You are on page 1of 30

1 / 30

หน่ วยที 1 ลักษณะทัวไปของสัญญาคําประกัน


มาตรา บทบัญญัต ิ หลัก
680 ว.1 อันว่าคําประกันนัน คือสัญญาซึงบุคคลภายนอกคนหนึ ง เรียกว่าผูค้ าํ
ประกัน ผู กพันตนต่อเจ้าหนี คนหนึ ง เพือชําระหนี ในเมือลู กหนี ไม่
ชําระหนี นัน
ลูกหนี จะคําประกันให้ตนเองไม่ได ้ เพราะไม่เกิดดประโยชน์แก่เจ ้าหนี
บุคคลภายนอก จะต ้องรบั ผิดในเมือลูกหนี ไม่ชาํ ระหนีนัน
680 ว.2 อนึ งสัญญาคําประกันนัน ถา้ มิได้มห ี ลักฐานเป็ นหนังสืออย่างใดอย่างหนึ ง
ลงลายมือชือผูค้ ําประกันเป็ นสําคัญ ท่านว่าจะฟ้ องร ้องให้บงั คับคดีหาได ้ไม่
สัญญาคําประกัน มักจะทําเป็ นเอกสารหลักฐาน
สัญญาคําประกันจะทําด ้วยวาจา หรือทําเป็ นหนังสือก็ได ้ แต่ถา้ จะฟ้ องร ้องกัน ต ้องมีหลักฐานในการฟ้ องร ้อง
ตกลงด ้วยวาจา ผูค้ าประกั
ํ นพูดว่า “ตกลงจะชําระหนีในเมือลูกหนี ไม่ชาํ ระหนีนัน” เจ ้าหนี สามารถขอให้ผูค้ าประกั
ํ นเซ็นเอกสารคําประกันในภายหลังได ้ ซึงจะบังคับให้
เซ็นไม่ได ้ ตามหลัก freedom of contract
681 ว.1 อันคําประกันนันจะมีได ้แต่เฉพาะเพือหนี อน
ั สมบูรณ์
สัญญากู ้ยืมจะสมบูรณ์ ก็ต่อเมือ มีการส่งมอบทรัพย ์สิน (เงิน)
681 ว.2 หนี ในอนาคตหรือหนี มีเงือนไข จะประกันไว ้เพือเหตุการณ์ซงหนี ึ นันอาจ (ฝ่ าฝื น “โมฆะ” ตาม 685/1)
เป็ นผลได ้จริง ก็ประกันได ้ แต่ต ้องระบุวต
ั ถุประสงค ์ในการก่อหนี รายทีคํา
ประกัน ลักษณะของมูลหนี จํานวนเงินสูงสุดทีคําประกัน และระยะเวลาใน
การก่อหนี ทีจะคําประกัน เว ้นแต่เป็ นการคําประกันเพือกิจการเนื องกันไป
หลายคราวตามมาตรา ๖๙๙ จะไม่ระบุระยะเวลาดังกล่าวก็ได ้
ในสัญญาคําประกันหนีในอนาคต หรือหนี มีเงือนไข ต ้องระบุรายละเอียดดังต่อไปนี อย่างชัดเจน ครบถ้วน ขาดข้อใดข้อหนึงไม่ได้
1. วัตถุประสงค ์ในการก่อหนี รายทีคําประกัน
2. ลักษณะของมูลหนี
3. จํานวนเงินสูงสุดทีคําประกัน
4. ระยะเวลาในการก่อหนีทีจะคําประกัน
✿✿ หากไม่ระบุไว ้ในสัญญาคําประกัน ก็ต ้องระบุไว้ในหลักฐานเป็ นหนังสือทีลงลายมือชือผูค้ ําประกัน และตกอยู่ในบังคับ ปวิพ. ม.94 ห้ามนํ าสืบพยานบุคคล
แทนพยานเอกสาร✿✿
หนี ในอนาคต – หนีทีอาจเกิดขึนโดยสมบูรณ์ในอนาคต เช่น หนี ตามสัญญาเบิกเงินเกินบัญชี หนี จากการละเมิดลูกจ ้างหลังจากเข ้างาน
หนี มีเงือนไข - หนีประธานมีเงือนไขบังคับก่อน เช่น ทําสัญญาซือขายรถยนต ์กัน โดยผูซ ้ อตกลงจะซื
ื อเมือตนได ้ขายรถยนต ์คันเก่าไดเ้ สียก่อน ขณะเงือนไขนันยัง
ไม่สําเร็จ ก็อาจมีการคําประกันได ้ เป็ นต ้น
681 ว.3 สัญญาคําประกันต ้องระบุหนี หรือสัญญาทีคําประกันไว ้โดยชัดแจ ้ง และผู ้ “หนี ” หมายถึง หนีในทางแพ่ง จากนิ ตก ิ รรม
คําประกันย่อมรบั ผิดเฉพาะหนี หรือสัญญาทีระบุไว ้เท่านัน หรือนิตเิ หตุ (ฝ่ าฝื น “โมฆะ” ตาม 685/1)
ต ้องมีความชัดเจนว่าคําประกันให้กับหนี ทางแพ่งอะไร หนีในสัญญาอะไร
681 ว.4 หนี อันเกิดแต่สญ ั ญาซึงไม่ผูกพันลูกหนี เพราะทําด ้วยความสําคัญผิดหรือ ขณะทําสัญญาคําประกัน ผูค้ ําประกันรู ้หรือไม่
เพราะเป็ นผูไ้ ร ้ความสามารถนัน ก็อาจจะมีประกันอย่างสมบูรณ์ได ้ ถา้ หาก ว่าลูกหนี ทําสัญญาด ้วยความสําคัญผิดหรือไร ้
ว่าผูค้ ําประกันรู ้เหตุสําคัญผิดหรือไร ้ความสามารถนันในขณะทีเข ้าทํา ความสามารถหรือไม่
สัญญาผูกพันตน หากรู ้ ตอ้ งผูกพัน และไม่มส ี ท
ิ ธิในการยกข ้อ
ต่อสู ้ของลูกหนี ขึนต่อสู ้ตาม ม.694
หากไม่รู ้ ผูคํ้ าไม่ต ้องผูกพัน
ผูไ้ ร ้ความสามารถ หมายถึง คนทีหย่อนความสามารถทังหมด รวมถึง ผูเ้ ยาว ์ คนวิกลจริต คนไร ้ความสามารถ คนเสมือนไร ้ความสามารถ
คนไร ้ความสามารถ หมายถึง บุคคลตาม ม.29
สําคัญผิด ในคุณสมบัตข ิ องบุคคลหรือทร ัพย ์ สัญญาอาจตกเป็ น “โมฆียะ” ☞ คําประกันได ้ ตาม ม.681 ว.4 (ถ้าผูค้ ําประกันรู ้ถึงเหตุทเป็
ี นโมฆียะ ต ้องผูกพัน)
สําคัญผิดในสาระสําคัญ ตกเป็ น “โมฆะ” ☞ คําประกันไม่ได ้
682 ว.1 ท่านว่าบุคคลจะยอมเขา้ เป็ นผูร้ บั เรือน คือเป็ นประกันของผูค้ ําประกันอีก ผูร้ บั เรือน คือ ผูค้ ําประกัน ของผูค้ าประกั
ํ น
ชันหนึ ง ก็เป็ นได ้ การไล่เบียกรณีใช ้หนี แทน ให ้ไล่เบียกันไปเป็ น
ทอด ๆ
682 ว.2 ถ ้าบุคคลหลายคนยอมตนเข ้าเป็ นผูค้ ําประกันในหนี รายเดียวกันไซร ้ท่านว่า เจา้ หนีเรียกให ้ชําระหนีได ้ ตาม ม.291
ผูค้ ําประกันเหล่านันมีความรบั ผิดอย่างลูกหนี ร่วมกัน แม้ถงึ ว่าจะมิไดเ้ ข ้า
รบั คําประกันรวมกัน
การไล่เบีย ผูคํ้ าประกันไล่เบียกับผูค้ ําประกันคนอืนได ้ ตามส่วน แล ้วผูค้ ําประกันแต่ละคนไปไล่เบียเอาส่วนของตนคืนกับลูกหนี (ม.296)
683 อันคําประกันอย่างไม่มจี ํากัดนันย่อมคุ ้มถึงดอกเบียและค่าสินไหมทดแทน
ซึงลูกหนี ค ้างชําระ ตลอดจนค่าภาระติดพันอันเป็ นอุปกรณ์แห่งหนี รายนัน
ด ้วย
หลักเกณฑ ์ค่าภาระติดพันทีผูค้ ําประกันตอ้ งรับผิดเพิมเติม
 ค่าใช ้จ่ายในการทวงหนี ไม่ใช่ผลโดยตรงจากการผิดสัญญา
 ค่าทนายความถือว่าไกลเกินกว่าจะเป็ นค่าภาระติดพัน
 แต่ทงสองกรณี
ั หากถูกกําหนดไว้ในสัญญา ก็เป็ นค่าภาระติดพันได ้

มาตราเน้น กฎหมายพาณิ ชย ์ 3 เทอม 2-64 BY : HARU


2 / 30

684 ผูค้ ําประกันย่อมรบั ผิดเพือค่าฤชาธรรมเนี ยมความซึงลูกหนี จะต ้องใช ้ใหแ้ ก่


เจา้ หนี แต่ถ ้าโจทก ์ฟ้ องคดีโดยมิได้เรียกให้ผค ู ้ าประกั
ํ นชําระหนี นันก่อน
ไซร ้ ท่านว่าผูค้ าประกั
ํ นหาต ้องรบั ผิดเพือใช ้ค่าฤชาธรรมเนี ยมเช่นนันไม่
ค่าธรรมเนี ยม คือ ค่าฤชาธรรมเนียมซึงลูกหนี ชันต ้นต ้องใช ้ให้แก่เจา้ หนีตามคําพิพากษาของศาล เช่น ค่าขึนศาลร ้อยละ 2 ของทุนทรัพย ์ ค่าใช ้จ่ายอืน ๆ ในการ
ดําเนินคดีก็เรียกได ้ เช่น ค่าคําร ้อง ค่าเดินหมาย ค่าสืบพยานนอกศาล ค่าทนายความ เป็ นต ้น
685 ถ ้าเมือบังคับตามสัญญาคําประกันนัน ผูค้ ําประกันไม่ชาํ ระหนี ทังหมดของ หนีทีต ้องรับผิด4 ประการ หมายถึง
เจา้ หนีเรียกเอาแก่ ลูกหนี รวมทังดอกเบีย ค่าสินไหมทดแทน และอุปกรณ์ด ้วยไซร ้ หนี ยัง 1.หนีของลูกหนี
ผูค้ ําฯ ได ้ไม่ครบ เหลืออยู่เท่าใด ท่านว่าลู กหนี ยังคงร ับผิดต่อเจ้าหนี ในส่วนทีเหลือ 2.ดอกเบีย
นัน 3.ค่าสินไหมทดแทน
4.อุปกรณ์

หน่ วยที 2 ผลและความระงับสินไปแห่งสัญญาคําประกัน


มาตรา บทบัญญัต ิ หลัก
686 ว.1 เมือลูกหนี ผิดนัด ให้เจ ้าหนี มีหนังสือบอกกล่าวไปยังผูค้ ําประกันภายในหก -มีหนังสือบอกกล่าวไปยังผูค้ าประกั
ํ น
สิบวันนับแต่วน ั ทีลูกหนี ผิดนัด และไม่ว่ากรณี จะเป็ นประการใดเจ ้าหนี จะ -ภายใน 60 วันนับแต่วน
ั ทีลูกผิดนัด
เรียกให้ผค ู ้ าประกั
ํ นชําระหนี ก่อนทีหนังสือบอกกล่าวจะไปถึงผูค้ ําประกัน -หนังสือบอกกล่าวไปถึงผูค้ ําประกัน จึงจะฟ้ อง
มิได ้ แต่ไม่ตด ั สิทธิผคู ้ าประกั
ํ นทีจะชําระหนี เมือหนี ถึงกําหนดชําระ ได ้
-การบอกกล่าวไม่มแี บบ + มีลายมือชือของ
เจ ้าหนี
✿ การบอกกล่าวโดยทีไม่มห ี นังสือ เจ ้าหนีไม่มอ
ี ํานาจฟ้ องผูค้ ําประกัน
✿ ดูวน ั ทีหนังสือบอกกล่าวไปถึงมือผูค้ ําประกันเป็ นสาระสําคัญ
✿ ผูค้ ําประกันชําระหนีก่อนถึงกําหนดชําระ หรือก่อนหนังสือบอกกล่าวไปถึงได ้
✿ สําเนาคําฟ้ องไม่ถอื เป็ นหนังสือบอกกล่าว
686 ว.2 ในกรณี ทเจ ี ้าหนี มิได ้มีหนังสือบอกกล่าวภายในกําหนดเวลาตามวรรคหนึ ง
ให้ผค
ู ้ าประกั
ํ นหลุดพ้นจากความรบั ผิดในดอกเบียและค่าสินไหมทดแทน
ตลอดจนค่าภาระติดพันอันเป็ นอุปกรณ์แห่งหนี รายนันบรรดาทีเกิดขึน
ภายหลังจากพ้นกําหนดเวลาตามวรรคหนึ ง
ผลจากไม่ปฏิบต
ั ต
ิ าม ม.686 ว.1 ผูค้ ําประกันไม่ต ้องรับผิดในค่าภาระติดพันและดอกเบีย แต่ยงั คงต ้องรบั ผิดในมูลหนี หมายความว่า เจ ้าหนี จะฟ้ องผูค้ ําประกันเอา
ดอกเบียส่วนทีบอกกล่าวเกิน 60 วันไม่ได้ จะฟ้ องบังคับคดีได ้เฉพาะเงินตน้
686 ว.3 เมือเจ ้าหนี มีสท
ิ ธิเรียกใหผ้ ค
ู ้ ําประกันชําระหนี หรือผูค้ าประกั
ํ นมีสท ิ ธิชาํ ระ
หนี ได ้ตามวรรคหนึ ง ผูค้ ําประกันอาจชําระหนี ทังหมดหรือใช ้สิทธิชาํ ระหนี
ตามเงือนไขและวิธก ี ารในการชําระหนี ทีลูกหนี มีอยู่กบ ั เจ ้าหนี ก่อนการผิด
นัดชําระหนี ทังนี เฉพาะในส่วนทีตนต ้องรบั ผิดก็ได ้ และใหน้ ํ าความใน
มาตรา ๗๐๑ วรรคสอง มาใช ้บังคับโดยอนุโลม
ผู ค
้ ําประก ันอาจชําระหนี ทังหมดหรือใช้สท ิ ธิชา
ํ ระหนี ตามเงือนไขและวิธก ี าร : เช่น การกู ้ยืมเงินทีมีการกําหนดชําระเป็ นงวด ๆ เดือนละ 10000 โดยมี
เงือนไขว่า ถ้าผิดนัดชําระ ตอ้ งเสียดอกเบียร ้อยละ 15 กรณีลูกหนี ผิดนัด แล ้วผูค้ ําฯ รู ้ จึงขอใช ้สิทธิชาํ ระหนีนันกับเจ ้าหนีแทนลูกหนี ตามเงือนไขของลูกหนี เพือไม่
ต ้องถูกคิดดอกเบีย
หากผูค้ ําชําระหนีแล ้วเจา้ หนีไม่ชาํ ระหนี ผูค้ าฯ
ํ ก็หลุดพน ้ ตาม ม.701 ว.2
686 ว.4 ในระหว่างทีผูค้ ําประกันชําระหนี ตามเงือนไขและวิธกี ารในการชําระหนี ของ
ลูกหนี ตามวรรคสาม เจา้ หนี จะเรียกดอกเบียเพิมขึนเพราะเหตุทลู ี กหนี ผิด
นัดในระหว่างนันมิได ้
686 ว.5 การชําระหนี ของผูค้ ําประกันตามมาตรานี ไม่กระทบกระเทือนสิทธิของผู ้
คําประกันตามมาตรา ๖๙๓
688 เมือเจ ้าหนี ทวงให้ผูค
้ ําประกันชําระหนี ผูค้ ําประกันจะขอให้เรียกลูกหนี
ชําระก่อนก็ได ้ เว้นแต่ลูกหนี จะถู กศาลพิพากษาให้เป็ นคนล้มละลาย
เสียแล ้ว หรือไม่ปรากฏว่าลู กหนี ไปอยู ่แห่งใดในพระราชอาณาเขต
- ควรใช ้สิทธิในระหว่างการพิจารณาของศาล เนื องจากเป็ นการใช ้สิทธิทางกฎหมายโดยผ่านกระบวนการทางศาล
- ถ้าลูกหนีถูกศาลมีคําสังพิท ักษ ์ทร ัพย ์ชัวคราว เจ ้าหนีฟ้ องผูค้ ําประกัน และผูค้ ําประกันใช ้สิทธิในการเกียง ไม่ได้ (ล ้มละลาย เริมตังแต่ศาลมีคําสังพิทก
ั ษ ์ทรัพย ์
ชัวคราว)
- ถ้าลูกหนีหลงป่ าอยู่ทแก่
ี งกระจานหาทางออกไม่ได ้ผูคํ้ าประกันใช ้สิทธิเกียง ไม่ได้ (ไม่ปรากฏว่าลูกหนีไปอยู่แห่งใดในพระราชอาณาเขต คือ หาตัวไม่พบ)
- ถ้าลูกหนีหนีไปอยู่อเมริการ เพือจะไปรับวัคซีนทีนัน เจา้ หนี ฟ้ องผูคํ้ าประกัน ผูคํ้ าประกันใช ้สิทธิในการเกียง ไม่ได้
689 ถึงแม้จะได ้เรียกให้ลูกหนี ชําระหนี ดังกล่าวมาในมาตราก่อนนันแล ้วก็ตาม - เป็ นกรณีฟ้องผูค้ าฯ
ํ และลูกหนี มาเป็ นคดี
การบังคับ ถ ้าผูค้ าประกั
ํ นพิสูจน์ได ้ว่าลูกหนี นันมีทางทีจะชําระหนี ได ้ และการทีจะ เดียวกันจึงจะใช ้สิทธิตามมาตรานีได ้
ทร ัพย ์สินของ บังคับให้ลูกหนี ชําระหนี นันจะไม่เป็ นการยากไซร ้ ท่านว่าเจ ้าหนี จะต ้อง
ลูกหนีก่อน บังคับการชําระหนี รายนันเอาจากทรพ ั ย ์สินของลูกหนี ก่อน
- ทางชําระหนีได ้ หมายถึง ทางทีจะชําระหนี ทังหมดหรือบางส่วน

มาตราเน้น กฎหมายพาณิ ชย ์ 3 เทอม 2-64 BY : HARU


3 / 30

- ศาลจะพิพากษาให้ลูกหนี ชําระหนีก่อน ถ้าลูกหนีไม่ชาํ ระจึงเรียกร ้องใหผ้ ค


ู ้ าประกั
ํ นชําระหนีได ้ และถ้าเจ ้าหนีบังคับยึดทรัพย ์ผูค้ าฯ
ํ ก่อน (หรือเรียกร ้องให้ผค
ู ้ าฯ
ํ ชําระ
หนี) ผูค้ ําฯ มีสท
ิ ธิตาม ม.689 ได ้
690 ถ ้าเจ ้าหนี มีทรพ
ั ย ์ของลูกหนี ยึดถือไว ้เป็ นประกันไซร ้ เมือผูค้ ําประกันร ้องขอ ใช ้ในกรณี เจ ้าหนี มีทร ัพย ์ของลูกหนียึดถือไว้
ท่านว่าเจ ้าหนี จะต ้องใหช้ าํ ระหนี เอาจากทรพ ั ย ์ซึงเป็ นประกันนันก่อน เป็ นประกัน
- ยืดถือ อาจมีทรัพย ์ในครอบครอบ เช่น จํานํ า หรือไม่มต ี วั ทร ัพย ์ในครอบครอง หากมีสท
ิ ธิเหนือตัวทรัพย ์ก็เป็ นการยึดถือได ้ เช่น จํานอง
- หลัก ต ้องเป็ นทรพ
ั ย ์ทีลูกหนี เป็ นเจ ้าของ ไม่ใช่ทรัพย ์ของบุคคลอืนทีลูกหนี ยึดถือ
692 อายุความสะดุดหยุดลงเป็ นโทษแก่ลูกหนี นัน ย่อมเป็ นโทษแก่ผค
ู ้ ําประกัน
ด ้วย
อายุความสะดุดหยุดลง เช่น ลูกหนี รับสภาพหนี ลูกหนี ชําระหนีบางส่วน เป็ นต ้น ผลคือ การนับอายุความใหม่มผ ี ลถึงผูค้ ําประกันด ้วย
แต่ถ ้าอายุความสะดุดหยุดลง เพราะผูคํ้ าประกัน เช่น ผูค้ ําประกันรับสภาพหนี มีผลเฉพาะตัวผูคํ้ าประกันเท่านัน
ถ้าลูกหนีรับสภาพหนีภายหลังหนี ขาดอายุความ ถือเป็ นการสละประโยชน์แห่งอายุความ มีผลเฉพาะลูกหนีเท่านัน ไม่ส่งผลถึงผูค้ าประกั ํ น
693 ว.1 ผูค้ ําประกันซึงได ้ชําระหนี แล ้ว ย่อมมีสท
ิ ธิทจะไล่
ี เบียเอาจากลูกหนี เพือต ้น
เงินกับดอกเบียและเพือการทีต ้องสูญหายหรือเสียหายไปอย่างใด ๆ เพราะ
การคําประกันนัน
693 ว.2** อนึ ง ผูค้ ําประกันย่อมเข ้าร ับช่วงสิทธิของเจ ้าหนี บรรดามีเหนือลูกหนี ด ้วย
รับช่วงสิทธิเสมือนว่าผูค้ ําประกันเป็ นเจ ้าหนีเสียเอง จึงมีสท
ิ ธิของเจ ้าหนี บรรดาเหนื อลูกหนี ด ้วย เช่น ผูค้ าประกั
ํ นมีสท
ิ ธิร ับช่วงสิทธิเจ ้าหนีไปบังคับจํานอง หรือจํานํ า
เสมือนว่าลูกหนี หรือบุคคลภายนอกมาจดทะเบียนจํานอง หรือจํานํ ากับตนได ้
694 นอกจากข ้อต่อสูซ ้ งผู
ึ ค้ าประกั
ํ นมีต่อเจ ้าหนี นัน ท่านว่าผูค้ าประกั
ํ นยังอาจ เมือถูกฟ้ องให้รับผิดตามสัญญาคําประกัน
ยกข ้อต่อสูท้ งหลายซึ
ั งลูกหนี มีต่อเจ ้าหนี ขึนต่อสู ้ได ้ด ้วย ก่อนชําระหนี ผูค้ ําประกันสามารถข้อต่อสูท้ งั
ทีลูกหนี มีต่อเจ ้าหนี และข้อต่อสู ้ของตัวผูค้ าํ
ประกันเองขึนเป็ นข้อต่อสู ้ได ้
ข้อต่อสู ้ของลูกหนี เช่น หนี ขาดหลักฐานในการฟ้ องร ้อง การชําระหนีบางส่วน หนีขาดอายุความ
695 ผูค้ ําประกันซึงละเลยไม่ยกข ้อต่อสูข ้ องลูกหนี ขึนต่อสู ้เจา้ หนี นันท่านว่าย่อม -มีข ้อต่อสู ้ และรู ้ แต่ไม่ยกขึนต่อสู ้
ผูค้ ําฯ สินสิทธิ สินสิทธิทจะไล่
ี เบียเอาแก่ลูกหนี เพียงเท่าทีไม่ยกขึนเป็ นข ้อต่อสู ้ เว ้นแต่จะ -ไม่มส ี ท
ิ ธิไล่เบียกับลูกหนี
ไล่เบีย พิสูจน์ได ้ว่าตนมิได ้รู ้ว่ามีข ้อต่อสูเ้ ช่นนัน และทีไม่รู ้นันมิได ้เป็ นเพราะ
ความผิดของตนดว้ ย
ละเลย หมายถึง ไม่ใช ้สิทธิตาม ม.964 มีสท ิ ธิ แต่ไม่ยกข้อต่อสู ้ จะจงใจ หรือประมาทก็ได ้
ไม่ยกข้อต่อสู ้ คือ ไม่ตอ
่ สู ้เมือถูกฟ้ อง ชําระหนีเลย
696 ผูค้ ําประกันไม่มส ี ท
ิ ธิจะไล่เบียเอาแก่ลูกหนี ได ้ ถ ้าว่าตนได ้ชําระหนี แทนไป เมือผูค้ ําฯ ชําระหนีไปแล ้ว ต ้องบอกลูกหนีว่า
โดยมิได้บอกลูกหนี และลูกหนี ยังมิรู ้ความมาชําระหนี ซําอีก ในกรณีเช่น ตนได ้ชําระหนีไปแล ้ว เพือลูกหนี ไม่ไปชําระ
ว่านี ผูค้ ําประกันก็ได ้แต่เพียงจะฟ้ องเจ ้าหนี เพือคืนลาภมิควรได ้เท่านัน หนีซํา ถ้าไม่บอกผูค้ ําฯ จะไล่เบียไม่ได ้
697 ถ ้าเพราะการกระทําอย่างใดอย่างหนึ งของเจ ้าหนี เอง เป็ นเหตุใหผ้ ค ู ้ ําประกัน
การปลดหนี ไม่อาจเข ้ารบั ช่วงได ้ทังหมดหรือแต่บางส่วนในสิทธิก็ดี จํานองก็ดี จํานํ าก็ดี
และบุรมิ สิทธิอน ั ได ้ใหไ้ ว ้แก่เจ ้าหนี แต่กอ ่ นหรือในขณะทําสัญญาคําประกัน
เพือชําระหนี นัน ท่านว่าผูค้ ําประกันย่อมหลุดพ้นจากความรบั ผิดเพียง
เท่าทีตนต ้องเสียหายเพราะการนัน
698 อันผูค้ ําประกันย่อมหลุดพ้นจากความรบั ผิดในขณะเมือหนี ของลูกหนี ระงับ
สินไปไม่ว่าเพราะเหตุใด ๆ
700 ว.1 ถ ้าคําประกันหนี อันจะต ้องชําระ ณ เวลามีกาํ หนดแน่ นอน และเจ ้าหนี ยอม
ผ่อนเวลาใหแ้ ก่ลูกหนี ไซร ้ ท่านว่าผูค้ าประกั ํ นย่อมหลุดพ้นจากความรบั ผิด
700 ว.2 แต่ถ ้าผูค้ ําประกันได ้ตกลงด ้วยในการผ่อนเวลา ท่านว่าผูค้ าประกั ํ นหาหลุด
พ้นจากความรบั ผิดไม่
701 ว.1 ผูค้ ําประกันจะขอชําระหนี แก่เจ ้าหนี ตังแต่เมือถึงกําหนดชําระก็ได ้
701 ว.2 ถ ้าเจ ้าหนี ไม่ยอมรบั ชําระหนี ผูค้ ําประกันก็เป็ นอันหลุดพ้นจากความรบั ผิด

หน่ วยที 3 ลักษณะทัวไปของสัญญาจํานอง


มาตรา บทบัญญัต ิ หลัก
702 ว.1 อันว่าจํานองนัน คือสัญญาซึงบุคคลคนหนึ ง เรียกว่าผูจ้ ํานองเอาทรพ ั ย ์สิน “ตราไว้” หมายถึง ไม่ตกลงโอนกรรมสิทธิ
ตราไว ้แก่บุคคลอีกคนหนึ ง เรียกว่าผูร้ บั จํานอง เป็ นประกันการชําระหนี หลัก
โดยไม่ส่งมอบทรพ ั ย ์สินนันใหแ้ ก่ผรู ้ บั จํานอง -ผูจ้ ํานองเป็ นลูกหนี หรือบุคคลภายนอกก็ได ้
702 ว.2 ผูร้ บั จํานองชอบทีจะได ้ร ับชําระหนี จากทรพ ั ย ์สินทีจํานองก่อนเจ ้าหนี -ทรัพย ์สินตราไว้ โดยไม่ตอ้ งส่งมอบ
สามัญมิพก ั ต ้องพิเคราะห ์ว่ากรรมสิทธิในทรพ ั ย ์สินจะได ้โอนไปยัง กรรมสิทธิไม่โอน
บุคคลภายนอกแล ้วหรือหาไม่ -ผูร้ บั จํานองเป็ นเจ ้าหนี
-เจ ้าหนีจํานองย่อมได ้รับชําระหนี ก่อนเจ ้าหนี
สามัญ (ไม่มห ี ลักประกัน)
703 ว.1 อันอสังหาริมทรพ
ั ย ์นันอาจจํานองได ้ไม่ว่าประเภทใด ๆ

มาตราเน้น กฎหมายพาณิ ชย ์ 3 เทอม 2-64 BY : HARU


4 / 30

703 ว.2 สังหาริมทรพ ั ย ์อันจะกล่าวต่อไปนี ก็อาจจํานองได ้ดุจกัน หากว่าได ้จด


ทะเบียนไวแ้ ลว้ ตามกฎหมาย คือ
(1) เรือกําปัน หรือเรือมีระวางตังแต่หกตันขึนไป เรือกลไฟ หรือเรือยนต ์มี
ระวางตังแต่ห ้าตันขึนไป
(2) แพ
(3) สัตว ์พาหนะ
(4) สังหาริมทรพ ั ย ์อืน ๆ ซึงกฎหมายหากบัญญัตไิ วใ้ หจ้ ดทะเบียนเฉพาะ
การ
705 การจํานองทรพ ั ย ์สินนัน นอกจากผูเ้ ป็ นเจ ้าของในขณะนันแล ้ว ท่านว่าใคร
อืนจะจํานองหาได ้ไม่
710 ว.1 ทรพ ั ย ์สินหลายสิงมีเจ ้าของคนเดียวหรือหลายคนจะจํานองเพือประกันการ
ชําระหนี แต่รายหนึ งรายเดียว ท่านก็ใหท้ ําได ้
701 ว.2 และในการนี คู่สญ ั ญาจะตกลงกันดังต่อไปนี ก็ได ้ คือว่า
(1) ให้ผรู ้ ับจํานองใช ้สิทธิบงั คับเอาแก่ทรพ ั ย ์สินซึงจํานองตามลําดับอันระบุ
ไว ้
(2) ให ้ถือเอาทรพ ั ย ์สินแต่ละสิงเป็ นประกันหนี เฉพาะแต่ส่วนหนึ งส่วนใดที
ระบุไว ้
714 อันสัญญาจํานองนัน ท่านว่าต ้องทําเป็ นหนังสือและจดทะเบียนต่อพนักงาน
เจา้ หน้าที
716 จํานองย่อมครอบไปถึงบรรดาทรพ ั ย ์สินซึงจํานองหมดทุกสิง แม้จะไดช ้ าํ ระ บังคับเอากับส่วนควบของทรัพย ์ทีจํานองได ้
หนี แล ้วบางส่วน
718 จํานองย่อมครอบไปถึงทรพ ั ย ์ทังปวงอันติดพันอยู่กบ ั ทรพ
ั ย ์สินซึงจํานอง แต่
ต ้องอยู่ภายในบังคับซึงท่านจํากัดไว ้ในสามมาตราต่อไปนี
719 ว.1 จํานองทีดินไม่ครอบไปถึงเรือนโรงอันผูจ้ ํานองปลูกสร ้างลงในทีดิน
ภายหลังวันจํานอง เว ้นแต่จะมีข ้อความกล่าวไว ้โดยเฉพาะในสัญญาว่าให ้
ครอบไปถึง
719 ว.2 แต่กระนันก็ดี ผูร้ บั จํานองจะให้ขายเรือนโรงนันรวมไปกับทีดินด ้วยก็ได ้ แต่
ผูร้ บั จํานองอาจใช ้บุรมิ สิทธิของตนไดเ้ พียงแก่ราคาทีดินเท่านัน
720 จํานองเรือนโรงหรือสิงปลูกสร ้างอย่างอืนซึงได ้ทําขึนไว ้บนดินหรือใตด้ น ิ ใน กรณีเจ ้าของทีดิน และเจ ้าของบ ้านเป็ นคนละ
ทีดินอันเป็ นของคนอืนเขานันย่อมไม่ครอบไปถึงทีดินนันด ้วย ฉันใด คนกัน การจํานองมีผลเฉพาะสิงทีนํ าไป
กลับกันก็ฉันนัน จํานองเท่านัน
เช่าทีดินผูอ้ นปลู
ื กบ ้าน แล ้วเอาบ ้านไปจํานอง เมือเจ ้าของทีดินเอาทีดินไปจํานอง ย่อมไม่ครอบไปถึงตัวบา้ น
721 จํานองไม่ครอบไปถึงดอกผลแห่งทรพ ั ย ์สินซึงจํานอง เว้นแต่ในเมือผูร้ ับ
จํานองไดบ้ อกกล่าวแก่ผจ
ู ้ ํานองหรือผูร้ บั โอนแล ้วว่าตนจํานงจะบังคับ
จํานอง
จํานองบา้ นประกันหนีของเจ ้าหนี แล ้ว เรานํ าบ ้านไปปล่อยเช่า ระหว่างจํานอง เราเก็บค่าเช่าได ้ แต่เมือจะบังคับจํานอง การจํานองครอบถึงค่าเช่าด ้วย

หน่ วยที 4 สิทธิและหน้าทีของผู จ


้ ํานอง ผูร้ ับจํานอง และผู ร้ ับโอนทร ัพย ์สินซึงจํานอง
หน่ วยที 5 การบังคับจํานองและความระงับหนี สินไปแห่งสัญญาจํานอง
มาตรา บทบัญญัต ิ หลัก
712 แม้ถงึ ว่ามีข ้อสัญญาเป็ นอย่างอืนก็ตาม ทรพ ั ย ์สินซึงจํานองไว ้แก่บุคคลคน
หนึ งนัน ท่านว่าจะเอาไปจํานองแก่บุคคลอีกคนหนึ งในระหว่างเวลาที
สัญญาก่อนยังมีอายุอยู่ก็ได ้
722 ถ ้าทรพ ั ย ์สินไดจ้ ํานองแล ้ว และภายหลังทีจดทะเบียนจํานองมีจดทะเบียน
ภาระจํายอมหรือทรพ ั ยสิทธิอย่างอืน โดยผูร้ บั จํานองมิไดย้ น ิ ยอมด ้วยไซร ้
ท่านว่าสิทธิจํานองย่อมเป็ นใหญ่กว่าภาระจํายอมหรือทรพ ั ยสิทธิอย่างอืน
นัน หากว่าเป็ นทีเสือมเสียแก่สท ิ ธิของผูร้ บั จํานองในเวลาบังคับจํานองก็ให้
ลบสิทธิทกล่ ี าวหลังนันเสียจากทะเบียน
723 ถ ้า(1)ทรพ ั ย ์สินซึงจํานองบุบสลาย หรือ(2)ถ ้าทรพ ั ย ์สินซึงจํานองแต่สงใด

สิงหนึ งสูญหายหรือบุบสลาย เป็ นเหตุให้ไม่เพียงพอแก่การประกันไซร ้ ท่าน
ว่าผูร้ บั จํานองจะบังคับจํานองเสียในทันทีก็ได ้ เว้นแต่เมือ(A)เหตุนันมิได ้
เป็ นเพราะความผิดของผูจ้ ํานอง และ(B)ผูจ้ ํานองก็เสนอจะจํานอง
ทรพ ั ย ์สินอืนแทนใหม้ รี าคาเพียงพอหรือเสนอจะรับซ่อมแซมแก ้ไขความบุบ
สลายนันภายในเวลาอันสมควรแก่เหตุ
กรณี ตาม
(1) ทรพ
ั ย ์จํานองมีสงเดี
ิ ยว และบุบสลาย
(2) ทรพั ย ์จํานองมีหลายสิง และบางสิงสูญหาย หรือบุบสลาย

มาตราเน้น กฎหมายพาณิ ชย ์ 3 เทอม 2-64 BY : HARU


5 / 30

ในระหว่างทีหนียังไม่ถงึ กําหนดชําระได ้ เจ ้าหนี บังคับจํานองได ้ทันที


ข้อยกเว ้น
(A) ถ้าการทีทรัพย ์บุบสลาย หรือสูญหาย ไม่ใช่เพราะความผิดของผูจ้ ํานอง (เพราะทรัพย ์จํานองอยู่ในครอบครองของผูจ้ ํานอง) และ
(B) ผูจ้ ํานองได ้แก ้ไข โดยเสนอทรัพย ์สินอืน หรือซ่อมแซมทรัพย ์จํานอง จะบังคับจํานองทันทีไม่ได ้
724 ว.1 ผูจ้ ํานองใดได ้จํานองทรพ ั ย ์สินของตนไว ้เพือประกันหนี อันบุคคลอืนจะต ้อง -เป็ นกรณี ผจู ้ ํานองเป็ นบุคคลภายนอก
ชําระแล ้วและเข ้าชําระหนี เสียเองแทนลูกหนี เพือจะปัดป้ องมิให้ต ้องบังคับ -เมือได ้รับหนังสือบอกกล่าวตาม ม.728 แลว้
จํานอง ท่านว่าผูจ้ ํานองนันชอบทีจะได ้รบั เงินใช ้คืนจากลูกหนี ตามจํานวนที ผูจ้ ํานองชําระหนี ได ้ เพือไม่ให ้ทรัพย ์สินของ
ตนได ้ชําระไป ตนต ้องถูกบังคับจํานอง
724 ว.2 ถ ้าว่าต ้องบังคับจํานอง ท่านว่าผูจ้ ํานองชอบทีจะได ้รบั เงินใช ้คืนจากลูกหนี
ตามจํานวนซึงผูร้ บั จํานองจะได ้รบั ใช ้หนี จากการบังคับจํานองนัน
725 เมือบุคคลสองคนหรือกว่านันต่างได ้จํานองทรพ ั ย ์สินแห่งตนเพือประกันหนี
เทียบกับ 682ว.2 แต่รายหนึ งรายเดียวอันบุคคลอืนจะต ้องชําระและมิได ้ระบุลําดับไวไ้ ซร ้ ท่าน
ว่าผูจ้ ํานองซึงได ้เป็ นผูช ้ าํ ระหนี หรือเป็ นเจ ้าของทรพ ั ย ์สินซึงตอ้ งบังคับ
จํานองนันหามีสท ิ ธิจะไล่เบียเอาแก่ผจ ู ้ ํานองอืน ๆ ต่อไปได ้ไม่
727/1 ว.1 ไม่ว่ากรณี จะเป็ นประการใด ผูจ้ ํานองซึงจํานองทรพ ั ย ์สินของตนไว ้เพือ - ถ้าบังคับจํานองแล ้วไดเ้ งินไม่พอ ผูจ้ ํานองไม่
บุคคลภายนอก ประกันหนี อันบุคคลอืนจะต ้องชําระ ไม่ต ้องรบั ผิดในหนี นันเกินราคา ต ้องรบั ผิดในส่วนทีขาด
จํานอง ทรพ ั ย ์สินทีจํานองในเวลาทีบังคับจํานองหรือเอาทรพ ั ย ์จํานองหลุด
727/1 ว.2 ข ้อตกลงใดอันมีผลใหผ้ จ ู ้ ํานองรบั ผิดเกินทีบัญญัตไิ วใ้ นวรรคหนึ ง หรือใหผ้ ู ้ - มีข ้อตกลงให้ชําระส่วนทีขาดไม่ได ้
จํานองรบั ผิดอย่างผูค้ าประกั
ํ น ข ้อตกลงนันเป็ นโมฆะ ไม่ว่าข ้อตกลงนันจะ
มีอยู่ในสัญญาจํานองหรือทําเป็ นข ้อตกลงต่างหาก ทังนี เว ้นแต่เป็ นกรณี
ทีนิ ตบ ิ ุคคลเป็ นลูกหนี และบุคคลผูม้ อ ี ํานาจในการจัดการตามกฎหมายหรือ
บุคคลทีมีอํานาจควบคุมการดําเนิ นงานของนิ ตบ ิ ุคคลนันเป็ นผูจ้ ํานอง
ทรพ ั ย ์สินของตนไว ้เพือประกันหนี นันของนิตบ ิ ุคคลและผูจ้ ํานองได ้ทํา
สัญญาคําประกันไว ้เป็ นสัญญาต่างหาก
728 ว.1 เมือจะบังคับจํานองนัน ผูร้ บั จํานองตอ้ งมีหนังสือบอกกล่าวไปยังลูกหนี ก่อน เป็ นการบังคับจํานองแก่ลูกหนี ซึงเป็ นผูจํ้ านอง
ว่าให ้ชําระหนี ภายในเวลาอันสมควรซึงตอ้ งไม่นอ้ ยกว่าหกสิบวันนับแต่วน ั ที ต ้องคํานึ งถึงอายุความจํานอง (10 ปี ตาม ม.
ลูกหนี ได ้รบั คําบอกกล่าวนัน ถ ้าและลูกหนี ละเลยเสียไม่ปฏิบต ั ต
ิ ามคําบอก 193/30)
กล่าว ผูร้ บั จํานองจะฟ้ องคดีต่อศาลเพือใหพ ้ ิพากษาสังให้ยด ึ ทรพ ั ย ์สินซึง ถ้าบอกกล่าวแล ้ว ผูจ้ ํานองเพิกเฉย เจ ้าหนี
จํานองและใหข ้ ายทอดตลาดก็ได้ ฟ้ องคดีต่อศาลให้ยด ึ ทรัพย ์จํานองขาย
ทอดตลาดได ้
 การบอกกล่าวต ้องทําเป็ นหนังสือ
 ระยะเวลาไม่นอ้ ยกว่า 60 วัน คือ ระยะเวลา 60 วัน
 การนับระยะเวลา 60 วัน นับจากวันรับหนังสือบอกกล่าวแล ้ว จึงเริมนับวันที 1 จากวันรุง่ ขึนหลังจากได ้รบั หนังสือบอกกล่าวตาม 193/3
✿✿✿✿ เป็ นเงือนไขสําคัญ ดังนัน ถ้าไม่ได้กําหนดให้ชา ํ ระหนีภายใน 60 วัน ผูร้ ับจํานองไม่มส ี ท
ิ ธิฟ้องบังคับจํานอง✿✿✿✿
☞ “ก็ได้” หมายถึง ผูร้ บั จํานองจะฟ้ องบังคับจํานองเอาทรัพย ์สินทีจํานอขายทอดตลาดนํ าเงินมาชําระหนีก็ได ้ หรือเมือบอกกล่าวแลว้ ไม่ฟ้องบังคับจํานอง แต่
ฟ้ องลูกหนี อย่างลูกหนี สามัญก็ได ้ เป็ นการให้เจา้ หนี มีโอกาสได ้ไตร่ตรองว่า ทรัพย ์จํานองครอบคลุมจํานวนหนีหรือไม่
728 ว.2 ในกรณี ตามวรรคหนึ ง ถ ้าเป็ นกรณี ผจ ู ้ ํานองซึงจํานองทรพ ั ย ์สินของตนไว ้ เมือเจ ้าหนีจะฟ้ องเพือยึดทรพั ย ์สินของผู ้
เพือประกันหนี อันบุคคลอืนต ้องชําระ ผูร้ บั จํานองตอ้ งส่งหนังสือบอกกล่าว จํานองทีเป็ นบุคคลทีสามไปขายทอดตลาดนํ า
ดังกล่าวใหผ้ จู ้ ํานองทราบภายในสิบหา้ วันนับแต่วน ั ทีส่งหนังสือแจง้ ใหล้ ูกหนี เงินมาชําระหนี ก็ควรบอกให ้เขาทราบก่อน
ทราบ ถ ้าผูร้ บั จํานองมิได ้ดําเนิ นการภายในกําหนดเวลาสิบห ้าวันนัน ให ้ผู ้ เขาจะได ้ใช ้สิทธิตาม ม.724 ว.1 (สิทธิไล่เบีย)
จํานองเช่นว่านันหลุดพ้นจากความรบั ผิดในดอกเบียและค่าสินไหมทดแทน เข้าชําระหนีเสียเองแทนลูกหนี เพือปกป้ องให้
ซึงลูกหนี ค ้างชําระ ตลอดจนค่าภาระติดพันอันเป็ นอุปกรณ์แห่งหนี รายนัน ต ้องบังคับรจํานอง และมีสท ิ ธิได ้รับเงินจาก
บรรดาทีเกิดขึนนับแต่วน ั ทีพ้นกําหนดเวลาสิบหา้ วันดังกล่าว ลูกหนี ได ้มาก
 เป็ นการบังคับจํานองซึงผูจ้ ํานองเป็ นบุคคลทีสาม
✿✿✿✿ ผู ร้ ับจํานองต้องส่งหนังสือบอกกล่าวไปยังผูจ้ ํานอง ให้ทราบภายใน 15 วัน นับแต่วน
ั ทีส่งหนังสือแจ้งให้ลูกหนีทราบ ✿✿✿✿
729 ในการบังคับจํานองตามมาตรา ๗๒๘ ถ ้าไม่มก ี ารจํานองรายอืนหรือ - “ในการบังคับจํานองตามมาตรา ๗๒๘”
บุรมิ สิทธิอนอั
ื นได ้จดทะเบียนไว ้เหนื อทรพ ั ย ์สินอันเดียวกันนี ผูร้ บั จํานองจะ หมายถึง การฟ้ องเอาทรัพย ์จํานองหลุดเป็ น
ฟ้ องคดีต่อศาลเพือเรียกเอาทรพ ั ย ์จํานองหลุดภายในบังคับแห่งเงือนไขดัง สิทธิ จะมีได ้ทังกรณี ลูกหนี จํานอง และบุคคล
จะกล่าวต่อไปนี แทนการขายทอดตลาดก็ได ้ ทีสามจํานอง โดยผูร้ บั จํานองตอ้ งบอกกล่าว
(๑) ลูกหนี ได ้ขาดส่งดอกเบียมาแล ้วเป็ นเวลาถึงหา้ ปี และ ตามระยะเวลาทีปรากฏใน ม.728
(๒) ผูร้ บั จํานองแสดงให้เป็ นทีพอใจแก่ศาลว่าราคาทรพ ั ย ์สินนันน้อยกว่า - ลูกหนี ขาดส่งดอกเบียนมาแล ้วเป็ นเวลา 5
จํานวนเงินอันค ้างชําระ ปี ไม่จําเป็ นต ้องขาดส่งติดต่อกัน
- ถ้าหนี ประธานไม่มก ี ารคิดดอกเบีย จะฟ้ อง
ตาม ม.729 ไม่ได ้
729/1 ว.1 เวลาใด ๆ หลังจากทีหนี ถึงกําหนดชําระ ถ ้าไม่มก ี ารจํานองรายอืนหรือ
บุรมิ สิทธิอนอั
ื นได ้จดทะเบียนไว ้เหนื อทรพ ั ย ์สินอันเดียวกันนี ผูจ้ ํานองมีสท
ิ ธิ
แจง้ เป็ นหนังสือไปยังผูร้ บั จํานองเพือให้ผู ้รบั จํานองดําเนิ นการใหม้ ก
ี ารขาย
ทอดตลาดทรพ ั ย ์สินทีจํานองโดยไม่ต ้องฟ้ องเป็ นคดีต่อศาล โดยผูร้ บั

มาตราเน้น กฎหมายพาณิ ชย ์ 3 เทอม 2-64 BY : HARU


6 / 30

จํานองต ้องดําเนิ นการขายทอดตลาดทรพ ั ย ์สินทีจํานองภายในเวลาหนึ งปี


นับแต่วน ั ทีได ้รบั หนังสือแจง้ นัน ทังนี ให ้ถือว่าหนังสือแจ ้งของผูจ้ ํานองเป็ น
หนังสือยินยอมให้ขายทอดตลาด
729/1 ว.2 ในกรณี ทผู ี ร้ บั จํานองไม่ได ้ดําเนิ นการขายทอดตลาดทรพ ั ย ์สินทีจํานอง
ภายในระยะเวลาทีกําหนดไวใ้ นวรรคหนึ ง ใหผ ้ ูจ้ ํานองพน ้ จากความรบั ผิดใน
ดอกเบียและค่าสินไหมทดแทนซึงลูกหนี ค ้างชําระ ตลอดจนค่าภาระติดพัน
อันเป็ นอุปกรณ์แห่งหนี รายนันบรรดาทีเกิดขึนภายหลังวันทีพ้น
กําหนดเวลาดังกล่าว
729/1 ว.3 เมือผูร้ ับจํานองขายทอดตลาดทรพ ั ย ์สินทีจํานองได ้เงินสุทธิจํานวนเท่าใด
ผูร้ บั จํานองต ้องจัดสรรชําระหนี และอุปกรณ์ใหเ้ สร็จสินไป ถา้ ยังมีเงินเหลือ
ก็ต ้องส่งคืนใหแ้ ก่ผจ ู ้ ํานอง หรือแก่บุคคลผูค้ วรจะได ้เงินนัน แต่ถ ้าได ้เงิน
น้อยกว่าจํานวนทีค ้างชําระ ให้เป็ นไปตามทีกําหนดไว ้ในมาตรา ๗๓๓ และ
ในกรณี ทผู ี จ้ ํานองเป็ นบุคคลซึงจํานองทรพ ั ย ์สินเพือประกันหนี อันบุคคล
อืนจะต ้องชําระ ผูจ้ ํานองย่อมรบั ผิดเพียงเท่าทีมาตรา ๗๒๗/๑ กําหนดไว ้
730 เมือทรพ ั ย ์สินอันหนึ งอันเดียวได ้จํานองแก่ผรู ้ บั จํานองหลายคนด ้วยกัน
ท่านใหถ้ อื ลําดับผูร้ บั จํานองเรียงตามวันและเวลาจดทะเบียน และผูร้ บั
จํานองคนก่อนจักได ้รบั ใช ้หนี ก่อนผูร้ บั จํานองคนหลัง
731 อันผูร้ บั จํานองคนหลังจะบังคับตามสิทธิของตนให้เสียหายแก่ผู ้ร ับจํานอง
คนก่อนนัน ท่านว่าหาอาจทําได ้ไม่
732 ทรพ ั ย ์สินซึงจํานองขายทอดตลาดไดเ้ งินเป็ นจํานวนสุทธิเท่าใด ท่านให ้
จัดใช ้แก่ผรู ้ บั จํานองเรียงตามลําดับ และถ ้ายังมีเงินเหลืออยู่อก ี ก็ให้ส่งมอบ
แก่ผู ้จํานอง
733 ถ ้าเอาทรพ ั ย ์จํานองหลุดและราคาทรพ ั ย ์สินนันมีประมาณตํากว่าจํานวน -กรณีขายทอดตลาดแล ้วไดเ้ งินน้อยกว่า
เงินทีค ้างชําระกันอยู่ก็ดี หรือถ ้าเอาทรพ ั ย ์สินซึงจํานองออกขายทอดตลาด จํานวนเงินทีลูกหนี ค ้างชําระ
ใช ้หนี ได ้เงินจํานวนสุทธินอ้ ยกว่าจํานวนเงินทีค ้างชําระกันอยู่นันก็ดี เงิน - ตกลงยกเว ้น ให ้ลูกหนี ชําระส่วนทีขาดได ้
ยังขาดจํานวนอยู่เท่าใดลูกหนี ไม่ต ้องรบั ผิดในเงินนัน ไม่ใช่ข ้อบังคับเด็ดขาด
734 ว.1 ถ ้าจํานองทรพ ั ย ์สินหลายสิงเพือประกันหนี แต่รายหนึ งรายเดียวและมิได ้ระบุ
ลําดับไว ้ไซร ้ ท่านว่าผูร้ บั จํานองจะใช ้สิทธิของตนบังคับแก่ทรพ ั ย ์สินนัน ๆ
ทังหมด หรือแต่เพียงบางสิงก็ได ้ แต่ท่านห้ามมิใหท้ ําเช่นนันแก่ทรพ ั ย ์สิน
มากสิงกว่าทีจําเป็ นเพือใช ้หนี ตามสิทธิแห่งตน
734 ว.2 ถ ้าผูร้ บั จํานองใช ้สิทธิของตนบังคับแก่ทรพ ั ย ์สินทังหมดพร ้อมกัน ท่านให ้
แบ่งภาระแห่งหนี นันกระจายไปตามส่วนราคาแห่งทรพ ั ย ์สินนัน ๆ เว ้นแต่ใน
กรณีทได ี ้ระบุจํานวนเงินจํานองไวเ้ ฉพาะทรพ ั ย ์สินแต่ละสิง ๆ เป็ นจํานวน
เท่าใด ท่านใหแ้ บ่งกระจายไปตามจํานวนเงินจํานองทีระบุไว ้เฉพาะทรพ ั ย ์สิง
นัน ๆ
734 ว.3 แต่ถ ้าผูร้ บั จํานองใช ้สิทธิของตนบังคับแก่ทรพ ั ย ์สินอันใดอันหนึ งแต่เพียงสิง
เดียวไซร ้ ผูร้ บั จํานองจะให้ชาํ ระหนี อันเป็ นส่วนของตนทังหมดจาก
ทรพ ั ย ์สินอันนันก็ได ้ ในกรณีเช่นนัน ท่านใหถ้ อ ื ว่าผูร้ บั จํานองคนถัดไปโดย
ลําดับย่อมเข ้ารบั ช่วงสิทธิของผูร้ บั จํานองคนก่อนและจะเข ้าบังคับจํานอง
แทนทีคนก่อนก็ไดแ้ ต่เพียงเท่าจํานวนซึงผูร้ บั จํานองคนก่อนจะพึงไดร้ บั
จากทรพ ั ย ์สินอืน ๆ ตามบทบัญญัตด ิ งั กล่าวมาในวรรคก่อนนัน
735 เมือผูร้ ับจํานองคนใดจะบังคับจํานองเอาแก่ผรู ้ บั โอนทรพ ั ย ์สินซึงจํานอง
ผูร้ บั จํานองต ้องมีจดหมายบอกกล่าวแก่ผู ้รบั โอนล่วงหน้าเป็ นระยะเวลาไม่
น้อยกว่าหกสิบวันก่อน จึงจะบังคับจํานองได ้
736 ผูร้ บั โอนทรพ ั ย ์สินซึงจํานองจะไถ่ถอนจํานองก็ได ้ ถ ้าหากมิไดเ้ ป็ นตัวลูกหนี
หรือผูค้ าประกั ํ น หรือเป็ นทายาทของลูกหนี หรือผูค้ าประกั ํ น

มาตราเน้น กฎหมายพาณิ ชย ์ 3 เทอม 2-64 BY : HARU


7 / 30

หน่ วยที 8 ลักษณะทัวไปของสัญญาตัวเงิน


มาตรา บทบัญญัต ิ หลัก

898 อันตัวเงินตามความหมายแห่งประมวลกฎหมายนี มีสามประเภท ๆ หนึ ง คือ


ตัวแลกเงิน ประเภทหนึ ง คือตัวสัญญาใช ้เงิน ประเภทหนึ ง คือเช็ค
899 ข ้อความอันใดซึงมิได ้มีบญ
ั ญัตไิ ว ้ในประมวลกฎหมายลักษณะนี ถ ้าเขียน เป็ นตราสาร หากมีการเขียนข้อความอืน
ลงในตัวเงิน ท่านว่าข ้อความอันนันหาเป็ นผลอย่างหนึ งอย่างใดแก่ตวเงิ
ั น นอกเหนือจากที กม กําหลดลงไปแล ้ว
นันไม่ ข้อความดังกล่าวไม่มผ
ี ลอย่างหนึ งอย่างใด
900 ว.1 บุคคลผูล้ งลายมือชือของตนในตัวเงินย่อมจะต ้องรบั ผิดตามเนื อความในตัว ใครก็ตามทีลงลายมือชือต ้องรบั ผิด ถ้าไม่ลง
เงินนัน ลายมือชือ ไม่ต ้องรับผิด
ลักษณะการลงลายมือชือ
1. ลงลายมือชือของตน โดยจะเขียนชืออย่างเดียว ชือสกุลอย่างเดียว หรือเขียนทังชือและสกุล ก็ได ้ จะภาษาอะไรก็ได ้ จะเหมือนหรือไม่เหมือนกับทีเคยเขียนไว้ก็
ได ้
2. นามแฝง
3. ยีห ้อ หมายถึง เครืองหมายสําหรบั ร ้านค ้าหรือการคา้
900 ว.2 ถ ้าลงเพียงแต่เครืองหมายอย่างหนึ งอย่างใด เช่น แกงไดหรือลายพิมพ ์นิ ว
มืออ ้างเอาเป็ นลายมือชือในตัวเงินไซร ้ แม้ถงึ ว่าจะมีพยานลงชือรบั รองก็
ตาม ท่านว่าหาให้ผลเป็ นลงลายมือชือในตัวเงินนันไม่
904✿✿ อันผูท้ รงนัน หมายความว่า บุคคลผูม้ ต ี วเงิ
ั นไว ้ในครอบครอง โดยฐานเป็ น “ครอบครอง” – ใช ้หลักเจตนนายึดถือเพือ
ผูร้ บั เงิน หรือเป็ นผูร้ บั สลักหลัง ถ ้าและเป็ นตัวเงินสังจ่ายให้แก่ผถ
ู้ อ
ื ๆ ก็ ตน
ผูท้ รง นับว่าเป็ นผูท้ รงเหมือนกัน “ชนิดระบุชอื – ครอบครองตัวเงินในฐานผูรั้ บ
เงิน หรือในฐานผูร้ บั สลักหลัง
“ชนิดผูถ้ อ ื ” – ครอบครองตัวเงินอยู่ในฐาน
เป็ นผูถ้ อ

905 ว.1 ภายในบังคับแห่งบทบัญญัตม ิ าตรา ๑๐๐๘ บุคคลผูไ้ ด ้ตัวเงินไว ้ใน - ถ้าเข ้า ม.1008 (การลงลายมือชือปลอมใน
ครอบครอง ถ ้าแสดงใหป้ รากฏสิทธิด ้วยการสลักหลังไม่ขาดสาย แม้ถงึ ว่า ตัวเงิน / ตัวเงินปลอม) ให ้ใช ้ ม.1008
การสลักหลังรายทีสุดจะเป็ นสลักหลังลอยก็ตาม ท่านใหถ้ อื ว่าเป็ นผูท้ รงโดย - การขีดฆ่า ต ้องทําก่อนส่งมอบตัว
ชอบด ้วยกฎหมาย เมือใดรายการสลักหลังลอยมีสลักหลังรายอืนตามหลัง - ผูส้ ลักหลังรายทีสุด คือ ผูส้ ลักหลังตัวฯ เป็ น
ไปอีก ท่านใหถ้ อ ื ว่าบุคคลผูท้ ลงลายมื
ี อชือในการสลักหลังรายทีสุดนัน เป็ น คนแรกต่อจากการสลักหลังลอย
ผูไ้ ด ้ไปซึงตัวเงินด ้วยการสลักหลังลอย อนึ ง คําสลักหลังเมือขีดฆ่าเสียแล ้ว
ท่านใหถ้ อื เสมือนว่ามิไดม้ เี ลย
การสลักหลัง ม.917 สลักหลังเฉพาะ ม.919 ว.1 สลักหลังลอย ม.919 ว.2
905 ว.2 ถ ้าบุคคลผูห้ นึ งผูใ้ ดตอ้ งปราศจากตัวเงินไปจากครอบครอง ท่านว่าผูท้ รง
ซึงแสดงใหป้ รากฏสิทธิของตนในตัวตามวิธก ี ารดังกล่าวมาในวรรคก่อนนัน
หาจําต ้องสละตัวเงินไม่ เว ้นแต่จะได ้มาโดยทุจริต หรือได ้มาด ้วยความ
ประมาทเลินเล่ออย่างร ้ายแรง
905 ว.3 อนึ ง ข ้อความในวรรคก่อนนี ให้ใช ้บังคับตลอดถึงผูท้ รงตัวเงินสังจ่ายให้แก่
ผูถ้ อื ด ้วย

หน่ วยที 9 การออก การโอน และการสลักหลังตัวแลกเงิน


มาตรา บทบัญญัต ิ หลัก
909 อันตัวแลกเงินนัน ต ้องมีรายการดังกล่าวต่อไปนี คือ (2) กําหนดให้แบ่งจ่ายเป็ นงวด ๆ ได ้
(๑) คําบอกชือว่าเป็ นตัวแลกเงิน (4) ดู ม.913 ประกอบ ถ้าไม่ได ้กําหนด ให ้ถึง
(๒) คําสังอันปราศจากเงือนไขใหจ้ ่ายเงินเป็ นจํานวนแน่ นอน กําหนด “เมือได ้เห็น” ตาม ม.910 ว.2
(๓) ชือ หรือยีห ้อผูจ้ ่าย (5) มีข ้อยกเว้นตาม ม.910 ว.3
(๔) วันถึงกําหนดใช ้เงิน (6) เป็ นการแยกชนิดตัวฯ ระบุชอื หรือผูถ้ อ ื
(๕) สถานทีใช ้เงิน (7) ถ้าไม่ระบุวน ั “ผูท้ รง” จดได ้เองตามจริง
(๖) ชือ หรือยีห ้อผูร้ บั เงิน หรือคําจดแจ ้งว่าใหใ้ ช ้เงินแก่ผถ
ู้ อ
ื ตาม ม.910 ว.5 ถ ้าไม่ระบุสถานทีให้ถอ ื ว่า
(๗) วันและสถานทีออกตัวเงิน “ภูมลิ ําเนาผูส้ งจ่
ั าย” ตาม ม.910 ว.4
(๘) ลายมือชือผูส้ งจ่
ั าย ถ้าขาดรายการตาม (1). (2), (3), (6), (8) ไม่
สมบูรณ์เป็ นตัวแลกเงิน
910 ว.1 ตราสารอันมีรายการขาดตกบกพร่องไปจากทีท่านระบุบงั คับไวใ้ นมาตรา
ก่อนนี ย่อมไม่สมบูรณ์เป็ นตัวแลกเงิน เว ้นแต่ในกรณีดงั จะกล่าวต่อไปนี คือ
910 ว.2 ตัวแลกเงินซึงไม่ระบุเวลาใช ้เงิน ท่านให้ถอื ว่าพึงใช ้เงินเมือได ้เห็น
910 ว.3 ถ ้าสถานทีใช ้เงินมิได ้แถลงไวใ้ นตัวแลกเงิน ท่านใหถ้ อ ื เอาภูมล ิ ําเนาของผู ้
จ่ายเป็ นสถานทีใช ้เงิน

มาตราเน้น กฎหมายพาณิ ชย ์ 3 เทอม 2-64 BY : HARU


8 / 30

910 ว.4 ถ ้าตัวแลกเงินไม่แสดงให้ปรากฏสถานทีออกตัว ท่านใหถ้ อื ว่าตัวเงินนันได ้


ออก ณ ภูมล ิ ําเนาของผูส้ งจ่
ั าย
910 ว.5 ถ ้ามิได ้ลงวันออกตัว ท่านว่าผูท้ รงโดยชอบดว้ ยกฎหมายคนหนึ งคนใดทํา
การโดยสุจริตจะจดวันตามทีถูกต ้องแทจ้ ริงลงก็ได ้
914 บุคคลผูส้ งจ่
ั ายหรือสลักหลังตัวแลกเงินย่อมเป็ นอันสัญญาว่า เมือตัวนันได ้ ได ้ทําถูกตอ้ งตามวิธกี ารในข้อไม่รบั รอง ตอ้ ง
ความรบั ผิดของผู ้ นํ ายืนโดยชอบแล ้วจะมีผรู ้ บั รองและใช ้เงินตามเนื อความแห่งตัว ถ ้าและตัว 1) ทําคําคัดค ้าน และ
สังจ่ายและผูส้ ลัก แลกเงินนันเขาไม่เชือถือโดยไม่ยอมรบั รองก็ดี หรือไม่ยอมจ่ายเงินก็ดี ผูส้ งั 2) ส่งคําบอกกล่าว
หลัง จ่ายหรือผูส้ ลักหลังก็จะใช ้เงินแก่ผูท
้ รง หรือแก่ผสู ้ ลักหลังคนหลังซึงตอ้ งถูก จึงจะเกิดสิทธิไล่เบีย
บังคับให้ใช ้เงินตามตัวนัน ถา้ หากว่าได ้ทําถูกต ้องตามวิธก ี ารในข้อไม่ การยืนให้รับรอง คือ ผูทรงยื
้ นให้รับรองว่าผูใช้ ้
รบั รองหรือไม่จ่ายเงินนันแล ้ว เงินจะจ่ายเงินให้ตามกําหนด (ต ้องยืนก่อนถึง
กําหนดใช ้เงิน)
917 ว.1 อันตัวแลกเงินทุกฉบับ ถึงแม้ว่าจะมิใช่สงจ่
ั ายให้แก่บุคคลเพือเขาสังก็ตาม
ท่านว่าย่อมโอนใหก้ น
ั ได ้ด ้วยสลักหลังและส่งมอบ
917 ว.2 เมือผูส้ งจ่
ั ายเขียนลงในด ้านหน้าแห่งตัวแลกเงินว่า “เปลียนมือไม่ได ้” ดังนี ก็ -จะโอนให้แก่กนั ดว้ ยวิธี “สลักหลักหลังและส่ง
ดี หรือเขียนคําอืนอันได ้ความเป็ นทํานองเช่นเดียวกันนันก็ดี ท่านว่าตัวเงิน มอบ” ไม่ได้
นันย่อมจะโอนให้กันไดแ้ ต่โดยรูปการและด ้วยผลอย่างการโอนสามัญ -ถ้าจะโดนต ้องโอนด ้วยวิธโี อนหนีสามัญตาม
ม.306 (โอนสิทธิเรียกร ้อง)
-คําทีมีความหมายทํานองเดียวกับ “เปลียนมือไม่ได ้” เช่น “A/C PAYEE ONLY”, “PAYEE ONLY”, “ผูร้ บั เงินเท่านัน”
-ถ้าสลักหลังและส่งมอบตัวเงินทีมีข ้อความ “ห ้ามเปลียนมือ” ผูร้ บั โอน จะเป็ นผูท้ รงทีไม่ชอบด ้วยกฎหมาย
917 ว.3 อนึ ง ตัวเงินจะสลักหลังใหแ้ ก่ผจ
ู ้ ่ายก็ได ้ ไม่ว่าผูจ้ ่ายจะได ้รบั รองตัวนัน
หรือไม่ หรือจะสลักหลังให้แก่ผส ู ้ งจ่
ั าย หรือใหแ้ ก่คู่สญ
ั ญาฝ่ ายอืนใดแห่งตัว
เงินนันก็ได ้ ส่วนบุคคลทังหลายเหล่านี ก็ยอ ่ มจะสลักหลังตัวเงินนันต่อไปอีก
ได ้
918 ตัวแลกเงินอันสังให้ใช ้เงินแก่ผถ ู้ อ ื นัน ท่านว่าย่อมโอนไปเพียงดว้ ยส่งมอบให ้
กัน
919 ว.1 คําสลักหลังนันต ้องเขียนลงในตัวแลกเงินหรือใบประจําต่อ และต ้องลง
สลักหลัง ลายมือชือผูส้ ลักหลัง
919 ว.2 การสลักหลังย่อมสมบูรณ์แม้ทงมิ ั ได ้ระบุชอผูื ร้ ับประโยชน์ไว ้ด ้วย หรือแม้ผู ้
สลักหลังลอย สลักหลังจะมิได ้กระทําอะไรยิงไปกว่าลงลายมือชือของตนทีด ้านหลังตัว
แลกเงินหรือทีใบประจําต่อก็ย่อมฟังเป็ นสมบูรณ์ดุจกัน การสลักหลังเช่นนี
ท่านเรียกว่า “สลักหลังลอย”
920 ว.1 อันการสลักหลังย่อมโอนไปซึงบรรดาสิทธิอน ั เกิดแต่ตวแลกเงิ
ั น
920 ว.2 ถ ้าสลักหลังลอย ผูท้ รงจะปฏิบต ั ด ิ งั กล่าวต่อไปนี ประการหนึ งประการใดก็ได ้ ผูร้ บั สลักหลัง คือ ผูท้ รง
คือ (1) ผูท้ รงเขียน “ชือของตนเอง” หรือ “ชือ
(๑) กรอกความลงในทีว่างด ้วยเขียนชือของตนเองหรือชือบุคคลอืนผูใ้ ดผู ้ ผูอ้ น”ื (สลักหลังเฉพาะ) ลงในทีว่าง
หนึ ง (2) ผูท้ รงสลักหลังลอย หรือสลักหลังระบุชอื
(๒) สลักหลังตัวเงินต่อไปอีกเป็ นสลักหลังลอย หรือสลักหลังใหแ้ ก่บุคคลอืน ต่อ
ผูใ้ ดผู ้หนึ ง (3) ผูท้ รงส่งมอบ โดยไม่สลักหลัง
(๓) โอนตัวเงินนันใหไ้ ปแก่บุคคลภายนอกโดยไม่กรอกความลงในทีว่าง และ
ไม่สลักหลังอย่างหนึ งอย่างใด

หน่ วยที 10 การร ับรอง อาว ัลและการใช้เงินตามตัวแลกเงิน


มาตรา บทบัญญัต ิ หลัก
921 การสลักหลังตัวแลกเงินซึงสังให้ใช ้เงินแก่ผถ ู้ อ
ื นัน ย่อมเป็ นเพียงประกัน - การสลักหลังในตัวผูถ้ อ
ื เป็ นการรบั อาวัล
(อาวัล) สําหร ับผูส้ งจ่ั าย ประกันผูส้ งจ่
ั าย
927 ว.1 อันตัวแลกเงินนันจะนํ าไปยืนแก่ผจ ู ้ ่าย ณ ทีอยู่ของผูจ้ ่าย เพือใหร้ บั รอง -ต ้องรับรองก่อนถึงวันกําหนดใช ้เงิน
เมือไร ๆ ก็ได ้ จนกว่าจะถึงเวลากําหนดใช ้เงิน และผูท้ รงจะเป็ นผูย้ นหรื ื อ
เพียงแต่ผท ู ้ ได
ี ้ตัวนันไว ้ในครอบครองจะเป็ นผูน ้ ํ าไปยืนก็ได ้
927 ว.2 ในตัวแลกเงินนัน ผูส้ งจ่ ั ายจะลงขอ้ กําหนดไวว้ ่าใหน้ ํ ายืนเพือรบั รอง โดย
กําหนดเวลาจํากัดไว ้ใหย้ น ื หรือไม่กาํ หนดเวลาก็ได ้
927 ว.3 ผูส้ งจ่
ั ายจะห้ามการนํ าตัวแลกเงินยืนเพือรบั รองก็ได ้ เวน้ แต่ในกรณี ทเป็ ี น
ตัวเงินอันได ้ออกสังใหใ้ ช ้เงินเฉพาะ ณ สถานทีอืนใดอันมิใช่ภูมล ิ ําเนาของ
ผูจ้ ่าย หรือได ้ออกสังให้ใช ้เงินในเวลาใดเวลาหนึ งนับแต่ไดเ้ ห็น
927 ว.4 อนึ ง ผูส้ งจ่
ั ายจะลงขอ้ กําหนดไว ้ว่ายังมิให้นําตัวยืนเพือใหร้ บั รองก่อนถึง
กําหนดวันใดวันหนึ งก็ได ้

มาตราเน้น กฎหมายพาณิ ชย ์ 3 เทอม 2-64 BY : HARU


9 / 30

927 ว.5 ผูส้ ลักหลังทุกคนจะลงข ้อกําหนดไว ้ว่า ให้นําตัวเงินยืนเพือรบั รอง โดย


กําหนดเวลาจํากัดไว ้ใหย้ น ื หรือไม่กาํ หนดเวลาก็ได ้ เว ้นแต่ผส
ู ้ งจ่
ั ายจะได ้
ห ้ามการรบั รอง
937 ผูจ้ ่ายได ้ทําการรบั รองตัวแลกเงินแล ้วย่อมต ้องผูกพันในอันจะจ่ายเงิน
จํานวนทีรบั รองตามเนื อความแห่งคํารบั รองของตน
938 ว.1 ตัวแลกเงินจะมีผค ู ้ ําประกันรบั ประกันการใช ้เงินทังจํานวนหรือแต่บางส่วนก็
ได ้ ซึงท่านเรียกว่า “อาวัล”
938 ว.2 อันอาวัลนันบุคคลภายนอกคนใดคนหนึ งจะเป็ นผูร้ บั หรือแม้คู่สญ ั ญาแห่ง
ตัวเงินนันฝ่ ายใดฝ่ ายหนึ งจะเป็ นผูร้ บั ก็ได ้
939 ว.1 อันการรบั อาวัลย่อมทําให้กน ั ด ้วยเขียนลงในตัวเงินนันเอง หรือทีใบประจํา
ต่อ
939 ว.2 ในการนี พึงใช ้ถ ้อยคําสํานวนว่า “ใช ้ได ้เป็ นอาวัล” หรือสํานวนอืนใดทํานอง
เดียวกันนัน และลงลายมือชือผูร้ ับอาวัล
939 ว.3 อนึ ง เพียงแต่ลงลายมือชือของผูร้ บั อาวัลในด ้านหน้าแห่งตัวเงิน ท่านก็จด ั
ว่าเป็ นคํารบั อาวัลแล ้ว เว ้นแต่ในกรณี ทเป็ี นลายมือชือของผูจ้ ่ายหรือผูส้ งั
จ่าย
939 ว.4 ในคํารบั อาวัลต ้องระบุว่ารบั ประกันผูใ้ ด หากมิได ้ระบุ ท่านใหถ้ อ ื ว่า
รบั ประกันผูส้ งจ่
ั าย
940 ว.1 ผูร้ บั อาวัลย่อมตอ้ งผูกพันเป็ นอย่างเดียวกันกับบุคคลซึงตนประกัน
940 ว.2 แม้ถงึ ว่าความรบั ผิดใช ้เงินอันผูร้ บั อาวัลได ้ประกันอยู่นนจะตกเป็
ั นใช ้ไม่ได ้
ด ้วยเหตุใด ๆ นอกจากเพราะทําผิดแบบระเบียบ ท่านว่าข ้อทีสัญญารบั
อาวัลนันก็ยงั คงสมบูรณ์
940 ว.3 เมือผูร้ ับอาวัลได ้ใช ้เงินไปตามตัวแลกเงินแล ้ว ย่อมได ้สิทธิในอันจะไล่เบีย
เอาแก่บุคคลซึงตนได ้ประกันไว ้ กับทังบุคคลทังหลายผูร้ บั ผิดแทนตัวผูน ้ น

หน่ วยที 11 การสอดเข้าแก้หน้า สิทธิไล่เบีย และตวแลกเงิ


ั นเป็ นสําร ับ
มาตรา บทบัญญัต ิ หลัก
950 ว.1 ผูส้ งจ่
ั ายหรือผูส้ ลักหลังจะระบุบุคคลผูห้ นึ งผูใ้ ดไว ้ก็ได ้ว่าเป็ นผูจ้ ะรับรอง
หรือใช ้เงินยามประสงค ์ ณ สถานทีใช ้เงิน
950 ว.2 ภายในเงือนบังคับดังจะกล่าวต่อไปข ้างหน้า บุคคลผูห้ นึ งผูใ้ ดจะรบั รองหรือ
ใช ้เงินตามตัวแลกเงินในฐานเป็ นผูส้ อดเขา้ แก ้หน้าบุคคลใดผูล้ งลายมือชือ
ในตัวนันก็ได ้
950 ว.3 ผูส้ อดเข ้าแก ้หน้านันจะเป็ นบุคคลภายนอกก็ได ้ แม้จะเป็ นผูจ้ ่ายหรือบุคคล
ซึงตอ้ งรบั ผิดโดยตัวเงินนันอยู่แล ้วก็ได ้ ห ้ามแต่ผรู ้ บั รองเท่านัน
950 ว.4 ผูส้ อดเข ้าแก ้หน้าจําต ้องให้คําบอกกล่าวโดยไม่ช ักช ้า เพือให้คู่สญ ั ญาฝ่ าย
ซึงตนเขา้ แก ้หน้านันทราบการทีตนเข ้าแก ้หน้า
951 ว.1 การรบั รองด ้วยสอดเขา้ แก ้หน้า ย่อมมีไดใ้ นบรรดากรณี ซงผู ึ ท้ รงมีสท
ิ ธิไล่
เบียได ้ก่อนถึงกําหนดตามตัวเงินอันเป็ นตัวสามารถจะรบั รองได ้
951 ว.2 การรบั รองด ้วยสอดเข ้าแก ้หน้านัน ผูท้ รงจะบอกปัดเสียก็ได ้ แม้ถงึ ว่าบุคคล
ผูซ ้ งบ่
ึ งไว ้ว่าจะเป็ นผูร้ บั รอง หรือใช ้เงินยามประสงค ์นันจะเป็ นผูเ้ สนอเข ้า
รบั รองก็บอกปัดได ้
951 ว.3 ถ ้าผูท้ รงยอมให้เข ้ารบั รองแล ้ว ผูท้ รงย่อมเสียสิทธิไล่เบียก่อนถึงกําหนดเอา
แก่ค่ส ู ญ
ั ญาทังหลายซึงตอ้ งรบั ผิดต่อตน
959 ว.1 ผูท้ รงตัวแลกเงินจะใช ้สิทธิไล่เบียเอาแก่บรรดาผูส้ ลักหลัง ผูส้ งจ่ ั าย และ
บุคคลอืน ๆ ซึงตอ้ งรบั ผิดตามตัวเงินนันก็ได ้ คือ
959 ว.2 ก) ไล่เบียได ้เมือตัวเงินถึงกําหนดในกรณีไม่ใช ้เงิน
ข) ไล่เบียได ้แมท้ งตั ั วเงินยังไม่ถงึ กําหนดในกรณี ดงั จะกล่าวต่อไปนี คือ
(๑) ถ ้าเขาบอกปัดไม่รบั รองตัวเงิน
(๒) ถ ้าผูจ้ ่ายหากจะได ้รบั รองหรือไม่ก็ตาม ตกเป็ นคนล ้มละลาย หรือได ้งด
เว ้นการใช ้หนี แม้การงดเว ้นใช ้หนี นันจะมิได ้มีคาํ พิพากษาเป็ นหลักฐานก็
ตาม หรือถ ้าผูจ้ ่ายถูกยึดทรพ ั ย ์และการยึดทรพ ั ย ์นันไร ้ผล
(๓) ถ ้าผูส้ งจ่
ั ายตัวเงินชนิ ดไม่จําเป็ นต ้องใหผ้ ูใ้ ดรบั รองนันตกเป็ นคน
ล ้มละลาย
967 ว.1 ในเรืองตัวแลกเงินนัน บรรดาบุคคลผูส้ งจ่ ั ายก็ดี รบั รองก็ดี สลักหลังก็ดี
หรือรบั ประกันด ้วยอาวัลก็ดี ย่อมตอ้ งร่วมกันรบั ผิดต่อผูท้ รง
967 ว.2 ผูท้ รงย่อมมีสท ิ ธิว่ากล่าวเอาความแก่บรรดาบุคคลเหล่านี เรียงตัวหรือ
รวมกันก็ได ้ โดยมิพก ั ต ้องดําเนิ นตามลําดับทีคนเหล่านันมาต ้องผูกพัน

มาตราเน้น กฎหมายพาณิ ชย ์ 3 เทอม 2-64 BY : HARU


10 / 30

967 ว.3 สิทธิเช่นเดียวกันนี ย่อมมีแก่บุคคลทุกคนซึงได ้ลงลายมือชือในตัวเงินและ


เข ้าถือเอาตัวเงินนัน ในการทีจะใช ้บังคับเอาแก่ผท ู ้ มี
ี ความผูกพันอยู่แลว้
ก่อนตน
967 ว.4 การว่ากล่าวเอาความแก่คส ู่ ญ
ั ญาคนหนึ ง ซึงตอ้ งรบั ผิดย่อมไม่ตด ั หนทางที
จะว่ากล่าวเอาความแก่คู่สญ ั ญาคนอืน ๆ แม้ทงจะเป็
ั นฝ่ ายอยู่ในลําดับ
ภายหลังบุคคลทีได ้ว่ากล่าวเอาความมาก่อน

หน่ วยที 12 เช็ค


มาตรา บทบัญญัต ิ หลัก
987 อันว่าเช็คนัน คือหนังสือตราสารซึงบุคคลคนหนึ งเรียกว่า ผูส้ งจ่ ั าย สัง
ธนาคารใหใ้ ช ้เงินจํานวนหนึ งเมือทวงถามใหแ้ ก่บุคคลอีกคนหนึ ง หรือใหใ้ ช ้
ตามคําสังของบุคคลอีกคนหนึ ง อันเรียกว่าผูร้ บั เงิน
989 ว.1 บทบัญญัตท ิ งหลายในหมวด
ั ๒ อันว่าด ้วยตัวแลกเงินดังจะกล่าวต่อไปนี
ท่านใหย้ กมาบังคับในเรืองเช็คเพียงเท่าทีไม่ขด ั กับสภาพแห่งตราสารชนิ ดนี
คือบทมาตรา ๙๑๐, ๙๑๔ ถึง ๙๒๓, ๙๒๕, ๙๒๖, ๙๓๘ ถึง ๙๔๐, ๙๔๕,
๙๔๖, ๙๕๙, ๙๖๗, ๙๗๑
989 ว.2 ถ ้าเป็ นเช็คทีออกมาแต่ต่างประเทศ ท่านใหน้ ํ าบทบัญญัตด ิ งั ต่อไปนี มาใช ้
บังคับด ้วย คือบทมาตรา ๙๒๔, ๙๖๐ ถึง ๙๖๔, ๙๗๓ ถึง ๙๗๗, ๙๘๐
990 ว.1 ผูท้ รงเช็คต ้องยืนเช็คแก่ธนาคารเพือใหใ้ ช ้เงิน คือว่าถ ้าเป็ นเช็คใหใ้ ช ้เงินใน
เมืองเดียวกันกับทีออกเช็คต ้องยืนภายในเดือนหนึ งนับแต่วน ั ออกเช็คนัน
ถ ้าเป็ นเช็คใหใ้ ช ้เงินทีอืนต ้องยืนภายในสามเดือน ถ ้ามิฉะนันท่านว่าผูท้ รง
สินสิทธิทจะไล่
ี เบียเอาแก่ผส ู ้ ลักหลังทังปวง ทังเสียสิทธิอน ั มีต่อผูส้ งจ่
ั ายดว้ ย
เพียงเท่าทีจะเกิดความเสียหายอย่างหนึ งอย่างใดแก่ผูส้ งจ่ ั ายเพราะการที
ละเลยเสียไม่ยนเช็ ื คนัน
990 ว.2 อนึ ง ผูท้ รงเช็คซึงผูส้ งจ่ั ายหลุดพ้นจากความรบั ผิดไปแล ้วนัน ท่านใหร้ บั
ช่วงสิทธิของผูส้ งจ่ ั ายคนนันอันมีต่อธนาคาร
991 ธนาคารจําต ้องใช ้เงินตามเช็คซึงผูเ้ คยค ้ากับธนาคารให้ออกเบิกเงินแก่ตน
เว ้นแต่ในกรณี ดงั กล่าวต่อไปนี คือ
(๑) ไม่มเี งินในบัญชีของผูเ้ คยค ้าคนนันเป็ นเจา้ หนี พอจะจ่ายตามเช็คนัน
หรือ
(๒) เช็คนันยืนเพือใหใ้ ช ้เงินเมือพ้นเวลาหกเดือนนับแต่วน ั ออกเช็ค หรือ
(๓) ได ้มีคําบอกกล่าวว่าเช็คนันหายหรือถูกลักไป
993 ว.1 ถ ้าธนาคารเขียนข ้อความลงลายมือชือบนเช็ค เช่นคําว่า “ใช ้ได ้” หรือ
“ใช ้เงินได ้” หรือคําใด ๆ อันแสดงผลอย่างเดียวกัน ท่านว่าธนาคารต ้อง
ผูกพันในฐานเป็ นลูกหนี ชันต ้นในอันจะต ้องใช ้เงินแก่ผท ู ้ รงตามเช็คนัน
993 ว.2 ถ ้าผูท้ รงเช็คเป็ นผูจ้ ดั การใหธ้ นาคารลงข ้อความรบั รองดังว่านัน ท่านว่าผู ้
สังจ่ายและผูส้ ลักหลังทังปวงเป็ นอันหลุดพ้นจากความรบั ผิดตามเช็คนัน
993 ว.3 ถ ้าธนาคารลงข ้อความรบั รองดังนันโดยคําขอร ้องของผูส้ งจ่ ั าย ท่านว่าผูส้ งั
จ่ายและปวงผูส้ ลักหลังก็หาหลุดพ้นไปไม่

หน่ วยที 13 ตัวสัญญาใช้เงิน อายุความ ตัวเงินปลอม ตัวเงินถู กลัก ตัวเงินหาย


มาตรา บทบัญญัต ิ หลัก
1006 การทีลายมือชืออันหนึ งในตัวเงินเป็ นลายมือปลอม ย่อมไม่กระทบกระทังถึง - บุคคลใดทีลงลายมือชือในตัวเงิน ก็ยงั คงต ้อง
ความสมบูรณ์แห่งลายมือชืออืน ๆ ในตัวเงินนัน รับผิดตามเนื อความในตัวอยู่ แม้ว่าจะมีลาย
ชือปลอมอยู่ก็ตาม
1007 ว.1 ถ ้าข ้อความในตัวเงินใด หรือในคํารบั รองตัวเงินรายใด มีผแู ้ ก ้ไข - “เป็ นอันเสียไป” -- ไม่มผ
ี ลใช ้บังคับ
เปลียนแปลงในข ้อสําคัญโดยทีคู่สญ ั ญาทังปวงผูต้ ้องรบั ผิดตามตัวเงินมิได ้
ยินยอมด ้วยหมดทุกคนไซร ้ ท่านว่าตัวเงินนันก็เป็ นอันเสีย เว้นแต่ยงั คง
ใช ้ได ้ต่อคู่สญ
ั ญาซึงเป็ นผูท้ ําการแก ้ไขเปลียนแปลงนัน หรือได ้ยินยอมด ้วย
กับการแก ้ไขเปลียนแปลงนัน กับทังผูส้ ลักหลังในภายหลัง
1007 ว.2 แต่หากตัวเงินใดได ้มีผแู ้ ก ้ไขเปลียนแปลงในข ้อสําคัญ แต่ความเปลียนแปลง “ความเปลียนแปลงนันไม่ประจักษ ์” ----
นันไม่ประจักษ ์ และตัวเงินนันตกอยู่ในมือผู ท ้ รงโดยชอบด ้วยกฎหมาย แนบเนียนมากจนดูไม่ออกว่ามีเกร
ไซร ้ ท่านว่าผูท้ รงคนนันจะเอาประโยชน์จากตัวเงินนันก็ได ้ เสมือนดังว่า เปลียนแปลง
มิได ้มีการแก ้ไขเปลียนแปลงเลย และจะบังคับการใช ้เงินตามเนื อความแห่ง
ตัวนันก็ได ้

มาตราเน้น กฎหมายพาณิ ชย ์ 3 เทอม 2-64 BY : HARU


11 / 30

1007 ว.3 กล่าวโดยเฉพาะ การแก ้ไขเปลียนแปลงเช่นจะกล่าวต่อไปนี ท่านถือว่าเป็ น


การแก ้ไขเปลียนแปลงในข ้อสําคัญ คือการแก ้ไขเปลียนแปลงอย่างใด ๆ แก่
วันทีลง จํานวนเงินอันจะพึงใช ้ เวลาใช ้เงิน สถานทีใช ้เงิน กับทังเมือตัวเงิน
เขารบั รองไว ้ทัวไปไม่เจาะจงสถานทีใช ้เงิน ไปเติมความระบุสถานทีใช ้เงิน
เข ้าโดยทีผูร้ บั รองมิไดย้ น
ิ ยอมด ้วย
1008 ว.1 ภายในบังคับแห่งบทบัญญัตท ิ งหลายในประมวลกฎหมายนี
ั เมือใดลายมือ - บุคคลที “เป็ นผูต ้ อ
้ งตัดบท” (อยู่ในฐานะ
ชือในตัวเงินเป็ นลายมือปลอมก็ดี เป็ นลายมือชือลงไว ้โดยทีบุคคลซึงอ ้าง ถูกตัดบท) คือ
เอาเป็ นเจ ้าของลายมือชือนันมิไดม้ อบอํานาจให้ลงก็ดี ท่านว่าลายมือชือ 1. ผูท้ ําการปลอม (ผูป้ ลอมลายมือชือ, ผูลง

ปลอมหรือลงปราศจากอํานาจเช่นนันเป็ นอันใช ้ไม่ได ้เลย ใครจะอา้ งอิง ลายมือชือโดยปราศจากอํานาจ)
อาศัยแสวงสิทธิอย่างหนึ งอย่างใดเพือยึดหน่ วงตัวเงินไว ้ก็ดี เพือทําให้ตวนั
ั น 2. ผูส้ ลักหลังภายหลังทีมีการปลอม
หลุดพ้นก็ดี หรือเพือบังคับการใช ้เงินเอาแก่ค่สู ญ
ั ญาแห่งตัวนันคนใดคน 3. เจ ้าของลายมือชือประมาทเลินเล่ออย่าง
หนึ งก็ดี ท่านว่าไม่อาจจะทําไดเ้ ป็ นอันขาด เว้นแต่คู่สญั ญาฝ่ ายซึงจะพึง ร ้ายแรง
ถูกยึดหน่ วงหรือถูกบังคับใช ้เงินนันจะอยู่ในฐานเป็ นผูต้ ้องตัดบทมิให้ยก การถูกตัดบท คือ จะยกขึนมาอ ้างเพือไม่
ข ้อลายมือชือปลอม หรือข ้อลงลายมือชือปราศจากอํานาจนันขึนเป็ นข้อ ต ้องรบั ผิดไม่ได ้
ต่อสู ้
ตัวเงินปลอม
1) ลงลายมือชือปลอมในตัวเงิน
2) ลายมือชือทีลงไว้โดยทีบุคคลซึงอ้างเอาเป็ นเจา้ ของลายมือชือนันมิได ้มอบอํานาจให ้ลง
ผล
1) ยึดหน่ วงตัวเงินไว ้ไม่ได ้ (ผูที
้ ครอบครองตัวต ้องคืนตัวให้แก่ผท
ู ้ ถู
ี กปลอมลายมือชือ ถ้าเจ ้าของลายมือชือทีถูกปลอม หรือผูท้ ลงลายมื ี อชือโดยปราศจากอํานาจทวง
ถาม)
2) ทําให้ตัวหนันหลุดพ้นไม่ได ้ (ข้อยกเว ้น ม.949, ม.1009) (ถ้าบุคคลใดไดใ้ ช ้เงินตามตัวเงินให ้แก่ผท ู ้ ได
ี ้สิทธิมาเพราะลายมือชือปลอม การใช ้เงินนันจะอ้างเป็ นเหตุให ้
หลุดพ้นจากความรบั ผิดตามตัวเงินไม่ได ้
3) บังคับการใช ้เงินเอาแก่คู่สญ ั ญาแห่งตัวนันคนใดคนหนึ งไม่ได ้ (ผูท้ ได
ี ้ตัวเงินไปด ้วยลายมือชือปลอมไม่มส ี ท
ิ ธิจะบังคับให้คู่สญ
ั ญาในตัวเงินใช ้เงินได ้ เพราะตนไม่ใช่ผู ้
ทรง
ข้อยกเว ้น กรณี คู่สญ
ั ญาบางคนอาจถูกกฎหมายปิ ดปากห้ามโตแ้ ยง้ หรือถูกตัดบทตามกฎหมายลักษณะพยาน ไม่ให้ยกข้อต่อสู ้เรืองลายมือชือปลอม หรือลายมือชือ
ทีลงโดยปราศจากอํานาจขึนเป็ นข้อต่อสู ้
1008 ว.2 แต่ข ้อความใด ๆ อันกล่าวมาในมาตรานี ท่านมิใหก้ ระทบกระทังถึงการให้
สัตยาบันแก่ลายมือชือซึงลงไว ้โดยปราศจากอํานาจแต่หากไม่ถงึ แก่เป็ น
ลายมือปลอม
1009 ถ ้ามีผนู ้ ํ าตัวเงินชนิ ดจะพึงใช ้เงินตามเขาสังเมือทวงถามมาเบิกต่อธนาคาร - เป็ นกรณี ธนาคารใช ้เงินตามเช็ค หรือ
ใด และธนาคารนันไดใ้ ช ้เงินให้ไปตามทางค ้าปกติโดยสุจริตและปราศจาก ธนาคารเป็ นผูจ้ ่ายตามตัวเงินเมือทวงถาม
ประมาทเลินเล่อไซร ้ ท่านว่าธนาคารไม่มห ี น้าทีจะต ้องนํ าสืบว่าการสลักหลัง - ได ้รับความคุ ้มครองเมือได ้ใช ้เงินโดยสุจริต
ของผูร้ บั เงิน หรือการสลักหลังในภายหลังรายใด ๆ ได ้ทําไปด ้วยอาศัยรบั ไม่ประมาทเลินเล่อ
มอบอํานาจแต่บุคคลซึงอ ้างเอาเป็ นเจ ้าของคําสลักหลังนัน และถึงแมว้ ่า
รายการสลักหลังนันจะเป็ นสลักหลังปลอมหรือปราศจากอํานาจก็ตาม
ท่านใหถ้ อื ว่าธนาคารได ้ใช ้เงินไปถูกระเบียบ
1010 เมือผูท้ รงตัวเงินซึงหายหรือถูกลักทราบเหตุแล ้ว ในทันใดนันต ้องบอก
กล่าวเป็ นหนังสือไปยังผูอ้ อกตัวเงิน ผูจ้ ่าย ผูส้ มอ ้างยามประสงค ์ ผูร้ บั รอง
เพือแก ้หน้าและผูร้ บั อาวัล ตามแต่มี เพือให้บอกปัดไม่ใช ้เงินตามตัวเงินนัน
1011 ว.1 ถ ้าตัวเงินหายไปแต่กอ ่ นเวลาล่วงเลยกําหนดใช ้เงิน ท่านว่าบุคคลซึงได ้เป็ น
ผูท้ รงตัวเงินนันจะร ้องขอไปยังผูส้ งจ่ ั ายให้ ๆ ตัวเงินเป็ นเนื อความเดียวกันแก่
ตนใหม่อก ี ฉบับหนึ งก็ได ้ และในการนี ถ ้าเขาประสงค ์ก็วางประกันให้ไวแ้ ก่ผู ้
สังจ่าย เพือไว ้ทดแทนทีเขาหากจะต ้องเสียหายแก่ผห ู ้ นึ งผูใ้ ดในกรณี ทตั
ี ว
เงินซึงว่าหายนันจะกลับหาได ้
1101 ว.2 อนึ ง ผูส้ งจ่ั ายรบั คําขอร ้องดังว่ามานันแล ้ว หากบอกปัดไม่ยอมให้ตวเงิ ั นคู่
ฉบับเช่นนัน อาจจะถูกบังคับใหอ้ อกให้ก็ได ้

ข้อสอบ 1. คําประกัน 2. จํานอง 3. ตวเงิ


ั น
- กม. คําประกัน และ กม. จํานอง เป็ น กม. ทีเกียวข ้องกับสินเชือ
- คําประกัน จํานอง เป็ นหลักประกันสินเชือ เพราะคําประกัน จํานองไม่สามารถเกิดขึนได ้ด ้วยตัวเอง เกิดขึนโดยมีหนี บางอย่างเกิดขึน
ก่อน เช่น อาจารย ์ กู ้ยืมเงิน นาย ก. แล ้ว นาย ข. มาคําประกัน เป็ นการเข ้ามาในสัญญาอีกสัญญาเมือเกิดสัญญากู ้ยืมขึนแล ้ว
- การคําประกัน เกิดจากการทีเจา้ หนี ไม่ไว้วางใจลูกหนี ตอ้ งหาหลักประกัน เพือใหเ้ กิดความมันใจทีจะให ้กู ้ยืม
- การหาหลักประกันต ้องมีมูลค่าทีไม่นอ้ ยกว่ามูลหนี

มาตราเน้น กฎหมายพาณิ ชย ์ 3 เทอม 2-64 BY : HARU


12 / 30

- สัญญาจํานํ า หรือสัญญาจํานอง พิจารณา จากทรพ


ั ย ์ทีเอาไปเป็ นหลักประกัน ถา้ เป็ นสังหาริมทร ัพย ์ จะเรียกว่า “สัญญาจํานํ า”
ถ ้าเป็ นอสังหาริมทร ัพย ์ เรียกว่า “สัญญาจํานอง”
- ระวัง ✿ กรณีนําอสังหาริมทรพ
ั ย ์ ไปเป็ น “หลักประกัน” ให้ใช ้ ว่า “จํานอง” หา้ มใช ้ “คําประกัน”
- การนํ าบุคคลไปเป็ นหลักประกัน เรียกว่า “สัญญาคําประกัน” ☞ ผูค้ ําประกัน
- หน้าทีของลูกหนี ต ้องหาหลักประกันจนกว่าเจ ้าหนี จะพอใจ ดังนัน จะมีสญ
ั ญาคําประกัน จํานอง จํานํ า อย่างใดอย่างหนึ ง หรือหลาย
อย่างก็ได ้
- สัญญาคําประกัน จํานอง จํานํ า (หนี อุปกรณ์ หรือ หนี รอง) จะเกิดขึนโดยลําพังไม่ได ้ ตอ้ งเกิดขึนเพือเป็ นหลักประกันของ “หนี
ประธาน” หรือ “หนี หลัก” (ม.680) ➪ ลูกหนี จะเป็ นผูค้ าประกั
ํ นให้ตนเองไม่ได ้ เพราะไม่เกิดประโยชน์แก่เจ ้าหนี เนื องจากสัญญา
คําประกันเกิดจาก เจ ้าหนี ไม่วางใจในตัวลูกหนี

- คู่สญ
ั ญาในสัญญาคําประกันคือ “เจ ้าหนี กับ บุคคลภายนอก (ผูค้ ําประกัน)”
- “ตกลงในการชําระหนี ในเมือลูกหนี ไม่ชาํ ระหนี นัน” ☞ ผูค้ ําประกัน จึงทําสัญญาคําประกันกับลูกหนี ไม่ได ้
- การตกลงคําประกันทีไม่ได ้ทํากับเจ ้าหนี เรียกว่า “สัญญาทีไม่มช
ี อ”
ื ไม่ใช่ สัญญาคําประกัน
- การรบั สภาพทีทีไม่เคยมีหนี อยู่จริง ใช ้บังคับไม่ได ้ คือ การรบั สภาพหนี ต ้องมีหนี อยู่กอ
่ น แล ้วยอมรบั ว่าตนมีหนี อยู่จริง
- ถ ้าลูกหนี กับผูค้ ําประกันตกลงกันเองแล ้วมีการทําเป็ นเอกสาร จะเป็ นเอกสารท ้ายสัญญา หากเจ ้าหนี รู ้ภายหลังและไดเ้ อกสารนัน
ไป เจ ้าหนี สามารถนํ ามาใช ้เป็ นหลักฐานคําประกันได ้ แต่ไม่ใช่การรบั สภาพหนี เพราะผูค้ าประกั
ํ นไม่ได ้มีหนี อยู่กบ
ั เจ ้าหนี มาก่อน
- สัญญาคําประกัน เป็ นสัญญาทีไม่มแี บบ แต่ตอ้ งมีหลักฐานเป็ นหนังสือจึงจะฟ้ องร ้องบังคับคดีกน
ั ได ้ (ม.680 ว.2)
- หนี ทีอาจคําประกันได ้ (ม.681) ไดแ้ ก่ หนี อันสมบูรณ์ (ดูหนี ประธานเป็ นหลัก)
- หนี อันสมบูรณ์ เช่น สัญญากู ้ยืมเงินจะสมบูรณ์ต่อเมือมีการส่งมอบเงิน สัญญาเช่าซือทีดินต ้องทําเป็ นหนังสือและจดทะเบียน ทํา
สัญญากู ้ยืมเงิน 100,000 บาท ด ้วยวาจา
- กรณีนิตก
ิ รรม “โมฆียะ” สัญญาสมบูรณ์จนกว่าจะบอกลา้ ง
- กรณีสญ
ั ญาคําประกันทีทําด ้วยวาจา ต ้องระบุรายละเอียดตาม ม.681 ว.1 + ว.3 คือข ้อความ “...เพือชําระหนี ในเมือลูกหนี ไม่ชาํ ระ
หนี ตามสัญญา...... (ระบุตาม ว.3)” ไม่จําเป็ นตอ้ งระบุจํานวนเงินสูงสุดทีคําประกัน
- ตัวอย่าง นาย ก ผูเ้ ยาว ์ กู ้ยืมเงิน นาย ข 100000 บาท โดยมีนาย ค เข ้ามาคําประกันหนี ดังกล่าว ขณะทําสัญญาคําประกัน นาย
ค ทราบว่านาย ก เป็ นผูเ้ ยาว ์และไม่ได ้รบั ความยินยอมจากผูแ้ ทนโดยธรรม เช่นนี ภายหลังสัญญาเงินกู ้ถูกบอกลา้ ง แต่นาย ก ไม่
คืนเงิน นาย ค ต ้องผูกพันในการคืนเงินแก่ นาย ข

มาตราเน้น กฎหมายพาณิ ชย ์ 3 เทอม 2-64 BY : HARU


13 / 30

- หากผูค้ ําประกันรู ้เหตุแห่งการทีหนี ประธานตกเป็ นโมฆียะ เช่น ข่มขู่ กลฉ้อฉล ฯลฯ เช่น ก ทํานิ ตก
ิ รรมเพราะถูก ข ข่มขู่ และมี ค
เข ้ามาคําประกันหนี โดย ค รู ้ ว่านิ ตก
ิ รรมนัน ก ทําเพราะถูกข่มขู่ เมือนิตก
ิ รรมหนี ประธานถูกบอกลา้ ง สัญญาคําประกัน มีผล
โมฆะ ตามสัญญาประธาน จะนํ า ม.681 ว.4 มาใช ้ไม่ได ้
- ต ้องชัดเจนในการทําสัญญาหนี ทัวไป ว่าเป็ นการคําประกันในหนี อะไร มูลละเมิดอะไร หรือคําประกันหนี ตามสัญญาอะไร
- ถ ้าเขียนว่า “คําประกันหนี สินตามสัญญาระหว่างลู กหนี กับเจ้าหนี ทุกสัญญา” .... เป็ นการระบุไม่ชดั แจ ้งตาม ม.681 ว.3
ตกเป็ น “โมฆะ”
- สัญญากู ้ยืมเงิน โดยตอนทา้ ยของสัญญากู ้ยืมเงิน มีข ้อความว่า “ผู ค
้ าประกั
ํ นตกลงร ับผิดตามสัญญากูย
้ ม
ื เงินฉบับนี หาก
ลู กหนี ผิดนัดไม่ชา
ํ ระหนี ตามสัญญากูย
้ ม
ื เงินฉบับนี “ การคําประกันมีความชด
ั แจ้ง

✿ สัญญาคําประกันหนี ทัวไป ม.680 ว.1+681ว.3


✿ สัญญาคําประกันหนี ในอนาคต/มีเงือนไข ม.680 ว.1+681 ว.2
ขอบเขตความร ับผิดของผู ค
้ าประกั
ํ น
➪ ความรบั ผิดเป็ นไปตามสัญญาคําประกัน
☞ หากทําเป็ นหนังสือ ขอบเขตของความรบั ผิดจะถูกกําหนดไว ้ในหนังสือ
☞ หากทําด ้วยวาจา ขอบเขตความรบั ผิดจะถูกกําหนดไว ้ในหลักฐานเป็ นหนังสือ
➪ ถ ้าไม่จํากัดความรบั ผิดไว ้ ผูค้ ําประกันต ้องรบั ผิดตาม ม.683 (คุ ้มไปถึง ดอกเบีย ค่าสินไหมทดแทน ค่าภาระติดพัน)
⚠ ค่าใช ้จ่ายในการทวงหนี ไม่ใช่ผลโดยตรงจากการผิดสัญญา
⚠ ค่าทนายความ ถือว่าไกลเกินกว่าจะเป็ นค่าภาระติดพัน
⚠ แต่ถ ้าหากกําหนดไว ้ในสัญญา ก็ถอื เป็ นค่าภาระติดพันได ้
 ผูค้ ําประกันหลายราย ใช ้หลัก ม.291-296 (ลูกหนี ร่วม) ตาม ม.682 ว.2
 การไล่เบีย เมือผูค้ ําฯ ได ้ชําระหนี สินเชิงไปแล ้ว สามารถไล่เบียตามส่วนเอาจากผูค้ าฯ
ํ รายอืนได ้ ส่วนผูค้ ําฯ เมือชําระ
หนี ไปแล ้วไล่เบียส่วนของตนกับลูกหนี ชันต ้นได ้
➪ การฟ้ องร ้องตาม ม.684 หากโจทก ์ฟ้ องคดีโดยไม่ได ้เรียกให้ผค
ู ้ าประกั
ํ นเข ้ามาในคดีกอ
่ น ผูค้ ําประกันไม่ต ้องรบั ผิดในค่าฤชา
ธรรมเนียม เนื องจากผูค้ ําประกันเป็ นบุคคลนอกคดี

การฟ้องร ้องผู ค
้ าประกั
ํ น
➡ กฎหมายทีแก ้ไขใหม่ บังคับแก่สญ
ั ญาคําประกันทีทําขึนก่อนวันที 11 กพ. 2558 ดว้ ย ถ ้าลูกหนี ผิดนัดตังแต่วน
ั ที 11 กพ.
2558 เป็ นต ้นมา เจา้ หนี ต ้องปฏิบต
ั ต
ิ าม ม.686 ทีแก ้ไขใหม่ คือ ต ้องส่งหนังสือบอกกล่าวภายใน 60 วัน นับแต่วน
ั ทีลูกหนี ผิดนัด
หลัก คือ ดูวน
ั ทีทีลู กหนี ผิดนัดเป็ นสําคัญ
- หากลูกหนี ไม่อาจถือเอาประโยชน์แห่งเงือนเวลาได ้ แม้หนี ยังไม่ถงึ กําหนดชําระ เจ ้าหนี ก็อาจฟ้ องลูกหนี ได ้ มาตรา 193 มีดงั นี
1. ลูกหนี ถูกศาลมีคําสังพิทก
ั ษ ์ทรพ
ั ย ์เด็ดขาด
2. ลูกหนี ไม่ใหป้ ระกัน ในเมือจําต ้องให ้
3. ลูกหนี ได ้ทําลาย หรือทําให้ลดน้อยลงซึงหลักประกันอันไดใ้ ห้ไว ้
4. ลูกหนี นํ าทรพ
ั ย ์สินของบุคคลอืนมาเป็ นหลักประกันโดยเจ ้าของไม่ยน
ิ ยอม
แต่จะฟ้ องผูค้ ําประกันก่อนหนี ถึงกําหนดชําระไม่ได ้ ตาม ม.687 +193
- ผูค้ ําประกันร่วม จะตกลงใหร้ บั ผิดในสัญญาคําประกันใหร้ บั ผิดแยกจากกันได ้ ในลักษณะลูกหนี หลายคน ม.290
- นาย ก กู ้ยืมเงินนาย ข 100000 บาท โดยมีนาย ค ตกลงเข ้ามาคําประกันในวันที 1 มค. 2563 และนาย ง ตกลงเข ้ามาคําประกัน
ในวันที 2 มค. 2564 และในวันที 11 เมย 2564 นาย ก ถูกฟ้ องศาลเป็ นคดีลม้ ละลาย ภายหลังนาย ก ผิดนัดชําระหนี เจ ้าหนี จึง

มาตราเน้น กฎหมายพาณิ ชย ์ 3 เทอม 2-64 BY : HARU


14 / 30

มาฟ้ องโดยชอบด ้วยกฎหมาย *** ใหน้ าย ง รบั ผิดเพียงผูเ้ ดียว (“เจา้ หนี จึงมาฟ้ องโดยชอบด ้วยกฎหมาย” หมายความว่า เจา้ หนี
ได ้ดําเนินการบอกกล่าวตามวิธท
ี ี กม. กําหนดไวแ้ ล ้ว)
คําถาม
1. นาย ง ใช ้สิทธิตาม ม.688 ใหเ้ จา้ หนี ไปเรียกร ้องเอากับ นาย ค ก่อนได ้หรือไม่
ใช ้สิทธิเกียงให ้ ผูค้ ําประกัน ชําระหนี ก่อนไม่ได ้
2. นาย ง ใช ้สิทธิตาม ม. 688 ให้เจ ้าหนี ไปเรียกร ้องเอากับ นาย ก ก่อนได ้หรือไม่
ทําได ้ เพราะเป็ นการเกียงโดยชอบฯ ตาม ม.688
*** นาย ก ถูกฟ้ องล ้มละลาย ไม่มผ
ี ลอะไร เพราะไม่ใช่ข ้อยกเว ้น

- ผูค้ ําประกันร่วม สามารถตกลงแยกกันรบั ผิดในสัญญาได ้ (686 ว.2 + 291)


สิทธิเกียงเบียงบ่ายของผูค้ าประกั
ํ น
- ผูค้ ําอ ้าง ม.688 689 690 เกียงเพือไม่ชาํ ระหนี ให้กบ
ั เจ ้าหนี ได ้
- ม.688 เมือเจ ้าหนี ทวงให ้ชําระหนี ผูค้ าฯ
ํ มีสท
ิ ธิขอให้เจ ้าหนี เรียกใหล้ ูกหนี ชําระก่อนได ้ เว ้นแต่ ลูกหนี ถูกพิพากษาใหล้ ้มละลาย
หรือไม่ปรากฏว่าลูกหนี อยู่แห่งใดในราชอาณาจักร
- ถ ้าลูกหนี หลงป่ าอยู่ หรือหนี ไปต่างประเทศ ผูค้ ําฯ ใช ้สิทธิเกียงไม่ได ้
- ถ ้ามีคําสังใหพ
้ ท
ิ ก
ั ษ ์ทรพ
ั ย ์ชัวคราว หรือมีคําสังพิทก
ั ษ ์ทรพ
ั ย ์เด็ดขาด ผูค้ ําฯ ใช ้สิทธิเกียงไม่ได ้
- การใช ้สิทธิเกียงเบียงบ่ายมักเกิดขึนในขบวนการพิจารณาของศาล เมือผูค้ ําฯ ถูกฟ้ อง
☞ นาย ก กู ้ยืมเงิน นาย ข 100,000 บาท โดยมีนาย ค เข ้ามาคําประกันในวันที 1 มค 2563 และนาย ง เข ้ามาคําประกันใน
วันที 2 มค 2564 (หลัก 682 ว.2 เมือเข้าคําประกัน ต ้องรับผิดอย่างลูกหนีร่วมกัน โดยไม่สนใจเรืองของลําดับในการเช ้าเป็ นผูค้ ําฯ )และในวันที 11
เมย 2564 นาย ก ถูกฟ้ องศาลเป็ นคดีล ้มละลาย ภายหลังนาย ก ผิดนัดชําระหนี เจ ้าหนี จึงมาฟ้ องโดยชอบด ้วยกฎหมาย ให ้
นาย ง รบั ผิดเพียงผูเ้ ดียว
 นาย ง ใช ้สิทธิตาม ม.688 ใหเ้ จา้ หนี ไปเรียกร ้องเอากับนาย ค ก่อนได ้หรือไม่ – ไม่ได ้
 นาย ง ใช ้สิทธิตาม ม.688 ใหเ้ จา้ หนี ไปเรียกร ้องเอากับ นาย ก ก่อนได ้หรือไม่ – ได ้
- ผูค้ ําประกัน พิสูจน์ “ลูกหนี มีทางทีจะชําระหนี ได ้” มีสท
ิ ธิเบียงบ่ายให้เรียกเอาจากทรพ
ั ย ์สินของลูกหนี ก่อน โดยนํ าสืบถึงทรพ
ั ย ์ของ
ตัวลูกหนี
- ทางชําระหนี ได ้ หมายถึง ทางทีจะชําระหนี ทังหมดหรือบางส่วน
- ถ ้าผูค้ าประกั
ํ นถูกเจา้ หนี ฟ้ องร ้องตามสัญญาคําประกัน ในหนี เงิน 100,000 บาท และผูค้ ําประกันใช ้สิทธิเกียงตาม ม.689 และ
พบว่าลูกหนี มีทางชําระหนี ได ้ 20,000 บาท แล ้วผูค้ ําประกันต ้องชําระ 80,000 บาท ทีเหลือ
- ถ ้าเจ ้าหนี ฟ้ องผูค้ ําประกัน ผูค้ ําฯ จะใช ้สิทธิเกียงตาม ม.688-690 โดยไม่ต ้องเรียงลําดับก็ได ้ แต่การใช ้ ม.689 ใช ้ได ้ในกรณี ท ี ใช ้
ม.688 แล ้วไม่ได ้ผล แต่ก็ข ้ามไปใช ้ ม.690 โดยไม่ใช ้ ม.689 ก็ได ้ หรือจะไม่ใช ้สิทธิเกียงเลยก็ได ้
- ม.681/1 ผูค้ ําประกันกับลูกหนี จะเป็ นลูกหนี ร่วมไม่ได ้ หากมีการตกลงให้เป็ นลูกหนี ร่วม ข ้อตกลงเป็ น “โมฆะ” แต่สญ
ั ญายังใช ้ได ้
อยู่
- เขียนในสัญญาคําประกันว่า ใหผ้ ูค้ ําประกันรบั ผิดร่วมกับลูกหนี ร่วม ผล ตกเป็ น “โมฆะ” ตาม ม.681/1
- เขียนในสัญญาคําประกันว่า ใหผ้ ูค้ ําประกันสละสิทธิตาม ม.688, 689, 690 ผล ตกเป็ น “โมฆะ” เพราะเสมือนใหผ้ ค
ู ้ าประกั
ํ นร ับผิด
ร่วมกับลูกหนี อย่างลูกหนี ร่วม

มาตราเน้น กฎหมายพาณิ ชย ์ 3 เทอม 2-64 BY : HARU


15 / 30

ม.691 การปร ับโครงสร ้างหนี


 โดยลดดอกเบีย ฯลฯ ยืดงวดการชําระหนี
 สําคัญ
 เจา้ หนี และลูกหนี ตกลงกันก่อนหรือหลังลูกหนี ผิดนัดก็ได ้ เพือปร ับโครงสร ้างหนี เจ ้าหนี ต ้องแจง้ เป็ นหนังสือให้ผค
ู ้ าํ
ประกัน ภายใน 60 วัน
 ผูค้ ําประกันไม่ต ้องเข ้าไปมีส่วนร่วมในขณะทีเจ ้าหนี และลูกหนี ตกลงกัน
 หลัก
 ผูค้ ําประกันมีสท
ิ ธิชาํ ระหนี ได ้ภายในระยะเวลาทียาวนานกว่าลูกหนี คือ ชําระหนี ได ้แม้เวลาทีเจา้ หนี กับลูกหนี ตกลงกัน
ไว ้ แต่ไม่เกิน 60 วัน นับแต่วน
ั ทีเจา้ หนี กับลูกหนี ตกลงกัน
 ในกรณี ทเจ
ี ้าหนี มีหนังสือแจ ้งไปยังผูค้ าประกั
ํ นทราบถึงข ้อตกลงดังกล่าวเมือล่วงเลยเวลาชําระหนี ตามทีได ้ลดแล ้ว ให้
ผูค้ ําประกันมีสท
ิ ธิชาํ ระหนี ได ้ภายใน 60 วัน นับแต่วน
ั ทีเจา้ หนี มีหนังสือแจ ้งให้ผค
ู ้ าประกั
ํ นทราบ
 หากมีผลใหผ้ ค
ู ้ ําฯ มีภาระเพิมมากขึน ตกเป็ น “โมฆะ”
 ตราบใดทีเจา้ หนี ยังไม่แจง้ หรือแจ ้งไม่ถูกต ้อง ระยะเวลา 60 วันยังไม่เริมนับ (ต ้องแจง้ เป็ นหนังสือเท่านัน)
อายุความสะดุดหยุดลง เป็ นโทษแก่ลูกหนี
- ม.692 อายุความสะดุดหยุดลง เป็ นโทษแก่ลูกหนี ย่อมเป็ นโทษแก่ผูค้ าประกั
ํ นด ้วย
- อายุความสะดุดหยุดลง เช่น ลูกหนี รบั สภาพหนี ลูกหนี บางส่วน ฯลฯ ผลคือ การนับอายุความใหม่ มีผลถึงผูค้ ําประกันด ้วย
- แต่ถ ้าอายุความสะดุดหยุดลง เพราะผูค้ ําประกัน เช่น ผูค้ ําประกันรบั สภาพหนี มีผลเฉพาะตัวผูค้ าประกั
ํ น
- ถ ้ามีการรบั สภาพหนี หลังขาดอายุความแล ้ว ถือเป็ นการสละประโยชน์แห่งอายุความ มีผลเฉพาะตัวลูกหนี เท่านัน ไม่กระทบผูค้ ําฯ

อายุความในการฟ้ องร ้องผูค้ ําประกัน


- ม.193/30 (ฎ.14013/2558))
ลูกหนี เสียชีวต
ิ ต ้องดูว่า
- สิทธิตามสัญญาคําประกันเกิดขึนหรือยัง
- วันทีลูกหนี ตาย สิทธิตามสัญญาฯ ยังไม่เกิด ก็ต ้องรอให้หนี ถึงกําหนดชําระหนี ก่อน เมือลูกหนี เสียชีวต
ิ ชําระหนี ไม่ได ้ ก็ต ้องฟ้ องผู ้
คําฯ ผู ้คําประกันต ้องรบั ผิดแทน
ถ ้าผูค้ าประกั
ํ นเสียชีวต
ิ --- ก่อนลูกหนี ผิดนัดชําระหนี สิทธิตามสัญญาคําประกันยังไม่เกิด ผูค้ าประกั
ํ นไม่ต ้องรบั ผิด ดังนัน ทายาทจึงไม่
ต ้องรบั ผิด (ฎ.21413/2556)
ถ ้าผูค้ ําประกันเสียชีวต
ิ --- หลังจากลูกหนี ผิดนัดชําระหนี แล ้ว สิทธิตามสัญญาคําประกันเกิดแล ้ว ผูค้ ําประกันต ้องรบั ผิด ดังนัน ทายาท
จึงต ้องรบั ผิด (ฎ.1268/2555)
- เจา้ หนี ต ้องฟ้ องภายใน 1 ปี ตังแต่ทรูี ้ว่าผูค้ าฯ
ํ ตาย หรือภายใน 10 ปี นบ
ั แต่ผค
ู ้ ําฯ ตาย

ม.690 สิทธิเกียงให้เจ ้าหนี ไปบังคับเอากับทรพ


ั ย ์ของลูกหนี (ตาม ม.629) ก่อน เมือผูค้ ําฯ ไม่ต ้องการจ่าย
ม.692 เจ ้าหนี ยึดถือทรพ
ั ย ์ของลูกหนี ไว ้
ม.693 ว.2 ผูค้ ําฯ จ่าย จึงมีสท
ิ ธิรบั ช่วงสิทธิมาไล่เบียกับลูกหนี และถ ้าทรพ
ั ย ์ทีจํานอง หรือจํานํ าเป็ นของบุคคลภายนอก ผูค้ ําฯ
สามารถรบั ช่วงสิทธิไปบังคับเอากับทรพ
ั ย ์นันได ้ด ้วย

ผู ค
้ าประกั
ํ นสิทธิไล่เบีย ม.694, 695
ถ ้าผูค้ ําฯ ไม่ยกข ้อต่อสูของตนเองต่
้ อเจ ้าหนี แล ้วชําระหนี ไล่เบียได ้ เพราะไม่ได ้ทําใหล้ ูกหนี เสียเปรียบ ตาม ม.693
ถ ้าผูค้ ําฯ ไม่ยกข ้อต่อสูข
้ องลูกหนี ขึนต่อเจ ้าหนี ผูค้ ําฯ สินสิทธิไล่เบียเท่าทีลูกหนี เสียหาย ตาม ม.694, 695

มาตราเน้น กฎหมายพาณิ ชย ์ 3 เทอม 2-64 BY : HARU


16 / 30

ม.697 การปลดหนี
นาย ก กู ้ยืมเงินนาย ข และนาย ก จํานองทีดินของตนประกันหนี ดังกล่าว ภายหลังนาจ ค เข ้ามาคําประกันหนี ดังกล่าวด ้วย
ต่อมาเจ ้าหนี ปลดจํานอง ทําให้นาย ค เสียหาย เช่นนี ตาม ม.697 นาย ค หลุดพ้นตามราคารทีปรากฏในสัญญาจํานองทีได ้ถูกปลด
จํานอง
นาย ก กู ้ยืมเงินนาย ข และนาย ก จํานองบา้ งของตนประกันหนี ดังกล่าว ภายหลังนาย ค เข ้ามาคําประกันหนี ดังกล่าวด ้วย
ต่อมาบา้ นถูกไฟไหมเ้ สียหายทังหมด เพราะไฟป่ า เช่นนี นาย ค ไม่หลุดพ้นตามราคาทีปรากฏในสัญญาจํานอง

การระงับสินไปแห่งสัญญาคําประกัน
 หนี ประธานระงับสินไป
 ผูค้ ําประกันบอกเลิกการคําประกัน (ตอ้ งได ้รบั ความยินยอมจากเจ ้าหนี ด ้วย)
 เจา้ หนี ผ่อนเวลาชําระหนี ให้แก่ลูกหนี
 เจา้ หนี ไม่ยอมรบั ชําระหนี จากผู ้คําประกัน
 เหตุอน
ื ๆ ทีทําให้สญ
ั ญาคําประกันระงับสินไป

การจํานอง
- เจา้ หนี อาศัยสิทธิยด
ึ หน่ วง เพราะลูกหนี จะนํ าทรพ
ั ย ์จํานองไป
จํานองรายอืนอีกกีรายก็ได ้ เพือเป็ นหลักประกัน เจ ้าหนี จึงยึดหน่ วง
โฉนดทีดินไว ้
- เจา้ หนี ผูร้ บั จํานอง เป็ นเจ ้าหนี บุรมิ ทรพ
ั ย์
- สัญญาจํานองต ้องทําเป็ นหนังสือและจดทะเบียนต่อเจา้ พนักงาน
เจา้ หน้าที แตกต่างกับสัญญาคําประกันทีว่า สัญญาคําประกันอาศัย
หลักฐานเป็ นหนังสือเท่านัน
- ในสัญญาจํานองต ้องมีลายมีอชือผูจ้ ํานอง และผูร้ บั จํานอง
- พยานมีความจําเป็ นในทางสืบพยาน ไม่ได ้มีสาระสําคัญในการ
ทําสัญญาจํานอง
- ทรพ
ั ย ์ทีจํานองได ้ (ม.703) คือ อสังหาริมทรพ
ั ย ์ สังหาริมทรพ
ั ย ์พิเศษ แพ สัตว ์พาหนะ
- ผูจ้ ํานองต ้องเป็ นเจ ้าของทรพ
ั ย ์ทีจํานอง (ม.705)
- หนี ทีจํานองได ้ (ม.681) คือ หนี สมบูรณ์ หนี ทีสมบูรณ์แมไ้ ม่มห
ี ลักฐานในการฟ้ องร ้อง หนี ในอนาคตหรือหนี มีเงือนไข

มาตราเน้น กฎหมายพาณิ ชย ์ 3 เทอม 2-64 BY : HARU


17 / 30

ข้อความในสัญญาจํานองทีมีผลบังคบ

ม.707 บทบัญญัตม
ิ าตรา ๖๘๑ ว่าด ้วยคําประกันนัน ท่านใหใ้ ช ้ไดใ้ นการจํานอง อนุโลมตามควร
ม.704 สัญญาจํานองต ้องระบุทร ัพย ์สินซึงจํานอง
ม.708 สัญญาจํานองนันต ้องมีจํานวนเงินระบุไว้เป็ นเรือนเงินไทยเป็ นจํานวนแน่ ตรงต ัว หรือจํานวนขันสู งสุดทีได้เอา
ทร ัพย ์สินจํานองนันตราไว้เป็ นประกัน
สัญญาจํานองระบุว่าไดจ้ ํานองตึกแถวพร ้อมทีดิน มีรายละเอียดของทรพ
ั ย ์สิน เพือประกันหนี ตามสัญญากู ้ในวงเงิน 1 ล ้าน
บาท เป็ นไปตาม ม.704, 708, 707 แต่จะนํ าสืบพยานบุคคลการแก ้ไขเอกสารสัญญาจํานองไม่ได ้ต ้องห้ามตาม ปวิพ ม.94

ข้อความในสัญญาจํานองทีไม่มผ
ี ลบังคบ

ม.711 การทีจะตกลงกันไว ้เสียแต่กอ
่ นเวลาหนี ถึงกําหนดชําระเป็ นขอ้ ความอย่างใดอย่างหนึ งว่า ถ ้าไม่ชาํ ระหนี ให ้ผูร้ บั จํานองเขา้ เป็ น
เจา้ ของทรพ
ั ย ์สินซึงจํานอง หรือว่าให้จด
ั การแก่ทรพ
ั ย ์สินนันเป็ นประการอืนอย่างใด นอกจากตามบทบัญญัตท
ิ งหลายว่
ั าด ้วยการบังคับ
จํานองนันไซร ้ ข ้อตกลงเช่นนันท่านว่าไม่สมบู รณ์
☞ สอดคล ้องกับ ม.702 ทีว่า “การจํานองเป็ นการตราทรพ
ั ย ์” ผูจ้ ํานองยังคงเป็ นเจ ้าของกรรมสิทธิ
☞ การทีให้ทรพ
ั ย ์ทีจํานองตกเป็ นของเจ ้าหนี ตอ้ งผ่านกระบวนการ ม.729 และทรพ
ั ย ์ทีจํานองต ้องมีมูลค่าน้อยกว่ามูลหนี
ประธาน

ม.712 แม้ถงึ ว่ามีข ้อสัญญาเป็ นอย่างอืนก็ตาม ทรพ


ั ย ์สินซึงจํานองไว ้แก่บุคคลคนหนึ งนัน ท่านว่าจะเอาไปจํานองแก่บุคคลอีกคนหนึ งใน
ระหว่างเวลาทีสัญญาก่อนยังมีอายุอยู่ก็ได ้
☞ พืนฐานมาจาก ม.702 ดังนัน เจ ้าของทรพ
ั ย ์ (ผูจ้ ํานอง) สามารถนํ าทรพ
ั ย ์ทีจํานองนันไปจํานองกับบุคคลได ้อีก หากมี
ข ้อตกลงหา้ มไว ้ ตกเป็ นโมฆะ ตาม ม.712

ขอบเขตของสิทธิจํานอง
ม.715 ทรพ
ั ย ์สินซึงจํานองย่อมเป็ นประกันเพือการชําระหนี กับทังค่าอุปกรณ์ต่อไปนี ด ้วย คือ
(๑) ดอกเบีย
(๒) ค่าสินไหมทดแทนในการไม่ชาํ ระหนี
(๓) ค่าฤชาธรรมเนียมในการบังคับจํานอง

นาย ก กู ้ยืมเงินนาย ข โดยมีการจํานองทีดินกับเรือ โดยนาย ค และ ง ตามลําดับ นาย ก ชําระหนี ไปครึงหนึ งแล ้ว อีก
ครึงหนึ งยังคงเป็ นผลใหท้ รพ
ั ย ์ทีจํานองยังคงไม่ปลอดจํานอง เพราะตาม ม.716 จํานองย่อมครอบไปถึงบรรดทรพ
ั ย ์สินซึงจํานองหมดทุก
สิง แม้จะได ้ชําระหนี แล ้วบางส่วน

ม.710 เป็ นกรณี ทรพ


ั ย ์หลายสิง ประกันหนี รายเดียว ให้ตกลงระบุลําดับในการบังคับจํานองทรพ
ั ย ์ไว ้ ถ ้าไม่มก
ี ารระบุไว ้ เจ ้าหนี เรียกบังคับ
ได ้ตามแต่ใจ

ม.717 แม้ว่าทรพ
ั ย ์สินซึงจํานองจะแบ่งออกเป็ นหลายส่วนก็ตาม ท่านว่าจํานองก็ยงั คงครอบไปถึงส่วนเหล่านันหมดทุกส่วนด ้วยกันอยู่
นันเอง
ถึงกระนันก็ดี ถา้ ผูร้ ับจํานองยินยอมด ้วย ท่านว่าจะโอนทรพ
ั ย ์สินส่วนหนึ งส่วนใดไปปลอดจากจํานองก็ใหท้ ําได ้ แต่ความ
ยินยอมดังว่านี หากมิได ้จดทะเบียน ท่านว่าจะยกเอาขึนเป็ นข ้อต่อสูแ้ ก่บุคคลภายนอกหาได ้ไม่

มาตราเน้น กฎหมายพาณิ ชย ์ 3 เทอม 2-64 BY : HARU


18 / 30

 จํานองเรือบรรทุกสินค ้า เรือนี อาจแบ่งเป็ นตัวเรือ ปันจัน และอุปกรณ์ชนใหญ่


ิ โดยถือเป็ นทรพ
ั ย ์คนละส่วนกัน หากไม่ได ้ตกลงกัน
ไวเ้ ป็ นพิเศษตาม ม.717 ว.1 จํานองก็ยงั คงครอบไปถึงส่วนเหล่านันหมดทุกส่วนด ้วยกันอยู่นันเอง และตาม ม.717 ว.2 ผูร้ บั
จํานองอาจเอาปันจันไปขายปลอดจํานองได ้

ผู จ
้ ํานองมีสท
ิ ธิลา้ งจํานองเป็ นงวด ๆได้
ม.713 ถ ้ามิได ้ตกลงกันไว ้เป็ นอย่างอืนในสัญญาจํานอง ท่านว่าผูจ้ ํานองจะชําระหนี ล ้างจํานองเป็ นงวด ๆ ก็ได ้
**** ถ ้าไม่มข
ี ้อตกลงไว ้เป็ นพิเศษ ถ ้าจะล ้างจํานอง ผูจ้ ํานองจะล ้างเป็ นงวด ๆ ไม่ได ้ ต ้องชําระหนี ทังหมดในคราวเดียว ***

มาตราเน้น กฎหมายพาณิ ชย ์ 3 เทอม 2-64 BY : HARU


19 / 30

สิทธิของผูจ้ ํานองทีชําระหนี แทนลู กหนี หรือถู กบังคับจํานองแล้ว

ม.726 เมือบุคคลหลายคนต่างไดจ้ ํานองทรพ


ั ย ์สินแห่งตนเพือประกันหนี แต่รายหนึ งรายเดียวอันบุคคลอืนจะต ้องชําระและได ้ระบุลําดับไว ้
ด ้วยไซร ้ ท่านว่าการทีผูร้ บั จํานองยอมปลดหนี ให้แก่ผจ
ู ้ ํานองคนหนึ งนัน ย่อมทําให้ผูจ้ ํานองคนหลัง ๆ ได ้หลุดพ้นด ้วยเพียงขนาดทีเขา
ต ้องรบั ความเสียหายแต่การนัน
หลัก
- ผูจ้ ํานองกับลูกหนี เป็ นคนละคนกัน
- ผูจ้ ํานองมีหลายคนจํานองทรพ
ั ย ์ของตนประกันหนี รายเดียวกัน และระบุลําดับการบังคับจํานองไว ้
- ปลดหนี ให้แก่ผรู ้ บั จํานองลําดับก่อน ส่งผลให้เกิดความเสียหายแก่ผจ
ู ้ ํานองลําดับหลัง เช่นนี ผูร้ บั จํานองลําดับหลังย่อมหลุดพ้น
ตามความเสียหายทีเกิดขึน

การฟ้องให้ยด
ึ ทร ัพย ์ทีจํานองออกขายทอดตลาด
สรุปภาพรวมเมือจะฟ้ องบังคับจํานอง (728)
1. เจา้ หนี ต ้องส่งหนังสือบอกกล่าวไปยังลูกหนี ตาม 728 ว.1 และ
2. ส่งหนังสือบอกกล่าวใหผ้ จ
ู ้ ํานองตาม 728 ว.2
ถ ้าเจ ้าหนี ไม่ส่งหนังสือบอกกล่าวไปยังลูกหนี ตาม 728 ว.1 จะไม่มส
ี ท
ิ ธิฟ้องบังคับจํานอง
ถ ้าเจ ้าหนี ส่งหนังสือบอกกล่าวไปยังลูกหนี ตาม 728 ว.1 แต่ไม่ส่งหนังสือบอกกล่าวไปยังผูจ้ ํานองตาม 728 ว.2 ผลคือ ผูร้ บั จํานองฟ้ อง
บังคับจํานองได ้ แต่ไม่มส
ี ท
ิ ธิไดร้ บั ดอกเบียและค่าอุปกรณ์แห่งหนี บรรดาทีเกิดขึนนับแต่วน
ั ทีพ้นกําหนด 15 วัน

มาตราเน้น กฎหมายพาณิ ชย ์ 3 เทอม 2-64 BY : HARU


20 / 30

ม.728 ว.2
 ถ ้าจะบังคับจํานองตามสัญญาจํานองแก่บุคคลทีสามต ้อง
1. มีหนังสือบอกกล่าวไปยังลูกหนี ตาม 728 ว.1
2. ส่งหนังสือบอกกล่าวใหผ้ จ
ู ้ ํานองทราบภายในระยะเวลา 15 วันนับแต่วน
ั ส่งหนังสือแจง้ ลูกหนี
 ดังนัน
☞ ถ ้าผูร้ บั จํานองไม่ดําเนิ นการตาม 1. ผลคือ ไม่มส
ี ท
ิ ธิในการฟ้ องบังคับจํานอง
☞ ถ ้าผูร้ บั จํานองดําเนิ นการตาม 1. แต่ไม่ดําเนิ นการให้ถูกต ้องตาม 2. ผลคือ ความรบั ผิดในดอกเบีย ภาระติดพันของผูจ้ ํานอง
เป็ นอันหลุดพ้น

มาตราเน้น กฎหมายพาณิ ชย ์ 3 เทอม 2-64 BY : HARU


21 / 30

730 + 731 + 732 การบังคับจํานองกรณี ทรพ


ั ย ์สินสิงเดียวประกันหนี หลายราย
710 ทรพ
ั ย ์หลายสิงประกันหนี เดียว

ตัวอย่าง 730+ 731+732


1 มค 2563 ดํา กู ้เงินแดง 1,000,000 บาท โดยเอาทีดินของตนไปจํานองเป็ นประกันหนี หนี มีกาํ หนดชําระ 3 ปี ต่อมา 1
มค 2564 ดําไปกู ้เงินขาว 2,000,000 บาท โดยเอาทีดินของตนไปประกันหนี หนี มีกาํ หนดชําระ 6 เดือน เมือดําผิดนัดชําระหนี และ
ขาวฟ้ องบังคับจํานองทีดินได ้เงิน 1,500,000 บาท ต ้องชําระหนี แก่แดง 1,000,000 บาท และขาวได ้รบั 500,000 บาท ตาม ม.
730+732 แต่ถ ้าบังคังจํานองทีดินได ้เงินเพียง 700,000 บาท แดงมีสท
ิ ธิตาม ม.731 ในการขอให ้งดการขายทอดตลาดไว ้ก่อนได ้
ขาวจะเอาเงินไปหมด 1,500,000 ไม่ได ้ตาม ม.731ว.1

มาตราเน้น กฎหมายพาณิ ชย ์ 3 เทอม 2-64 BY : HARU


22 / 30

ตัวอย่าง 730 + 732


1 มค 2563 ดํา กู ้เงินแดง 1,000,000 บาท โดยเอาทีดินของตนไปจํานองเป็ นประกันหนี ต่อมา 1 มค 2564 ดําไปกู ้เงิน
ขาว 2,000,000 บาท โดยเอาทีดินของตนไปประกันหนี เมือดําผิดนัดชําระหนี และแดงฟ้ องบังคับจํานองทีดินได ้เงิน 2,000,000 บาท
การชําระหนี ต ้องเป็ นไปตามลําดับก่อนหลังตามวันทีได ้จดทะเบียน

ตัวเงิน
- เป็ นเอกเทศสัญญาภายใต ้ ปพพ
- เกิดจากมีการแปลงเอกสารให้เป็ นตราสาร แล ้วส่งมอบตราสารเพือชําระหนี
- ตราสาร หมายถึง หนังสือสําคัญซึงเป็ นเอกสารแสดงสิทธิต่าง ๆ เช่น โฉนด
- เอกสารทีจะเป็ นตราสารตามลักษณะของกฎหมายตัวเงินได ้ จะต ้องมีรายการหน้าตัวครบถ ้วนตามทีกฎหมายกําหนด
- ผูท้ เกี
ี ยวข ้อง 3 ฝ่ ายได ้แก่ ผูร้ บั เงิน (เจา้ หนี ) ผูส้ งจ่
ั าย (ลูกหนี ) ผูจ้ ่าย (ลูกหนี ของผูส้ งจ่
ั าย)
- เมือเจ ้าหนี ได ้รบั ตัวแลกเงิน เจ ้าหนี สามารถขึนเงินกับผูจ้ ่ายไดต้ ามวันและเวลาทีกําหนดภายใต ้กฎหมาย
- ผูส้ งจ่
ั าย และผูจ้ ่ายอาจเป็ นคน ๆ เดียวกันก็ได ้

ตัวสัญญาใช ้เงิน (ม.982-986)


- เป็ นหนังสือตราสาร มีผเู ้ กียวข ้อง 2 ฝ่ าย คือ ผูอ้ อกตัว (ลุกหนี ) ผูร้ ับเงิน (เจ ้าหนี )
- ม.985 ให้ยม
ื ตัวแลกเงินมาใช ้

เช็ค (ม.987-1000)
- เป็ นตราสาร มีผเู ้ กียวข ้อง 3 ฝ่ าย คือ ผูส้ งจ่
ั าย ธนาคาร (ผูจ้ ่าย) ผูร้ บั เงิน
- ม.989 ใหย้ ม
ื ตัวแลกเงินมาใช ้

บทเบ็ดเสร็จทัวไป
- ม.899 ถ ้าเขียนข ้อความนอกเหนื อจาก ม.909 ข ้อความนันไม่มผ
ี ลบังคับใช ้แต่อย่างใด
- ฎ.4207/2554
- ม.900 ใครก็ตามทีลงลายมือชือต ้องรบั ผิด จะรับผิดในฐานะอะไร ดูตามบทบัญญัติ
***บุคคลร ับผิดตามตวเงิ
ั นมีใครบ้าง***

มาตราเน้น กฎหมายพาณิ ชย ์ 3 เทอม 2-64 BY : HARU


23 / 30

อ.ก้อง ต้องร ับผิด เพราะลงลายมือชือ ตาม ม.900


แต่ขอ
้ ความ “ความสัมพันธ ์ .....” ถู กตด
ั โดย ม.899

มาตราเน้น กฎหมายพาณิ ชย ์ 3 เทอม 2-64 BY : HARU


24 / 30

ตัวเงินทัง 3 ประเภท
ตัวแลกเงิน ตัวสัญญาใช้เงิน เช็ค
บุคคลเกียวข้อง บุคคลเกียวข้อง บุคคลเกียวข้อง
1. ผูสั้ งจ่าย 1. ผูอ้ อกตัว 1. ผูส้ งจ่
ั าย
2. ผูจ่้ าย (บุคคลธรรมดา, นิ ตบ
ิ ุคคล, 2. ผูร้ บั เงิน 2. ธนาคาร
ธนาคาร) 3. ผูร้ บั เงิน
3. ผูรั้ บเงิน
ชนิ ด ชนิ ด ชนิ ด
1. ระบุชอื 1. ระบุชอื 1. ระบุชอื
2. ผูถื้ อ 2. ผูถ้ อ

ข้อความที กม. บังค ับให้ม ี ข้อความที กม. บังคับให้ม ี ข้อความที กม. บังคับให้ม ี
ม.909 ม.983 ม.988

คู่สญ
ั ญาแห่งตวเงิ
ั น
เจ้าหนี ลู กหนี
ผูร้ บั เงิน ผูส้ งจ่
ั าย (914)
ผูร้ บั สลักหลัง ผูท้ รง (904, 905) ผูส้ ลักหลัง (914)
ผูถ้ อื ผูอ้ อกตัวสัญญาใช ้เงิน (928, 986)
ผูส้ บ
ื สิทธิของผูท้ รง ได ้แก่ ทายาท ผูร้ บั รอง (937)
ลูกหนี ตามตัวซึงได ้ใช ้เงินแก่ผท
ู ้ รงไป ผูร้ บั อาวัล (940)
ผูส้ อดเขา้ แก ้หน้า (953)
ธนาคารซึงจดรบั รู ้ในเช็ค (993)

ผู ต
้ อ
้ งร ับผิดตามเนื อความในตวเงิ
ั น
ม.900 ผูล้ งลายมือชือ ต ้องรบั ผิดตามเนื อความในตัวเงิน
ลูกหนี ในตัวเงิน (ผูล้ งลายมือชือ)
ม.901 - ลงลายมือชือในฐานะตัวแทน โดยไม่ระบุใหช
้ ดั เจนว่ากระทําแทน ตอ้ งร ับผิดตามตัวเงิน
ม.914 - ผูส้ งจ่
ั ายตัวแลกเงิน
- ผูอ้ อกตัวสัญญาใช ้เงิน มีมล
ี ายมือชือในตัวเงินจึงต ้องเป็ นผูร้ บั ผิดตาม

- ผูส้ งจ่
ั ายเช็ค เนื อความในตัวเงิน ตาม ม.900

- ผูส้ ลักหลัง
ม.937 - ผูร้ บั รอง ➡ ผูจ้ ่ายในตัวแลกเงินทีได ้รบั รอง โดยลงลายมือชือไว ้ด ้านหน้าของตัวเงิน
ม.940 - ผูอ้ าวัล ➡ คนทีประกันหนี ว่าบุคคลทีตนอาวัลไว ้ ไม่ยอมใช ้เงินตนจะใช ้เงินแทนให้
ม.993 - ธนาคารผูร้ บั รองเช็ค
ม.953 - ผูส้ อดเข ้าแก ้หน้า
✿ มีลายมือชือในตัวเงิน แต่ไม่มฐี านะตามที กม. กําหนดไว ้ ก็ต ้องรบั ผิดตามเนื อความในตัวเงิน เช่นเดียวกับผูส้ งจ่
ั าย ตาม ม.900 ✿

กรณี ทลงลายมื
ี อชือแต่อาจไม่ตอ
้ งร ับผิดได้ ถา้
- ตัวเงินนันไม่มข
ี ้อความที กม. บังคับใหม้ ี (ม.909 ตัวแลกเงิน, ม.983 ตัวสัญญาใช ้เงิน, ม.988 เช็ค)
- ลายมือชือของผูแ้ ทนนิ ตบ
ิ ุคคลทีทําภายในขอบวัตถุประสงค ์ของนิ ตบ
ิ ุคคลและภายในขอบอํานาจ
- เป็ นลายมือชือของบุคคลได ้เขียนแถลงลงในตัวเงินแล ้วว่า กระทําการแทนบุคคลอีกคนหนึ ง (ม.901)
- เป็ นลายมือชือของบุคคลซึงไม่อาจจะเป็ นคู่สญ
ั ญาแห่งตัวเงินนันได ้เลย หรือเป็ นไดแ้ ต่ไม่เต็มผล (ม.902) เช่น คนไร ้ความสามารถ
คนวิกลจริต ผูเ้ ยาว ์

มาตราเน้น กฎหมายพาณิ ชย ์ 3 เทอม 2-64 BY : HARU


25 / 30

ผู ท
้ รงโดยชอบด้วยกฎหมาย คือ เจ ้าหนี ในตัวเงิน มีหน้าทีต ้องพิสูจน์ใหไ้ ด ้ 4 ประการ คือ
1. ตนมีตวเงิ
ั นอยู่ในครอบครองในฐานะผูถ้ อ
ื ตาม ม.904
- ยึดถือโดยมีเจตนายึดถือเพือตนเอง ในฐานะผูร้ บั เงิน หรือในฐานะผูร้ บั สลักหลัง
2. ถ ้าได ้ความว่า
☞ เป็ นตัวเงินชนิ ดระบุชอื ต ้องพิสูจน์ ตาม ม.905 ว.1 คือ
➪ มีการสลักหลังและส่งมอบทีไม่ขาดสาย และ
➪ ผูส้ ลักหลังได ้ต ้องเป็ นผูท้ รงตัว
☞ เป็ นตัวเงินชนิ ดผูถ้ อ

➪ ไม่ต ้องสลักหลัง (หากสลักหลังจะเป็ น “อาวัลการสังจ่าย”)
➪ โอนด ้วยการส่งมอบ
3. มีมูลหนี เดิมทีชอบด ้วย กม. ออกตัวเงินเพือชําระหนี แทนเงิน
4. ได ้รบั ตัวเงินมาโดยสุจริต
⚠ ถ้าขาดอย่างใดอย่างหนึ งใน 4 ประการนี ไม่ใช่ผูท ั นทีชอบด้วย กม. จะเรียกให้ลูกหนี ร ับผิดไม่ได้ ⚠
้ รงตวเงิ

กรณี ตวเงิ
ั นชนิ ดชนิดระบุ

ผู ้จ่าย

สลักหลัง+ สลักหลัง+
ก ค ส่งมอบ
ง จ
ส่งมอบ

ผูส้ งจ่
ั าย ผูร้ บั เงิน ผูร้ บั สลักหลัง ผูร้ บั สลักหลัง

กรณี ตวเงิ
ั นชนิ ดชนิดผู ถ
้ อ

ผู ้จ่าย

ส่งมอบ ส่งมอบ
ก ค หรือผูถ้ อื ง จ

ผูส้ งจ่
ั าย

มาตราเน้น กฎหมายพาณิ ชย ์ 3 เทอม 2-64 BY : HARU


26 / 30

ผู ้จ่าย

ลงชือของตน
ด ้านหลังของตัว ส่งมอบ สลักหลัง หลักหลัง
ก ค ง จ ฉ ช
และส่งมอบ +ส่งมอบ +ส่งมอบ

ผูส้ งจ่
ั าย ผูร้ บั เงิน
บุคคลผู ้ทีลงลายมือชือในการสลักหลังรายทีสุดนัน เป็ นผูไ้ ด ้ไปซึงตัวเงินด ้วยการ
สลักหลังลอย กล่าวคือ ผู ท
้ สลั
ี กหลังตัวเงินคนแรกต่อจากการสลักหลังลอย
( ง ไม่มล
ี ายมือชือ ไม่ต ้องรบั ผิดตาม ม.900)
(จ มีลายมือชือ ต ้องรบั ผิด และถือว่ารับโอนโดยตรงจาก ค)
(กรณ๊นีการสลักหลังไม่ขาดสาย ช จึงเป็ นผูท้ รงโดยชอบ)

การสลักหลังไม่ขาดสาย หมายถึง การสลักหลังโอนต่อกันมาต ้องกระทําโดยผูท้ มี


ี สท
ิ ธิสลักหลังโอน (ผูท้ รงในฐานะผูร้ บั เงินหรือผูร้ บั
สลักหลังมาก่อน) และวิธก
ี ารสลักต ้องถูกต ้องตามทีกฎหมายกําหนด ได ้แก่ การสลักหลังปกติและการสลักหลังลอย

การสลักหลังในตวเงิ
ั นชนิ ดระบุชอ
ื ม.917
☆ ผูล้ งลายมือชือสลักหลังต ้องรบั ผิดตามเนื อความในตัวเงินในฐานเป็ นผูส้ ลักหลัง ☆
1. สลักหลังเฉพาะ ม.919 ว.1 ☞ ต ้องเขียนในตัวเงินหรือใบประจําต่อ และลงลายมือชือของผูส้ ลักหลัง
2. หลักหลังลอย ม.919 ว.2 ☞ ผูสลั
้ กหลังลงลายมือชือของตนไว ้ด ้านหลังของตัวเงิน

ม.920

ผู ้จ่าย
ลงชือของตนานหลังตัว
+ส่งมอบ ต ้องการโอนตัว
ก ค ง จ ม.920
(สลักหลังลอย) แลกเงินต่อไป
ผูส้ งจ่
ั าย ผูร้ บั เงิน ผูร้ บั สลักหลัง

ด ้านหลังของตัวเงิน ด ้านหลังของตัวเงิน
ง กรอกใน
ทีว่าง โอนให ้ ง

ลงชือ ค ม.920 ว.2(1)


ลงชือ ค ไม่มล
ี ายมือชือของ “ง”
ปรากฏอยู่ในตัวเงิน
“ง” จึงไม่ต ้องรับผิด
สลักหลังลอย
ด ้านหลังของตัวเงิน
โอนให ้ จ

ลงชือ ค

มาตราเน้น กฎหมายพาณิ ชย ์ 3 เทอม 2-64 BY : HARU


27 / 30

ม.905 ว.2 ได ้มีการพิสูจน์แลว้ ว่ามีการสลักหลังไม่ขาดสาย ตาม ม.905 ว.1 ไม่ต ้องคืนตัวเงิน ยกเว้นแต่ได ้มาโดยไม่สุจริต / ได ้มา
ด ้วยความประมาทเลินเล่ออย่างร ้ายแรง

ข เรียกตัวเงินคืน

ผู ้จ่าย

ลงชือของตน
ด ้านหลังของตัว ทําตัวเงินหาย หลักหลัง
ก ค ง ฉ ช
และส่งมอบ +ส่งมอบ

ผูส้ งจ่
ั าย ผูร้ บั เงิน
สุจริตและไม่ได ้ประมาท
โม่ง เลินเล่ออย่างร ้ายแรง

เก็บได ้+ส่งมอบ หรือ


สลักหลังแล ้วส่งมอบ
ไม่ต ้องคืนตัวเงิน

- ต ้องพิสูจน์ว่าเป็ นผูทรงตาม
้ ม.
904
- ต ้องพิสูจน์ว่าตนได ้มาโดย
สุจริต และมีการสลักหลังโดยไม่
ขาดสาย ตาม ม.905 ว.1

ม.905 ว.3 ตัวผูถ้ อื ให้นํา ม.905 ว.2 มาใช ้บังคับดว้ ย

ข เรียกตัวเงินคืน

ผู ้จ่าย

ส่งมอบ ทําตัวเงินหาย หลักหลัง


ก ค หรือผูถ้ อ
ื ง ฉ ช
+ส่งมอบ

ผูส้ งจ่
ั าย
สุจริตและไม่ได ้ประมาท
โม่ง เลินเล่ออย่างร ้ายแรง

เก็บได ้+ส่งมอบ หรือ


สลักหลัง (อาวัล)+ส่งมอบ
ไม่ต ้องคืนตัวเงิน

- ต ้องพิสูจน์ว่าเป็ นผูทรงตาม
้ ม.
904
- ต ้องพิสูจน์ว่าตนได ้มาโดย
สุจริต และมีการสลักหลังโดยไม่
ขาดสาย ตาม ม.905 ว.1

ผู ท
้ รงโดยชอบด้วยกฎหมาย
ตัวเงินชนิ ดระบุชอ ื ตัวเงินชนิดผู ถ ้ อ

1) เป็ นบุคคลผูม้ ตี วเงิ
ั นไว ้ในครอบครองโดยฐานเป็ นผูร้ บั เงิน 1) เป็ นบุคคลผูม้ ต
ี วเงิ
ั นไว ้ในครอบครองโดยฐานเป็ นผูถื้ อ ตาม
หรือผูร้ บั สลักหลัง ตาม ม.904 ม.904
2) ต ้องแสดงใหป้ รากฏสิทธิด ้วยการสลักหลังไม่ขาดสาย ตาม 2) ต ้องสุจริตและไม่ประมาทเลินเล่ออย่างร ้ายแรง ตาม ม.905
ม.905 ว.1 ว.2+ว.3
3) ต ้องสุจริตและไม่ประมาทเลินเล่ออย่างร ้ายแรง ตาม ม.905 3) มูลหนี ระหว่างผูท้ รงกับผูโ้ อนต ้องสมบูรณ์และชอบด ้วย
ว.2 กฎหมาย ตาม ม.194
4) มูลหนี ระหว่างผูท้ รงกับผูโ้ อนต ้องสมบูรณ์และชอบด ้วย
กฎหมาย ตาม ม.194

มาตราเน้น กฎหมายพาณิ ชย ์ 3 เทอม 2-64 BY : HARU


28 / 30

รายการตามตัวแลกเงิน (ม.907 ➡ รายการทีต ้องมีในตัวแลกเงิน+ ม.910 ➡ ตัวเงินสมบูรณ์หรือไม่)


(1) คําบอกชือว่าเป็ นตัวแลกเงิน ถ ้าไม่มไี ม่สมบูรณ์เป็ นตัวแลกเงิน
(2) คําสังอันปราศจากเงือนไขใหจ้ ่ายเงินเป็ นจํานวนแน่ นอน ถ ้ามีเงือนไข ไม่สมบูรณ์เป็ นตัวแลกเงิน
ถ ้าคําสังใหใ้ ช ้ของอย่างอืนทีไม่ใช่การจ่ายเงิน ไม่สมบูรณ์
(3) ชือ หรือยีห ้อผูจ้ ่าย
(4) วันถึงกําหนดใช ้เงิน ถ ้าไม่กาํ หนด ☞ “เมือได ้เห็น” (ม.910 ว.2)
(5) สถานทีใช ้เงิน ถ ้าไม่กาํ หนด ☞ “ภูมลิ ําเนาของผูจ้ ่าย” (ม.910 ว.3)
(6) ชือ หรือยีห ้อผูร้ บั เงิน หรือคําจดแจ ้งว่าใหใ้ ช ้เงินแก่ผถ
ู้ อ

(7) วันและสถานทีออกตัวเงิน ถ ้าไม่ระบุวนั ผูท้ รงจดวันทีถูกต ้องแทจ้ ริงได ้ (ม.910 ว.5)
ถําไม่ระบุสถานที ☞ “ภูมล ิ ําเนาของผูส้ งจ่
ั าย” (ม.910 ว.4)
(8) ลายมือชือผูส้ งจ่
ั าย ถ ้าไม่มี ก็ไม่สมบูรณ์

วน
ั ถึงกําหนดใช้เงิน (ม.913)
(1) วันทีกําหนดไว ้
(2) สินระยะเวลาทีกําหนดไวน ้ ับแต่วน
ั ทีลงในตัว เช่น “ถึงกําหนดใช ้เงิน 10 วันนับแต่วน ั ออกตัวฯ
(3) เมือทวงถาม หรือเมือได ้เห็น จะต ้องนํ าตัวฯ ไปยืนใหผ้ จ
ู ้ ่ายได ้เห็นตัวภายใน 6 เดือนนับแต่วน

ออกตัวฯ (ม.928)
ถ ้ายืนเลยกําหนด 6 เดือน ผูท้ รงสินสิทธิไล่เบียผูจ้ ่าย
แต่ไม่สนสิ
ิ ทธิไล่เบียนผูร้ ับรอง
(4) สินระยะเวลาอันกําหนดไว ้นับแต่ไดเ้ ห็น เช่น “10 วันนับแต่ได ้เห็น” (ม.928)

การเขียนดอกเบียลงในตัวแลกเงิน (/ตัวสัญญาใช้เงิน) (ม.911)


☃ ผูม้ อ
ี ํานาทีจะคิดดอกเบียในตัวแลกเงิน คือ “ผูส้ งจ่
ั าย” ตัวแลกเงินเท่านัน ซึงจะเขียนลงด ้านหน้าหรือด ้านหลังของตัวแลกเงินก็ได ้
☃ การเขียนดอกเบียของบุคคลอืนนอกจาก “ผูส้ งจ่
ั าย” ผล คือ ข ้อความทีเขียนใหค้ ด
ิ ดอกเบียนัน ไม่มผ
ี ล ตาม ม.899
☃ ดอกเบียผิดนัดตามตัวแลกเงิน ☞ ม.968 (2) 5% นับแต่วน
ั ถึงกําหนด
☞ ม.969 (2) 5% นับแต่วน
ั ทีได ้ใช ้เงินไป

ความร ับผิดของผู ส
้ งจ่
ั าย & ผู ส
้ ลักหลัง (ม.914)

ยืนให้รับรอง / ใหใ้ ช ้เงิน


ผู ้จ่าย

สลักหลัง+ สลักหลัง+
ก ค ส่งมอบ
ง จ
ส่งมอบ

ผูส้ งจ่
ั าย ผูร้ บั เงิน ผูร้ บั สลักหลัง ผูท้ รงโดยชอบ

ข ผู ้จ่าย ไม่รบั รอง/ไม่ใช ้เงินให้ ก ร ับผิดฐานผูส้ งจ่


ั าย
ค & ง รบั ผิดฐานผูส้ ลักหลัง
จ ไล่เบียได ้เพราะผูจ้ ่ายไม่ใช ้เงินให้หรือไม่รบั รอง ทําใหต้ วฯ
ั ขาดความเชือถือ

มาตราเน้น กฎหมายพาณิ ชย ์ 3 เทอม 2-64 BY : HARU


29 / 30

ลบล้างหรือจํากัดความร ับผิดหรือยอมลดละหน้าที (ม.915)


☞ ผูม้ ส
ี ท
ิ ธิเขียนมีเพียง 2 คน คือ ผูส้ งจ่
ั าย และ ผูส้ ลักหลัง โดยจะเขียนไว ้ด ้านหน้าหรือด ้านหลังก็ได ้
(1) ข ้อกําหนดลบล ้างความรบั ผิดของตนเองไว ้ในตัวฯ
 ผูม้ ล
ี ายมือชือในตัว
ยืนให้รับรอง / ใหใ้ ช ้เงิน
ข ฯ ตอ้ งรบั ผิด
ผู ้จ่าย จ เรียกให ้ ก ค งรบั ผิด
ต่อตนได ้ ตาม ม.914
สลักหลัง+ สลักหลัง+
ก ค ง จ (ตัวขาดความเชือถือ)
ส่งมอบ ส่งมอบ

ผูส้ งจ่
ั าย “ไล่เบียข ้าพเจ ้าไม่ได”้ ผูร้ บั สลักหลัง ผูท้ รงโดยชอบ

ไล่เบีย ผล ค ยกข ้อต่อสู ้ได ้ เพราะได ้เขียนลบล ้าง / จํากัด


จ ความร ับผิดไว ้แลว้ ตาม ม.915 (1)

(2) ข ้อกําหนดยอมลดละใหแ้ ก่ผท


ู ้ รงตัวฯ ซึงหน้าทีทังหลายอันผูท้ รงพึงต ้องมีแก่ตนบางอย่าง / ทังหมด
ทําคําคัดค ้าน
ส่งคําบอกกล่าว

เช่น “ไม่ตอ้ งทําคําคัดค ้าน” / “ไม่ต ้องส่งคําบอกกล่าว”


ผู ้สังจ่ายเขียน ☞ มีผลตลอดสาย
ส่งคําบอกกล่าว ☞ มีผลเฉพาะผูส้ สลักหลังคนทีเขียน

ยืนให้รับรอง / ให้ใช ้เงิน


ผู ้จ่าย

สลักหลัง+ สลักหลัง+
ก ค ส่งมอบ
ง จ
ส่งมอบ

ไม่ต ้องทําคําคัดค ้าน ผูร้ บั สลักหลัง ผูท้ รงโดยชอบ

มีผลตลอดสาย

จ จ ไม่ต ้องทําคําคัดค ้าน หากยืนใหร้ บั รอง/ให้ใช ้เงินแล ้ว ถูกปฏิเสธ (ตัวขาดความเชือถือ)


จ ผู ้ทรงใช ้สิทธิไล่เบียกับ ก ค ง ได ้ทันที โดยไม่ต ้องทําคําคัดค ้าน

ยืนให้รับรอง / ใหใ้ ช ้เงิน



ต ้องทําคํารคัดค ้านก่อนจึงจะไล่เบียได ้
ผู ้จ่าย

สลักหลัง+ สลักหลัง+
ก ค ส่งมอบ
ง จ
ส่งมอบ

ไม่ต ้องทําคําคัดค ้าน


ไล่เบียได ้ทันที

ค “ผู ้สลักหลัง” เป็ นผูเ้ ขียน


ถ ้า จ เรีจยกให ้ ค ใช ้เงิน เรียกไดท้ น
ั ที โดยไม่ต ้องทําคําคัดค ้านก่อน
แต่ถ ้า จ ไล่เบีย ก ผู ้สังจ่าย หรือ ง ผูส้ ลักหลัง ซึงไม่ได ้เขียน จ ต ้องทําคําคัดค ้านก่อน จึงจะเรียกให้ ก / ง ใช ้เงินได ้

มาตราเน้น กฎหมายพาณิ ชย ์ 3 เทอม 2-64 BY : HARU


30 / 30

ห้ามยกข้อต่อสูผ
้ ูท
้ รง (ม.916) ผูร้ บั โอนมีสท
ิ ธิดก
ี ว่าผูโ้ อน
ผูถ้ ูกฟ้ องในมูลตัวแลกเงิน คือ ผูล้ งลายมือชือในตัวแลกเงิน

ข้อต่อสู้อนั อาศัยความเกียวพันเฉพาะบุคคล

1.ระหว่างตน (ผูก้ ล่าวอ ้าง) กับผูส้ งจ่


ั าย 2.ระหว่างตน (ผูก้ ล่าวอ ้าง) กับผูท้ รงคนก่อน ๆ

ก ค ง

ยกขึนต่อสู ้ผูท้ รง (ปัจจุบน


ั ) ไม่ได ้
เว ้นแต่ โอนด ้วยการคบคิดกันฉ้อฉล

ข ผู ้มีลายมือชือในตัว คือ ก ค ง
มูลหนี ยาบ ้า
ผู ้จ่าย
100,000

สลักหลัง+ สลักหลัง+ ผูท้ รงปัจจุบน


ั ต ้องพิสูจน์ว่าเป็ นผู ้
ก ค ส่งมอบ
ง จ
ส่งมอบ ทรงโดยชอบฯ
ซือปื นเถือน กู ้ยืมด ้วยวาจา
ผูส้ งจ่
ั าย
มูลหนี ระหว่าง ง และ จ ชอบด ้วยกฎหมาย
✿ แต่ยกข้อต่อสู้ของตนกับ ผู้ทรงคนปั จจุบันได้ ✿ จึงมีสท
ิ ธิไล่เบีย ก ค ง ไดต้ ามกฎหมาย

มาตราเน้น กฎหมายพาณิ ชย ์ 3 เทอม 2-64 BY : HARU

You might also like