You are on page 1of 17

ตัวอย่าง

ข้อบังคับเกี่ยวกับการทำงาน

ชื่อสถานประกอบ
กิจการ........................................................................................................
......................
สถานที่ตงั ้ สำนักงานแห่งใหญ่ เลขที่ ................. หมู่ท.ี่ .................
ถนน.....................................................
ตำบล / แขวง.................................................... อำเภอ / เขต
.......................................................................
จังหวัด …………………………………………
โทรศัพท์........................................................................
สำนักงานสาขา / โรงงาน / หน่วยงาน ตัง้ อยู่เลขที่.................................
หมู่ที่ ............................................
ตำบล / แขวง.................................................... อำเภอ / เขต
.......................................................................
จังหวัด …………………………………………
โทรศัพท์........................................................................
ประกอบกิจการ
...................................................................................................................
.......................

1. วันทำงาน เวลาทำงานปกติ

1.1 วันทำงาน
สำนักงานแห่งใหญ่ ทำงานสัปดาห์ละ ................................ วัน
วัน........................................................ ถึงวัน
....................................................
สำนักงานสาขา / โรงงาน / หน่วยงาน ทำงานสัปดาห์ละ
............................. วัน
วัน........................................................ ถึงวัน
....................................................
1.2 เวลาทำงานปกติ
สำนักงานแห่งใหญ่ ทำงานวันละ ................................ ชั่วโมง
เวลา ............................................. น. ถึงเวลา
................................................ น.
สำนักงานสาขา / โรงงาน / หน่วยงาน ทำงานวันละ
................................ชั่วโมง
เวลา ............................................. น. ถึงเวลา
................................................ น.
งานกะ ทำงานวันละ ............................................. ชั่วโมง
กะที่ 1 เวลา ...................... น. ถึงเวลา ..................... น.
กะที่ 2 เวลา ...................... น. ถึงเวลา ..................... น.
กะที่ 3 เวลา ...................... น. ถึงเวลา ..................... น.
งานที่อาจเป็ นอันตรายต่อสุขภาพและความปลอดภัยของลูกจ้าง
ได้แก่
ลูกจ้างที่
ทำงาน........................................................................................................
..........................
ทำงานวันละ ............... ชั่วโมง เวลา ...................... น. ถึง
เวลา ..................... น.
งานขนส่งทางบก
ทำงานวันละ ............... ชั่วโมง เวลา ...................... น. ถึง
เวลา ..................... น.
1.3 เวลาพัก
ก. ระหว่างการทำงานปกติ
สำนักงานแห่งใหญ่ พักระหว่างเวลา ...................... น. ถึงเวลา
..................... น.
สำนักงานสาขา/โรงงาน/หน่วยงาน พักระหว่างเวลา
...................... น. ถึงเวลา ..................... น.
สำหรับลูกจ้างเด็ก พักระหว่างเวลา...................... น. ถึงเวลา
..................... น.
และ ระหว่างเวลา...................... น. ถึงเวลา
..................... น.
งานขนส่งทางบก พักระหว่างเวลา...................... น. ถึงเวลา
..................... น.
ข. ก่อนการทำงานล่วงเวลา
ในกรณีที่มีการทำงานล่วงเวลาต่อจากเวลาทำงานปกติไม่น้อย
กว่า 2 ชั่วโมง
ให้ลูกจ้างพัก............นาที ก่อนเริ่มทำงานล่วงเวลา

2. วันหยุดและหลัก

2.1 วันหยุดประจำสัปดาห์
สำนักงานแห่งใหญ่ หยุดสัปดาห์ละ ................... วัน
สำนักงานสาขา / โรงงาน / หน่วยงาน หยุดสัปดาห์ละ
................... วัน
นายจ้างจ่ายค่าจ้างในวันหยุดประจำสัปดาห์แก่ลูกจ้างเท่ากับค่าจ้าง
ในวันทำงาน ( สำหรับลูกจ้างรายวัน รายชั่วโมง หรือตามผลงาน ถ้าไม่
จ่ายค่าจ้าง ให้นายจ้างระบุ)
2.2 วันหยุดตามประเพณี
ลูกจ้างจะได้หยุดโดยได้รับค่าจ้าง ไม่น้อยกว่าปี ละ 13 วัน ดังนี ้
1. วันแรงงาน
2. .........................................................
3. .........................................................
4. .........................................................
5. .........................................................
6. .........................................................
7. .........................................................
8. .........................................................
9. .........................................................
10. .......................................................
11. .......................................................
12. .......................................................
13. .......................................................
(หรือนายจ้างจะประกาศให้ทราบล่วงหน้าแต่ละปี )
ถ้าวันหยุดตามประเพณีวันใดตรงกับวันหยุดประจำสัปดาห์ ให้หยุด
ชดเชยวันหยุดตามประเพณีนน
ั ้ ในวันทำงานถัดไป
2.3 วันหยุดพักผ่อนประจำปี
ลูกจ้างซึง่ ทำงานติดต่อกันมาครบหนึ่งปี มีสิทธิหยุดพักผ่อนประจำปี
โดยได้รับค่าจ้างปี ละ.........วันทำงาน ทัง้ นี ้ นายจ้างจะกำหนดล่วงหน้าให้
หรือตามที่ตกลงกัน ซึ่งจะจัดให้หยุดในปี ถัดไป เว้นแต่ได้ตกลงกันสะสม
และเลื่อนวันหยุดที่ยังไม่ได้หยุดในปี นัน
้ รวมเข้ากับปี ต่อ ๆ ไป แต่ต้อง
หยุดภายใน...........ปี

3. หลักเกณฑ์การ

หลักเกณฑ์
ในกรณีที่งานมีลักษณะหรือสภาพของงานต้องทำติดต่อกันไป ถ้าหยุด
จะเสียหายแก่งาน หรือเป็ นงานฉุกเฉิน นายจ้างจะให้ลูกจ้างทำงานล่วง
เวลาในวันทำงาน หรือทำงานในวันหยุด รวมถึงล่วงเวลาในวันหยุดได้เท่า
ที่จำเป็ น โดยไม่ต้องได้รับความยินยอมจากลูกจ้างก่อน
สำหรับงานในกิจการโรงแรม สถานมหรสพ งานขนส่ง ร้านขายอาหาร
ร้านขายเครื่องดื่ม สโมสร สมาคม สถานพยาบาล นายจ้างจะให้ลก
ู จ้าง
ทำงานในวันหยุดก็ได้
ในกรณีที่มิใช่งานตามวรรคหนึ่งและวรรคสอง นายจ้างอาจให้ลูกจ้าง
ทำงานล่วงเวลาในวันทำงาน หรือทำงานในวันหยุด รวมถึงล่วงเวลาในวัน
หยุดได้เป็ นครัง้ คราว โดยจะต้องได้รับความยินยอมจากลูกจ้างก่อนเป็ น
แต่ละคราวไป
การทำงานล่วงเวลาในวันทำงาน ทำงานในวันหยุด และล่วงเวลาในวัน
หยุด สำหรับงานตามวรรคสองและวรรคสาม ต้องไม่เกินสัปดาห์ละ 36
ชั่วโมง
ส่วนงานขนส่งทางบก นายจ้างจะให้ลูกจ้างทำหน้าที่ขับขี่ยานพาหนะ
ทำงานล่วงเวลา เมื่อได้รับความยินยอมเป็ นหนังสือจากลูกจ้างแล้ว โดย
จะทำงานล่วงเวลาไม่เกินวันละ 2 ชั่วโมง เว้นแต่มีความจำเป็ นอันเกิดจาก
เหตุสุดวิสัย อุบัติเหตุ หรือปั ญหาการจราจร
ค่าล่วงเวลา
3.1 ถ้าให้ลูกจ้างทำงานเกินเวลาทำงานปกติในวันทำงาน ลูกจ้างจะ
ต้องได้รับค่าล่วงเวลาในอัตรา ดังนี ้
ก. ไม่น้อยกว่า หนึ่งเท่าครึ่ง ของอัตราค่าจ้างต่อชั่วโมงในวันทำงาน
ตามจำนวนชั่วโมงที่ทำ หรือ
ข. ไม่น้อยกว่า หนึ่งเท่าครึ่ง ของอัตราค่าจ้างต่อหน่วยในวัน
ทำงานตามจำนวนผลงานที่ได้ทำ สำหรับลูกจ้างซึ่งได้
รับค่าจ้างตามจำนวนผลงานโดยคำนวณเป็ นหน่วย
3.2 ถ้าให้ลูกจ้างทำงานในวันหยุดเกินเวลาทำงานของวันทำงาน
ลูกจ้างจะได้รับค่าล่วงเวลาในวันหยุดใน อัตรา ดังนี ้
ก. สามเท่าของอัตราค่าจ้างต่อชั่วโมงในวันทำงานตามจำนวน
ชั่วโมงที่ทำ หรือ
ข. สามเท่าของอัตราค่าจ้างต่อหน่วยในวันทำงานตามจำนวนผล
งานที่ทำได้สำหรับลูกจ้าง ซึ่งได้รับ ค่าจ้างตามผลงานโดย
คำนวณเป็ นหน่วย

ค่าทำงานในวันหยุด
3.3 ลูกจ้างที่มีสิทธิได้รับค่าจ้างในวันหยุด วันหยุดประจำสัปดาห์ วัน
หยุดประเพณี และวันหยุด ประจำปี ถ้ามาทำงานในวัน
หยุดดังกล่าว จะได้รับค่าทำงานในวันหยุดเพิ่มขึน
้ อีกไม่น้อยกว่าหนึ่งเท่า
ของอัตราค่าจ้างต่อโชั่วโมงในวันทำงานตามจำนวนชั่วโมงที่ทำหรือ
ของอัตราค่าจ้างต่อหน่วยในวัน ทำงานตามจำนวนผลงานที่
ทำได้ สำหรับลูกจ้างซึ่งได้รับค่าจ้างตามผลงานโดยคำนวณเป็ นหน่วย
3.4 ลูกจ้างที่ไม่มีสิทธิได้รับค่าจ้างในวันหยุดประจำสัปดาห์ ถ้ามา
ทำงานในวันหยุดดังกล่าว จะได้รับ ค่าจ้างทำงานในวันหยุดไม่
น้อยกว่าสองเท่าของอัตราค่าจ้างต่อชั่วโมงในวันทำงานตามจำนวนชั่วโมง
ที่ ทำหรืออัตราค่าจ้างต่อหน่วยตามจำนวนผลงานที่ทำ สำหรับลูก
จางซึ่งได้รับค่าจ้างตามผลงานโดย คำนวณเป็ นหน่วย

4. วันและสถานที่จ่ายค่าจ้าง ค่าล่วงเวลา ค่าทำงานในวัน

4.1 ให้นายจ้างจ่ายค่าจ้าง ค่าล่วงเวลา ค่าทำงานในวันหยุด ค่าล่วง


เวลาในวันหยุด และเงิน ผลประโยชน์อ่ น
ื เนื่องในการจ้าง
ให้แก่ลก
ู จ้าง เดือนหนึ่งไม่น้อยกว่า 1 ครัง้ เว้นแต่จะได้ตกลงกัน
เป็ นอย่างอื่นที่เป็ นประโยชน์แก่ลูกจ้าง โดยให้จ่าย ณ สถานที่ทำงาน
ของลูกจ้างถ้าจะจ่าย ณ สถานที่อ่ น
ื และวิธีอ่ น
ื เช่น จ่าย
ผ่านธนาคารต้องได้รับความยินยอมจากลูกจ้าง
4.2 ในกรณีเลิกจ้าง หรือลูกจ้างลาออกจากงานก่อนถึงกำหนดเวลา
จ่ายค่าจ้าง ค่าล่วงเวลา ค่าทำงาน ในวันหยุด ฯลฯ นายจ้าง
จะต้องจ่ายเงินดังกล่าวให้แก่ลก
ู จ้างภายใน 3 วัน นับแต่วันที่เลิกจ้างหรือ
ลูกจ้างลาออกจากงาน

5. วันลาและหลัก
5.1การลาป่ วย ลูกจ้างมีสิทธิลาป่ วยได้เท่าที่ป่วยจริง โดยได้รับค่าจ้าง
ปี หนึ่งไม่เกิน 30 วันทำงาน
การลาป่ วยตัง้ แต่ 3 วันทำงานขึน
้ ไป นายจ้างจะให้ลูกจ้างแสดง
ใบรับรองของแพทย์แผนปั จจุบัน ชัน
้ หนึ่ง หรือสถานพยาบาล
ของทางราชการก็ได้ เช่น สถานีอนามัย ลูกจ้างไม่อาจแสดงใบรับรอง
แพทย์หรือสถานพยาบาลดังกล่าวได้ ให้ลูกจ้างชีแ
้ จงให้นายจ้างทราบ
ถ้านายจ้างจัดแพทย์ไว้ให้ แล้ว ให้แพทย์นน
ั ้ เป็ นผู้ออกใบรับรอง
เว้นแต่ลูกจ้างไม่สามารถให้แพทย์นน
ั ้ ตรวจได้
หมายเหตุ : วันที่ลูกจ้างไม่สามารถทำงานได้เนื่องจากประสบ
อันตรายหรือเจ็บป่ วยที่เกิดขึน
้ เนื่องจาก การทำงาน หรือลาคลอด
บุตร ไม่ถือเป็ นวันลาป่ วย
5.2 การลาเพื่อทำหมัน ลูกจ้างมีสิทธิลาเพื่อทำหมันได้และมีสิทธิลา
เนื่องจากการทำหมันตามระยะเวลาที่ แพทย์แผนปั จจุบันชัน
้ หนึ่ง
กำหนดและออกใบรับรอง โดยได้รับค่าจ้างตามระยะเวลาที่ลา
5.3 การลาเพื่อกิจธุระอันจำเป็ น ลูกจ้างมีสิทธิลาปี ละ……….วัน (โดย
ระบุว่าได้รับค่าจ้าง หรือไม่ได้รับ ค่าจ้างเพื่อความชัดเจน)
5.4การลาเพื่อรับราชการทหาร ลูกจ้างมีสิทธิลาเพื่อรับราชการทหาร
ในการเรียกพลเพื่อตรวจสอบ เพื่อฝึ กวิชาทหาร หรือเพื่อ
ทดลองความพรั่งพร้อมตามกฎหมายว่าด้วยการรับราชการทหารโดย
ได้รับค่าจ้างไม่เกินปี ละ 60 วัน (ยกเว้นการเกณฑ์ทหาร)
5.5 การลาเพื่อฝึ กอบรมหรือพัฒนาความรู้ ให้ลูกจ้างมีสิทธิลาเพื่อ
การฝึ กอบรมหรือพัฒนาความรู้ ความสามารถ ในกรณีดัง
ต่อไปนี ้
ก.เพื่อประโยชน์ต่อการแรงงานและสวัสดิการแรงงาน หรือการ
เพิ่มทักษะความชำนาญเพื่อ ประสิทธิภาพในการ
ทำงานของลูกจ้าง
ข.การสอบวัดผลทางการศึกษาที่ทางราชการจัดหรืออนุญาตให้จัด
ขึน
้ แต่ไม่รวมไปถึงการลาศึกษาต่อ ลูกจ้างยื่นใบลาล่วงหน้า
ไม่น้อยกว่า 7 วัน เมื่อนายจ้างอนุญาตแล้วจึงจะลาหยุดเพื่อการดังกล่าว
ได้ (โดยระบุว่าได้รับค่าจ้างหรือไม่ได้รับค่าจ้างเพื่อความชัดเจน)
ค.ลูกจ้างซึง่ เป็ นเด็กอายุต่ำกว่าสิบแปดปี มีสิทธิลาเพื่อเข้าประชุม
สัมมนารับการอบรมรับการฝึ ก หรือลาเพื่อการอื่น ซึ่งจัด
โดยสถานศึกษา หรือหน่วยงานของรัฐ หรือเอกชน ที่ได้รับความ
เห็นชอบจากอธิบดีกรม สวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน โดยให้
ลูกจ้างซึง่ เป็ นเด็กแจ้งให้นายจ้าง ทราบล่วงหน้าถึงเหตุที่ลา
พร้อมทัง้ แสดงหลักฐานที่เกี่ยวข้อง ถ้ามีและให้นายจ้างจ่ายค่าจ้าง
ให้แก่ลก
ู จ้างซึ่งเป็ นเด็กไม่เกินปี ละ 30 วัน
5.6การลาเพื่อคลอดบุตร ลูกจ้างมีครรภ์มีสิทธิลาเพื่อคลอดบุตรครรภ์
หนึ่งไม่เกิน 90 วัน โดยรวม วันหยุดที่มีระหว่างเวลาวันลา
ด้วย และได้รับค่าจ้างไม่เกิน 45 วัน
อนึ่ง ลูกจ้างหญิงมีครรภ์ควรแจ้งให้นายจ้างทราบถึงการตัง้ ครรภ์
ลูกจ้างหญิงมีครรภ์มีสิทธิขอให้ นายจ้างเปลี่ยนงานในหนา
ที่เดิมเป็ นการชั่วคราวก่อนหรือหลังคลอดได้ โดยให้แสดงใบรับรอง
แพทย์ แผนปั จจุบันชัน
้ หนึ่งที่รับรองไม่อาจทำหน้าที่เดิมต่อไปได้ และ
นายจ้างจะพิจารณาเปลี่ยนงานที่ เหมาะสมให้แก่ลูกจ้างนัน

6. วินัยและโทษ

6.1ลูกจ้างต้องปฏิบัติตามระเบียบข้อบังคับเกี่ยวกับการทำงาน
6.2ลูกจ้างต้องเชื่อฟั งและปฏิบัติตามคำสัง่ โดยชอบของผู้บังคับบัญชา
6.3ลูกจ้างต้องมาปฏิบัติงานให้ตรงตามเวลา และลงบันทึกเวลา
ทำงานตามที่กำหด
6.4ลูกจ้างต้องปฏิบัติหน้าที่ด้วยความซื่อสัตย์ ไม่กลั่นแกล้งหรือจงใจ
ก่อให้เกิดความเสียหายแก่นายจ้าง หรือลูกจ้างด้วยกันเอง
6.5ลูกจ้างต้องปฏิบัติหน้าที่ด้วยความขยันและเต็มความสามารถ
6.6ลูกจ้างต้องปฏิบัติตามกฎแห่งความปลอดภัยในการทำงาน
6.7ลูกจ้างต้องดูแลบำรุงรักษาเครื่องจักร เครื่องมือ และอุปกรณ์การ
ทำงานให้อยู่ ในสภาพดีเป็ น ระเบียบเรียบร้อยตามความ
จำเป็ น หรือตามควรแก่หน้าที่ของตน
6.8ลูกจ้างต้องช่วยกันระมัดระวังและป้ องกันทรัพย์สินใดๆ ในบริเวณที่
ทำงานหรือโรงงาน โดยมิให้สูญ หายหรือเสียหายจากบุคคลใดๆ
หรือจากภัยพิบัติอ่ น
ื ๆ เท่าที่สามารถจะทำได้
6.9ลูกจ้างต้องช่วยกันรักษาความสะอาด ความเป็ นระเบียบเรียบร้อย
ในบริเวณที่ทำงานหรือโรงงาน
6.10 ลูกจ้างต้องไม่กระทำการทะเลาะวิวาท หรือทำร้ายร่างกาย
บุคคลใดในบริเวณที่ทำงานหรือโรงงาน
6.11 ลูกจ้างต้องไม่นำยาเสพติดผิดกฎหมาย หรืออาวุธที่มีอันตราย
ร้ายแรง หรือวัตถุระเบิดเข้ามาบริเวณ ที่ทำงานหรือโรงงาน
6.12 ลูกจ้างผู้ใดฝ่ าฝื นจะถูกพิจารณาลงโทษโดยการตักเตือนด้วยวาจา
ตักเตือนเป็ นหนังสือให้พนักงาน หรือเลิกจ้าง ตามสมควรแห่ง
ความผิดที่ได้กระทำ

7. การร้อง
7.1ขอบเขตและความหมาย
การร้องทุกข์ หมายถึง กรณีที่ลูกจ้างมีความไม่พอใจหรือมี
ความทุกข์อันเกิดขึน
้ เนื่องจากการ ทำงาน ไม่ว่าจะเป็ นเรื่องสภาพ
การทำงานสภาพการจ้าง การบังคับบัญชา การสัง่ หรือการ
มอบหมายงาน การจ่ายค่าตอบแทนในการทำงานหรือประโยชน์อ่ น

หรือการปฏิบัติใดที่ไม่ เหมาะสมระหว่างนายจ้างหรือผู้บังคับ
บัญชาต่อลูกจ้างหรือระหว่างลูกจ้างด้วยกันและลูกจ้างได้เสนอ
ความไม่พอใจหรือความทุกข์นน
ั ้ ต่อนายจ้าง เพื่อให้นายจ้างได้ดำเนิน
การแก้ไขหรือยุติเหตุการณ์นน
ั้ ทัง้ นี ้ เพื่อให้เกิดความสัมพันธ์
อันดีระหว่างนายจ้างและลูกจ้าง และเพื่อให้ลก
ู จ้างทำงานด้วย
ความสุข
7.2วิธีการและขัน
้ ตอน
ลูกจ้างที่มีความไม่พอใจหรือมีความทุกข์เนื่องจากการทำงานดัง
กล่าวข้างต้น ควรยื่นคำร้องทุกข์ ต่อผู้บังคับบัญชาชัน
้ แรกของตน
โดยเร็ว เว้นแต่เรื่องที่จะร้องทุกข์นน
ั ้ เกี่ยวกับการปฏิบัติของ
ผู้บังคับบัญชาหรือผู้บงั คับบัญชาดังกล่าวเป็ นต้นเหตุก็ให้ย่ น
ื คำร้องทุกข์
ต่อผู้บังคับบัญชาระดับสูงขึน
้ ไปอีกชัน
้ หนึง่
การยื่นคำร้องทุกข์ให้กรอกข้อความลงในแบบพิมพ์ที่นายจ้างได้
กำหนดขึน
้ (เพื่อให้เป็ นแบบ เดียวกัน และได้ข้อมูลที่สำคัญ
ครบถ้วน)
7.3การสอบสวนและพิจารณา
เมื่อผู้บังคับบัญชาได้รับคำร้องทุกข์จากลูกจ้างแล้ว ให้รีบดำเนิน
การสอบสวนเพื่อให้ทราบ ข้อเท็จจริงในเรื่องที่ร้องทุกข์นน
ั้
โดยละเอียดเท่าที่จะทำได้ โดยดำเนินการด้วยตนเองหรือด้วยความ
ช่วยเหลือจากนายจ้างทัง้ นี ้ ลูกจ้างผู้ย่ น
ื คำร้องทุกข์ชอบที่จะให้ข้อเท็จ
จริงโดยละเอียดแก่ ผู้บังคับบัญชาด้วย
เมื่อสอบสวนข้อเท็จจริงแล้ว ให้ผู้บังคับบัญชาพิจารณาเรื่องราว
ร้องทุกข์นน
ั ้ หากเป็ นเรื่องที่อยู่ ในขอบเขตของอำนาจหน้าที่
ของผู้บงั คับบัญชานัน
้ และผู้บังคับบัญชาสามารถแก้ไขได้ ก็ให้
ผู้บังคับบัญชาดำเนินการแก้ไขให้เสร็จสิน
้ โดยเร็ว แล้วแจ้งให้ลูกจ้างผู้
ยื่นคำร้องทุกข์ทราบ พร้อมทัง้ รายงานให้นายจ้างทราบด้วย
หากเรื่องราวที่ร้องทุกข์นน
ั ้ เป็ นเรื่องที่อยู่นอกเหนืออำนาจ
หน้าที่ของผู้บงั คับบัญชานัน
้ ให้ ผู้บังคับบัญชาดังกล่าว
เสนอเรื่องราวที่ร้องทุกข์ พร้อมทัง้ ข้อเสนอในการแก้ไขหรือความเห็นต่อ
ผู้บังคับบัญชาระดับสูงขึน
้ ไปตามลำดับ
ให้ผู้บังคับบัญชาระดับสูงขึน
้ ไปดำเนินการสอบสวนและพิจารณา
คำร้องทุกข์เช่นเดียวกับ ผู้บังคับบัญชาระดับต้นที่ได้
รับคำร้องทุกข์
ผู้บังคับบัญชาแต่ละชัน
้ ต้องดำเนินการเกี่ยวกับคำร้องทุกข์โดย
เร็วอย่างช้าไม่เกิน 7 วัน
7.4 กระบวนการยุติข้อร้องทุกข์
เมื่อผู้บังคับบัญชาแต่ละชัน
้ ได้พิจารณาคำร้องทุกข์ ดำเนินการ
แก้ไขหรือยุติเหตุการณ์ที่เกิดการร้อง ทุกข์ และได้แจ้งให้ลก
ู จ้างผู้ย่ น

คำร้องทุกข์ทราบ หากลูกจ้างผู้ย่ น
ื คำร้องทุกข์ไม่พอใจก็ให้แจ้งให้ ผู้
บังคับบัญชาทราบโดยเร็วแต่ถ้าลูกจ้างผู้ย่ น
ื คำร้องทุกข์ไม่พอใจก็ให้ย่ น

อุทธรณ์ โดยกรอกข้อความที่ อุทธรณ์ลงในแบบพิมพ์ที่นายจ้างได้
กำหนดขึน
้ ยื่นต่อผู้บังคับบัญชาสูงสุดภายใน 7 วัน นับตัง้ แต่วันที่ทราบ ผล
การร้องทุกข์จากผู้บังคับบัญชาระดับต้น
ผู้บังคับบัญชาระดับสูงสุดจะพิจารณาและดำเนินการแก้ไขหรือยุติ
เหตุการตามคำร้องทุกข์ และแจ้ง ผลการพิจารณาดำเนินการให้ลูกจ้างผู้
ยื่นคำร้องทุกข์ทราบภายใน 15 วัน
หากลูกจ้างยื่นคำร้องทุกข์ยังไม่พอใจผลการพิจารณาอุทธรณ์ของผู้
บังคับบัญชาสูงสุด ย่อมมีสิทธิ ดำเนินการในทางอื่นอันชอบด้วย
กฎหมายต่อไปได้ (หรืออาจเสนอต่อนายจ้าง เพื่อร่วมกันตัง้ ผู้ชข
ี ้ าดขึน
้ )
7.5 ความคุ้มครองผู้ร้องทุกข์และผู้เกี่ยวข้อง
เนื่องจากการร้องทุกข์ที่กระทำไปโดยสุจริต ย่อมก่อให้เกิด
ประโยชน์อันยิ่งใหญ่แก่นายจ้างและ ลูกจ้างเป็ นส่วนรวม ดังนัน

ลูกจ้างผู้ย่ น
ื คำร้องทุกข์ ลูกจ้างผู้ให้ถ้อยคำ ให้ข้อมูล ให้ข้อเท็จจริง
หรือ พยานหลักฐานใดเกี่ยวกับการร้องทุกข์ และลูกจ้างที่เป็ นผู้
พิจารณาคำร้องทุกข์เมื่อได้กระทำไปโดยสุจริต ใจ แม้จะเป็ นเหตุให้เกิด
ข้อยุ่งยากประการใดแก่นายจ้าง ก็ย่อมได้รับการประกันจากนายจ้างว่า
จะไม่เป็ น เหตุหรือถือเป็ นเหตุที่จะ เลิกจ้าง ลงโทษ หรือดำเนินการใด
ที่เกิดผลร้ายต่อลูกจ้างดังกล่าว

8. การเลิกจ้าง ค่าชดเชยและ

8.1 การเลิกจ้างกรณีปกติ
การเลิกจ้าง หมายความว่า
(1) การที่นายจ้างไม่ให้ลูกจ้างทำงานต่อไป และไม่จ่ายค่าจ้างให้ไม่
ว่าจะเป็ นเพราะเหตุสน
ิ ้ สุดสัญญา จ้างหรือเหตุอ่ น
ื ใด
(2) การที่ลูกจ้างไม่ได้ทำงานและไม่ได้รับค่าจ้าง เพราะเหตุที่
นายจ้างไม่สามารถดำเนินการต่อไป จ่ายค่าชดเชยให้แก่
ลูกจ้างที่ถูกเลิกจ้าง ดังต่อไปนี ้
ก. ลูกจ้างทำงานติดต่อกันครบหนึ่งร้อยยี่สิบวัน แต่ไม่ครบหนึง่ ปี
ให้จ่ายไม่น้อยกว่าค่าจ้างอัตรา สุดท้ายสามสิบวัน
หรือไม่น้อยกว่าค่าจ้างของการทำงานสามสิบวันสุดท้าย สำหรับลูกจ้าง
ซึ่ง ได้รับค่าจ้างตามผลงานโดยคำนวณเป็ นหน่วย
ข. ลูกจ้างซึ่งทำงานติดต่อกันครบหนึ่งปี แต่ไม่ครบสามปี ให้จ่าย
ไม่น้อยกว่าค่าจ้างอัตราสุดท้าย เก้าสิบวัน
หรือไม่น้อยกว่าค่าจ้างของการทำงานเก้าสิบวันสุดท้าย สำหรับลูกจ้างซึ่ง
ได้รับค่าจ้าง ตามผลงานโดยคำนวณเป็ นหน่วย
ค. ลูกจ้างซึ่งทำงานติดต่อกันครบสามปี แต่ไม่ครบหกปี ให้จ่าย
ไม่น้อยกว่าค่าจ้างอัตราสุดท้าย หนึ่งร้อยแปด
สิบวัน หรือไม่น้อยกว่าค่าจ้างของการทำงานหนึ่งร้อยแปดสิบวันสุดท้าย
สำหรับ ลูกจ้างซึง่ ได้รับค่าจ้างตามผลงานโดยคำนวณเป็ นหน่วย
ง. ลูกจ้างซึ่งทำงานติดต่อกันครบหกปี แต่ไม่ครบสิบปี ให้จ่ายไม่
น้อยกว่าค่าจ้างอัตราสุดท้าย สองร้อยสี่สิบวัน
หรือไม่น้อยกว่าค่าจ้างของการทำงานสองร้อยสี่สิบวันสุดท้าย สำหรับ
ลูกจ้างซึง่ ไม่ได้รับค่าจ้างตามผลงานโดยคำนวณเป็ นหน่วย
จ. ลูกจ้างซึง่ ทำงานติดต่อกันครบสิบปี ขึน
้ ไป ให้จ่ายไม่น้อยกว่า
ค่าจ้างอัตราสุดท้ายสามร้อยวัน หรือไม่น้อยกว่าค่าจ้าง
ของการทำงานสามร้อยวันสุดท้าย สำหรับลูกจ้างซึง่ ไม่ได้รับค่าจ้างตาม
ผลงานโดยคำนวณเป็ นหน่วย
ข้อยกเว้นในการไม่จ่ายค่าชดเชย
นายจ้างไม่ต้องจ่ายค่าชดเชยให้แก่ลูกจ้างซึง่ เลิกจ้างในกรณีหนึง่ กรณี
ใด ดังนี ้
(1) ทุจริตต่อหน้าที่หรือกระทำความผิดอาญาโดยเจตนาแก่
นายจ้าง
(2) จงใจทำให้นายจ้างได้รับความเสียหาย
(3) ประมาทเลินเล่อ เป็ นเหตุให้นายจ้างได้รับความเสียหายอย่าง
ร้ายแรง
(4) ฝ่ าฝื นข้อบังคับเกี่ยวกับการทำงานหรือระเบียบหรือคำสั่งของ
นายจ้างอันชอบด้วยกฎหมายและ เป็ นธรรม และนายจ้างได้
ตักเตือนเป็ นหนังสือแล้ว เว้นแต่กรณีที่ร้ายแรงนายจ้างไม่จำเป็ นต้อง
ตักเตือน หนังสือเตือนให้มีผลบังคับใช้ได้ไม่เกินหนึ่งปี นับตัง้ แต่วัน
ที่ลูกจ้างได้กระทำผิด
(5) ละทิง้ หน้าที่เป็ นเวลาสามวันติดต่อกันไม่ว่าจะมีวันหยุดคั่นหรือ
ไม่ก็ตามโดยไม่มีเหตุอันสมควร
(6) ได้รับโทษจำคุกตามคำพิพากษาถึงที่สุดให้จำคุก เว้นแต่เป็ น
โทษสำหรับความผิดที่ได้กระทำโดย ประมาท หรือความ
ผิดลหุโทษ
การบอกเลิกสัญญาจ้าง
ก.การจ้างมีกำหนดระยะเวลา สัญญาจ้างสิน
้ สุดเมื่อครบกำหนด
ระยะเวลาจ้าง โดยนายจ้างและ ลูกจ้างไม่ต้องบอกกล่าว
ล่วงหน้า
ข.การจ้างที่ไม่มีกำหนดระยะเวลา นายจ้างหรือลูกจ้างอาจบอก
เลิกสัญญาจ้างโดย บอกกล่าว ล่วงหน้าเป็ นหนังสือ
ให้อีกฝ่ ายหนึ่งทราบอย่างน้อยหนึ่งงวดการจ่ายค่าจ้าง
8.2 การเลิกจ้างเพราะเหตุอ่ น
ื ที่นายจ้างปรับปรุงหน่วยงานกระบวนการ
ผลิต การจำหน่าย หรือการบริการ อันเนื่องจากการนำเครื่องจักร
มาใช้หรือเปลี่ยนแปลงเครื่องจักรหรือเทคโนโลยีซึ่งเป็ นเหตุให้ต้องลด
จำนวน ลูกจ้าง นายจ้างจะปฏิบัติดังนี ้
(1) แจ้งวันที่เลิกจ้าง เหตุผลของการเลิกจ้าง และรายชื่อลูกจ้างที่ถูก
เลิกจ้างให้ทราบล่วงหน้าไม่น้อยกว่า หกสิบวัน
ในกรณีที่นายจ้างไม่สามารถแจ้งได้หรือ แจ้งการเลิกจ้างน้อยกว่า
หกสิบวันจะจ่ายค่าชดเชยพิเศษ แทนการบอกกล่าวล่วงหน้า
เท่ากับค่าจ้างอัตราสุดท้ายหกสิบวัน หรือเท่ากับค่าจ้างของการทำงาน
หกสิบวันสุดท้าย สำหรับลูกจ้างซึ่งได้รับค่าจ้างตามผลงานโดย
คำนวณเป็ นหน่วย
(2) จ่ายค่าชดเชยพิเศษเพิ่มจากค่าชดเชยปกติตามข้อ 8.1 ในกรณีที่
ลูกจ้างทำงานติดต่อกันเกินหกปี ขึน
้ ไป โดยจ่ายไม่
น้อยกว่าค่าจ้างอัตราสุดท้ายสิบห้าวันต่อการทำงานครบหนึ่งปี หรือไม่
น้อยกว่า ค่าจ้างของการทำงานสิบห้าวันสุดท้ายต่อการทำงาน
ครบหนึ่งปี สำหรับลูกจ้างที่ได้รับค่าจ้างตาม ผลงานโดยคำนวณ
เป็ นหน่วย ทัง้ นี ้ ค่าชดเชยพิเศษดังกล่าวจะไม่เกินค่าจ้างอัตราสุดท้ายสาม
ร้อยหก สิบวันหรือไม่เกินค่าจ้างของการทำงานสามร้อยหกสิบวัน
สุดท้าย สำหรับลูกจ้างซึง่ ได้รับค่าจ้างตาม ผลงานโดยคำนวณ
เป็ นหน่วย
กรณีระยะเวลาในการทำงานไม่ครบหนึ่งปี ถ้าเศษของระยะเวลา
ทำงานมากกว่าหนึ่งร้อยแปดสิบวัน ให้ นับเป็ นการทำงานหนึ่งปี
8.3 การย้ายสถานประกอบกิจการไปตัง้ ณ สถานที่อ่ น
ื อันมีผลกระทบ
สำคัญต่อการดำรงชีวิตตามปกติของ ลูกจ้างหรือครอบครัว นายจ้าง
จะปฏิบัติดังนี ้
(1) นายจ้างต้องแจ้งให้ลูกจ้างทราบล่วงหน้าไม่น้อยกว่าสามสิบวันก่อน
วันย้ายสถานประกอบกิจการ
ในกรณีที่นายจ้างไม่สามารถแจ้งได้ หรือแจ้งการย้ายสถาน
ประกอบกิจการน้อยกว่าสามสิบวัน จะ จ่ายค่าชดเชยพิเศษแทน
การบอกกล่าวล่วงหน้าเท่ากับค่าจ้างอัตราสุดท้ายสามสิบวัน หรือเท่ากับ
ค่าจ้างของการทำงานสามสิบวันสุดท้ายสำหรับลูกจ้าง ซึ่งได้รับค่า
จ้างตามผลงานโดยคำนวณเป็ น หน่วย
(2) หากลูกจ้างไม่ประสงค์จะไปทำงานด้วย ลูกจ้างมีสิทธิบอกเลิก
สัญญาได้ โดยลูกจ้างมีสิทธิได้รับ ค่าชดเชยพิเศษไม่น้อยกว่า
ร้อยละห้าสิบของอัตราค่าชดเชยที่ลูกจ้างมีสิทธิได้รับตามข้อ 8.1
ลูกจ้างมีสิทธิย่ น
ื คำขอให้คณะกรรมการสวัสดิการแรงงานพิจารณา
ภายในสามสิบวันนับแต่วันที่นายจ้างย้ายสถานประกอบกิจการ ว่าเป็ น
กรณีที่นายจ้างต้องบอกกล่าวล่วงหน้าหรือลูกจ้างมีสิทธิบอกเลิกสัญญา
จ้างโดยมีสิทธิได้รับค่าชดเชยพิเศษหรือไม่

ประกาศ ณ วันที่……………………….
ลงชื่อ…………………………………..
(………………………………………)
ตำแหน่ง………………………………

You might also like