งเงื่อนไขคู่แห่งนิติกรรมจะมีสิทธิและกน้าที่อย่างไรย่อมเป็ นไปตามที่กฎหมายกาหนดตามมาตรา
184 มาตรา 185 และมาตรา 186

• วัตถุประสงค์
1. การใดที่มีวตั ถุประสงค์ขดั ต่อกม. เป็ นการพ้นวิสัย หรื อขัดต่อความสงบเรี ยบร้อยหรื อศิลธรรมอีนดีของปชชนั้น
เป็ นโมฆะ มาตรา 150
2. การใดที่แตกต่างกับบทบัญญัติของกม. ถ้าไม่ใช่กม.ที่เกี่ยวกับความสงบเรี ยบร้อยหรื อศิลธรรมอีนดีของปชช. การ
นั้นไม่เป็ นโมฆะ มาตรา 151
• มูลเหตุจูงใจ
ในกรณี ที่คู่กรณี อีกฝ่ ายหนึ่งได้รูถึงมูลเหตุจูงใจของอีกฝ่ ายหนึ่ง มูลเหตุจูงใจนั้นก็จะกลายเป็ นวัตถุประสงค์ของ
กานทานิติกรรม ดังนั้นผลในทางกฎหมายก็จะเหมือนวัจถุประสงค์ของนิติกรรม
เมื่อพบคาว่า “เงื่อนไข” ที่บัญญัติไว้ในประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มิได้หมายถึง เงื่อนไข ตามความหมาย
ของมาตรา 182 เสมอไป จึงอาจกล่าวได้ว่า เงื่อนไขนั้นมีหลายประเภท ซึ่งมีผลทางกฎหมายที่แตกต่างกัน ดังนี้
1. เงื่อนไขทางกฎหมาย หมายถึง เงื่อนไขที่ตอ้ งทาเพื่อให้เกิดผลในทางกฎหมายบางอย่าง โดยที่เจตนาของผูท ้ านิติ
กรรมไม่อาจมีผลทางกฎหมาย เช่น เงื่อนไขแห่งการสมรส
2. เงื่อนไขในทางข้อเท็จจริ ง หมายถึง การนาเอาข้อเท็จจริ งมากาหนดเป็ นเงื่อนไข ที่ข้ น
ึ อยู่กบั เจตนาของผูท้ านิติ
กรรม ว่าต้องการกาหนดเพิ่มเติมเข้ามาหรื อไม่ โดยอาจแบ่งได้เป็ น 2 ประเภทคือ
a. เงื่อนไขทางนิตินยั หมายถึง เงื่อนไขที่มีลกั ษณะตามมาตรา 183 ที่กฎหมายเปิ ดโอกาสให้ผูท ้ านิติกรรม
ใช้อิสระในทางแพ่งด้วยการนาเอาเหตุการณ์ในอนาคตที่ไม่แน่นอนมากาหนดเกี่ยวกับผลของนิติกรรม
b. เงื่อนไขธรรมดา หมายถึง เงื่อนไขที่ถูกกาหนดเข้ามาเพิ่มเติมโดยมีความมุ่งหมายเฉพาะ แต่ไม่ใช่เงื่อไข
ตามข้อ 2.1 คือไม่ใช่เหตุการณ์ในอนาคตที่ไม่แน่นอนที่มากาหนดผลของนิติกรรม เช่น เงื่อนไขในการ
โอนกรรมสิ ทธิ์ ตามมาตรา 459 เพราะ ผลในการโอนกรรมสิ ทธิ์เป็ นผลในทางทรัพย์เท่านั้น ไม่ได้ชะลอ
ผลทั้งหมดของสัญญาซื้อขาย เช่นการตกลงให้ผซู ้ ้ือชาระราคาเป็ นคราวๆ ซึ่งเงื่อนไขในข้อ 2.2 นี้หาก
อยู่ในสัญญาก็เรี ยกว่าเป็ นข้อสัญญาด้วย

จากที่ได้กล่าวมาข้างต้น ทั้งเงื่อนไข มูลเหตุจูงใจ และวัตถุประสงค์ จึงต่างก็เป็ นส่วนหนึ่งของนิติกรรม ที่ทาให้นิติ


กรรมเป็ นผลได้และมีผลบังคับตามกฎหมายแต่ก็จาเป็ นที่จะต้องพิจารณาองค์ประกอบอื่นๆของนิติกรรมประกอบด้วย ซึ่ง
ทั้งสามก็มีลกั ษณะและบทบาทที่แตกต่างกันออกไป โดยที่นิติกรรมจะมีผลอย่างไรนั้นย่อมขึ้นอยู่กบั แต่ละประเภทและ
ลักษณะของนิติกรรมนั้นๆ เมื่อนิติกรรมนั้นมีองค์ประกอบครบตามาตรา149 ย่อมถือได้ว่านิติกรรมนั้นได้เกิดขึ้นแล้วในทาง
ข้อเท็จจริ ง แต่นิติกรรมนั้นจะก่อให้เกิดผลในทางกฎหมายหรื อไม่ ต้องพิจารณะถึงองค์ประกอบว่ามีขอ้ บกพร่ องหรื อไม่ใน
สายตาของกฎหมาย ถ้าไม่มีขอ้ บกพร่ องแล้วย่อมเป็ นนิติกรรมที่สมบูรณ์ และย่อมก่อให้เกิดผลของนิติกรรมนั้นต่อไป

You might also like