You are on page 1of 17

กฎหมายแรงงาน

20001-1004
หน่วยที่ 2

สญญาจ้างแรงงาน

สาระสำค ัญ
สญั ญาจ ้างแรงงาน คือเป็ นการจ ้างให ้บุคคล
อืน่ ทำงานให ้ แต่แตกต่างกันในบางประการ โดย
สญั ญาจ ้างแรงงานไม่ได ้มุง่ ถึงผลสำเร็จของงาน
เป็ นหลัก ซงึ่ ผู ้รับจ ้างสามารถใชแรงงานหรื
้ อใช ้
ทรัพยากรอืน ่ ใดก็ตามโดยมุง่ ถึงผลสำเร็จ
สาระการเรียนรู ้
ั ญาจ ้างแรงงาน
1. สญ
ั ญาจ ้างแรงงาน
2. แบบของสญ
ิ ธิ หน ้าทีข
3. สท ่ องนายจ ้างและลูกจ ้าง
ั ญาจ ้างแรงงาน
4. ความระงับแห่งสญ
สมรรถนะประจำหน่วย
1. แสดงความรู ้เกีย ั ญาจ ้างแรงงาน
่ วกับความหมายและลักษณะของสญ
2. วิเคราะห์เกีย ิ ธิและหน ้าทีข
่ วกับสท ่ องนายจ ้าง ลูกจ ้าง ผู ้ว่าจ ้าง รวมทัง้ ความแตกต่าง
ระหว่างสญ ั ญาจ ้างแรงงาน
จุดประสงค์การเรียนรู ้
ั ญาจ ้างแรงงาน
1. อธิบายความหมายและลักษณะของสญ
ิ ธิและหน ้าทีข
2. อธิบายสท ่ องนายจ ้าง ลูกจ ้าง ผู ้ว่าจ ้างได ้
ั ญาจ ้างแรงงานได ้
3. อธิบายความระงับของสญ
ั ญาจ ้างแรงงาน และนำความรู ้ทีศ
4. สามารถทำสญ ึ ษาเกีย
่ ก ั ญาจ ้างแรงงาน ไป
่ วกับสญ

ล ักษณะสำค ัญของสญญาจ้
าง
แรงงาน
การจ้างแรงงานเกิดขึ้นระหว่างบุคคลสองฝ่ าย คือ ฝ่ ายนายจ้าง และลูกจ้าง ที่มีนิติสมั พันธ์
ต่อกันก่อให้มีสญ
ั ญาเกิดขึ้น
ลักษณะสำคัญของการจ้างแรงงานได้แก่
1. จ้างแรงงานเป็ นสัญญา
2. เป็ นสัญญาต่างตอบแทน
3. วัตถุแห่งสัญญาคืองานที่ทำ
4. ลูกจ ้างต ้องทำงานให ้นายจ ้าง และ
นายจ ้างต ้องให ้ค่าจ ้างแก่ลกู จ ้าง
5. มุง่ มีผลของงานเฉพาะคราวนัน ้ ๆ
6. นายจ ้างมีอำนาจควบคุมบังคับบัญชา
ลูกจ ้าง
7. กรณีไม่ได ้ตกลงเรือ ่ งค่าจ ้าง กฎหมายให ้
ั นิษฐานว่านายจ ้างมีคำมัน
สน ่ ว่าจะให ้ค่าจ ้าง
ั ญาจ ้างแรงงาน
แบบของสญ
กฎหมายมิได ้กำหนดไว ้แต่อย่างใดว่า
ั ญาจ ้างแรงงานจะต ้องทำกันอย่างไร
สญ
ฉะนัน ั ญาจ ้างแรงงานจึงไม่มแ
้ สญ ี บบแห่ง
นิตก
ิ รรม คูส่ ญั ญาอาจทำสญ ั ญาด ้วยวาจา
หรือจะทำสญ ั ญากันเป็ นหนังสอื ระหว่าง
ั ญาดังกล่าวก็
นายจ ้างกับลูกจ ้างก็ได ้ สญ
ใชบั้ งคับกันได ้

สญญาจ้
างแรงงาน
ความหมายของสญญาจ้ ั างแรงงาน
ั ญาจ ้างแรงงาน ( Hire of Work) คือ
สญ
ั ญาซงึ่ บุคคลหนึง่ ทีเ่ รียกว่า ลูกจ ้าง ตกลงจะ
สญ
ทำงานให ้แก่บค ุ คลอีกคนหนึง่ ทีเ่ รียกว่า
นายจ ้าง และนายจ ้างตกลง และนายจ ้างตกลง
ิ จ ้างตลอดเวลาทีทำ
จะให ้สน ่ งานให ้

ล ักษณะของสญญาจ้
างแรงงาน
ั ญาจ ้างแรงงานเป็ นสญ
สญ ั ญาระหว่างบุคคลสอง
ฝ่ าย คือฝ่ ายนายจ ้างและฝ่ ายลูกจ ้าง โดยลูกจ ้าง
ตกลงทำงานให ้นายจ ้าง และลูกจ ้างมีอำนาจบังคับ
บัญชาลูกจ ้าง ทัง้ นีน
้ ายจ ้างและลูกจ ้างอาจตกลง
กำหนดเขือ ่ นไขการจ ้าง ระยะเวลาการจ ้าง การ
ทำงาน ค่าจ ้าง รวมทัง้ ผลประโยชน์ตอบแทนอืน ่ ๆ
ไว ้อย่างไรก็ได ้ แต่ข ้อตกลงนัน้ จะต ้องไม่ขด
ั ต่อ
กฎหมายอันเกีย ่ วกับความสงบเรียบร ้อยหรือศล ี
ธรรมอันดีงามของประชาชน

ล ักษณะสญญาจ้
างแรงงานที่
สำค ัญ
มีด ังนี้
1. สัญญาจ้างแรงงานเป็ นเอกเทศสัญญาจ้างอย่างหนึ่ง
2. สัญญาจ้างแรงงานเป็ นสัญญาต่างตอบแทนที่ก่อหนี้ให้ผกู ้ รณี ท้ งั
สองฝ่ าย
3. สัญญาจ้างแรงงานไม่มีแบบหรื อหลักฐานเป็ นหนังสื อ
4. สัญญาจ้างแรงงานมีสาระสำคัญอยูท่ ี่ตวั ของคู่สญ
ั ญา
ิ ธิของนายจ้างและลูกจ้าง
สท
สิ ทธิของนายจ้ าง มีดงั นี้
1. สิ ทธิในการให้ลูกจ้างทำงานตามคำสัง่ ที่ชอบด้วยกำหมายของนายจ้าง
2. สิ ทธิการบังคับบัญชาลูกชา
3. สิ ทธิในการตักเตือนเป็ นหนังสื อ หากลูกจ้างฝ่ าฝื นข้อบังคับเกี่ยวกับการ
ทำงาน หรื อระเบียบ หรื อคำสัง่ ของนายจ้างอันชอบด้วยกฎหมายและเป็ น
ธรรม
ิ ธิของลูกจ้าง มีด ังนี้
สท
1. สิ ทธิในการได้รับค่าจ้าง เมื่อทำงานให้นายจ้าง
2. สิ ทธิในการได้รับค้าตอบแทนการทำงานล่วงเวลา ค่าตอบแทนการทำงานในวันหยุด และค่า
ตอบแทนการทำงานล่วงเวลาในวันหยุด
3. สิ ทธิในการได้รับใบรับรองการทำงาน
4. สิ ทธิในวันหยุดประจำสัปดาห์ วันหยุดตามประเพณี และวันหยุดพักผ่อนประจำปี
5. สิ ทธิในวันลาต่างๆ เช่น ลาป่ วย ลากิจ ลาไปรับราชการทหาร ลาไปฝึ กอบรมหรื อลาคลอด
6. สิ ทธิขอเปลี่ยนงานชัว่ คราวของหญิงมีครรภ์
7. สิ ทธิในการได้รับค่าชดเชยเมื่อถูกเลิกจ้าง
หน้าทีข
่ องนายจ้างและลูกจ้าง
หน้าทีข ่ องนายจ้างมีด ังงนี้
1. มีหน ้าทีต ่ ้องจ่ายสน ิ จ ้างให ้แก่ลก
ู จ ้างตามระยะเวลาทีต ่ กลงกัน
2. มีหน ้าทีต ่ ้องออกใบสำคัญแสดงว่าลูกจ ้างมาทำงานนานเท่าใด
3. มีหน ้าทีต ่ ้องออกค่าเดินทางให ้ลูกจ ้าง ถ ้าเป็ นกรณีทน
ี่ ายจ ้าง
ได ้นำลูกจ ้างนัน ้ มาจากต่างถิน ่ หรือต่างจังหวัด
4. มีหน ้าทีร่ ับผิดร่วมกับลูกจ ้าง กรณีได ้กระทำละเมินและเกิด
ความเสย ี หายแก่บค ุ คลภายนอก ซงึ่ ลูกจ ้างได ้กระทำไปในทางการ
ทีจ
่ ้าง
่ องลูกจ้าง มีด ังนี้
หน้าทีข
1. ต ้องทำงานทีร่ ับจ ้างด ้วยตนเอง
2. ต ้องมีความสามารถตามทีร่ ับรองว่ามี
คุณสมบัตแ ิ ละฝี มือ
3. ต ้องทำตามคำสงั่ และปฏิบต ั ห
ิ น ้าทีใ่ ห ้
นายจ ้างด ้วยความสุจริต

ความระง ับแห่งสญญาจ้
างแรงงาน
มีดงั นี้
1.ระยะเวลา
1.1 สัญญาจ้างกำหนดระยะเวลาไว้ สัญญาจ้างที่ทำกันไว้อาจกำหนดเวลาจ้างเป็ น
ชัว่ โมง เป็ นวัน เป็ นเดือน หรื อเป็ นปี ก็ได้
1.2 สัญญาจ้างไม่กำหนดระยะเวลาไว้ คู่สญ ั ญาตกลงว่าจ้างกัน แต่ไม่ได้ระบุเวลาว่า
จ้างกัน คู่สญั ญาฝ่ ายหนึ่งฝ่ ายใดจะเลิกสัญญาด้วยการบอกกล่าวล่วงหน้าเมื่อถึงหรื อก่อน
กำหนดจ่ายสิ นจ้าง
2. ต ัวคูส ั
่ ญญา
2.1 ลูกจ้างตายหรื อทุพพลภาพ การที่นายจ้างตัดสิ นใจจ้างลูกจ้างคนใด
คนหนึ่งก็ดว้ ยเล็งเห็นคุณสมบัติของลูกจ้างว่าเหมาะสม
2.2 นายจ้างตาย สัญญาจ้างระงับหรื อไม่ กรณี น้ ีตอ้ งพิจารณาด้วยหลัก
กฎหมายที่วา่ งานที่จะจ้างมีสาระสำคัญอยูท่ ี่ตวั บุคคลผูเ้ ป็ นนายจ้างหรื อไม่

3. การบอกเลิกสญญา
3.1 คูส ั ญาใชส้ ท
่ ญ ิ ธิบอกเลิกสญ ั ญา สทิ ธิของผู ้บอก
เลิกสญั ญาอาจมีได ้เมือ ่ มีการกำหนดหรือระบุไว ้ในสญ ั ญา
3.2 สญั ญาเลิกโดยบทบัญญัตข ิ องกฎหมาย กฎหมาย
ลักษณะจ ้างแรงงานกำหนดให ้นายจ ้างและลูกจ ้างมีสท ิ ธิ
บอกเลิกสญ ั ญาจ ้างแรงงานได ้ ดงั นี้
- นายจ ้างมีสท ิ ธิบอกเลิกสญ ั ญา
ิ ธิบอกเลิกสญ
- ลูกจ ้างมีสท ั ญา
แบบฝึ กหัด
1. จงอธิบายลักษณะของสัญญาจ้างแรงงาน โดยสังเขป
2. จงบอกสิ ทธิหน้าที่ของนายจ้างกับลูกจ้าง โดยสังเขป
3. จงอธิบายความระงับแห่งสัญญาจ้างว่าประกอบไปด้วยอะไรบ้าง อธิบายโดย
สังเขป

You might also like