You are on page 1of 9

หน้ า1/8

ชื่ อ นายศักรินทร์ ประจักกัตตา 5901417732 ศูนย์สอบ 08 จังหวัดขอนแก่น วิชา LAW 2002


ข้อที่ 1
หลักกฎหมาย ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
ตามมาตรา 203 ถ้าเวลาอันจะพึงชาระหนีน้ นั้ มิได้กาหนดลงไว้หรือจะอนุมานจาก
พฤติการณ์ทงั้ ปวงก็ไม่ได้ไซร้ ท่านว่าเจ้าหนีย้ ่อมจะเรียกให้ชาระหนีไ้ ด้โดยพลันและฝ่ ายลูกหนีก้ ็
ย่อมจะชาระหนีข้ องตนได้โดยพลันดุจกัน
มาตรา 209 ถ้าได้กาหนดเวลาไว้เป็ นแน่นอนเพื่อให้เจ้าหนีก้ ระทาการอันใด ท่านว่าที่จะขอ
ปฏิบตั ิการชาระหนีน้ นั้ จะต้องทาก็แต่เมื่อเจ้าหนีท้ าการอันนัน้ ภายในเวลากาหนด
วินิฉยั
ตามมาตรา 209 มีหลักว่ามาตรา 209 ถ้าได้กาหนดเวลาไว้เป็ นแน่นอนเพื่อให้เจ้าหนี ้
กระทาการอันใด ท่านว่าที่จะขอปฏิบตั ิการชาระหนีน้ นั้ จะต้องทาก็แต่เมื่อเจ้าหนีท้ าการอันนัน้
ภายในเวลากาหนด ลูกหนีก้ ไ้ ม่จาเป็ นต้องปฏิบตั ิการชาระหนี ้ และถือว่าเจ้าหนีผ้ ิดนัดทันทีโดย
ไม่ตอ้ งมีการบอกกล่าวก่อน ทัง้ จะถือว่าลูกหนีผ้ ิดนัดในการไม่ชาระหนีห้ รือขอปฏิบตั ิการชาระ
หนีห้ าได้ไม่
ตามมาตรา 203 ถ้าเวลาอันจะพึงชาระหนีน้ นั้ มิได้กาหนดลงไว้หรือจะอนุมานจากพฤติการณ์
ทัง้ ปวงก็ไม่ได้ไซร้ ท่านว่าเจ้าหนีย้ ่อมจะเรียกให้ชาระหนีไ้ ด้โดยพลันและฝ่ ายลูกหนีก้ ็ย่อมจะ
ชาระหนีข้ องตนได้โดยพลันดุจกัน
ถ้าได้กาหนดเวลาไว้ แต่หากกรณีเป็ นที่สงสัย ท่านให้สนั นิษฐานไว้ก่อนว่าเจ้าหนีจ้ ะเรียกให้
ชาระหนีก้ ่อนถึงเวลานัน้ หาได้ไม่แต่ฝ่ายลูกหนีจ้ ะชาระหนีก้ ่อนกาหนดนัน้ ก็ได้
กรณีตามอุทาหรณ์ จันทร์ว่าจ้างอังคารสร้างบ้านในที่ดินของจันทร์ โดยมีขอ้ ตกลงกันว่า
จันทร์จะจัดการขับไล่ผทู้ ่ีอาศัยอยู่ในที่ดินออกไปให้หมดก่อน แล้วจันทร์จะทาการส่งมอบพืน้ ที่
ให้แก่องั คาร เพื่ออังคารจะได้เข้าทาการก่อสร้างบ้านได้ แต่ไม่ได้กาหนดเวลาไว้ว่าจะต้องส่ง
หน้ า2/8
ชื่ อ นายศักรินทร์ ประจักกัตตา 5901417732 ศูนย์สอบ 08 จังหวัดขอนแก่น วิชา LAW 2002
มอบพืน้ ที่เมื่อใด ถือเป็ นเรื่องการชาหนีท้ ่เี จ้าหนีจ้ ะต้อบกระทาการอย่างใดอย่างหนึ่งก่อนที่จะ
ให้ลกู หนีช้ าระหนี ้ โดยไม่มีการตกลงเวลาตามมาตรา 203 ปรากฏว่าผ่านไปหนึ่งปี จนั ทร์ไม่ได้
ไล่ผทู้ ่อี าศัยอยู่ในที่ดินจึงไม่สามารถส่งมอบพืน้ ที่ให้แก่องั คารได้ จันทร์เจ้าหนีย้ ่อมเป็ นผูผ้ ิดนัด
ทันทัเมื่อพ้นกาเวลานัน้ ตามมาตรา 209 โดยนายอังลูกหนีห้ าจาต้องปฏิบตั ิการชาระหนีแ้ ต่
ประการใดไม่
สรุป จันทร์ตกเป็ นผูผ้ ิดนัด ตามเหตุผลและหลักกฎหมายดังกล่าวข้างต้น
หน้ า 3/8
ชื่ อ นายศักรินทร์ ประจักกัตตา 5901417732 ศูนย์สอบ 08 จังหวัดขอนแก่น วิชา LAW 2002

ข้อที่2.
หลักกฎหมาย ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
มาตรา 226 วรรคสอง ช่วงทรัพย์ ได้แก่ เอาทรัพย์สินอันหนึ่งเข้าแทนที่ทรัพย์สินอีกอันหนึ่งใน
ฐานะนิตินยั อย่างเดียวกันกับทรัพย์สินอันก่อน
มาตรา 228 วรรคแรก ถ้าพฤติการณ์ซ่งึ ทาให้การชาระหนีเ้ ป็ นอันพ้นวิสยั นัน้ เป็ นผลให้ลกู หนี ้
ได้มาซึ่งของแทนก็ดี หรือได้สิทธิเรียกร้องค่าสินไหมทดแทนเพื่อทรัพย์อนั จะพึงได้แก่ตนนัน้ ก็ดี
ท่านว่าเจ้าหนีจ้ ะเรียกให้สง่ มอบของแทนที่ได้รบั ไว้ หรือจะเข้าเรียกเอาค่าสินไหมทดแทนเสีย
เองก็ได้
วินิจฉัย
ช่วงทรัพย์ หมายถึง การเปลี่ยนตัวทรัพย์สินซึ่งเป็ นวัตถุแห่งหนีโ้ ดยผลของกฎหมาย เป็ นการ
เอาทรัพย์สินอันหนึ่งเข้าแทนที่ทรัพย์สินอีกอันหนึ่งในฐานะอย่างเดียวกัน มาตรา 226 วรรคสอง
และถ้าในกรณีท่กี ารชาระหนีก้ ลายเป็ นพ้นวิสยั เพราะทรัพย์ซ่งึ เป็ นวัตถุแห่งหนีส้ ญ
ู หายหรือถูก
ทาลาย และเป็ นผลให้ลกู หนีไ้ ด้ทรัพย์อ่ืนหรือค่าสินไหมทดแทนมา ก็ให้เอาทรัพย์หรือค่าสินไหม
ทดแทนนัน้ เข้าแทนที่ทรัพย์ท่สี ญู หายหรือถูกทาลาย ซึ่งจะมีผลทาให้เจ้าหนีส้ ามารถเรียกให้
ลูกหนีส้ ง่ มอบของแทนที่ได้รบั ไว้ หรือจะเข้าเรียกเอาค่าสินไหมทดแทนเสียเองก็ได้มาตรา 228
วรรคแรก
กรณีตามอุทาหรณ์ เป็ นเรื่องช่วงทรัพย์ เมื่อการชาระหนีก้ ลายเป็ นพ้นวิสยั กล่าวคือจันทร์
ลูกหนีไ้ ม่สามารถที่จะโอนโรงภาพยนตร์พร้อมอุปกรณ์ให้แก่องั คารเพราะทรัพย์ดงั กล่าวได้ถกู
เพลิงไหม้หมด แต่เมื่อข้อเท็จจริงปรากฏว่าจันทร์มีสิทธิท่ีจะได้รบั ค่าสินไหมทดแทนเนื่องจาก
จันทร์ได้เอาประกันภัยโรงภาพยนตร์พร้อมอุปกรณ์นนั้ ไว้กบั บริษัทประกันภัย ดังนัน้ อังคารซึ่ง
หน้ า 4/8
ชื่ อ นายศักรินทร์ ประจักกัตตา 5901417732 ศูนย์สอบ 08 จังหวัดขอนแก่น วิชา LAW 2002

เป็ นเจ้าหนีข้ องจันทร์ย่อมสามารถเข้าเรียกเอาค่าสินไหมทดแทนนัน้ จากบริษัทประกันภัยได้


ตามมาตรา 228 วรรคแรก
สรุป อังคารสามารถเข้าเรียกร้องเอาค่าสินไหมทดแทนนัน้ จากบริษัทประกันภัยได้
หน้ า5/8
ชื่ อ นายศักรินทร์ ประจักกัตตา 5901417732 ศูนย์สอบ 08 จังหวัดขอนแก่น วิชา LAW 2002
ข้อที่3.
หลักกฎหมาย ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
มาตรา 214 ภายใต้บงั คับบทบัญญัติแห่งมาตรา 733 เจ้าหนีม้ ีสิทธิท่ีจะให้ชาระหนีข้ องตน
จากทรัพย์สินของลูกหนีจ้ นสิน้ เชิง รวมทัง้ เงินและทรัพย์สินอื่น ๆ ซึ่งบุคคลภายนอกค้างชาระแก่
ลูกหนีด้ ว้ ย
มาตรา 237 “เจ้าหนีช้ อบที่จะร้องขอให้ศาลเพิกถอนเสียได้ซ่งึ นิติกรรมใดๆ อันลูกหนีไ้ ด้
กระทาลงทัง้ รูอ้ ยู่ว่าจะเป็ นทางให้เจ้าหนีเ้ สียเปรียบ แต่ความข้อนีท้ ่านมิให้ใช้บงั คับ ถ้าปรากฏ
ว่าในขณะที่ทานิติกรรมนัน้ บุคคลซึ่งเป็ นผูไ้ ด้ลาภงอกแต่การนัน้ มิได้รูเ้ ท่าถึงข้อความจริงอัน
เป็ นทางให้เจ้าหนีต้ อ้ งเสียเปรียบนัน้ ด้วยแต่หากกรณีเป็ นการทาให้โดยเสน่หา ท่านว่าเพียงแต่
ลูกหนีเ้ ป็ นผูร้ ูฝ้ ่ ายเดียวเท่านัน้ ก็พอแล้วที่จะขอเพิกถอนได้
บทบัญญัติดงั กล่าวมาในวรรคก่อนนี ้ ท่านมิให้ใช้บงั คับแก่นิติกรรมใดอันมิได้มีวตั ถุเป็ นสิทธิใน
ทรัพย์สิน
วินิจฉัย
โดยหลักแล้ว เจ้าหนีย้ ่อมมีสิทธิท่จี ะร้องขอให้ศาลเพิกถอนซึ่งนิติกรรมที่ลกู หนีไ้ ด้กระทาลง ทัง้ ที่
รูอ้ ยู่ว่าจะเป็ นทางให้เจ้าหนีเ้ สียเปรียบได้ตามมาตรา 237 วรรคแรก แต่ถา้ นิติกรรมที่ลกู หนีไ้ ด้
กระทาลงนัน้ ไม่ได้ทาไห้เจ้าหนีเ้ สียเปรียบแต่อย่างใดกล่าวคือ แม้ลกู หนีจ้ ะได้ทานิติกรรมนัน้
ลูกหนีก้ ็ยงั มีทรัพย์สินที่เจ้าหนีย้ งั สามารถที่จะบังคับชาระหนีไ้ ด้ ดังนี ้ เจ้าหนีจ้ ะร้องขอให้ศาล
เพิกถอนนิติกรรมนัน้ ไม่ใด้
หน้ า6/8
ชื่ อ นายศักรินทร์ ประจักกัตตา 5901417732 ศูนย์สอบ 08 จังหวัดขอนแก่น วิชา LAW 2002
กรณีตามอุทาหรณ์ การที่เดือนกูเ้ งินนายวันโดยจดทะเบียนจานองที่ดินของตนประกันหนี ้
เงินกูไ้ ว้แต่นายเดือนกลับนาที่ดินที่ติดจานองดังกล่าวไปทาสัญญาจะขายให้นายปี นนั้ ปั ญหาที่
จะต้องวินิจฉัยอยู่ท่วี ่า การกระทาของนายเดือนลูกหนีด้ งั กล่าวนัน้ ทาให้นายวันหนีเ้ สียเปรียบ
หรือไม่ กรณีนเี ้ มื่อพิจารณาจากบทบัญญัติมาตรา 214 ที่ว่าภายใต้บงั คับบทบัญญัติแห่ง
มาตรา 733 เจ้าหนีม้ ีสิทธิท่จี ะให้ชาระหนีข้ องตนจากทรัพย์สินของลูกหนีจ้ นสิน้ เชิงนัน้ หมายถึง
การที่เจ้าหนีส้ ามารถบังคับชาระหนีเ้ อาจากทรัพย์สินของลูกหนีท้ งั้ หมดบนัน้ กฎหมายมี
ข้อยกเว้นไว้ว่า
ดังนัน้ ตามอุทาหรณ์ การที่นายเดือนไปทาสัญญาจะขายให้นายปี จึงไม่ถือว่าเป็ นทางทาให้
นายวันเสียเปรียบ เพราะแม้ท่ดี ินนัน้ จะไม่โอนไปเป็ นของนายปี นายวันหนีก้ ็ยงั สามารถบังคับ
ให้นายเดือนชาระหนีไ้ ด้ ดังนัน้ นายวันจึงไม่สามารถขอเพิกถอนสัญญาจะขายได้
สรุป นายวันจะมาขอเพิกถอนสัญญาจะขายไม่ได้
หน้ า7/8
ชื่ อ นายศักรินทร์ ประจักกัตตา 5901417732 ศูนย์สอบ 08 จังหวัดขอนแก่น วิชา LAW 2002

ข้อที่4.
หลักกฎหมาย ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
มาตรา 219 “ถ้าการชาระหนีก้ ลายเป็ นพ้นวิสยั เพราะพฤติการณ์อนั ใดวันหนึ่งซึ่งเกิดขึน้
ภายหลัง ที่ได้ก่อหนี ้ และซึ่งลูกหนีไ้ ม่ตอ้ งรับผิดชอบนัน้ ไซร้ ท่านว่าลูกหนีเ้ ป็ นอันหลุดพ้นจาก
การชาระหนีน้ นั้
ถ้าภายหลังที่ได้ก่อหนีข้ นึ ้ แล้วนัน้ ลูกหนีก้ ลายเป็ นคนไม่สามารถชาระหนีไ้ ด้ไซร้ ท่านให้ถือ
เสมือนว่า เป็ นพฤติการณ์ท่ที าให้การชาระหนีต้ กเป็ นอันพ้นวิสยั ฉะนัน้ ”
มาตรา 295 “ข้อความ จริงอื่นใด นอกจากที่ระบุไว้ในมาตรา 292 ถึง 294 นัน้ เมื่อเป็ นเรื่อง
ท้าวถึงตัวลูกหนีร้ ว่ มกันคนใดก็ย่อมเป็ นไปเพื่อคุณและโทษแต่เฉพาะแก่ลกู หนีค้ นนัน้ เว้นแต่จะ
ปรากฏว่าขัดกับ สภาพแห่งหนีน้ นั้ เอง
ความที่ว่ามานี ้ เมื่อจะกล่าวโดยเฉพาะก็คือว่าให้ใช้แก่การให้คาบอกกล่าวการผิดนัด การที่
หยิบยก อ้างความผิด การชาระหนีอ้ นั เป็ นพ้นวิสยั แก่ฝ่ายลูกหนีร้ ว่ มกันคนหนึ่ง กาหนดอายุ
ความหรือการที่อายุความ สะดุดหยุดลง และการที่สิทธิเรียกร้องเกลือนกลืนกันไปกับหนีส้ ิน
มาตรา 301 “ถ้าบุคคลหลายคนเป็ นหนีอ้ นั จะแบ่งกันชาระมิได้ ท่านว่าบุคคลเหล่านัน้ ต้องรับ
ผิด เช่นอย่างลูกหนีร้ ว่ มกัน”
วินิจฉัย.
กรณีตามอุทาหรณ์ การที่นายรวยว่าจ้างนายรุง่ และนางเรือง ครูสอนยิมนาสติกแห่งหนึ่งให้มา
แสดงยิมนาสติกคู่ในงานเลีย้ งวันเกิดของตนที่จะมีขึน้ ในวันที่ 15 กันยายน 2564 โดยตกลง
ค่าจ้างเป็ นเงิน 10,000 บาท ก่อนถึงวันงานเพียง 3 วัน เป็ นกรณีท่บี คุ คลหลายคนเป็ นหนีอ้ นั จะ
หน้ า8/8
ชื่ อ นายศักรินทร์ ประจักกัตตา 5901417732 ศูนย์สอบ 08 จังหวัดขอนแก่น วิชา LAW 2002
แบ่งชาระมิได้โดยวัตถุประสงค์หรือเจตนาของคู่สญ ั ญา เนื่องจากเป็ นหนีก้ ระทาการตาม
สัญญาที่ตอ้ งทาเป็ นคู่ ซึ่งตามบทบัญญัติมาตรา 301 ได้วางหลักให้บคุ คลเหล่านัน้ ต้องรับผิด
เช่นอย่างลูกหนีร้ ว่ มกัน ดังนัน้ นายรุง่ และนางเรืองจึงอยู่ในฐานะลูกหนีร้ ว่ มของนายรวยต่อมา
การที่นางเรืองประสบอุบตั ิเหตุขณะที่น่งั รถโดยสารสาธารณะ เพราะยางรถระเบิดพลิกคว่า เป็ น
เหตุให้นางเรืองแขนหักทัง้ สองข้าง มาแสดงโชว์ยิมนาสติกตามกาหนดไม่ได้ แสดงยิมนาสติกได้
อีกต่อไปนัน้ เป็ นารณีท่ลี กู หนีก้ ลายเป็ นคนไม่สามารถชาระหนีไ้ ด้ภายหลังที่ได้ก่อหนีข้ นึ ้ ซึ่ง
ตามมาตรา 219 วรรคสอง ให้ถือเสมือนว่าเป็ นพฤติการณ์ท่ที าให้การชาระหนีต้ กเป็ นพ้นวิสยั
อันส่งผลให้ลกู หนี ้ หลุดพ้นจากการชาระหนี ้ ดังนัน้ นายโท จึงไม่ตอ้ งรับผิดต่อนายรวยตาม
มาตรา 219 วรรคหนึ่งและแม้ว่าการชาระหนีอ้ นั เป็ นพ้นวิสยั แก่ฝ่ายลูกหนีร้ ว่ มกันคนหนึ่งนัน้ จะ
เป็ นเหตุสว่ นตัว กล่าวคือ เป็ นข้อความจริงที่ทา้ วถึงตัวลูกหนีร้ ว่ มกันคนใดย่อมเป็ นไปเพื่อคุณ
และโทษแต่เฉพาะแก่ลกู หนีค้ นนัน้ ตามนัย มาตรา 295 วรรคสองก็ตาม แต่เมื่อหนีน้ ารุง่ และ
นางเรืองต้องชาระแก่นายรวย เป็ นหนีอ้ นั จะแบ่งชาระมิได้ จึงเป็ นกรณีท่ีขดั กับสภาพแห่งหนี ้
นัน้ เอง ส่งผลให้เหตุสว่ นตัวที่เกิดขึน้ กับนายรุง่ ส่งผลไปยังนางเรืองลูกหนีร้ ว่ ม อีกคนหนึ่งด้วย
นายรุง่ จึงสามารถอ้างเหตุท่กี ารชาระหนีก้ ลายเป็ นพ้นวิสยั ที่เกิดขึน้ กับนางเรืองเพื่อให้ตนเอง
หลุดพ้นจากความรับผิดต่อนายรวยได้เช่นเดียวกัน ตามนัยมาตรา 295 วรรคหนึ่ง
สรุป
จากเหตุผลที่กล่าวมาในข้างต้น นายรุง่ และนางเรืองจึงไม่ตอ้ งร่วมกันรับผิดต่อนายรวย

You might also like