You are on page 1of 18

ครัง้ ที่ 1

กฎหมายลักษณะแห่งหนี ้
ภาคเรียนที่
1/2563
เพชร ขวัญใจสกุล
แนะนำผูส
้ อน

• ผูช ่ ยศาสตราจารย์เพชร ขว ัญใจสกุล


้ ว
• รองคณบดีคณะนิตศ
ิ าสตร์ฝ่ายวิชาการ
• วุฒก ึ ษา นบ. , นบท. , น.ม.
ิ ารศก
• ั
โทรศพท์ 091-091-7999
• Line ID : phetkhwanchaisakun
• อีเมล์ phettameaw@hotmail.com
การประเมินผลการเรียน

• 1. เข ้าเรียนออนไลน์ 10 คะแนน
• 2. งานทีม่ อบหมาย 10 คะแนน
• 3. สอบปลายภาค 80 คะแนน
• รวม 100 คะแนน
แนะนำในการเขียนสอบข้อสอบ
ย่อหน้าแรก วางหล ักกฎหมาย
 “วางหลักไว ้ว่า....มีใจความว่า....บัญญัตไิ ว ้ว่า.....”
ย่อหน้าทีส ่ อง นำข้อเท็จจริงปร ับเข้าก ับข้อกฎหมาย
 “...ข ้อเท็จจริง....../.....ข ้อกฎหมาย....../.....ถือว่า...”
ย่อหน้าทีส ่ าม สรุป
 “ดังนัน้ ....../ดังนี.้ .......”

เค ้าโครงเนื อของรายวิ ชา
้ ่
ครังที
1 ้ ่
ครังที

บททัวไป 2
บ่อเกิด
แห่งหนี ้ ้ ่
ครังที
และวัตถุ 3 สิทธิเรียก
แห่งหนี ้ ้
เจ ้าหนี และ ้
ครัง ร ้องให ้ลูก
ลูกหนี ้ ที่4 หนี ชำระ

ผิดนัด หนี ้

เค ้าโครงเนื อของรายวิ ชา (ต่อ)
้ ่
ครังที ้ ่
ครังที
5 6
ค่าสินไหม
ทดแทน การชำระ

้ ่
ครังที
หนี กลาย การใช ้สิทธิ
7
เป็ นพ ้น
รับช่วงสิทธิ ครัง้ เรียกร ้อง
ของลูกหนี ้
วิสยั
และรับช่วง ที่8 และเพิก
ทรัพย ์ ถอนการ
ฉ้อฉล

เค ้าโครงเนื อของรายวิ ชา (ต่อ)
้ ่
ครังที
9 สิทธิยึด ้ ่
ครังที
หน่ วง 10
เจ ้าหนี ้
ลูกหนี ้ ้ ่
ครังที
ร่วม 11 การโอน
ครัง้ ความ
สิทธิเรียก ที่12 ระงับแห่ง
ร ้อง หนี ้
ื อ่านประกอบ
หน ังสอ
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
อธิบายประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ หนี้ ของ ศาสตรจาร
ย์(พิเศษ)โสภณ รัตนากร
อธิบายประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ หนี้ ของจี๊ ด เศรษฐบุตร
หลักกฎหมายหนี้ ของ ภัทรศก
ั ดิ์ วรรณแสง
หลักกฎหมายหนี้ ของ ศาสตราจารย์(พิเศษ)จรัญ ภักดีธนากุล
้ หาทีจ
เนือ ึ ษาในครงนี
่ ะศก ั้ ้
 1. การศกึ ษากฎหมายลักษณะหนี้
 2. ความเป็ นมาของกฎหมายหนี้
 3. ความสำคัญของกฎหมายหนี้
 4. บุคคลสท ิ ธิและทรัพย์สท
ิ ธิ
 5. ลักษณะทั่วไปของหนี้
 6. ความหมายของหนี้
 7. องค์ประกอบของหนี้
ึ ษากฎหมายล ักษณะหนี้
1.การศก
หมวด 1 วัตถุแห่งหนี้
หมวด 2 ผลแห่งหนี้
หมวด 3 ลูกหนีแ้ ละเจ ้าหนีห้ ลายคน
หมวด 4 โอนสท ิ ธิเรียกร ้อง
หมวด 5 ความระงับหนี้
2. ความเป็นมาของกฎหมายหนี้
• กฎหมายโรมันเรียกว่า “Obligatio” แปลได ้ว่าเป็ น “ภาระ”หรือ “หน้าที”่
• กฎหมายไทย
• สมัยก่อนเราเรียกว่า “พ ันธะธรรม” (Obligation)
• “ณี่” หมายถึงกู ้หนีย้ มื สนิ
• “หนีโ้ ดยนิตน
ิ ัย” หรือ “หนี”้
ความสำค ัญของกฎหมายหนี้
• บรรพ 1 ลักษณะนิตก
ิ รรมและอายุความเป็ นเรือ
่ งเกีย
่ วกับหนี้
• บรรพ 2 เกีย
่ วข ้องกับหนีโ้ ดยเฉพาะ
• ั ญาก็เป็ นเรือ
บรรพ 3 เป็ นเอกเทศสญ ่ งหนีห ้ งึ่ แยกประเภทออกไปนัน
้ นีซ ้ เอง
• บรรพ 4 เรือ ิ เป็ นเรือ
่ งทรัพย์สน ่ งทีก
่ อ
่ ให ้เกิดภาระหรือหนีแ
้ ก่เจ ้าของทรัพย์
นัน
้ เอง
• บรรพ 5 และ 6 เรือ่ งครอบครัวและมรดก
ิ ธิและทร ัพย์สท
4. บุคคลสท ิ ธิ
เรือ
่ ง ิ ธิ
บุคคลสท ิ ธิ
ทรัพยสท

1. ผูม้ ีหน้าที่ - ก่อให้เกิดสิ ทธิเฉพาะคู่สญ


ั ญา - สิ ทธิบงั คับแก่บุคคลทัว่ ไป
เท่านั้น (ทรัพยสิ ทธิอาจใช้ยนั บุคคลได้ทวั่
โลก)
2. ลักษณะของหน้าที่ - ต้องมีลกั ษณะที่แน่นอนเช่นลูกหนี้ - เป็ นการก่อให้เกิดหน้าที่แก่บุคคล
ต้องปฏิบตั ิตามสัญญา ทัว่ ไป เช่นหน้าที่จะไม่ละเมิดผูอ้ ื่น

3. วัตถุแห่งหนี้ - มีอยู่ 3 อย่าง คือ1.กระทำการ 2.งด - การได้ใช้สิทธิในตัวทรัพย์โดยไม่มี


เว้นกระทำการ ผูใ้ ดรบกวนขัดขวาง
3.ส่ งมอบทรัพย์สิน
เรือ
่ ง ิ ธิ
บุคคลสท ิ ธิ
ทรัพยสท

4. การบังคับใช้สิทธิ - ต้องฟ้ องร้องต่อศาลไม่อาจบังคับได้ -ให้อ ำนาจไม่ตอ้ งฟ้ องร้องต่อศาลก็ได้


โดยตนเอง เว้นแต่บางกรณี บงั คับทาง เช่นการจำหน่าย
อ้อมเช่น การยึดหน่วง หักลบกลบหนี้ จ่ายโอนใช้สอยทรัพย์

5. อายุความของสิ ทธิ - ใช้อายุความเสี ยสิ ทธิ คือหากไม่ - ใช้อายุความได้สิทธิ เช่นการครอบ


ฟ้ องร้องภายในอายุความคดีขาดอายุ ครองปรปักษ์
ความ
6. การควบคุม - สิ ทธิเรี ยกร้องเกิดได้หลายทางไม่ - ทรัพยสิ ทธิเป็ นสิ ทธิเด็ดขาด และเป็ น
กฎหมาย จำกัดรู ปแบบ อาจจะเกิดโดยสัญญา สิ ทธิก่อให้เกิดหน้าที่แก่บุคคลทัว่ ไปทัง่
ก็ได้ โดยละเมิด ลาภมิควรได้ หรื อ เป็ นสิ ทธิไม่มีอายุความ
จัดการงานนอกสัง่ ก็ได้ แต่ตอ้ งฟ้ อง
ร้องต่อศาลเพื่อบังคับ
5. ล ักษณะทว่ ั ไปของหนี้
ิ ธิ คือก่อให ้เกิดความผูกพันกันเฉพาะบุคคลทีเ่ กีย
1. เป็นบุคคลสท ่ วข ้องเท่านัน
้ ไม่
่ ทรัพย์สท
ผูกพันบุคคลทั่วไปเชน ิ ธิ
ิ ธิเกีย
2. เป็นสท ิ เพราะเป็ นสท
่ วก ับทร ัพย์สน ิ ธิทั่วไปทางหนีม
้ รี าคาและอาจถือเอาได ้
ิ ธิทางแพ่ง ซงึ่ ก่อให ้เกิดสท
3. เป็นสท ิ ธิเรียกร ้องกันทางแพ่ง เป็ นสท
ิ ธิเอกชน
้ ต
4. ลูกหนีม ี ัวตนแน่นอน เนือ ิ ธิเรียกร ้องเป็ นบุคคลสท
่ งจากเป็ นสท ิ ธิไม่ใชส้ ท
ิ ธิทม
ี่ ต
ี อ

ิ ธิ หน ้าทีเ่ รียกร ้องจึงจำกัดอยูก
คนทั่วไปอย่างทรัพย์สท ่ บ
ั บุคคลทีเ่ กีย
่ วข ้อง
ิ ธิเรียกร ้องมีวต
้ น่นอน สท
5. ว ัตถุแห่งหนีแ ิ ธิเป็ นการกระทำ งดเว ้นกระทำการ
ั ถุแห่งสท
ิ สงิ่ ทีล
หรือโอนทรัพย์สน ่ ก
ู หนีก
้ ระทำจึงต ้องเป็ นเรือ
่ งทีแ
่ น่นอน
6. ความหมายของหนี้
• ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ พ.ศ. 2466 (เดิม) ได ้ให ้ความหมายของคำว่าหนีไ้ ว ้ว่
้ น
า “อันว่าหนีนั ้ โดยนิตน
ิ ัย เป็ นความเกีย ่ วพันระหว่างบุคคลคนเดียวหรือหลายคน ฝ่ ายหนึง่
เรียกว่าลูกหนี้ จำต ้องสง่ ทรัพย์สนิ ก็ด ี หรือทำการหรือเว ้นทำการให ้แก่บค
ุ คลคนเดียวหรือ
หลายคน อีกฝ่ ายหนึง่ เรียกว่าเจ้าหนี”้
• ม.ร.ว.เสนีย ์ ปราโมช กล่าวว่า “หนีคื
้ อความผูกพันทีม ี ลในกฎหมาย ซงึ่ บุคคลฝ่ ายหนึง่ เรียก
่ ผ
ว่าเจ้าหนี้ ชอบทีไ่ ด ้รับชำระหนีม ั ถุเป็ นการกระทำหรืองดเว ้น หรือสง่ มอบทรัพย์สน
้ วี ต ิ จาก
บุคคลอีกฝ่ ายหนึง่ เรียกว่าลูกหนี”้
• ศาสตราจารย์ ดร. จิด
๊ เศรษฐบุตร ได ้อธิบายหนีว้ า่ “เป็ นนิตส ั พันธ์ระหว่างบุคคลสองฝ่ าย
ิ ม
ซงึ่ ฝ่ ายหนึง่ ต ้องกระทำการอย่างใดอย่างหนึง่ ให ้อีกฝ่ ายหนึง่ การกระทำแยกเป็ น 3 ชนิด คือ
1.กระทำ 2.ละเว ้นกระทำการ และ 3.การโอนทรัพย์สน ิ ”
7. องค์ประกอบของหนี้
1. บุคคลสองฝ่าย ได ้แก่ฝ่ายทีเ่ ป็ นผู ้กระทำ คือ เจ ้าหนี้ ซงึ่ เป็ นผู ้มีสท
ิ ธิเรียกร ้องให ้ชำระ
หนี้ กับอีกฝ่ ายหนึง่ ซงึ่ ถูกกระทำ คือ ลูกหนี้ ซงึ่ มีหน ้าทีต
่ ้องชำระหนี้ ดังนัน
้ จะเป็ นหนีต
้ นเองไม่ได ้
2. ว ัตถุแห่งหนี้ ม.ร.ว.เสนีย ์ ปราโมช กล่าวว่าวัตถุแห่งหนีค
้ อ
ื การกระทำหรืองดเว ้น
หรือสง่ มอบทรัพย์สน
ิ สว่ นศาสตราจารย์ ดร. จิด
๊ เศรษฐบุตร อธิบายวัตถุแห่งหนีม
้ ี 3 ชนิด คือ
ิ ดังนัน
1.กระทำ 2.ละเว ้นกระทำการ และ 3.การโอนทรัพย์สน ้ วัตถุแห่งหนีม
้ ี 3 อย่าง คือ การโอน
ิ กระทำการ และการงดเว ้นกระทำการ
ทรัพย์สน
3. มีความผูกพ ันทางกฎหมาย หมายถึง เจ ้าหนีม ี ำนาจบังคับชำระหนีไ
้ อ ้ ด ้จากลูกหนีไ
้ ด้
ในเบือ
้ งต ้นให ้พิจารณาว่าหนีม
้ บ
ี อ
่ เกิดหรือมูลหนีแ
้ ล ้วหรือไม่ คือ หนีอ
้ าจเกิดขึน
้ โดยนิตก
ิ รรม หรือ
โดยนิตเิ หตุ (ละเมิด จัดการงานนอกสงั่ ลาภมิควรได ้)
คำถามท้ายชว่ ั โมง
• 1. บุคคลสทิ ธิและทรัพยสท ิ ธิตา่ งกันอย่างไร ?
• 2. องค์ประกอบของหนีค ้ อ
ื อะไร ?

You might also like