You are on page 1of 10

เงือ

่ นไข-เงือ ่ นเวลา
มาตรา 182 มีสาระสาคัญว่า
ข้อความใดบังคับให้นิตก ิ รรมมีผลหรือสิน ้ ผล
เมือ่ มีเหตุการณ์ อน ั ไม่แน่ นอนว่าจะเกิดขึน ้ ในอนาคต
ข้อความนัน ้ เรียกว่าเงือ ่ นไข
ต่างกับเงือ
่ นเวลาตรงที่ ไม่แน่ นอน เช่น
ผมจะทาสัญญากับคุณหากผมถูกหวย
(เล่นหวยไม่ดน ี ะครับพีน ่ ้อง - -”) เป็ นต้น
แต่ถา้ เป็ นเหตุการณ์ อน ั แน่ นอน เช่น
ผมจะทาสัญญากับคุณเมือ ่ พระอาทิตย์ตกดิน
มาตรา 183 มีสาระสาคัญว่า นิตก ิ รรมใดมีเงือ
่ นไขบังคับก่อน
นิตก ิ รรมย่อมมีผลต่อเมือ ่ เงือ ่ นไขสาเร็จ
นิตก ิ รรมใดมีเงือ ่ นไขบังคับหลัง
นิตก ิ รรมย่อมสิน ้ ผลต่อเมือ ่ เงือ
่ นไขสาเร็จ

ความแตกต่างของเงือ ่ นไขบังคับก่อนกับบังคับหลังก็คอ ื
เงือ
่ นไขบังคับก่อน นิตก ิ รรมยังไม่เกิดขึน ้ แต่ถา้ เงือ
่ นไขสาเร็จ
นิตก ิ รรมก็มีผล
แต่เงือ่ นไขบังคับหลัง นิตก ิ รรมได้เกิดขึน ้ แล้ว
แต่หากเงือ ่ นไขสาเร็จ นิตก ิ รรมย่อมสิน ้ ผล
เช่น นายคุง ตกลงกับ นายโจ ว่า
หากนายโจได้คะแนนนิตก ิ รรมสูงทีส่ ดุ ในคณะ
นายโจจะเลี้ยงไอติม
เป็ นการกาหนดเหตุการณ์ อน ั ไม่แน่ นอนว่าจะเกิดขึน ้ ในอนาคต
มากาหนดความเป็ นผลของนิตก ิ รรม
ข้อความดังกล่าวจึงเป็ นเงือ
่ นไขบังคับก่อนตามมาตรา 183
(กรณี ตามมาตรา 371 จะต้องอ้างหลักตามมาตรา 183)

มาตรา 184 มีสาระสาคัญว่า ในระหว่างทีเ่ งือ ่ นไงยังไม่สาเร็จ


่ รณีฝ่ายหนึ่งฝ่ ายใดจะต้องงดเว้นกระทาการอันทาให้เสือ
คูก ่ มประ
โยชน์คก ู่ รณี อก
ี ฝ่ ายพึงจะได้รบั เมือ
่ เงือ
่ นไขสาเร็จ

เช่น นายโตโน่ ตกลงกับ นายโตโต้


ญาติทห ี่ า่ งหายกันไปนานว่า ยีส ่ บ ิ ปี ว่า ถ้าโตโต้ได้เป็ นเดอะ สตาร์
โตโน่ จะส่งมอบรถให้
จึงเป็ นการกาหนดเหตุการณ์ อน ั ไม่แน่ นอนว่าจะเกดขึน ้ ในอนาค
ต กาหนดความเป็ นผลของนิตก ิ รรม
ข้อความดังกล่าวจึงเป็ นเงือ ่ นไขบังคับก่อนตามมาตรา 183
ซึง่ ระหว่างทีเ่ งือ ่ นไขยังไม่สาเร็จนัน ้
นายโตโน่ ตอ ้ งงดเว้นกระทาการอันจะทาให้เสือ ่ มประโยชน์แก่นา
ยโตโต้ผจู้ ะได้รบั ประโยชน์จากความสาเร็จแห่งเงือ ่ นไข
นายโตโน่ จะนารถยนต์ไปขาย ไปเผา อืน ่ ๆ ไม่ได้ ตามมาตรา
184
มาตรา 185 มีสาระสาคัญว่า ในระหว่างทีเ่ งือ ่ นไงยังไม่สาเร็จ
สิทธิและหน้าทีต ่ า่ งๆของคูก่ รณีนน ้ ั จะทาการจาหน่ าย รับมรดก
ป้ องกันรักษา หรือทาประกันประการใดตามกฎหมายก็ยอ ่ มได้
เป็ นกรณี ที่ คูก
่ รณีฝ่ายทีไ่ ด้รบั ประโยชน์จากเงือ ่ นไข
มีสท ิ ธิตา่ งๆ เช่น จากตัวอย่างทีก ่ ล่าวมาข้างต้น
ในระหว่างทีโ่ ตโต้ยงั ไม่ได้เป็ นเดอะ สตาร์
จะนารถยนต์ไปทาประกัน ก็ได้
เพราะเป็ นผูไ้ ด้รบั ประโยชน์จากความสาเร็จแห่งเงือ
่ นไข
ตามมาตรา 185 เป็ นต้น

มาตรา 186 มีสาระสาคัญว่า


ถ้าความสาเร็จแห่งนิตก ิ รรมเป็ นทางให้คก
ู่ รณี ฝ่ายใดเสียเปรียบแ
ล้วคูก
่ รณี ฝ่ายนัน้ กระทาการโดยไม่สจุ ริตจนเป็ นเหตุให้เงือ ่ นไขไ
ม่สาเร็จ ให้ถอ ื ว่าเงือ
่ นไขนัน
้ สาเร็จแล้ว

ถ้าความสาเร็จแห่งนิตก ิ รรมเป็ นทางให้คก ู่ รณี ฝ่ายใดได้เปรียบแล้


วคูก ่ รณี ฝ่ายนัน ้ กระทาการโดยไม่สจุ ริตจนเป็ นเหตุให้เงือ ่ นไขสาเ
ร็จ ให้ถอ ื ว่าเงือ่ นไขนัน้ มิได้สาเร็จเลย
เช่น นายตูน เด็กแว๊นจากประจวบ ตกลงกับ นายต่อ
เด็กแซ๊บแห่งเชียงรายว่าหากนายต่อแข่งรถชนะตูน
นายตูนจะให้รางวัลเป็ นหนังสือขายหัวเราะหนึ่งเล่ม
พร้อมลายเซน เจเคโลลิง แก่นายต่อ
ซึง่ ความสาเร็จแห่งเงือ ่ นไขเป็ นทางให้นายตูนเสียเปรียบ
ซึง่ นายตูนได้แอบปล่อยลมรถของนายต่อ
จึงเป็ นการกระทาอันไม่สจุ ริต จนเป็ นเหตุให้นาย
ต่อไม่สามารถขับรถเข้าเส้นชัยได้ จึงถือว่า เงือ ่ นไขนัน้ สาเร็จแล้ว
ตามมาตรา 186 กล่าวคือ เมือ ่ เงือ
่ นไขสาเร็จ
นายตูนก็ตอ ้ งส่งมอบหนังสือขายหัวเราะ พร้อมลายเซ็น เจเค
แก่นายตูน นั่นเอง
มาตรา 187 มีสาระสาคัญว่า
ถ้าเงือ่ นไขนัน ้ สาเร็จแล้วในเวลาทีท ่ านิตก
ิ รรม
ถ้าเป็ นเงือ่ นไขบังคับก่อนให้ถอื ว่านิตกิ รรมไม่มีเงือ
่ นไข
ถ้าเป็ นเงือ
่ นไขบังคับหลังให้ถอื ว่านิตกิ รรมเป็ นโมฆะ

ถ้าเงือ
่ นไขนัน ้ เป็ นการอันแน่ นอนว่าไม่อาจสาเร็จได้
ถ้าเป็ นเงือ
่ นไขบังคับก่อนให้ถอ ื ว่านิตกิ รรมเป็ นโมฆะ
ถ้าเป็ นเงือ่ นไขบังคับหลังให้ถอื ว่านิตกิ รรมไม่มีเงือ
่ นไข

ในระหว่างทีค ่ ก
ู่ รณี ไม่รวู ้ า่ เงือ
่ นไขสาเร็จแล้ว
หรือไม่อาจสาเร็จได้ ยังไม่สท ิ ธิและหน้าทีต ่ ามมาตรา 184 และ
185
เช่น นายน่ าน บอกนางสาวตุก ๊ กี้ ในวันที่ 14
กุมพาพันธ์ 2554 ว่าหากน่ านผ่านแพ่ง
น่ านจะซื้อดอกไม้ให้เป็ นการฉลอง เป็ นเงือ ่ นไขบังคับก่อน
เพราะกาหนดให้นิตก ิ รรมมีผลหากเงือ ่ นไขสาเร็จ ตามมาตรา
183 ซึง่ จากข้อเท็จจริงปรากฏว่า คะแนนแพ่งออกตัง้ แต่วน ั ที่ 3
กุมพาพันธ์ 2554 แล้วนายน่ านก็สอบผ่านได้คะแนนสูงติด 1
ใน 5 ของคณะซึง่ ทัง้ คณะมี 6 คน
เงือ
่ นไขดังกล่าวจึงสาเร็จแล้วในขณะทานิตก ิ รรม
และนิตก ิ รรมมีเงือ่ นไขบังคับก่อน จึงถือว่านิตก ิ รรมไม่มเี งือ ่ นไข
ตามมาตรา 187
หรือ หากนายน่ านบอกนางสาวตุก ๊ กีว้ า่ ในวันที่ 14
กุมพาพันธ์ 2554 ว่าหากน่ านได้ คะแนนแพ่ง 100 คะแนน
น่ านจะซื้อดอกไม้ให้เป็ นการฉลอง เป็ นเงือ ่ นไขบังคับก่อนก่อน
เพราะกาหนดให้นิตก ิ รรมมีผลหากเงือ ่ นไขสาเร็จ ตามมาตรา
183 ซึง่ เป็ นทีป ่ ระจักษ์ วา่ เป็ นการอันแน่ นอนว่าไม่อาจสาเร็จได้
เนื่องจาก”.
(ก็รูๆ ้ กันอยู่ 555) จึงถือว่านิตก ิ รรมตกเป็ นโมฆะ ตามมาตรา
187
มาตรา 188 มีสาระสาคัญว่า
นิตก ิ รรมใดมีเงือ ่ นไขอันเป็ นการต้องห้ามตามกฎหมาย
หรือขัดต่อความสงบเรียบร้อยหรือศีลธรรมอันดีของประชาชน
นิตก ิ รรมนัน้ ตกเป็ นโมฆะ

เช่น นาย ก กับ นาย ข ตกลงกันว่า หากนาย ข


ขายยาบ้า ได้หมด นาย ก จะทาสัญาซื้อขายเก้าอีก ้ บั นาย ข
ซึง่ เงือ่ นไขคือ การขายยาบ้า ซึง่ เป็ นการอันต้องห้ามตามกฎหมาย
นิตก ิ รรมระหว่างนาย ก และนาย ข จึงตกเป็ นโมฆะตามมาตรา
188
มาตรา 189 มีสาระสาคัญว่า
นิตก ิ รรมใดมีเงือ ่ นไขอันเป็ นการพ้นวิสยั
ถ้าเป็ นเงือ ่ นไขบังคับก่อนให้ถอ ื ว่านิตก ิ รรมเป็ นโมฆะ
ถ้าเป็ นเงือ ่ นไขบังคับหลังให้ถอ ื ว่านิตก ิ รรมไม่มีเงือ ่ นไข
เช่น หากพระอาทิตย์ขน ึ้ ทางทิศเหนือ
ซึง่ เป็ นการอันพ้นวิสยั พวกเราจะทาสัญญากัน เป็ นต้น
ถามว่า ต่างจากการอันแน่ นอนว่าไม่อาจสาเร็จได้อย่างไร ก็คอ ื
กรณี ตามมาตรา 187 หากคูก ่ รณียงั ไม่รวู ้ า่ มันไม่อาจสาเร็จได้
ก็ยงั มีสท ิ ธิและหน้าทีต่ อ
่ กันตามมาตรา 184 และ 185
แต่หากพ้นวิสยั เลย ก็ไม่มีสท ิ ธิหน้าทีต ่ อ่ กันเลย ครับ
มาตรา 190 มีสาระสาคัญว่า นิตก ิ รรมใดมีเงือ่ นไขบังคับก่อน
และเงือ ่ นไขจะสาเร็จหรือไม่สด ุ แล้วแต่ใจฝ่ ายลูกหนี้
นิตกิ รรมเป็ นโมฆะ
ก็คอ ื ตามใจลูกหนี้น่น ั เอง เช่น ก สัญญากับ ข
ว่าจะให้รถยนต์แก ข หากว่านาย ก พอใจจะให้ ซึง่ การดังกล่าว
นาย ก เป็ นลูกหนี้ โดยมีเงือ ่ นไขบังคับก่อน ตามมาตรา 183
เพราะเป็ นการอันกาหนดเหตุการณ์ อน ้ ใ
ั ไม่แน่ นอนว่าจะเกิดขึน
นอนาคต กล่าวคือ ไม่อาจแน่ นอนได้วา่ นาย ก
จะให้รถยนต์แก่นาย ข หรือไม่
นิตก ิ รรมนี้จงึ เป็ นนิตกิ รรมอันมีเงือ ่ นไขบังคับก่อนและเงือ่ นไขจะ
สาเร็จหรือไม่สด ุ แล้วแต่ใจฝ่ ายลูกหนี้ จึงตกเป็ นโมฆะ

มาตรา 191 มีสาระสาคัญว่า นิตก ิ รรมใดมีเงือ่ นเวลาเริม ่ ต้น


ไม่อาจทวงถามได้กอ ่ นถึงเวลาทีก ่ าหนด
นิตกิ รรมใดมีเงือ ่ นเวลาสิน ้ สุด
นิตก ิ รรมย่อมสิน ้ ผลเมือ ่ ถึงเวลาทีก ่ าหนด
เงือ
่ นเวลา
คือข้อความทีก ่ าหนดความเป็ นผลหรือสิน ้ ผลของนิตก ิ รรมเมือ่ มีเ
หตุการณ์ อน ั แน่ นอนว่าจะเกิดขึน ้ ในอนาคต
ต่างกับเงือ ่ นไขตรงที่ เป็ นเหตุการณ์ ทต ี่ อ
้ งเกิดขึน้ แน่ นอน เช่น
ผมจะทาสัญญากับคุณ หากมีการประกาศคะแนนสอบ เป็ นต้น
หรือ ผมจะทาสัญญากับคุณเมือ ่ พระอาทิตย์ตกขึน ้ เป็ นต้น
มาตรา 192 มีสาระสาคัญว่า
ให้สน ั นิษฐานไว้กอ ่ นว่าเงือ่ นเวลากาหนดขึน ้ เพือ
่ ประโยชน์แก่ฝ่า
ยลูกหนี้ เว้นแต่มีการตกลงไว้เป็ นอย่างอืน ่
และผูไ้ ด้รบ ั ประโยชน์จากเงือ ่ นเวลาจะสละประโยชน์น่ น ั ก็ได้
กรณี นี้เราต้องดูกอ ่ นว่า ใครได้รบั ประโยชน์ เช่น ก
ตกลงกับ ข ว่า อีก สามสิบวัน ข ค่อยส่งมอบรถทีย่ ืมไปมาคืนให้
ก ดังนัน ้ ข จึงเป็ นผูไ้ ด้รบั ประโยชน์จากการหน่ วงเวลา
(มีเวลาใช้รถหลายวัน) เป็ นต้น ดังนัน ้ ข
ซึง่ เป็ นผูไ้ ด้รบั ประโยชน์จากเงือ ่ นเวลาจะสละประโยชน์น่น ั ก็ยอ
่ ม
ได้ เช่น เอาไปคืนก่อนตัง้ แต่วน ั ที่ 10 เป็ นต้น
ระยะเวลา
สาคัญจริงๆ แค่สองมาตรานะครับ แต่มาตราอืน ่ ๆ
ก็ไปอ่านประกอบด้วย
มาตรา 193/3 มีสาระสาคัญว่า
การเริม ่ นับระยะเวลาถ้ากาหนดหน่ วยเวลาทีส ่ น้ ั กว่าวัน
ให้เริม ่ นับแต่เมือ ่ ทาการนัน้
ถ้ากาหนดหน่ วยเวลาเป็ นวัน
สัปดาห์ เดือน หรือ ปี มิให้นบ ั วันแรกทีท ่ าการนัน ้
เอาวรรคแรกก่อนนะครับ
หน่ วยเวลาทีส่ น ้ ั กว่าวันก็คอ ื ชั่วโมง นาที วินาที เสีย้ ววินาที
เสีย้ วของเสีย้ ววินาที เป็ นต้น ให้เริม ่ นับแต่เมือ
่ ทาการนัน ้ เช่น
เวลา 18 นาฬก ิ า นางสาวบุค ตกลงกับนางสาวเมย์
ว่าจะทาสัญญาซื้อขายส้มตาปูปลาร้ากัน อีก 3 ชั่วโมง
ก็ให้เริม ่ นับไปเลย ระยะเวลาก็สน ิ้ สุด ตอน 21 นาฬก ิ าเป็ นต้น
ส่วนถ้ากาหนดเป็ นวัน สัปดาห์ เดือน หรือ ปี
นัน ้ ไม่ให้นบ ั วันแรกเข้าไปด้วย เช่น วันที่ 12
มีนาคมนางสาวตอง ตกลงกับนางสาวมิงค์
ว่าจะขายหูฉลามราดซอสภูเขาไฟฟูจก ิ น
ั อีก 3 เดือนข้างหน้า
ก็ให้เริม่ นับระยะเวลาตัง้ แต่วน ั ที่ 13 มีนาคม เป็ นต้น
มาตรา 193/5 มีสาระสาคัญว่า ถ้ากาหนดหน่ วยเวลาเป็ นวัน
สัปดาห์ เดือน หรือ ปี
ระยะเวลาย่อมสิน ้ สุดวันก่อนวันแห่งสัปดาห์ เดือน หรือ
ปี สุดท้ายอันตรงกับวันเริม ่ นับระยะเวลา
ปัญหาอยูท ่ คี่ าว่า วันแห่งสัปดาห์ เดือน หรือ
ปี สุดท้ายอันตรงกับวันเริม ่ นับระยะเวลา มันคือ ??
คือวันทีร่ ะยะเวลามันครบรอบตามทีก ่ าหนดแล้วซึง่ ต้องตรงกับวั
นเริม ่ นับระยะเวลา เช่น ทานิตก ิ รรมวันที่ 2
กุมภาพันธ์มใิ ห้นบ ั วันนัน ้ เข้าไปด้วย ตามมาตรา 193/3
จึงวันเริม ่ นับระยะเวลาคือวันที่ 3 กุมภาพันธ์
วันแห่งเดือนสุดท้าย ทีต ่ รงกับวันเริม ่ นับระยะเวลาคือวันที่ 3
มีนาคม กาหนดระยะเวลาจึงสิน ้ สุดลงวันก่อนวันที่ 3 มีนาคม
ก็คอ ื วันที่ 2 มีนาคม เป็ นต้น
ยกตัวอย่างเช่น วันที่ 1 สิงหาคม นายทัช
ตกลงทาสัญญากับนายไบร์ทว่าจะ ส่งมอบรถยนต์ให้อก ี 2
เดือนข้างหน้า
ซึง่ การเริม ่ นับระยะเวลาไม่ให้นบ ั วันแรกเข้าไปด้วย ตามมาตรา
193/3 จึงเริม ่ นับวันที่ 2 สิงหาคม
ซึง่ วันสิน้ สุดแห่งระยะเวลาคือวันก่อนวันแห่งสัปดาห์ เดือน หรือ
ปี สุดท้ายอันตรงกับวันเริม ่ นับระยะเวลา ตามมาตรา 193/5
โดยวันแห่งเดือนสุดท้ายอันตรงกับวันเริม ่ นับระยะเวลาคือวันที่ 2
ตุลาคม
ดังนัน ้ วันก่อนวันแห่งเดือนสุดท้ายอันตรงกับวันเริม ่ นับระยะเวลา
คือวันที่ 1 ตุลาคม
นายทัชจึงต้องส่งมอบรถยนต์แก่นายไบร์ทภายในวันที่ 1 ตุลาคม
อายุความ
มาตรา 193/9 มีสาระสาคัญว่า
สิทธิเรียกร้องทีไ่ ม่ได้ใช้ภายในเวลาทีก ่ าหนด
สิทธิเรียกร้องนัน ้ ขาดอายุความ
โจทย์จะกาหนดมาให้ครับ ว่าอายุความนัน ้ ๆ กีป
่ ี
แต่สว่ นใหญ่จะ 10 ปี ครับ
มาตรา 193/10 มีสาระสาคัญว่า สิทธิเรียกร้องทีข ่ าดอายุความ
ลูกหนี้มีสท ิ ธิปฏิเสธไม่ชาระหนี้
เช่น การกูเ้ งินมีอายุความ 10 ปี
ถ้าเจ้าหนี้ไม่ใช้สท ิ ธิเรียกร้องภายใน 10 ปี
ลูกหนี้กม็ ีสทิ ธิปฏิเสธไม่ชาระหนี้

You might also like