You are on page 1of 12

ลำดั บที่ รหั สพนั กงาน ชื่ อ - นามสกุ ล

12 ...............................
ที่ อยู ่ตามทะเบี ยนบ้าน

................................................................................................................
เลขบั ตรประจำ วั นเกิ ด เบอร์ติดต่อ ตำแหน่ง

1234567891234 1 มกราคม 2566 0899999999 Service


สว
่ นงาน วั นเริ่ มงาน วั นผ่านทดลองงาน เงินเดื อน

Operation 1 มกราคม 2023 1 เมษายน 2023 100000.00


เงินเดื อน(ตั วหนั งสื อ) หมายเหตุ ชื่ อ(ลายเซ็ น) วั นทำสั ญญา

(หนึ่ งแสนบาทถว้ น) (...............................) 1 มกราคม 2023


สาขา

ส ำนักงานใหญ่
ส ำนักงานใหญ่
สัญญาจ้างงาน

สัญญาจ้างงานฉบับนี้ทำขึน้ เมือ่ วันที่ 1 มกราคม 2566

1 บริษทั คุม้ สึ จำกัด ตัง้ อยูเ่ ลขที่ เลขที่ 11 ซ.พหลโยธิน 8 ถ.พหลโยธิน แขวงสามเสนใน เขตพญาไท จังหวัดกรุงเทพมหานคร รหัสไปรษณีย์ 10400
ซึง่ ต่อไปนี้ในสัญญานี้เรียกว่า “นายจ้าง” ฝา่ ยหนึ่งกับ
2 ทีอ่ ยูต่ ามทะเบียนบ้าน ................................................................................................................
...............................
ถือบัตรประจำตัวประชาชนเลขที่ 1234567891234 ซึง่ ต่อไปในสัญญานี้เรียกว่า “ลูกจ้าง” อีกฝา่ ยหนึ่ง โดยทัง้ สองฝา่ ยตกลงทำสัญญาจ้างงานกัน
ดังมีเนื้อหาสัญญาเป็นหลักฐานว่า

ข้อ 1. ผลบังคับแห่งสัญญาจ้าง มีผลตัง้ แต่วนั ที่ 1 มกราคม 2566 นายจ้างตกลงจ้าง


และ ลูกจ้างตกลงรับจ้างเพือ่ ปฏิบตั งิ านตามรายละเอียดดังนี้
ตำแหน่ง : Service
สาขา/ส่วนงาน :
วันทีเ่ ริม่ งาน : 1 มกราคม 2566
1กำหนดระยะเวลาการจ้างทดลองงาน ตัง้ แต่วนั ที่ 1 มกราคม 2566 ถึงวันที่ 1 เมษายน 2566
2ในช่วงระยะเวลาการทดลองงาน หากนายจ้างพิจารณาว่าท่านขาดคุณสมบัตทิ เ่ี หมาะสมใน หน้าทีท่ ไ่ี ด้รบั มอบหมายนายจ้าง สามารถบอกเลิกสัญญาจ้าง
ได้ทนั ทีโดยไม่ตอ้ งบอกกล่าวล่วงหน้าในกรณีดงั นี้
• ลูกจ้างได้ปฏิบตั หิ น้าทีโ่ ดยทุจริตหรือกระทำความผิดทางอาญาต่อนายจ้างโดยเจตนาลูกจ้างได้ ก่อให้เกิดความสูญเสียต่อนายจ้างโดยเจตนา
• ลูกจ้างได้ประมาทเลินเล่อ เป็นผลให้เกิดความเสียหายร้ายแรงต่อนายจ้าง
• ลูกจ้างได้ละทิง้ งานของตนเป็นเวลา 3 วันทำงานติดต่อกัน โดยไม่มเี หตุสมควร
• ลูกจ้างได้ถูกตัดสินให้จำคุกโดยคำพิพากษาถึงทีส่ ดุ ของศาลยกเว้นในกรณีความผิดทีก่ ระทำโดยประมาทหรือความผิดลหุโทษซึง่ มิได้ก่อให้เกิดความ
เสียหายหรือสูญเสียต่อนายจ้าง
• ลูกจ้างได้ฝา่ ฝืนข้อกำหนดหรือกฎระเบียบในการทำงานหรือคำสังอั
่ นชอบด้วยกฎหมายและเป็นธรรมของนายจ้าง ซึง่ นายจ้างได้แจ้งเตือนแล้วและลูกจ้าง
ยังกระทำการฝา่ ฝืนซ้ำภายในเวลาหนึ่งปีนบั จากวันทีล่ กู จ้างกระทำผิด ยกเว้นในกรณีประพฤติมชิ อบอย่างร้ายแรงตามมาตรา 119 ในพระราชบัญญัต ิ
คุม้ ครองแรงงาน พ.ศ. 2541 ซึง่ ในกรณีดงั กล่าวนายจ้างไม่จำเป็นต้องแจ้งเตือน
3เมือ่ ครบกำหนดระยะเวลาทดลองงาน หากลูกจ้างเป็นผูม้ ผี ลการปฏิบตั งิ านและคุณสมบัตเิ หมาะสม นายจ้างจะออกหนังสือสลักหลังเพิม่ เติมเพือ่ รับรอง
สถานะเป็นลูกจ้างประจำต่อไป

ข้อ 2. การปฏิบตั หิ น้าทีข่ องลูกจ้าง ลูกจ้างจะต้องอุทศิ เวลาและความเอาใจใส่อย่างเต็มที่ และใช้ความพยายามอย่างดีทส่ี ดุ เพือ่ ความเจริญรุง่ เรืองการพัฒนา ชือ่ เสียง
และกิจการของนายจ้าง ในการปฏิบตั เิ ช่นนัน้ ลูกจ้างจะยึดถือปฏิบตั ติ ามคำสัง่ คำชีแ้ นะ กฎระเบียบ และคำชีแ้ จง อันชอบด้วยกฎหมายทัง้ หมดของนายจ้าง
ตลอดจนปฏิบตั ติ ามกฎระเบียบและข้อบังคับทัง้ หมดของผูม้ อี ำนาจทีเ่ กีย่ วข้องอยูต่ ลอดเวลา

ข้อ 3. สถานทีท่ ำงานของลูกจ้าง ขึน้ อยูก่ บั การตกลงกับนายจ้าง


ข้อ 4. เงินเดือน สวัสดิการ และผลประโยชน์อ่นื ใด
4.1ค่าจ้างของลูกจ้าง คือ 100,000 บาท (หนึ่ งแสนบาทถ้วน) ก่อนหักภาษี ชำระค่าจ้างเป็นรายเดือน โดยมีการหักภาษีท่ี
เกีย่ วข้องและเงินนำส่งใดๆ ตามกฎหมาย การขึน้ เงินเดือนใดๆ ในอนาคตให้ขน้ึ อยูก่ บั ดุลยพินิจของนายจ้างแต่เพียงผูเ้ ดียว
จากข้อ 4.1 มีรายละเอียดเพิม่ เติมดังนี้
1. นายจ้าง จะทำการจ่ายค่าจ้างให้ลกู จ้าง ทุกวันที่ 30 ของเดือนไม่วา่ วันที่ 30 นัน้ จะตรงกับวันหยุดใดๆ หรือไม่กต็ าม
2. เงินเดือน หมายถึง ค่าจ้าง วันทำงานตัง้ แต่ วันทีเ่ ริม่ ทำงาน ถึง วันตัดรอบการคำนวนเงินเดือน (ตัดรอบทุกวันที่ 20 ของทุกเดือน)
3. หากมีเหตุให้คดิ ค่าจ้างเป็นรายวัน จะคำนวนโดยนำเงินเดือนตามทีร่ ะบุในข้อ 4.1 หารด้วย 30 วันตามกฎหมายแรงงานไทย
4. เงินเดือนในแต่ละเดือนจะจ่ายเข้าบัญชีธนาคารทีร่ ะบุไว้ของลูกจ้างเท่านัน้
4.2เงินพิเศษ เงินอื่น ๆ หรือเบีย้ เลีย้ งใด ๆ ทีน่ ายจ้างจ่ายให้กบั ลูกจ้าง ณ เวลาใดก็ตาม หรือทีเ่ ป็นครัง้ คราวไม่ถอื เป็นส่วนหนึ่งของค่าจ้างการจ่ายเงินดังกล่าวไม่ถอื
เป็นการตัง้ ธรรมเนียมปฏิบตั หิ รือบรรทัดฐาน และไม่ถอื เป็นส่วนหนึ่งของสิทธิของลูกจ้างตามสัญญานี้
4.3เมือ่ มีการยืน่ ใบสำคัญจ่ายและใบเสร็จทีเ่ หมาะสมแก่นายจ้าง ให้นายจ้างจ่ายคืนแก่ลกู จ้างสำหรับค่าใช้จ่ายต่าง ๆ ทีเ่ กิดขึน้ ในการปฏิบตั หิ น้าทีภ่ ายใต้สญ
ั ญา
จ้างงานนี้ ซึง่ มีความสมเหตุสมผลเป็นไปตามปกติและมีความจำเป็น และเกิดขึน้ ตามวิถปี ฏิบตั ขิ องนายจ้างเป็นครัง้ คราว รวมถึงการทีต่ อ้ งได้รบั การ
อนุมตั กิ ่อนด้วย
4.4 บริษทั ฯ ขอเรียกเก็บเงินประกันการทำงาน ในระดับพนักงานจำนวน 3,000 บาท โดยจะดำเนินการหักจากเงินเดือน เป็นจำนวน 6 เดือน เดือนละ 500 บาท
และในระดับผูจ้ ดั การขึน้ ไป 10,000 บาท โดยจะดำเนินการหักจากเงินเดือน เป็นจำนวน 10 เดือน เดือนละ 1,000 บาท ทัง้ นี้พนักงานจะได้รบั เงินประกันคืน
ทัง้ หมดในกรณีทล่ี าออกอย่างถูกต้องตามกฎระเบียบบริษทั ฯ

ข้อ 5. วันหยุด และวันลา


5.1 วันลาปว่ ยเท่าทีป่ ว่ ยจริง สูงสุดไม่เกิน 30 วันต่อปี หากลูกจ้างลาปว่ ยติดต่อกัน 3 วันทำการหรือมากกว่าต้องแสดงใบรับรองแพทย์จากแพทย์แผนป จั จุบนั
ทีไ่ ด้รบั การรับรอง จากกระทรวงสาธารณสุขต่อนายจ้าง มิเช่นนัน้ ถือว่า เป็นการขาดงาน และละทิง้ หน้าทีก่ ารปฏิบตั งิ านและลูกจ้างต้องแจ้งให้หวั หน้างาน
โดยตรง/ผูบ้ งั คับบัญชาทราบถึงความเจ็บปว่ ยนัน้ ทันทีทส่ี ามารถกระทำได้
5.2 วันลากิจธุระ 3 วันต่อปี โดยต้องเป็นกิจธุระทีใ่ ห้ผอู้ ่นื ไปกระทำการแทนไม่ได้ และจะต้องติดต่อตาม วัน เวลา ทางสำนักงานหรือราชการกำหนดอันเป็น
วันทำงานปกติของลูกจ้าง ทัง้ นี้ลกู จ้างต้องแจ้งให้หวั หน้างานโดยตรง/ผูบ้ งั คับบัญชาทราบล่วงหน้าอย่างน้อย 1 วัน
5.3วันลาอื่นใดตามกฎหมาย เช่น การลาคลอด การลารับราชการทหาร การลาเพือ่ การทำหมัน การลาเพือ่ ฝึกอบรมเป็นต้น ให้เป็นไปตามข้อกำหนดในพระราช
บัญญัตคิ มุ้ ครองแรงงาน พ.ศ. 2541
5.4 วันหยุดพักผ่อนประจำปี ลูกจ้างมีสทิ ธิ ์หยุดพักผ่อนประจำปีได้ 6 วันทำงานต่อปี ปฏิทนิ และ คำนวนตามสัดส่วนในกรณีทท่ี ำงานไม่ครบเต็มปีปฏิทนิ
แต่อย่างไรก็ตาม การกำหนดวันลาหยุดพักผ่อนประจำปี ต้องขึน้ อยูก่ บั การอนุมตั ขิ องนายจ้าง สิทธิลาหยุดพักผ่อน ประจำปี ใด ๆ ทีย่ งั เหลืออยู่
ณ สิน้ ปีปฏิทนิ ให้ถอื ว่า วันหยุดพักผ่อนประจำปีนนั ้ ได้ถูกใช้โดยลูกจ้างโดยการจัดสรรของนายจ้างในปีปฏิทนิ นัน้ ๆ เรียบร้อยแล้วนายจ้างขอสงวนสิทธิ ์
ทีจ่ ะกำหนดให้ลกู จ้างต้องลาหยุดพักผ่อนประจำปีในระหว่างช่วงเวลาใดๆ ทีบ่ อกกล่าวเลิกจ้าง และให้ชดเชยให้กบั นายจ้างสำหรับวันลาหยุดพักผ่อน
ประจำปีใดๆ ทีใ่ ช้เกินไปจากสิทธิ ์ทีล่ กู จ้างได้รบั เมือ่ มีการเลิกจ้างหรือลาออกจากงาน โดยถือว่าลูกจ้างใช้สทิ ธิ ์การลาแบบไม่รบั ค่าจ้างแทนการลาหยุด
พักผ่อนประจำปี
5.5 วันหยุดตามประเพณี (นักขัตฤกษ์) ให้เป็นไปตามประกาศของบริษทั ฯ (นายจ้าง) เป็นปี ๆ ไปแต่ตอ้ งไม่น้อยกว่า 13 วันต่อปี โดยนายจ้างจะประกาศ
วันหยุดนักขัตฤกษ์ตามประเพณีประจำปีนนั ้ ๆ ให้ทราบล่วงหน้า
5.6 วันหยุดประจำสัปดาห์ สัปดาห์ละ 2 วัน ( เสาร์ - อาทิตย์ )

ข้อ 6. วัน เวลา และชัวโมงการทำงานปกติ



6.1 เวลาทำงานปกติของลูกจ้าง คือ 09.00 ถึง 18.00 น. หรือเวลาอื่นใดตามตกลงระหว่างนายจ้างกับลูกจ้าง ทัง้ นี้หากมีความจำเป็นนายจ้างสามารถขยาย
ระยะเวลาในการทำงานแต่ละวันได้แต่เมือ่ รวมเวลาทำงานปกติแล้วจะไม่เกิน 48 ชัวโมง
่ ต่อสัปดาห์

ข้อ 7. การสิน้ สุดสัญญาจ้าง เมือ่ สัญญาจ้างนี้สน้ิ สุดลง ด้วยเหตุผลการลาออกของลูกจ้างเอง จากตำแหน่ง หรืออำนาจใด ๆ ทีม่ อี ยูก่ บั นายจ้างของนายจ้างโดยไม่จำเป็น
ต้องมีการจ่ายเงินชดเชยทีเ่ กีย่ วข้อง และลูกจ้างต้องส่งมอบบัตรเครดิต กุญแจ นามบัตร หรือวัสดุหรือทรัพย์สนิ อื่นใดทัง้ หมดของนายจ้างบริษทั ในเครือ ลูกค้า
หรือ ซัพพลายเออร์ของนายจ้างทีอ่ าจอยูใ่ นความครอบครองของลูกจ้างให้แก่นายจ้างโดยทันที
• กรณีลกู จ้างลาออกไม่ล่วงหน้า และน้อยกว่า 15-30 วัน ให้นำบัตรประชาชนตัวจริงติดต่อรับเงินเดือนงวดสุดท้ายทีส่ ำนักงานใหญ่เท่านัน้
ั ญาฝา่ ยใดก็ตาม สามารถยกเลิกสัญญานี้ได้ โดยการแจ้งให้คู่ สัญญาอีกฝ า่ ยทราบล่วงหน้า หนึ่งงวดการจ่ายเงินเดือน
7.1การยกเลิกสัญญา คูส่ ญ
(ไม่น้อยกว่า 30 วัน) แต่นายจ้าง สามารถยกเลิกสัญญาฉบับนี้ได้โดยไม่ตอ้ งมีการแจ้งหรือจ่ายเงินชดเชยเมือ่ เลิกจ้างหาก :
• ลูกจ้างได้ปฏิบตั หิ น้าทีโ่ ดยทุจริต หรือกระทำความผิดทางอาญาต่อนายจ้างโดยเจตนา
• ลูกจ้างได้ก่อให้เกิดความสูญเสียต่อนายจ้างโดยเจตนา
• ลูกจ้างได้ประมาทเลินเล่อ เป็นผลให้เกิดความเสียหายร้ายแรงต่อนายจ้าง
• ลูกจ้างได้ฝา่ ฝืนข้อกำหนดหรือกฎระเบียบในการทำงาน หรือคำสังอั ่ นชอบด้วยกฎหมาย และเป็นธรรมของนายจ้าง ซึง่ นายจ้าง ได้แจ้งเตือนแล้ว
และลูกจ้างยังกระทำการฝา่ ฝืนซ้ำ ภายในเวลาหนึ่งปีนบั จากวันทีล่ กู จ้างกระทำผิดยกเว้นในกรณีประพฤติมชิ อบ อย่างร้ายแรง ซึง่ ในกรณีดงั กล่าว
นายจ้างไม่จำเป็นต้องแจ้งเตือน
• ลูกจ้างได้ละทิง้ งานของตนเป็นเวลา 3 วันทำงานติดต่อกันโดยไม่มเี หตุสมควร
• ลูกจ้างได้ถูกตัดสินให้จำคุกโดยคำพิพากษาถึงทีส่ ดุ ของศาล ยกเว้นในกรณีความผิดที่ กระทำโดยประมาทหรือความผิดลหุโทษซึง่ มิได้ก่อให้เกิด
ความเสียหายหรือสูญเสียต่อนายจ้าง อ้างอิงตาม พ.ร.บ. คุม้ ครองแรงงาน พ.ศ. 2541 หมวด 11 มาตรา 119 หากกฎหมายคุม้ ครองแรงงาน
ของประเทศไทยมีการแก้ไขเพิม่ เติมหลังจากวันทีใ่ นสัญญานี้ในส่วนทีเ่ กีย่ วกับมูลเหตุให้มกี ารเลิกจ้างได้โดยไม่ตอ้ งมีการบอกกล่าวหรือจ่ายค่าชดเชย
เมือ่ เลิกจ้างให้ถอื เอากฎหมายทีแ่ ก้ไขเพิม่ เติมนัน้ เป็นส่วนหนึ่งของสัญญาจ้างงานนี้ดว้ ย
7.2การแจ้งหรือการสือ่ สารอื่นใด ทีต่ อ้ งกระทำหรืออนุญาตให้กระทำภายใต้หรือเกีย่ วกับสัญญาจ้างงานนี้ ต้องส่งให้เป็นลายลักษณ์อกั ษร หรือหากส่ง
โดยทางไปรษณียล์ งทะเบียนหรือไปรษณียร์ บั รองไปยังทีอ่ ยูข่ องคูส่ ญ
ั ญาตามทีร่ ะบุในส่วนอารัมภบทของสัญญาจ้างงานนี้ หรือทีอ่ ยูอ่ ่นื ทีค่ สู่ ญ
ั ญา
อาจแจ้งเป็นครัง้ คราวให้เป็นทีอ่ ยูส่ ำหรับรับหนังสือแจ้ง

การรักษาข้อมูลอันเป็ นความลับของนายจ้าง
ข้อ 8.ลูกจ้างจะเก็บรักษาความลับของทางบริษทั ฯ ของลูกค้า และของคูค่ า้ โดยจะไม่น ำข้อมูล และ/หรือ เอกสารทีเ่ กีย่ วข้องกับกระบวนการผลิตรวมถึงเทคโนโลยี
ต่างๆ และเรือ่ งอื่นๆ ทีเ่ ป็น ความลับไปเปิดเผยให้กบั คูแ่ ข่ง และ/หรือบุคคลภายนอก โดยไม่ได้รบั อนุญาตจากทางบริษทั ฯ หากลูกจ้างไม่ปฏิบตั ติ าม ลูกจ้าง
ยินยอมให้ทางบริษทั ฯ เลิกจ้างได้ทนั ทีโดยไม่ตอ้ งแจ้งให้ทราบล่วงหน้า และ ในกรณีทม่ี คี วามเสียหายเกิดขึน้ ลูกจ้างตกลงยินยอมขอรับผิดชอบชดใช้คา่ เสียหาย
ทัง้ หมด

ข้อ 9. ลูกจ้างสัญญาว่าเมือ่ ลูกจ้างพ้นสภาพจากการเป็นลูกจ้างของบริษทั ฯ ลูกจ้างจะไม่ประกอบธุรกิจ หรือปฏิบตั งิ านในกิจการอื่นอันเป็นลักษณะประเภทเดียวกัน


และ/หรือ ในลักษณะเป็นการแข่งขันกับบริษทั ฯ ภายในกำหนดระยะเวลา 1 ปี นับแต่วนั ที่ ลูกจ้าง พ้นสภาพจากการเป็นลูกจ้างของบริษทั ฯ

ข้อ 10. ลูกจ้าง จะไม่ตดิ ต่อทาบทาม ชักชวน หรือชักจูง หรือพยายามชักชวนหรือชักจูงกรรมการหรือลูกจ้างอื่นของบริษทั ไม่วา่ โดยตรงหรือโดยอ้อมให้ไปทำงาน
กับลูกจ้างหรือบุคคลอื่น บริษทั อื่น หรือนิตบิ ุคคลอื่นใด ในฐานะหุน้ ส่วน ผูร้ ว่ มลงทุน ลูกจ้าง ผูล้ งทุน หรือโดยประการอื่นไม่วา่ จะกระทำการเช่นนัน้
เพือ่ ตนเอง หรือ แทนบุคคลอื่น บริษทั อื่น หรือนิตบิ ุคคลอื่นใดในระหว่างการเป็นลูกจ้างกับบริษทั ฯ และภายในระยะเวลาสิบสอง (12) เดือน
นับจากวันทีส่ น้ิ สุดการเป็นลูกจ้างของบริษทั ฯ

ข้อ 11. โดยทีไ่ ม่เป็นการตัดสิทธิบริษทั ฯ ในการเรียกร้องค่าเสียหายด้วยวิธกี ารอื่นใด ลูกจ้างรับทราบว่าข้อกำหนดเรือ่ งการรักษาความลับ การห้ามชักจูงลูกจ้างคนอื่น


และคำรับรองและรับประกันทีก่ ำหนดไว้ขา้ งต้นนี้มคี วามสำคัญและจำเป็นสำหรับการปกป้องผลประโยชน์ของบริษทั ฯ ดังนัน้ ลูกจ้างจึงตกลงทีจ่ ะชดใช้คา่ เสียหาย
ให้แก่บริษทั ฯ ตามจำนวนความเสียหายจริงทีบ่ ริษทั ได้รบั จากการทีล่ กู จ้างฝา่ ฝืนข้อกำหนดข้างต้น

ข้อ 12. ลูกจ้าง ตกลงทีจ่ ะเปิดเผยให้แก่บริษทั ฯ ถึงรายละเอียดของเครือ่ งหมายการค้างานออกแบบ แนวคิด แผนภาพ แผนผัง การค้นพบ การคิดค้น ความลับ
ขัน้ ตอน การพัฒนา หรือสิง่ อื่นใดทีจ่ ดั ทำขึน้ เป็นลายลักษณ์อกั ษร (รวมเรียกว่า “ทรัพย์สนิ ทางปญั ญา”) ซึง่ ได้เขียน สร้างประดิษฐ์หรือค้นพบโดยลูกจ้าง
ในระหว่างการจ้างและภายใต้ขอบเขตการทำงานซึง่ เกีย่ วข้องกับธุรกิจของบริษทั ฯ หรือทีบ่ ริษทั ฯ สามารถนำมาใช้หรือประยุกต์ใช้ได้และตกลงให้ทรัพย์สนิ
ทางปญั ญาดังกล่าวเป็นทรัพย์สนิ ของบริษทั ฯ
ข้อ 13. ลูกจ้างตกลงโอนลิขสิทธิ ์ของงานอันมีลขิ สิทธิ ์ใด ๆ ให้แก่บริษทั ฯ ซึง่ รวมถึงเอกสาร รายงาน คูม่ อื งานวิจยั และค้นคว้า จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ โปรแกรม
คอมพิวเตอร์ หรือสิง่ อื่นใดทีไ่ ด้รบั การคุม้ ครองลิขสิทธิ ์ ซึง่ ลูกจ้างเป็นผูเ้ ขียน จัดทำ รวบรวม หรือสร้างขึน้ มาในระหว่างการทำงานให้แก่บริษทั ฯ และอยูภ่ ายใต้
ขอบเขตหน้าทีก่ ารทำงานของลูกจ้าง โดยลูกจ้างไม่มสี ทิ ธิได้รบั ค่าตอบแทนใดๆ จากบริษทั ฯ จากการโอนลิขสิทธิ ์ดังกล่าวและให้ถอื ว่างานอันมีลขิ สิทธิ ์
เหล่านัน้ ถือเป็นทรัพย์สนิ ของบริษทั ฯ

ข้อ 14. หากลูกจ้าง จงใจขัดคำสังของบริ


่ ษทั ฯ อันชอบด้วยกฎหมายก็ดี หรือละเลยไม่นำพาต่อคำสังเช่
่ นว่านัน้ ก็ดี ละทิง้ การงานไปเสียก็ดกี ระทำความผิดอย่าง
ร้ายแรงก็ดี หรือกระทำการงานทีไ่ ด้รบั มอบหมายเสียหายไปด้วยประการใด หรือกระทำโดยเจตนาหรือไม่กต็ ามเป็นเหตุ ให้ขอ้ มูลความลับถูกเปิดเผย
ต่อบุคคลใดหรือตกไปอยูใ่ นความครอบครองของบุคคลใด หรือกรณีการกระทำความผิดในกรณีรา้ ยแรงอื่นใดทีบ่ ริษทั ฯ เห็นเป็นการสมควร บริษทั ฯ
มีสทิ ธิเลิกสัญญาการจ้างฉบับนี้ได้ทนั ที โดยไม่ตอ้ งบอกกล่าวล่วงหน้า และไม่ตอ้ งจ่ายค่าชดเชยตามหลักเกณฑ์ทก่ี ฎหมายกำหนด และลูกจ้างยินยอม
ชดใช้คา่ เสียหายทีบ่ ริษทั ฯ ต้องเสียไปเนื่องจากการกระทำของลูกจ้างจนครบถ้วนทุกประการโดยพลัน

ข้อ 15. ลูกจ้างต้องปฏิบตั ติ ามนโยบายความเป็นส่วนตัวด้านทรัพยากรบุคคลทีบ่ ริษทั ฯ กำหนดไว้อย่างเคร่งครัด ซึง่ บริษทั ฯ ได้มอบสำเนาของนโยบายความเป็น


ส่วนตัวด้านทรัพยากรบุคคลดังกล่าวให้แก่ลกู จ้างแล้วในวันลงนามในสัญญาฉบับนี้

ข้อ 16.ลูกจ้างรับทราบว่าในการจ้างบริษทั ฯ มีความจำเป็นต้องขอให้ลกู จ้าง ให้ความยินยอมแก่บริษทั ฯ ในการเก็บรวบรวม ใช้ประมวลผล เปิดเผยและ/หรือโอนข้อมูล


ส่วนบุคคลของลูกจ้างไปยังต่างประเทศ เพือ่ วัตถุประสงค์ในด้านการปฏิบตั ติ าม กฎหมาย การจัดการทรัพยากรบุคคล การปกครอง และการบริหารจัดการ
ซึง่ ลูกจ้างจะต้องลงนามในแบบฟอร์มการให้ความยินยอมทีบ่ ริษทั ได้จดั เตรียมให้ และในการลงนามในแบบฟอร์มการให้ความยินยอมดังกล่าว ลูกจ้างยืนยัน
ว่าได้อ่านและทำความเข้าใจนโยบายความเป็นส่วนตัวด้านทรัพยากรบุคคลซึง่ ระบุถงึ วิธกี ารการเก็บรวบรวม ใช้ ประมวลผล เปิดเผย หรือการและ/หรือโอนข้อมูล
ส่วนบุคคลของลูกจ้างไปยังต่างประเทศแล้ว

ข้อ 17. ในกรณีทล่ี กู จ้างให้ขอ้ มูลส่วนบุคคลของบุคคลอื่นใดแก่บริษทั ฯ ลูกจ้างขอรับรองและยืนยันว่า


1 บุคคลทีเ่ ป็นเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคลนัน้ ได้รบั แจ้งเกีย่ วกับการเก็บรวบรวม การใช้ การเปิดเผย และ/หรือการโอนข้อมูลส่วนบุคคลนัน้ ไปยังต่างประเทศแล้ว
2 ลูกจ้างได้รบั ความยินยอม หรือได้อาศัยหลักเกณฑ์หรือฐานทางกฎหมายอื่นเพือ่ ทำการเก็บรวบรวม ใช้ เปิดเผย และ/หรือโอน ข้อมูลส่วนบุคคลของ
บุคคลอื่นดังกล่าวไปยังต่างประเทศ ตามหลักเกณฑ์ทก่ี ฎหมายกำหนด
3 ลูกจ้างมีอำนาจเปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคลของบุคคลดังกล่าวต่อบริษทั ฯ ดังนัน้ บริษทั ฯ จึงมีสทิ ธิเก็บรวบรวม ใช้ เปิดเผย และ/หรือโอนข้อมูลส่วนบุคคลดังกล่าว
ไปยังต่างประเทศเพือ่ วัตถุประสงค์ทร่ี ะบุไว้ในสัญญานี้ ลูกจ้างจะรับผิดชดใช้ให้แก่บริษทั สำหรับ ค่าปรับ ความสูญเสีย หรือความเสียหายทัง้ ปวงทีเ่ กิดกับ
บริษทั ฯอันเนื่องมาจากการทีล่ กู จ้างฝา่ ฝืนคำรับรองและคำยืนยันเหล่านี้

ข้อ 18. ในกรณีทส่ี ว่ นใดส่วนหนึ่งของสัญญาข้อใดข้อหนึ่งเป็นโมฆะหรือใช้บงั คับไม่ได้ ให้ขอ้ ตกลงในสัญญาส่วนทีม่ ผี ลใช้บงั คับตามกฎหมายยังคงใช้บงั คับได้ต่อไป

ข้อ 19. ลูกจ้างตกลงและเข้าใจดีวา่ การทีบ่ ริษทั ฯ ตกลงรับลูกจ้างเข้าทำงานกับบริษทั ฯ ตามสัญญานี้ เนื่องมาจากลูกจ้างได้แจ้งหรือแสดงหลักฐานหรือให้ค ำรับรองต่อ


บริษทั ฯ ในใบสมัครงาน หรือโดยวิธกี ารอื่น ว่าเป็นผูม้ คี ุณสมบัตแิ ละมีความสามารถตามทีบ่ ริษทั ฯ กำหนดไว้ ซึง่ ลูกจ้างได้ทราบรายละเอียดต่างๆ ดีแล้ว
ดังนัน้ หากปรากฏในภายหลังไม่วา่ กรณีใดๆ ว่าลูกจ้างมีคุณสมบัตหิ รือความสามารถไม่ตรงหรือไม่เหมาะสมกับทีต่ กลงหรือให้ค ำรับรอง หรือลูกจ้างได้แจ้ง
หรือแสดงหลักฐานอันเป็นเท็จหรือปกปิดข้อความจริง อันอาจทำให้บริษทั ฯ ไม่รบั เข้าทำงานกับบริษทั ฯ ซึง่ เป็นการผิดสัญญา และจงใจทำให้บริษทั ฯ
ได้รบั ความเสียหาย ลูกจ้างยินยอมให้บริษทั ฯ มีสทิ ธิเลิกจ้างลูกจ้างได้ทนั ทีโดยไม่ตอ้ งจ่ายค่าชดเชยและค่าเสียหายใดๆ
“บริษทั ฯ” และ “ลูกจ้าง” ต่างเข้าใจข้อความในสัญญานี้โดยตลอดแล้ว จึงลงลายมือชือ่ ไว้ต่อหน้าพยาน ณ วัน เดือน ปี ดังกล่าวข้างต้น และเก็บรักษาไว้ฝ า่ ยละ 1 ชุด

ลงชือ่ นายจ้าง ลงชือ่ ลูกจ้าง


( ) (...............................)

ลงชือ่ พยาน ลงชือ่ พยาน


( ) ( )

You might also like