You are on page 1of 18

12/03/63

1. ความหมายและลักษณะของคํามัน่
2. ประเภทของคํามัน่ ในระบบกฎหมายไทย
3. สถานะทางกฎหมายของคํามัน่
1 4. การมีผลของการแสดงเจตนาทําคํามัน่

ผศ.ดร.กรศุทธิ์ ขอพ่วงกลาง 5. คํามัน่ ว่าจะให้


korrasut@tu.ac.th 6. ความแตกต่างระหว่างคํามัน่ และคําเสนอ
2

1.1 ความหมาย การแสดงเจตนาที่บคุ คลหนึง่ ให้ไว้กบ


ั อีกบุคคลหนึง่ เป็ นการ
1.2 ลักษณะ เฉพาะเจาะจงหรือให้ไว้กบั บุคคลอื่นเป็ นการทัว่ ไปว่าจะกระทําการ
อย่างใดอย่างหนึง่ เช่น คํามัน่ จะซื้อหรือขาย คํามัน่ ว่าจะให้รางวัล.
(กฎหมาย)
(ราชบัณฑิตยสถาน)

3 4

เอกสารอ่านประกอบเพิมเติมการศึกษา วิชา น.301 กฎหมายลักษณะมรดก หัวข้อ “คํามัน”


12/03/63

“A declaration or assurance made to another คํามัน่ เป็ นการแสดงเจตนาของบุคคลต่อบุคคลอีกคน เป็ นการ


person (usually with respect to the future), ผูกพันตนเองว่าจะกระทําการอย่างใดอย่างหนึง่ หรือไม่กระทําการ
stating a commitment to give, do, or refrain อย่างใดอย่างหนึง่
from doing a specified thing or act, or หรือเป็ นการรับประกันว่าการใดการหนึง่ จะเกิดหรือไม่เกิดขึน

guaranteeing that
a specified thing will or will not happen.” มักจะเกี่ยวกับเหตุการณ์ในอนาคต

5 6

(1) เป็ นการแสดงเจตนา คํามัน่ เกิดจากการแสดงเจตนาของบุคคล (บุคคลธรรมดา/นิติ


บุคคล)
(2) เป็ นการแสดงเจตนาผูกพันตนฝ่ ายเดียวว่าจะกระทําการ หรือ หากบุคคลต้องการทําคํามัน่ แต่เพียงแค่คิดอยู่ในใจ ไม่แสดงเจตนา
งดเว้นกระทําการบางอย่าง ออกมาให้ปรากฏ ย่อมไม่มผี ลเป็ นการแสดงเจตนาทําคํามัน่
(3) เกี่ยวข้องเหตุการณ์ในอนาคต บุคคลประสงค์ให้การแสดงเจตนาทําคํามัน่ ของตนมีผลตาม
กฎหมาย และกฎหมายรับรองให้การแสดงเจตนาทําคํามัน่ นัน้ มีผล
(4) ก่อให้เกิดประโยชน์ในทางทรัพย์สินแก่บคุ คลอื่น
คํามัน่ จึงเป็ นนิตก
ิ รรม
7 8

เอกสารอ่านประกอบเพิมเติมการศึกษา วิชา น.301 กฎหมายลักษณะมรดก หัวข้อ “คํามัน”


12/03/63

การทําคํามัน่ จึงอาจเกิดขึน
้ ได้โดยทัง้ การแสดงเจตนาโดยชัดแจ้ง ผูใ้ ห้คาํ มัน่ เป็ นผูแ้ สดงเจตนาผูกพันตนฝ่ ายเดียว ว่าจะกระทําการ
และการแสดงเจตนาโดยปริยาย หรืองดเว้นกระทําการบ่างอย่าง
นําหลักในเรื่องการแสดงเจตนามาใช้กบ
ั เรื่องคํามัน่ ด้วย เช่น เฉพาะผูใ้ ห้คาํ มัน่ เท่านัน
้ ที่มีหน้าที่หรือความผูกพัน
การมีผลของการแสดงเจตนา / ความบกพร่องของการแสดง
เจตนา / การตีความการแสดงเจตนา ฯลฯ ผูร้ บ
ั คํามัน่ ไม่มคี วามผูกพัน แต่มสี ิทธิเลือกว่าจะถือสิทธิหรือบังคับ
ให้เป็ นไปตามคํามัน่ หรือไม่

9 10

กรณีสญ
ั ญาให้ กฎหมายกําหนดว่า สัญญาให้สมบูรณ์เมือ่ มีการส่งมอบ
ทรัพย์สินที่ให้
ดังนัน
้ หาก ก. ทําสัญญาให้หนังสือ ข. สัญญาก็เกิดขึน้ และสิ้นสุดทันที ใน
คํามัน่ เกี่ยวข้องกับเหตุการณ์ที่ยงั ไม่เกิดขึน
้ (เกี่ยวข้องกับ เวลาที่ ก. ส่งมอบหนังสือให้ ข. สัญญาดังกล่าวจึงไม่เกี่ยวกับเหตุการณ์
เหตุการณ์ในอนาคต) ในอนาคต
ต่างจากกรณี ก. ให้คาํ มัน่ ว่าจะยกหนังสือให้ ข. ซึ่งเป็ นเรื่องที่เกี่ยวกับ
ต่างจากสัญญา ในบางกรณีสญ ั ญาอาจไม่เกี่ยวข้องกับเหตุการณ์ เหตุการณ์ในอนาคตว่า ก. จะยกหนังสือให้ ข.
ในอนาคต แต่เป็ นเพียงการรับรองข้อเท็จจริงในอดีตว่าเกิดขึน้ จริง
หรือเป็ นเพียงการซึ่งเกิดขึน้ ทันทีในขณะในปั จจุบัน ตัวอย่าง (อดีต)
(spontaneous transaction) นาย ก. รับรองว่า ม้าตัวที่ขาย ให้ นาย ข. จนถึงขณะเวลาที่ทาํ สัญญา
สุขภาพดี ไม่เป็ นโรค
11 12

เอกสารอ่านประกอบเพิมเติมการศึกษา วิชา น.301 กฎหมายลักษณะมรดก หัวข้อ “คํามัน”


12/03/63

“A promise is a unilateral commitment, made


คํามัน่ ต้องก่อให้เกิดผลประโยชน์ในทางทรัพย์สินแก่บคุ คลอื่น ซึ่ง by one natural or legal person to another,
โดยทัว่ ไปคือผูร้ ับคํามัน่ demonstrating a serious intention of the
ตัวอย่าง former to perform, or not to perform, some
future certain acts for the benefit of the
่ แอลกอฮอล์  ไม่ใช่คาํ มัน่
นาย ก. ให้คาํ มัน่ แก่ตวั เองว่าจะเลิกดืม latter.”
เพราะไม่กอ่ ให้เกิดประโยชน์ในทางทรัพย์สินแก่บคุ คลอื่น
Korrasut Khopuangklang, A Critical Analysis of Promise in Scots Law
and Thai Law, PhD thesis, The University of Edinburgh
13 14

เกณฑ์ในการแบ่งประเภทของคํามัน่ มีหลายเกณฑ์ โดยเกณฑ์หนึง่ คือคํามัน่ ที่ผใู้ ห้คาํ มัน่ ระบุตวั ผูร้ บ


ั คํามัน่ โดยเฉพาะเจาะจง หรือ
ซึ่งใช้แบ่งประเภทของคํามัน่ คือ แบ่งตามลักษณะของผูร้ ับคํามัน่ ว่า คํามัน่ ซึ่งมีผรู้ บั การแสดงเจตนา
คํามัน่ นัน้ ทําต่อบุคคลโดยเฉพาะเจาะจงหรือไม่ ซึ่งจะแบ่งได้เป็ น เป็ นการแสดงเจตนาชนิดที่มผ ี รู้ บั การแสดงเจตนา
2.1 คํามัน ่ ต่อบ ุคคลเฉพาะเจาะจง
2.2 คํามัน ่ ต่อสาธารณชน

15 16

เอกสารอ่านประกอบเพิมเติมการศึกษา วิชา น.301 กฎหมายลักษณะมรดก หัวข้อ “คํามัน”


12/03/63

ี นีต้ อ่ กันมาก่อน (มาตรา 383 วรรคสอง)


คํามัน่ ว่าจะจ่ายเบี้ยปรับ กรณีไม่มห “นอกจากกรณีที่กล่าวไว้ในมาตรา 379 และ 382 ท่านให้ใช้วิธีเดียวกันนี้
บังคับ ในเมือ่ บุคคลสัญญาว่าจะให้เบี้ยปรับเมือ่ ตนกระทําหรืองดเว้น
คํามัน่ ว่าจะซื้อหรือขาย (มาตรา 4379-3854) กระทําการอันหนึง่ อันใดนัน้ ด้วย”
คํามัน่ ว่าจะให้ (มาตรา 526)  “The same rule applies also, apart from the cases
้ ตกเป็ นสิทธิแก่ผเู้ ช่าซื้อ (มาตรา 572)
คํามัน่ ว่าจะขายหรือว่าจะให้ทรัพย์สินนัน provided for by Sections 379 and 382, if a person
promises a penalty for the case of his doing or
คํามัน่ จะให้สินจ้าง (มาตรา 576) forbearing to do some act.
คํามัน่ อื่น ๆ ในป.พ.พ. เช่น มาตรา 825 มาตรา 847 มาตรา 1724  ตัวบทภาษาไทยใช้คาํ ว่า “สัญญา” แต่นก
ั กฎหมายจํานวนหนึง่ เห็นว่า เบี้ยปรับตาม
คํามัน่ ว่าจะให้เช่า (ไม่มใี นป.พ.พ.) มาตรา 383 วรรคสอง เป็ นนิตกิ รรมฝ่ ายเดียว (ต่างจากมาตรา 379-382 ซึ่ง
17 เป็ นสัญญาอุปกรณ์) 18

“การที่ค่กู รณีฝ่ายหนึง่ ให้คาํ มัน่ ไว้ก่อนว่าจะซื้อหรือขายนัน


้ จะมีผล “ถ้าการให้ทรัพย์สินหรือให้คาํ มัน่ ว่าจะให้ทรัพย์สินนัน
้ ได้ทาํ เป็ น
เป็ นการซื้อขายต่อเมือ่ อีกฝ่ ายหนึง่ ได้บอกกล่าวความจํานงว่าจะทํา หนังสือและจดทะเบียนต่อพนักงานเจ้าหน้าที่แล้วและผูใ้ ห้ไม่สง่ มอบ
การซื้อขายนัน้ ให้สาํ เร็จตลอดไป และคําบอกกล่าวเช่นนัน้ ได้ไปถึง ทรัพย์สินนัน้ แก่ผรู้ ับไซร้ ท่านว่าผูร้ บั ชอบที่จะเรียกให้ส่งมอบตัว
บุคคลผูใ้ ห้คาํ มัน่ แล้ว” ทรัพย์สินหรือราคาแทนทรัพย์สินนัน้ ได้ แต่ไม่ชอบที่จะเรียกค่า
สินไหมทดแทนอย่างหนึง่ อย่างใดด้วยอีกได้”

19 20

เอกสารอ่านประกอบเพิมเติมการศึกษา วิชา น.301 กฎหมายลักษณะมรดก หัวข้อ “คํามัน”


12/03/63

“อันว่าเช่าซื้อนัน
้ คือสัญญาซึ่งเจ้าของเอาทรัพย์สินออกให้เช่า และให้ “ถ้าตามพฤติการณ์ไม่อาจจะคาดหมายได้ว่างานนัน
้ จะพึงทําให้
คํามัน่ ว่าจะขายทรัพย์สินนัน้ หรือว่าจะให้ทรัพย์สินนัน้ ตกเป็ นสิทธิ เปล่าไซร้ ท่านย่อมถือเอาโดยปริยายมีคาํ มัน่ จะให้สินจ้าง”
แก่ผเู้ ช่า โดยเงือ่ นไขที่ผเู้ ช่าได้ใช้เงินเป็ นจํานวนเท่านัน้ เท่านีค้ ราว” ปั ญหาทางทฤษฎี
ลักษณะทางกฎหมายที่แท้จริงของคํามัน่ จะให้สินจ้างในมาตรา
576 ไม่ใช่ “คํามัน่ ” (Promise) ในทํานองเดียวกับคํามัน่ ว่าจะ
ซื้อหรือจะขาย / คํามัน่ ว่าจะให้ทรัพย์สิน / คํามัน่ ว่าจะให้รางวัล ซึ่ง
คํามัน่ เหล่านีเ้ ป็ นการแสดงเจตนาผูกพันตนฝ่ ายเดียวของผูใ้ ห้คาํ มัน่
21
(นิตกิ รรมฝ่ ายเดียว) 22

มาตรา 576 เป็ นเรื่องสัญญาจ้างแรงงาน ที่ค่สู ญ


ั ญาไม่ได้ตกลงกันว่าจะ ต้นร่างนํามาจากกฎหมายเยอรมันและกฎหมายสวิส
จ่ายสินจ้าง แต่ตามพฤติการณ์ไม่อาจคาดหมายได้ว่า ลูกจ้างจะทํางานให้
เปล่าโดยไม่รบั สินจ้าง กฎหมายจึงกําหนดว่ามีสญ
ั ญาจ้างแรงงานเกิดขึน้ ในตัวบทเยอรมันและสวิส ไม่ได้ใช้คาํ ว่า Promise
และนายจ้างต้องจ่ายค่าจ้างให้ลกู จ้าง แต่ผรู้ ่างป.พ.พ. ใช้คาํ ว่า Promise to pay
มาตรา 576 ที่จริงแล้ว จึงเป็ นเรื่องของการตีความการแสดงเจตนาที่ remuneration
แท้จริงของคู่สญั ญา
*** ผศ.ดร.สุรศักดิ์ มณีศร อธิบายว่า มาตรา 576 เป็ นกรณีคาํ มัน่ โดยไม่
มีการแสดงเจตนา
23 24

เอกสารอ่านประกอบเพิมเติมการศึกษา วิชา น.301 กฎหมายลักษณะมรดก หัวข้อ “คํามัน”


12/03/63

คํามัน่ ต่อสาธารณชน คือคํามัน่ ที่ไม่ได้ทาํ ต่อบุคคลเฉพาะเจาะจง (1) คํามัน


่ โฆษณาว่าจะให้รางวัล (Advertisements
หรือเป็ นคํามัน่ ที่ไม่มีผรู้ ับการแสดงเจตนานัน่ เอง of Reward) (มาตรา 362)
คํามัน่ ในลักษณะดังกล่าวซึ่งปรากฏในป.พ.พ. คือคํามัน่ ว่าจะให้ (2) คํามัน
่ ในการประกวดชิงรางวัล (Prize
รางวัล (Promise of Reward) Competitions) (มาตรา 365)
ซึ่งยังสามารถแบ่งเป็ นประเภทย่อยได้อีก 2 กรณี

25 26

มาตรา 362 มาตรา 365 วรรคแรก


“บุคคลออกโฆษณาให้คาํ มัน่ ว่าจะให้รางวัลแก่ผซู้ ึ่งกระทําการอันใด “คํามัน่ จะให้รางวัลอันมีความประสงค์เป็ นการประกวดชิงรางวัลนัน

ท่านว่าจําต้องให้รางวัลแก่บคุ คลใดๆ ผูไ้ ด้กระทําการอันนัน้ ถึงมิใช่ จะสมบูรณ์ก็ตอ่ เมือ่ ได้กาํ หนดระยะเวลาไว้ในคําโฆษณาด้วย”
ว่าผูน้ นั้ จะได้กระทําเพราะเห็นแก่รางวัล”

27 28

เอกสารอ่านประกอบเพิมเติมการศึกษา วิชา น.301 กฎหมายลักษณะมรดก หัวข้อ “คํามัน”


12/03/63

ในระบบกฎหมายไทย โดยทัว่ ไป “คํามัน่ ” เป็ นนิตก


ิ รรมฝ่ ายเดียว เนือ่ งจากคํามัน่ เป็ นการแสดงเจตนาอย่างหนึง่ จึงนําหลักในเรื่อง
(Unilateral Juristic Act) คือเกิดจากการแสดงเจตนา การมีผลของการแสดงเจตนามาบังคับใช้
ของบุคคลฝ่ ายเดียวและก่อให้เกิดผลในทางกฎหมาย
จึงต้องแยกพิจารณาว่าการแสดงเจตนานัน ้ มีผรู้ ับการแสดงเจตนา
คํามัน่ ซึ่งเป็ นนิตก ิ รรมฝ่ ายเดียวนี้ อาจมีผรู้ บั การแสดงเจตนา หรือไม่
หรือไม่มผี รู้ บั การแสดงเจตนาก็ได้ ขึน้ อยู่กบั ประเภทของคํามัน่ ดังที่
ได้อธิบายในหัวข้อ 2. 4.1 คํามัน่ ซึ่งมีผรู้ บ
ั การแสดงเจตนา
ิ กิ รรมฝ่ ายเดียว = คํามัน่ จะให้สินจ้าง (มาตรา
คํามัน่ ที่ไม่ใช่นต 4.2 คํามัน่ ซึ่งไม่มผ ี รู้ บั การแสดงเจตนา
576) 29 30

กรณีคาํ มัน่ ซึ่งมีผรู้ ับการแสดงเจตนา หรือคํามัน่ ต่อบุคคลโดย คํามัน่ ที่ไม่มผ


ี รู้ ับการแสดงเจตนา หรือคํามัน่ ต่อสาธารณชน (เช่น
เฉพาะเจาะจง การแสดงเจตนาทําคํามัน่ มีผลเมื่อใด ย่อมเป็ นไปตาม คํามัน่ ว่าจะให้รางวัล ซึ่งทําต่อสาธารณชน) มีผลเมือ่ การแสดง
หลักในมาตรา 168 169 เจตนาทําคํามัน่ สําเร็จเด็ดขาด (ในทํานองเดียวกับการแสดงเจตนา
หากเป็ นการทําคํามัน่ ต่อบุคคลผูอ้ ยู่เฉพาะหน้า การแสดงเจตนา ทําพินยั กรรม หรือการแสดงเจตนาสละกรรมสิทธิ์)
ย่อมมีผลเมือ่ ผูร้ บั การแสดงเจตนาทราบ หรือควรได้ทราบถึงการ
แสดงเจตนานัน้ (มาตรา 168) ไม่นาํ หลักในมาตรา 168 169 มาใช้ เนือ่ งจากไม่มผ ี รู้ บั การแสดง
เจตนา
หากเป็ นการทําคํามัน่ ต่อบุคคลผูไ้ ม่อยู่เฉพาะหน้า การแสดงเจตนา
ย่อมมีผลเมือ่ ไปถึงผูร้ ับการแสดงเจตนา (มาตรา 169) 31 32

เอกสารอ่านประกอบเพิมเติมการศึกษา วิชา น.301 กฎหมายลักษณะมรดก หัวข้อ “คํามัน”


12/03/63

การแสดงเจตนาที่ไม่ตอ้ งมีผร้ ู บ
ั การแสดงเจตนา หมายถึง เมือ่ ผูแ้ สดงเจตนาได้กระทําการทัง้ ปวงในลักษณะที่วิญญูชนเข้าใจได้
การแสดงเจตนาที่กฎหมายรับรองให้มีผลได้เมื่อได้แสดงเจตนา ว่าได้แสดงเจตนาไปโดยเด็ดขาดแล้ว
สําเร็จลงแล้ว แม้ไม่มผี รู้ บั การแสดงเจตนา การแสดงเจตนาที่ไม่ตอ้ งมีผรู้ ับการแสดงเจตนาการแสดงเจตนา
ย่อมสําเร็จลง เมือ่ ผูแ้ สดงเจตนาแสดงเจตนาให้ปรากฏรับรูไ้ ด้ โดย
ไม่ตอ้ งส่งเจตนาไปยังผูใ้ ด

33 34

การทําพินยั กรรมแบบเขียนเอง ย่อมมีผลเมือ่ ได้เขียนพินยั กรรมนัน


5.1 ลักษณะของคํามัน
้ ่ ว่าจะให้
เสร็จ (หากเริ่มเขียนไปบางส่วน แล้วยังเขียนไม่เสร็จ จะมาเขียนต่อ
วันหลัง เท่ากับยังอยู่ในระหว่างแสดงเจตนา) 5.2 สถานะทางกฎหมายของคํามัน
่ ว่าจะให้
การทําคํามัน่ โฆษณาว่าจะให้รางวัล ย่อมมีผลเมือ่ ได้ประกาศโฆษณา 5.3 การบังคับคํามัน
่ ว่าจะให้
คํามัน่ ให้ปรากฏต่อสาธารณะ เช่น เมือ่ ได้ตดิ โปสเตอร์โฆษณา 5.4 ข้อเปรียบเทียบระหว่างคํามัน
่ ว่าจะให้รางวัลและคํามัน่
ว่าจะให้ทรัพย์สิน

35 36

เอกสารอ่านประกอบเพิมเติมการศึกษา วิชา น.301 กฎหมายลักษณะมรดก หัวข้อ “คํามัน”


12/03/63

เช่นเดียวกับกรณีคาํ มัน่ ว่าจะซื้อหรือคํามัน่ ว่าจะขาย คํามัน่ ว่าจะให้ คํามัน่ ว่าจะให้เป็ นนิตก


ิ รรมฝ่ ายเดียว เช่นเดียวกับคํามัน่ ว่าจะซื้อ/
เป็ น “คํามัน่ ” ซึ่งทําต่อบุคคลเฉพาะเจาะจง คํามัน่ ว่าจะขาย (มาตรา 454)
ผูใ้ ห้คาํ มัน่ แสดงเจตนาผูกพันตนเองฝ่ ายเดียว ว่าจะให้ทรัพย์สินแก่ คํามัน่ ว่าจะให้เป็ นนิตก
ิ รรมฝ่ ายเดียวที่มีผรู้ ับการแสดงเจตนา
บุคคลอีกคน โดยบุคคลฝ่ ายหลังไม่ได้ตกลงด้วย (หากมีการตกลง จึงแตกต่างจากคํามัน่ ว่าจะให้รางวัล ซึ่งเป็ นนิตก ิ รรมฝ่ ายเดียวซึ่งไม่
ร่วมกัน ย่อมเป็ นสัญญาให้) ต้องมีผรู้ บั การแสดงเจตนา

37 38

กฎหมายกําหนดว่า คํามัน่ ว่าจะให้ทรัพย์สินนัน


้ (ทัง้ สังหาและ คํามัน่ ว่าจะให้รางวัล (คํามัน่ โฆษณาว่าจะให้รางวัล มาตรา 362
อสังหาริมทรัพย์) ถ้าจะฟ้องร้องบังคับคดีกนั ได้ ต้องทําเป็ นหนังสือ และคํามัน่ ในการประกวดชิงรางวัล มาตรา 365) และคํามัน่ ว่าจะ
และจดทะเบียน (มาตรา 526) ให้ทรัพย์สิน เหมือนกันตรงที่เป็ นการแสดงเจตนาผูกพันตนของ
กรณีดงั กล่าวมิใช่แบบ เนือ่ งจากไม่ได้สง่ ผลต่อความสมบูรณ์ของ บุคคลฝ่ ายเดียว ว่าจะกระทําการบางอย่าง และการแสดงเจตนานัน้
การทําคํามัน่ แต่เป็ นการที่กฎหมายกําหนดสําหรับการฟ้องร้องคดี ก่อให้เกิดผลตามความประสงค์ของผูแ้ สดงเจตนา
(ในทํานองเดียวกับหลักฐานเป็ นหนังสือ) คํามัน่ ทัง้ สองกรณี จึงเป็ นนิตก
ิ รรมฝ่ ายเดียว
39 40

เอกสารอ่านประกอบเพิมเติมการศึกษา วิชา น.301 กฎหมายลักษณะมรดก หัวข้อ “คํามัน”


12/03/63

คํามัน่ ว่าจะให้รางวัล คํามัน่ ว่าจะให้ทรัพย์สิน


เป็ นการแสดงเจตนาซึ่งไม่มี เป็ นการแสดงเจตนาซึ่งมี คํามัน่ ว่าจะให้ เป็ นการให้ที่เป็ นผลระหว่างผูใ้ ห้ยังมีชวี ิตอยู่ (inter
vivos)
ผูร้ บั การแสดงเจตนา ผูร้ บั การแสดงเจตนา
แต่หากเป็ นการให้ซึ่งผูใ้ ห้มเี จตนาจะให้เป็ นผลเมือ่ ผูใ้ ห้ตายแล้ว
โดยสภาพ มีเงือ่ นไขบังคับ มีเงือ่ นไขบังคับก่อนหรือไม่
(mortis causa) ให้ใช้บทกฎหมายว่าด้วยมรดกหรือ
ก่อนในตัวเอง ก็ได้ พินยั กรรมบังคับ (มาตรา 536)
ไม่มแี บบ/ไม่มวี ิธีการ ไม่มแี บบ/ต้องทําตาม
กําหนดในการฟ้องร้อง วิธีการที่กฎหมายกําหนด
41 42
บังคับคดี จึงจะฟ้องร้องบังคับคดีได้

ประเด็นคือ หากเป็ นพินยั กรรม อาจสมบูรณ์โดยทําเป็ นหนังสือ


6.1 การแบ่งแยกระหว่างคํามัน
่ ที่มีผร้ ู บั การแสดงเจตนา กับ
ในขณะที่สญ ั ญาให้สมบูรณ์โดยการส่งมอบหรือจดทะเบียน ส่วน คําเสนอ
คํามัน่ ว่าจะให้ แม้สมบูรณ์ดว้ ยวาจา แต่การจะฟ้องร้องบังคับคดีได้
ต้องทําเป็ นหนังสือและจดทะเบียนเท่านัน้ 6.2 ความเป็นนิติกรรม

43 44

เอกสารอ่านประกอบเพิมเติมการศึกษา วิชา น.301 กฎหมายลักษณะมรดก หัวข้อ “คํามัน”


12/03/63

ระดับของการผูกพันตนเองของผูแ้ สดงเจตนา คํามัน่


ผูท้ าํ คํามัน่ มีเจตนาผูกพันตนแน่นแฟ้นยิ่งกว่าผูท้ าํ คําเสนอ
ผูท้ าํ คําเสนอ มีเจตนาผูกพันตนแน่นแฟ้นยิ่งกว่าผูท้ าํ คําเชือ้ เชิญให้ทาํ คําเสนอ
คําเสนอ
คําเชือ้ เชิญให้ทาํ
ผูท้ าํ คําเชือ้ เชิญให้ทาํ คําเสนอ ไม่มเี จตนาผูกพันตนเอง แต่ประสงค์
คําเสนอ
เพียงเชิญชวนให้อีกฝ่ ายทําคําเสนอ
ผูท้ าํ คําถามทาบทามประสงค์จะทราบโอกาสในการเข้าทําสัญญา คําถามทาบทาม
45 46

ผูท้ าํ คํามัน่ ประสงค์ให้การแสดงเจตนาของตนเกิดผล


ทันที (มุง่ โดยตรงต่อการผูกนิตสิ มั พันธ์) เป็ นที่ยอมรับว่า คํามัน่ เป็ นนิตก
ิ รรม
ผูท้ าํ คําเสนอ ไม่ประสงค์จะให้การแสดงเจตนาของตน
เกิดผลทันที แต่ประสงค์จะให้เป็ นผลเมือ่ คําเสนอถูกสนอง ส่วนคําเสนอ มีทงั้ นักกฎหมายที่เห็ นว่า คําเสนอเป็ นนิตก
ิ รรม และไม่
รับ เป็ นนิตกิ รรม
ผูท้ าํ คําเชือ้ เชิญให้ทาํ คําเสนอ ไม่ประสงค์จะให้การแสดง
เจตนาของตนเป็ นผลใด ๆ ตามกฎหมายเลย แต่ประสงค์จะ
ให้ค่กู รณีอีกฝ่ ายทําคําเสนอ
ผูท้ าํ คําถามทาบทาม เพียงประสงค์จะทราบ
47 48
โอกาสในการเข้าทําสัญญา

เอกสารอ่านประกอบเพิมเติมการศึกษา วิชา น.301 กฎหมายลักษณะมรดก หัวข้อ “คํามัน”


12/03/63

“คําเสนอเป็ นคําขอให้ทาํ สัญญา...มีความประสงค์ตอ้ งการให้มสี ญ


ั ญา
นักกฎหมายกลุม
่ หนึง่ เห็นว่าคําเสนอก่อให้เกิดผลทางกฎหมาย (ผู้ เกิดขึน้ แน่นอน เป็ นการแสดงเจตนาทํานิตกิ รรมแล้ว...คําถามทาบทาม
เสนอไม่อาจถอนคําเสนอได้) คําเสนอจึงเป็ นนิตกิ รรม หรือเชือ้ เชิญชักชวนยังหาถึงขัน้ เป็ นการแสดงเจตนาทํานิตกิ รรมไม่”
“คําเสนอซึ่งเป็ นการแสดงเจตนาทํานิตก ิ รรมนัน้ เมือ่ ใดได้แสดงออก หรือ
เสนีย์ ปราโมช / จิ๊ด เศรษฐบุตร / จิตติ ติงศภั ทิย์ / ศั กดิ์ สนอง ส่งไปถึงถูกต้องครบถ้วนตามลักษณะการแล้ว ย่อมจะมีผลผูกพันขึน้ เท่าที่
ชาติ / เสริม วินิจฉัยกุล / ไชยยศ เหมะรั ชตะ / ศนันท์กรณ์ โสตถิ จะมีได้สาํ หรับการทํานิตกิ รรมฝ่ ายเดียว...”
พันธุ ์ “คําเสนอซึ่งเป็ นการแสดงเจตนาทํานิตก ิ รรมนัน้ เมือ่ ใดได้แสดงออก หรือ
ส่งไปถึงถูกต้องครบถ้วนตามลักษณะการแล้ว ย่อมจะมีผลผูกพันขึน้ เท่าที่
จะมีได้สาํ หรับการทํานิตกิ รรมฝ่ ายเดียว...”
49 50

นิตก
ิ รรมฝ่ ายเดียวโดยเคร่งครัดเป็ นนิตกิ รรมซึ่งเกิดขึน้ โดยการแสดง มีกรณีที่กฎหมายบัญญัติให้การแสดงเจตนาฝ่ ายเดียวก่อให้เกิดนิติ
เจตนาของบุคคลผูท้ าํ ฝ่ ายเดียวโดยแท้ ไม่ตอ้ งมีบคุ คลผูอ้ ื่นรับการแสดง สัมพันธ์ขนึ้ ได้ แต่เป็ นนิตสิ มั พันธ์ที่ผกู พันผูแ้ สดงเจตนาได้เฉพาะตัวผู้
เจตนานัน้ คําเสนอชนิดที่บ่งระยะเวลาให้บอกกล่าวสนองรับตาม มาตรา
354 ก็เป็ นนิตกิ รรมฝ่ ายเดียวโดยเคร่งครัดเช่นกัน เพราะถอนคําเสนอนี้ แสดงเจตนาเท่านัน้ โดยที่อีกฝ่ ายหนึง่ ไม่ตอ้ งแสดงเจตนารับเอานิติ
ก่อนระยะเวลานัน้ ไม่ได้ สัมพันธ์นนั้ เช่น คําเสนอ จะถอนไม่ได้ภายในระยะเวลาหนึง่ ตาม
ส่วนคําเสนอต่อผูอ้ ยู่ห่างโดยระยะทางนัน ้ เป็ นนิตกิ รรมฝ่ ายเดียวชนิด มาตรา 354, 355
ทัว่ ไป ซึ่งมีผลเมือ่ มีผรู้ บั การแสดงเจตนานัน้ เพราะสามารถถอนคําเสนอ
ได้หากคําถอนนัน้ ถึงก่อนหรือพร้อมกับการแสดงเจตนาหรือคําเสนอนัน้
51 52

เอกสารอ่านประกอบเพิมเติมการศึกษา วิชา น.301 กฎหมายลักษณะมรดก หัวข้อ “คํามัน”


12/03/63

“นิตก
ิ รรมฝ่ ายเดียวนัน้ ได้แก่นติ กิ รรมซึ่งเกิดขึน้ โดยการแสดง คําเสนอเป็ นนิตก
ิ รรม เนือ่ งจากสัญญาจะต้องมีบคุ คลสองฝ่ าย
เจตนาของบุคคลฝ่ ายเดียว เมือ่ บุคคลฝ่ ายเดียวแสดงเจตนาทํานิติ ด้วยกัน เรียกว่านิตกิ รรมสองฝ่ าย หรืออีกนัยหนึง่ ว่าต้องมีนติ ิ
กรรมก็เกิดผลเป็ นนิตกิ รรมทําทันที เช่น....คําเสนอหรือคําสนอง กรรมสองอันมาบวกกันจึงจะเรียกเป็ นสัญญา ซึ่งได้แก่การที่ฝ่าย
(มาตรา 354-361)...” หนึง่ เสนอไปและอีกฝ่ ายหนึง่ สนองรับ

53 54

คําเสนอเป็ นนิตก
ิ รรม โดยเป็ นนิตกิ รรมฝ่ ายเดียวซึ่งต้องมีผรู้ ับการ “แม้คาํ เสนอจะก่อความผูกพันก็มไิ ด้ก่อให้เกิดนิติสม
ั พันธ์ หรือก่อ
แสดงเจตนา เพราะการแสดงเจตนานัน้ จะเป็ นนิติกรรมได้จะต้อง “หนี”้ ในความหมายทางนิตนิ ยั แต่คาํ เสนออาจเป็ นนิตกิ รรมเพราะมี
กระทําต่อบุคคลหนึง่ เช่นคําเสนอหรือคําสนอง (มาตรา 354- ลักษณะของการสร้างความผูกพันประการหนึง่ ที่เรียกว่า “ความ
361) ผูกพันตามคําเสนอ” กล่าวคือความผูกพันก็จะไม่ถอนคําเสนอ
เนือ่ งจากนิตก ิ รรมคือการกระทําของบุคคลโดยชอบด้วยกฎหมาย ภายในเวลาที่บ่งไว้...เวลาอันควรคาดหมายว่าอีกฝ่ ายจะสนองรับ...
และมุง่ ประสงค์จะก่อให้เกิดผลในกฎหมายผูกพันกันในการก่อ หรือในขณะนัน้ ...ซึ่งต้องแยกระหว่าง “ความผูกพันตามคําเสนอ”
เปลี่ยนแปลง โดน สงวน หรือระงับซึ่งสิทธิ
ออกจาก “ความผูกพันทางหนี”้ ตามคําเสนอ...”
นิตก ิ รรมจึงเป็ นเหตุหนึง่ ที่ทาํ ให้สิทธิเกิดการเคลื่อนไหวตามความ
55 56
ประสงค์ของบุคคล เริ่มตัง้ แต่การก่อสิทธิไปจนกระทัง่ ถึงระงับสิทธิ

เอกสารอ่านประกอบเพิมเติมการศึกษา วิชา น.301 กฎหมายลักษณะมรดก หัวข้อ “คํามัน”


12/03/63

นักกฎหมายอีกฝ่ ายเห็นว่า ลําพังคําเสนอ หรือคําสนองเพียงอย่าง คําเสนอแต่เพียงอย่างเดียวไม่ใช่นต


ิ กิ รรม เนือ่ งจากสัญญาต่าง ๆ
เดียวไม่เป็ นนิตกิ รรม ต้องเป็ นกรณีคาํ เสนอสนองถูกต้องตรงกัน เป็ นนิตกิ รรมสองฝ่ าย (หรือมากกว่าสองฝ่ าย) เพราะการทําสัญญา
(กล่าวคือมีการเกิดขึน้ ของสัญญา) จึงจะถือเป็ นนิตกิ รรม ต้องการความยินยอม เป็ นความประสงค์อันตรงกันของอีกฝ่ าย
หนึง่ คน ๆ เดียวจะทําสัญญาแก่ตนเองหาได้ไม่ การทําพินยั กรรม
พระยาเทพวิฑูร / ปั นโน สุขทรรศนีย์ / วิริยะ เกิดศิริ / อักขราทร การแสดงเจตนาบอกล้างหรือให้สตั ยาบันโมฆียกรรม เป็ นนิตกิ รรม
จุฬารั ตน / กิตติศักดิ์ ปรกติ ฝ่ ายเดียวเพราะทําได้โดยไม่ตอ้ งการความยินยอมของอีกฝ่ ายหนึง่

57 58

คําเสนออย่างเดียวไม่ใช่นต
ิ กิ รรม เนือ่ งจากนิตกิ รรมบางชนิด เช่น คําเสนอไม่ใช่นต
ิ กิ รรม เนือ่ งจากนิตกิ รรมบางชนิดเป็ นการแสดง
สัญญาซึ่งเป็ นนิตกิ รรมสองฝ่ าย ต้องประกอบด้วยการแสดงเจตนา เจตนาทางหนึง่ ทางเดียวและแต่ฝ่ายเดียว ก็สาํ เร็จเป็ นนิตกิ รรม
หลายฝ่ ายต่อเนือ่ งกัน เป็ นคําเสนอคําสนอง มีขอ้ ตกลงกันจึงจะ อันหนึง่ อย่างบริบรู ณ์ แต่นติ กิ รรมบางชนิดที่ตอ้ งประกอบด้วยการ
เกิดขึน้ เป็ นสัญญาขึน้ ได้ นิตกิ รรมฝ่ ายเดียว บุคคลใดแสดงเจตนา แสดงเจตนาสองฝ่ าย ซึ่งทัง้ สองฝ่ ายอาจจะแสดงเจตนาในเวลา
ใกล้เคียงหรือติดต่อกัน
ฝ่ ายเดียวออกไปก็เกิดผลเป็ นนิตกิ รรมขึน้ ทันที แต่ในบางกรณีก็มี
กฎหมายบังคับว่า จะต้องมีผรู้ บั การแสดงเจตนาฝ่ ายเดียวนัน้ ด้วย หรือฝ่ ายหนึง่ แสดงเจตนาเป็ นคําเสนอไปยังบุคคลอีกฝ่ ายหนึง่ แล้ว
เว้นระยะเวลาไว้ให้บคุ คลอีกฝ่ ายหนึง่ แสดงเจตนาเป็ นคําสนองรับ
จึงจะเกิดผลในกฎหมาย เช่น คําเสนอคําสนอง (มาตรา 354 ถึง เมือ่ รวมเจตนาทัง้ สองฝ่ ายเข้าด้วยกันโดยเจตนาถูกต้องตรงกันก็
361) 59 สําเร็จรูปเป็ นนิตกิ รรมคือเกิดเป็ นสัญญาขึน้ 60

เอกสารอ่านประกอบเพิมเติมการศึกษา วิชา น.301 กฎหมายลักษณะมรดก หัวข้อ “คํามัน”


12/03/63

คําเสนอไม่ใช่นต ิ กิ รรมแต่เป็ นการกระทําที่มีมาก่อนจะเกิดนิตกิ รรม “สัญญาเป็ นนิตก


ิ รรมสองฝ่ าย กล่าวคือ เป็ นนิตกิ รรมที่มคี ่กู รณี
คําว่า “มุง่ โดยตรงต่อการผูกนิติสม ั พันธ์” หมายถึง การแสดง ตัง้ แต่สองฝ่ ายขึน้ ไปแสดงเจตนาผูกพันกันและกัน สัญญาต่างจาก
เจตนานัน้ เองจะได้กอ่ ให้เกิดผลในกฎหมายตามมาในทันทีหรือใน นิตกิ รรมฝ่ ายเดียวตรงที่ นิตกิ รรมฝ่ ายเดียวเป็ นนิตกิ รรมที่เกิดจาก
เวลาใกล้เคียงกัน การแสดงเจตนาของบุคคลคนเดียว และสัญญาก็มใิ ช่นติ กิ รรมฝ่ าย
มิใช่มง่ ุ เพียงแต่ให้เกิดเป็ นนิตก
ิ รรมลอย ๆ โดยยังไม่แน่ว่าจะเกิดผล เดียว 2 นิตกิ รรมมารวมกัน สัญญาเป็ นอะไรที่ยิ่งกว่านัน้ คือเป็ น
ผูกพันตามกฎหมายขึน้ เมือ่ ใด นิตกิ รรมสองฝ่ ายนิตกิ รรมเดียว เมือ่ คู่กรณีทงั้ สองฝ่ ายทําคําเสนอ
ตัวบทภาษาอังกฤษ “มุง่ โดยตรงต่อการผูกนิติสม ั พันธ์” คือ และคําสนองแก่กนั ...”
immediate purpose 61 62

“ควรเข้าใจว่า คําเสนอนัน
้ เป็ นเพียงการแสดงเจตนา ไม่ใช่นติ กิ รรม ในความเห็นฝ่ ายหลัง สัญญาจึงมิใช่กรณีที่นต
ิ กิ รรมฝ่ ายเดียว
เพราะการทําคําเสนอมิได้กอ่ ให้ เกิด โอนไป หรือเปลี่ยนแปลงสิทธิ จํานวนสองนิตกิ รรม มารวมกันเป็ นนิตกิ รรมสองฝ่ าย แต่หมายถึง
การเกิด โอนไป หรือ เปลี่ยนแปลงสิทธิจะเกิดขึน้ เมื่อได้รวมกับคํา สองเจตนามาทําให้เกิดนิติกรรมขึน้ หนึง่ นิตกิ รรม
สนอง เกิดเป็ นสัญญาขึน้ แล้ว ดังนัน้ คําเสนอจึงมีฐานะเป็ นแต่เพียง
การแสดงเจตนาที่เป็ นส่วนหนึง่ ของนิตกิ รรม (ในที่ นีค้ ือ สัญญา)
เท่านัน้ ”

63 64

เอกสารอ่านประกอบเพิมเติมการศึกษา วิชา น.301 กฎหมายลักษณะมรดก หัวข้อ “คํามัน”


12/03/63

แม้ผทู้ าํ คําเสนอจะประสงค์ตอ่ ผลทางกฎหมาย แต่ผทู้ าํ คําเสนอไม่ โดยเหตุนี้ จึงอาจอธิบายได้ว่า คํามัน่ ไม่ตอ้ งการการสนองรับ เพรา
ประสงค์ให้การแสดงเจตนาของตนเกิดผลทันที แต่ประสงค์ให้ ก่อสิทธิแก่ผรู้ บั คํามัน่ แล้ว ต่างจากคําเสนอ ซึ่งต้องการการสนอง
เกิดผลเมือ่ คําเสนอถูกสนองรับ (ไม่มง่ ุ โดยตรงต่อการผูกนิติ รับ เพราะคําเสนอในตัวเอง ไม่กอ่ ให้เกิดความเคลื่อนไหวแห่งสิทธิใด
สัมพันธ์) ๆ จนกว่าจะมีการสนองรับ
**ภาษาอังกฤษของคําว่า มุง่ โดยตรง คือ immediate
purpose ในขณะที่ผทู้ าํ คํามัน่ มุง่ โดยตรงต่อการผูกนิตสิ มั พันธ์ ซึ่งจะสอดคล้องกับทฤษฎีที่เห็นว่า คํามัน่ ในฐานะที่เป็ นนิตก ิ รรมฝ่ าย
(เจตนาของผูท้ าํ คํามัน่ จึงหนักแน่นกว่าผูท้ าํ คําเสนอ) เดียว ก่อให้เกิดหนีไ้ ด้ เมือ่ หนีเ้ กิดแล้ว จึงบังคับตามหนีไ้ ด้เลย ไม่
จําต้องสนองรับคํามัน่ อีก
65 66

แม้คาํ เสนอจะก่อให้เกิดผลทางกฎหมาย (ถอนคําเสนอไมได้) แต่ผลของคํา หลักการสําคัญของข้อความคิดว่าด้วยนิตก


ิ รรม คือ ผูแ้ สดงเจตนา
เสนอซึ่งบอกถอนไม่ได้ตามมาตรา 354 355 นัน้ เป็ นไปโดยผลของ ประสงค์ตอ่ ผลตามกฎหมาย และกฎหมายรับรองให้มีผลตามความ
กฎหมาย มิใช่โดยเจตนา (และหากพิจารณาคําเสนอตามมาตรา 356 อาจ ประสงค์ของผูแ้ สดงเจตนา
ตีความได้ว่า คําเสนอตามมาตรานีถ้ กู บอกถอนได้ เนือ่ งจากกฎหมายมิได้
ห้าม)
คํามัน่ ก่อให้เกิดผลทางกฎหมายตามความประสงค์ของผูท้ าํ คํามัน่

67 68

เอกสารอ่านประกอบเพิมเติมการศึกษา วิชา น.301 กฎหมายลักษณะมรดก หัวข้อ “คํามัน”


12/03/63

คํามัน่ คําเสนอ
เป็ นนิตกิ รรม ไม่เป็ นนิตกิ รรม
พินยั กรรม และคํามัน่ ว่าจะให้ทรัพย์สิน เหมือนหรือต่างกันอย่างไร จง
คํามัน่ ว่าจะซื้อ หรือคํามัน่ ว่าจะขายไม่ คําเสนอซื้อ/ขายไม่บ่งเวลา ผูกพันภายใน
อธิบายในประเด็นต่อไปนี้
กําหนดเวลา ผูกพันผูใ้ ห้คาํ มัน่ ไปตลอด ระยะเวลาอันควรคาดหมายว่าจะได้รบั คํา
พิจารณาในแง่ความประสงค์ของผูแ้ สดงเจตนา
สนอง
ั ษณะ (nature or characteristic) หรือ
พิจารณาในแง่ลก
ก่อให้เกิดหนีใ้ นตัวเอง ไม่ตอ้ งการการ ไม่กอ่ ให้เกิดหนีใ้ นตัวเอง จนกว่าจะถูกสนอง สถานะทางกฎหมาย (legal status)
สนองรับ รับ จึงเกิดหนีส้ ญ ั ญา
พิจารณาในแง่การมีผลของการแสดงเจตนา
หากผูใ้ ห้คาํ มัน่ ตาย คํามัน่ ไม่สิ้นผล ไม่ หากผูเ้ สนอตาย คําเสนออาจสิ้นผล ตาม
พิจารณาในแง่การเป็ นผลของนิตก ิ รรม
ต้องด้วยมาตรา 360 มาตรา 360 69 70
พิจารณาในแง่แบบแห่งนิตก ิ รรม

71 72

เอกสารอ่านประกอบเพิมเติมการศึกษา วิชา น.301 กฎหมายลักษณะมรดก หัวข้อ “คํามัน”

You might also like