You are on page 1of 7

เก็งมาตราสอบวิชาหนี้

194 => ด้ วยอำนาจแห่ งมูลหนี้ เจ้ าหนีม้ ีสิทธิเรียกให้ ลูกหนีชำ


้ ระหนี้ การชำระหนีง้ ดเว้ นกระทำ
การอันใดอันหนึ่งก็ย่อมมีได้
195 ว 1 => ทรัพย์ซึ่งเป็ นวัตถุแห่ งหนี้ ระบุไว้ เพียงประเภท และไม่ ทราบเจตนาของคู่กรณี และ
ไม่ อาจกำหนดว่ าเป็ นทรัพย์ ชนิดอย่ างไร ลูกหนีต้ ้ องส่ งทรัพย์ คุณภาพปานกลาง
ว 2 => ถ้ าลูกหนีไ้ ด้ กำหนดทรัพย์ ที่จะส่ งมอบด้ วยความยินยอม ทรัพย์ น้ันเป็ นวัตถุแห่ งหนี้
จำเดิมแต่ เวลานั้นไป
198 => ถ้ าการชำระหนีน้ ้ันมีหลายอย่ าง แต่ ต้องทำอย่ างใดอย่ างหนึ่ง สิ ทธิเลือกทำอย่ างใดอย่ าง
หนึ่งนั้นตกอยู่แก่ฝ่ายลูกหนี้ เว้ นแต่ จะตกลงกันเป็ นอย่ างอืน่
199 ว 1 => การเลือกทำได้ โดย แสดงเจตนา แก่ คู่กรณีอกี ฝ่ ายหนึ่ง
ว 2 => การชำระหนีถ้ ้ าได้ เลือกทำอย่ างใดแล้ว ให้ ถืออย่ างนั้นอย่ างเดียวเป็ นการชำระหนีต้ ้งั แต่ ต้น
200 ว 1 => ถ้ าต้ องเลือกในเวลาที่กำหนด และ ฝ่ ายที่มีสิทธิเลือกไม่ ได้ เลือกภายในเวลา ให้ สิทธิ
ในการเลือกนั้นตกเป็ นของอีกฝ่ ายหนึ่ง
ว 2 => ถ้ าไม่ ได้ กำหนดเวลาให้ เลือก เมื่อหนีถ้ ึงกำหนดชำระ ให้ ฝ่ายที่ไม่ มีสิทธิเลือก กำหนด
เวลาพอสมควรแก่ เหตุ แล้ วบอกกล่ าวให้ ฝ่ายโน้ นใช้ สิทธิเลือกภายในเวลาอันนั้น
201 ว 1 => ถ้ าบุคคลภายนอกเป็ นผู้เลือก ให้ แสดงเจตนาแก่ ลูกหนี้ และลูกหนีต้ ้ องแจ้ งแก่ เจ้ าหนี้
ว 2 => ถ้ าบุคคลภายนอกไม่ เลือกหรือไม่ เต็มใจเลือก สิ ทธิที่จะเลือกตกไปอยู่แก่ ฝ่ายลูกหนี้
202 => ถ้ าการพึงต้ องทำเพือ่ ชำระหนีม้ ีหลายอย่ าง เมื่ออย่ างใดอย่ างหนึ่งตกเป็ นอันพ้นวิสัย
ตั้งแต่ ต้นหรือภายหลัง > ให้ จำกัดการเลือกการชำระหนีอ้ ย่ างอืน่ ที่ไม่ เป็ นพ้นวิสัย // การจำกัดนี้
จะไม่ เกิดขึน้ ถ้ าการชำระหนีต้ กเป็ นอันพ้นวิสัยเพราะพฤติการณ์ ฝ่ายที่ไม่ มีสิทธิเลือกและต้ องรับ
ผิดชอบ
ผลแห่ งหนี้ ***
203 ว 1 => ถ้ าไม่ ได้ กำหนดเวลาชำระหนี้ หรืออนุมานจากพฤติการณ์ ไม่ ได้ (เช่ นมายืมเงินแล้ ว
เดินจากไป) เจ้ าหนีย้ ่ อมเรียกให้ ลูกหนีชำ
้ ระหนีไ้ ด้ โดยพลัน และลูกหนีก้ ชำ
็ ระหนีไ้ ด้ โดยพลันดุจ
กัน (เช่ นเจอหน้ ากันแล้ วทวง)
ว 2 => ถ้ าได้ กำหนดเวลาไว้ แต่ หากกรณีเป็ นที่สงสัย (กำหนดตามพฤติการณ์ เช่ น ยืมเลือ่ ยไปตัด
ไม้ เสร็จแล้ วก็ต้องเอามาคืน) เจ้ าหนีเ้ รียกชำระหนีก้ ่ อนไม่ ได้ // แต่ ลูกหนีข้ อชำระหนีก้ ่ อนได้
204 ว 1 => ถ้ าหนีถ้ ึงกำหนดชำระแล้ว และภายหลังเจ้ าหนีไ้ ด้ เตือนแล้ ว ลูกหนีย้ งั ไม่ ชำระหนี้
ไซร้ ลูกหนีไ้ ด้ ชื่อว่ าผิดนัดเพราะเขาเตือนแล้ ว
ว 2 => กำหนดเวลาตามปฎิทิน ลูกหนีไ้ ม่ ชำระตามกำหนด ไม่ ต้องเตือน = ลูกหนีก้ ผ็ ดิ นัดแล้ ว
205 => การชำระหนีน้ ้ัน ไม่ ได้ กระทำลงเพราะพฤติการณ์ ซึ่งลูกหนีไ้ ม่ ต้องรับผิดชอบ = ลูกหนี้
ไม่ ผดิ ( เช่ น มาติดแอร์ แต่ บ้านเจ้ าหนีย้ งั สร้ างไม่ เสร็จ )
206 => หนีท้ ี่เกิดเพราะการทำละเมิด ให้ ถือว่ าลูกหนีผ้ ดิ นัดตั้งแต่ เวลาที่ทำละเมิด
207 => ลูกหนีข้ อชำระหนี้ แต่ เจ้ าหนีไ้ ม่ รับชำระหนีโ้ ดยปราศจากมูลเหตุอนั จะอ้ างกฎหมายได้
= เจ้ าหนีต้ กเป็ นผู้ผดิ นัด
209 => ถ้ าเจ้ าหนีไ้ ม่ ทำการอันนั้นก่ อน ภายในกำหนด ลูกหนีก้ ไ็ ม่ ต้องปฏิบัติการชำระหนี้
213 ว 1 => ลูกหนีล้ ะเลยไม่ ชำระหนี้ เจ้ าหนีจ้ ะร้ องขอต่ อศาลสั่ งบังคับหนีก้ ไ็ ด้ เว้ นแต่ สภาพแห่ ง
หนีจ้ ะไม่ เปิ ดช่ อง ( ศาลไม่ สามารถเรียกคืนได้ )
ว 2 => เมื่อสภาพแห่ งหนีไ้ ม่ เปิ ดช่ อง ถ้ าวัตถุแห่ งหนี้ เป็ นการให้ กระทำการอันใด > เจ้ าหนีจ้ ะ
ร้ องขอต่ อศาลให้ สั่งบังคับให้ บุคคลภายนอกกระทำการอันนั้น โดยให้ ลูกหนีเ้ สี ยค่ าใช้ จ่ายให้ กไ็ ด้
ว 3 => ถ้ าวัตถุแห่ งหนีเ้ ป็ นการงดเว้ นการอันใด > เจ้ าหนีจ้ ะเรียกร้ องให้ รื้อถอนการที่ได้ กระทำ
ลงแล้ วนั้นโดยให้ ลูกหนีเ้ สี ยค่ าใช้ จ่าย และ ให้ จัดการอันควรเพือ่ กาลภายหน้ าด้วยก็ได้
ว 4 => บทบัญญัติในวรรคทั้งหลาย ย่ อมไม่ กระทบกระทั้งต่ อการเรียกค่ าสิ นไหมทดแทน
215 => ลูกหนีไ้ ม่ ชำระหนีต้ ้ องตามความประสงค์ => เจ้ าหนีจ้ ะเรียกเอาค่ าสิ นไหมทดแทนจาก
ความเสี ยหายได้
216 => โดยเหตุผดิ นัด การชำระหนีเ้ ป็ นอันไร้ หมดประโยชน์ เจ้ าหนีม้ ีสิทธิไม่ รับชำระหนีแ้ ละ
สามารถเรียกค่ าสิ นไหมทดแทน จากการไม่ ชำระหนีน้ ้ันได้
217 => ลูกหนีต้ ้ องรับผิดชอบในความเสี ยหาย อันได้ ประมาทเลินเล่ อในระหว่ างผิดนัด
เว้ นแต่ ความเสี ยหายนั้นแม้ ตนจะชำระหนีท้ ันก็ย่อมต้ องเกิดอยู่ดี
218 ว 1 => ถ้ าการชำระหนีพ้ ้นวิสัย เพราะพฤติการณ์ ที่ลูกหนีต้ ้ องรับผิดชอบ ลูกหนีต้ ้ องใช้ ค่า
สิ นไหมทดแทนเพือ่ ความเสี ยหายอันเกิดแต่ การไม่ ชำระหนีน้ ้ัน
ว 2 => ถ้ าการชำระหนีพ้ ้นวิสัยบางส่ วน=> เจ้ าหนีจ้ ะไม่ รับชำระหนีท้ ้งั หมดก็ได้ และสามารถ
เรียกค่ าสิ นไหมทดแทนได้
219 ว 1 => ถ้ าการชำระหนีพ้ ้นวิสัยเกิดขึน้ ภายหลังที่ได้ ก่อหนี้ ซึ่งลูกหนีไ้ ม่ ต้องรับผิดนั้น ลูก
หนีเ้ ป็ นอันหลุดพ้นจากการชำระหนีน้ ้นั
ว 2 => ถ้ าภายหลังที่ได้ ก่อหนี้ ลูกหนีก้ ลายเป็ นคนไม่ สามารถใช้ หนีไ้ ด้ (พ้นวิสัยโดยมีสาเหตุ)
ลูกหนีไ้ ม่ ต้องรับผิด (เช่ นจ้ างมาวาดรู ปแต่ แขนหักก่ อน )
221 => หนีเ้ งินอันต้ องเสี ยดอกเบีย้ นั้น จะคิดดอกเบีย้ นระหว่ างที่เจ้ าหนีผ้ ดิ นัดหาได้ ไม่
224 ว 1 เงินหนีน้ ้ัน ให้ คดิ ดอกเบีย้ ในระหว่ างเวลาที่ผดิ นัดร้ อยละเจ็ดครึ่งต่ อปี ถ้ าได้ คดิ ดอกเบีย้
สู งกว่ านั้นโดยเหตุอนั ชอบแห่ งกฎหมายก็ให้ คงส่ งดอกเบีย้ นั้นต่ อไป
ว 2 => ห้ ามคิดดอกเบีย้ ซ้ อนดอกเบีย้ ระหว่ างผิดนัด

รับช่ วงสิ ทธิ


226 => บุคคลผู้รับช่ วงสิ ทธิของเจ้ าหนี้ ชอบที่จะใช้ สิทธิท้งั หลายของเจ้ าหนี้ รวมทั้งประกัน
แห่ งหนีน้ ้ันได้ ในนามตน
227=> เมื่อเจ้ าหนีไ้ ด้ รับค่ าสิ นไหมทดแทนเต็มตามราคาทรัพย์ หรือสิ ทธิซึ่งเป็ นวัตถุแห่ งหนี้
แล้ ว = ลูกหนีย้ ่ อมเข้ ารับช่ วงสิ ทธิของเจ้ าหนีอ้ นั เกีย่ วกับทรัพย์ หรือสิ ทธิน้ันๆ ได้
229 => การรับช่ วงสิ ทธิย่อมมีขนึ้ ด้ วยอำนาจกฎหมาย และเป็ นประโยชน์ ต่อบุคคลดังต่ อไปนี้
(1) บุคคลซึ่งเป็ นเจ้ าหนีม้ าใช้ หนีใ้ ห้ แก่ เจ้ าหนีอ้ กี คนผู้มีบุริมสิ ทธิ
(2) บุคคลผู้ได้ อสั งริมทรัพย์ และเอาเงินใช้ ให้ แก่ ผู้รับจำนองทรัพย์ น้ันเสร็จไป
(3) บุคคลผู้มีความผูกพัน ร่ วมกับผู้อนื่ หรือ เพือ่ ผู้อนื่ ในอันจะต้ องใช้ หนี้ มีส่วนได้ เสี ย และเข้ า
ใช้ หนีน้ ้ัน

การเพิกถอนการฉ้ อฉล***
237 ว 1 => เจ้ าหนีช้ อบที่จะร้ องขอให้ ศาลเพิกถอนนิติกรรมใด ๆ อันลูกหนีก้ ระทำลงไปโดยรู้ ว่า
จะเป็ นทางให้ เจ้ าหนีเ้ สี ยเปรียบ ความข้ อนีไ้ ม่ บังคับถ้ าในขณะทำนิติกรรมบุคคลผู้ได้ ลาภงอก
มิได้ รู้ เท่ าถึงความจริงอันเป็ นทางให้ เจ้ าหนีเ้ สี ยเปรียบ แต่ หากเป็ นกรณีให้ โดยเสน่ หา เพียงลูกหนี้
รู้ ฝ่ายเดียวก็พอแล้ วที่จะขอเพิกถอน
238 => การเพิกถอนดังกล่ าวในมาตราก่ อนนั้น ไม่ อาจกระทบกระทั้งถึงสิ ทธิของบุคคล
ภายนอก อันได้ มาโดยสุ จริตก่ อนเริ่มฟ้ องคดีเพิกถอน
ว 2 => ความที่กล่ าวมาในวรรคก่ อนนี้ ไม่ ให้ ใช้ บังคับถ้ าสิ ทธิน้ันได้ มาโดยเสน่ หา
240 => การเรียกร้ องขอเพิกถอนนั้น ห้ ามมิให้ ฟ้องร้ องเมื่อพ้นหนึ่งปี นับแต่ เวลาที่เจ้ าหนีไ้ ด้ รู้
หรือ พ้นสิ บปี นับแต่ ได้ นิติกรรมนั้น

สิ ทธิยดึ หน่ วง** ต้ องกลับย่ อใหม่


ม.241 ผู้ใดเป็ นผู้ครองทรัพย์สินของผู้อนื่ และมีหนีอ้ นั เป็ นคุณประโยชน์ แก่ ตนเกีย่ วด้ วย
ทรัพย์ สินซึ่งครองนั้น ท่ านว่ าผู้น้ันยึดหน่ วงทรัพย์สินนั้นไว้ จนกว่ าจะได้ ชำระหนีก้ ไ็ ด้
ความที่กล่ าวมานีไ้ ม่ ให้ ใช้ บังคับเมื่อหนีย้ งั ไม่ ถึงกำหนด
ว.2 บทบัญญัติในวรรคก่ อนหน้ านี้ ไม่ ให้ ใช้ บังคับ ถ้ าการที่เข้ าครอบครองนั้นเริ่มมาแต่ ทำการ
อันใดอันหนึ่งซึ่งไม่ ชอบด้ วยกฎหมาย
ม.242 สิ ทธิยดึ หน่ วงอันใด ถ้ าไม่ สมกับลักษณะที่เจ้ าหนีร้ ับภาระในมูลหนีก้ ด็ ี ไม่ สมกับคำสั่ งอัน
ลูกหนีไ้ ด้ ให้ ไว้ ก่อนหรือเวลาที่ส่งมอบทรัพย์ กด็ ี หรื อเป็ นการขัดกับความสงบเรียบร้ อยของ
ประชาชนก็ดี สิ ทธิยดึ หน่ วงเช่ นนั้นท่ านให้ ถือว่ าหามีไม่ เลย
ม.243 กรณีที่ลูกหนีม้ ีหนีส้ ิ นล้ นพ้นตัวไม่ สามารถใช้ หนีไ้ ด้ แม้ หนีย้ งั ไม่ ถึงกำหนดชำระ เจ้ าหนี้
ก็ใช้ สิทธิยดึ หน่ วงได้
ม.246 ผู้ทรงสิ ทธิยดึ หน่ วงจำต้ องจัดการดูแลรักษาทรัพย์ สินที่ยดึ หน่ วงนั้นไว้ ตามสมควร
ว.2 ทรัพย์ สินซึ่งยึดหน่ วงไว้ น้ัน ถ้ ามิได้ รับความยินยอมของลูกหนี้ ผู้ทรงสิ ทธิยดึ หน่ วงหาอาจ
ใช้ สอยหรือให้ เช่ าหรือไปทำหลักประกันหาได้ ไม่
ว.3 ถ้ าผู้ทรงสิ ทธิยดึ หน่ วงกระทำการฝ่ าฝื นบทบัญญัติใดที่กล่ าวมานี้ ลูกหนีจ้ ะเรียกร้ องให้ ระงับ
สิ ทธิน้ันเสียก็ได้

ลูกหนีแ้ ละเจ้ าหนีห้ ลายคน ***


290 => ถ้ าการชำระหนีแ้ บ่ งกันชำระได้ และมีบุคคลหลายคนเป็ นลูกหนี้ กรณีเป็ นที่สงสั ย ลูกหนี้
แต่ ละคนรับผิดเพียงเป็ นส่ วนเท่ าๆ กัน และเจ้ าหนีแ้ ต่ ละคนชอบที่จะได้ รับเป็ นส่ วนเท่ าๆ กัน
291 => เจ้ าหนีม้ ีสิทธิเลือกได้ ว่าจะเรียกให้ “ ลูกหนีค้ นใดคนหนึ่ง” หรือทั้งหมด ชำระหนีโ้ ดย
สิ้นเชิง หรือตามส่ วนก็ได้
292 ว 1=> เมื่อลูกหนีร้ ่ วมกันคนหนึ่งชำระหนีน้ ้นั ย่ อมได้ ประโยชน์ แก่ ลูกหนีค้ นอืน่ ๆ ด้ วย
ว 2 => ลูกหนีร้ ่ วมกันคนหนึ่งมีสิทธิเรียกร้ องอย่ างไร ลูกหนีค้ นอืน่ ๆจะเอาสิ ทธิอนั นั้นไปใช้ หัก
ลบกลบหนีห้ าได้ ไม่
293 => เจ้ าหนีป้ ลดหนีใ้ ห้ ลูกหนีค้ นหนึ่ง ลูกหนีค้ นอืน่ ย่อมได้ ประโยชน์ ด้วย เท่ าส่ วนของลูก
หนีท้ ี่ปลดให้ ยกเว้ นตกลงเป็ นอย่ างอืน่
294 => การผิดนัดของเจ้ าหนี้ ต่ อลูกหนีร้ ่ วมคนหนึ่ง > ถือว่ าผิดนัดต่ อลูกหนีร้ ่ วมคนอืน่ ๆด้ วย
295 ว 1 => ข้ อเท็จจริง เมื่อเป็ นเรื่องท้ าวถึงลูกหนีร้ ่ วมคนใด ย่ อมไม่ มีผลต่ อลูกหนีร้ ่ วมคนอืน่ ๆ
296 => ในระหว่ างลูกหนีร้ ่ วมกันทั้งหลาย ต่ างคนต่ างรับผิดเป็ นส่ วนๆเท่ ากัน เว้ นแต่ จะได้
กำหนดไว้ เป็ นอย่ างอืน่ ถ้ าส่ วนลูกหนีค้ นใดคนหนึ่งพึงจะชำระนั้นจะเรียกเอาจากคนนั้นไม่ ได้
ขาดเท่ าไหร่ ลูกหนีค้ นอืน่ ๆ จำต้ องออกส่ วนนั้นด้ วยก็ต้องรับใช้ ถ้ าลูกหนีร้ ่ วมคนใดเจ้ าหนีไ้ ด้
ปลดให้ หลุดจากการเป็ นลูกหนีร้ ่ วมแล้ ว ส่ วนที่ลูกหนีค้ นนั้นจะต้ องชำระก็ตกเป็ นพับแก่ เจ้ า
หนี2้ 97 => บุคคลหลายคน “ร่ วมผูกพันตนในอันจะกระทำการชำระหนี้ หากกรณีสงสัย > รับ
ผิดอย่ างลูกหนีร้ ่ วมกัน
298 => ถ้ าบุคคลหลายคนเป็ นเจ้ าหนี้ ซึ่งแต่ ละคนอาจจจะใช้ สิทธิให้ ชำระหนีส้ ิ้นเชิงได้ ลูกหนีจ้ ะ
ชำระหนีใ้ ห้ แก่ เจ้ าหนีค้ นใดคนหนึ่งก็ได้ ตามแต่ จะเลือก
( เจ้ าหนีแ้ ต่ ละคน มีสิทธิ เรียกให้ ลูกหนีชำ
้ ระหนีโ้ ดยสิ้นเชิง
แต่ เพียงผู้เดียว โดยไม่ ต้องได้ รับความยินยอมจากเจ้ าหนีร้ ่ วมคนอืน่ )
( ลูกหนี้ มีสิทธิ เลือกชำระหนีใ้ ห้ แก่เจ้ าหนีค้ นใดก็ได้ )
299 ว 1 => เจ้ าหนีร้ ่ วมคนหนึ่งผิดนัด > มีผลต่ อเจ้ าหนีร้ ่ วมคนอืน่ ๆผิดนัดด้วย
300 => ในระหว่ างเป็๋ นเจ้ าหนีร้ ่ วมกัน ต่ างคนชอบที่จะได้ รับชำระหนีเ้ ป็ นส่ วนเท่ าๆกัน
301 => บุคคลหลายคนเป็ นหนีอ้ นั แบ่ งชำระมิได้ ให้ รับผิดชอบอย่ างเช่ น “ลูกหนีร้ ่ วมกัน”

โอนสิ ทธิเรียกร้ อง **

303 ว.1 => สิ ทธิเรียกร้ องนั้นท่ านว่ าจะพึงโอนกันได้ เว้ นแต่ สภาพแห่ งหนีไ้ ม่ เปิ ดช่ อง
ว.2 ความที่กล่ าวมานี้ ไม่ ใช้ บังคับหากคู่กรณีได้ แสดงเจตนาเป็ นอย่ างอืน่ และการแสดงเจตนา
นั้นห้ ามยกขึน้ ต่ อสู้ บุคคลภายนอกผู้กระทำการโดยสุ จริต
306 => การโอนหนี้ ต้ องชำระแก่ เจ้ าหนีค้ นหนึ่งโดยเฉพาะเจาะจง ถ้ าไม่ ทำเป็ นหนังสื อ ท่ านว่ า
ไม่ สมบูรณ์ การโอนหนีน้ ้ันจะยกขึน้ เป็ นข้ อต่ อสู้ ลูกหนีห้ รือบุคคลภายนอกได้ เมื่อได้ บอกกล่ าว
และมีการยินยอมของฝ่ ายลูกหนี้ คำบอกกล่ าวหรือคำยินยอมเช่ นว่ านีต้ ้ องทำเป็ นหนังสื อ
308 => ถ้ าลูกหนีย้ นิ ยอมมาในมาตรา 306 โดยมิได้ อดิ เอือ้ น จะยกข้ อต่ อสู้ ที่มีต่อผู้โอนขึน้ ต่ อสู้
ผู้รับโอนหาได้ ไม่ แต่ เมื่อชำระหนีใ้ ห้ แก่ ผู้โอนสิ ทธิแล้ วสามารถเรียกเอาเงินคืนได้ หรือลูกหนีร้ ับ
ภาระเป็ นหนีอ้ ย่ างใดอย่ างหนึ่งขึน้ ใหม่ ต่อผู้โอน จะถือเสมอหนึ่งว่ าหนีน้ ้ันมิได้ ก่อขึน้ เลยก็ได้
ว.2 ถ้ าลูกหนีเ้ ป็ นแต่ ได้ รับคำกล่ าวการโอน ลูกหนีม้ ีข้อต่ อสู้ ผู้โอนก่ อนเวลาที่ได้ รับคำบอกกล่ าว
นั้น ก็จะยกขึน้ เป็ นข้ อต่ อสู้ แก่ ผู้รับโอนได้ ถ้ าลูกหนีม้ ีสิทธิเรียกร้ องจากผู้โอน แต่ สิทธิยงั ไม่ ถึง
กำหนดเวลาบอกกล่ าว จะเอาสิ ทธิเรียกร้ องนั้นมาหักลบกลบกันก็ได้ ถ้ าสิ ทธิน้ันไม่ ช้ากว่ าเวลาถึง
กำหนดแห่ งสิ ทธิเรียกร้ องอันโอนไปนั้น
ปลดหนี้ *
340 => เจ้ าหนีแ้ สดงเจตนาต่ อลูกหนีว้ ่ าจะปลดหนี้ ท่ านว่ าหนีน้ ้ันก็เป็ นอันระงับไป
ว 2 => ถ้ าหนีม้ ีหลักฐานเป็ นหนังสื อ การปลดหนีจ้ ะต้ องทำเป็ นหนังสื อด้ วย หรือเวนคืนเอกสาร
อันเป็ นหลักฐานแห่ งหนี้ หรือขัดฆ่ าเอกสารนั้น
หักกลบลบหนี้ *
341 => ถ้ าบุคคลสองคนต่ างมีความผูกพันซึ่งกันและกัน โดยมูลหนีอ้ นั มีวตั ถุเป็ นอย่ างเดียวกัน
และหนีท้ ้งั สองรายถึงกำหนดจะชำระไซร้ ท่ านว่ าลูกหนีฝ้ ่ ายใดฝ่ ายหนึ่งย่ อมจะหลุดพ้นจากหนี้
ของตนด้ วยหักกลบลบกัน เว้ นแต่ สภาพแห่ งหนีจ้ ะไม่ เปิ ดช่ องให้ หักกลบกันได้
หนี ้ คือ ความสัมพันธ์ทางกฎหมายระหว่างบุคคลตั้งแต่สองฝ่ ายขึ้นไป แต่ละฝ่ ายจะมีกี่คนก็ได้
และด้วยความสัมพันธ์อนั นี้ ฝ่ ายที่เรี ยกว่า "เจ้าหนี้" มีสิทธิ บงั คับฝ่ ายที่เรี ยกว่า "ลูกหนี้" ให้กระทำการหรื องด
เว้นกระทำการอย่างใดอย่างหนึ่งได้
บ่อเกิดแห่งหนี้เกิดขึ้นได้ 2 แบบ คือ นิติกรรม และนิติเหตุ ทั้งสองประการนี้เป็ นบ่อเกิดแห่งหนี้ หรื อ
ที่เรี ยกว่า มูลแห่ งหนี้
นิติกรรม คือ การใดๆ ที่บุคคลกระทำลงด้วยใจสมัครและโดยชอบด้วยกฎหมาย เพื่อก่อความสัมพันธ์
ทางกฎหมายขึ้น ซึ่ งอาจเป็ นความสัมพันธ์ฝ่ายเดียว ที่เรี ยกว่านิติกรรมฝ่ ายเดียว เช่นการให้คำมัน่ หรื อ อาจ
เป็ นความสัมพันธ์หลายฝ่ ายที่เรี ยกว่า นิติกรรม 2 ฝ่ าย เช่นการทำสัญญา เมื่อเสนอสนองตรงกันจึงเกิดเป็ น
สัญญาระหว่าง 2 ฝ่ ายขึ้นก็ได้
ส่ วนนิติเหตุ คือ เหตุที่ทำให้บุคคลเกิดมีความสัมพันธ์ทางกฎหมายขึ้น อันเป็ นเหตุที่กฎหมายกำหนด
ไว้ ซึ่ งไม่วา่ เขาจะสมัครใจหรื อไม่สมัครใจก็ตาม เช่น การทำละเมิด ,การจัดการงานนอกสัง่  , ลาภมิควรได้ 
และบุคคลสถานะ เช่น หน้าที่ของบิดามารดาต่อบุตร  เป็ นต้น

การเพิกถอนการฉ้ อฉล นั้นเป็ นหลักกฎหมายซึ่ งมุ่งคุม้ ครองสิ ทธิ ของเจ้าหนี้ ซึ่ งเป็ นการให้สิทธิ เจ้าหนี้ ในการ
ควบคุมกองทรัพย์สินของลูกหนี้ ตามที่ได้บญั ญัติไว้ในประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิ ชย์
มาตรา 237 ซึ่ งบัญญัติวา่ "เจ้าหนี้ชอบที่จะร้องขอให้ศาลเพิกถอนเสี ยได้ซ่ ึ งนิติกรรมใดๆ อันลูกหนี้ได้
กระทำลงทั้งรู้อยูว่ า่ จะเป็ นทางให้เจ้าหนี้ เสี ยเปรี ยบ”
ดังนั้นถ้าลูกหนี้ทำให้กองทรัพย์สินของตนลดน้อยลงโดยทุจริ ตซึ่ งกฎหมายเรี ยกว่า “การฉ้อฉล” ส่ งผล
ให้เจ้าหนี้ เสี ยหายโดยการทำให้ทรัพย์สินไม่เพียงพอที่เจ้าหนี้ จะบังคับชำระหนี้ได้น้ นั กฎหมายจึงให้สิทธิ แก่
เจ้าหนี้ในการที่จะขอให้ศาลเพิกถอนการกระทำที่เป็ นการฉ้อฉลที่ลูกหนี้ ได้กระทำลงนั้นได้

สิ ทธิ ยดึ หน่วง หมายถึง การที่ผคู้ รอบครองได้ครอบครองทรัพย์สินของผูอ้ ื่นและมีหนี้ อนั เป็ นคุณประโยชน์
แก่ผคู ้ รอบครองเกี่ยวด้วยทรัพย์สินซึ่ งครอบครองนั้น โดยมีหลักเกณฑ์ดงั นี ้
○ 1. เจ้าหนี้ครอบครองทรัพย์สินของผูอ้ ื่นโดยชอบด้วยกฎหมาย
○ 2. ต้องมีหนี้เกี่ยวกับทรัพย์สินที่ครอบครอง
○ 3. ไม่ขดั กับภาระของเจ้าหนี้ หรื อคำสัง่ ของลูกหนี้ หรื อความสงบเรี ยบร้อย

You might also like