You are on page 1of 14

มาตรา 1299 ภายในบังคับแห่งบทบัญญัติในประมวลกฎหมายนี้หรื อกฎหมายอืน่ ท่านว่าการได้มาโดยนิติกรรมซึ่ง

อสังหาริ มทรัพย์หรื อทรัพย์สิทธิอนั เกี่ยวกับอสังหาริ มทรัพย์น้ นั ไม่บริ บูรณ์ เว้นแต่นิติกรรมจะได้ทาเป็ นหนังสื อ


และได้จดทะเบียน
การได้มากับพนักงานเจ้าหน้าที่
ถ้ามีผไู ้ ด้มาซึ่งอสังหาริ มทรัพย์หรื อทรัพย์สิทธิอนั เกี่ยวกับอสังหาริ มทรัพย์โดยทางอืน่ นอกจากนิติกรรม สิ ทธิ
ของผูไ้ ด้มานั้น ถ้ายังมิได้จดทะเบียนไซร้ ท่านว่า
จะมีการเปลี่ยนแปลงการทะเบียนไม่ได้ และสิ ทธิอนั ยังมิได้จดทะเบียนนั้น มิให้ยกขึ้นเป็ นข้อต่อสู ้บุคคลภายนอกผู ้
ได้สิทธิมาโดยเสี ยค่าตอบแทนและโดยสุ จริ ต และได้จดทะเบียนสิ ทธิโดยสุ จริ ตแล้ว
มาตรา 1382 บุคคลใดครอบครองทรัพย์สินของผูอ้ ื่นไว้โดยความสงบและโดยเปิ ดเผยด้วยเจตนาเป็ นเจ้าของ ถ้า
เป็ นอสังหาริ มทรัพย์ได้ครอบครองติดต่อกันเป็ นเวลาสิ บปี ถา้ เป็ นสังหาริ มทรัพย์ได้ครอบครองติดต่อกันเป็ นเวลาห้า
ปี ไซร้ ท่านว่าบุคคลนั้นได้กรรมสิ ทธิ์
ฎีกาที่ 800/2502
ภาระจายอมจะสิ้ นไปก็แต่เมื่อภารยทรัพย์หรื อสามยทรัพย์สลายไปทั้งหมดหรื อมิได้ใช้สิบปีตาม ป.พ.พ. มาตรา
1397, 1399 และในลักษณะซื้อขายตาม มาตรา 480 ก็ยงั บัญญัติว่า "ถ้าอสังหาริ มทรัพย์ตอ้ งแสดงว่าตกอยู่ในบังคับ
แห่งภาระจายอมโดยกฎหมายไซร้ ท่านว่าผูข้ ายไม่ตอ้ งรับผิด เว้นแต่ผขู ้ ายจะได้รับรองไว้ในสัญญาว่า ทรัพย์น้ นั
ปลอดจากภาระจายอมอย่างใด ๆ ทั้งสิ้ นหรื อปลอดจากภาระจายอมอันนั้น"
ตาม มาตรา 1299 หมายถึงแต่กรณี ที่บุคคลได้มาโดยสุ จริ ตซึ่งทรัพย์สิทธิอนั เดียวกันกับสิ ทธิที่ยงั ไม่ได้จดทะเบียน
ผูร้ ับโอนกรรมสิ ทธิ์ในที่ดนิ ซึ่งมีภาระจายอมติดอยู่ หาได้สิทธิในภาระจายอมไปด้วย แต่อย่างไรไม่ สาหรับที่ดินอัน
เป็ นภารยทรัพย์น้ นั ภาระจายอมที่มีอยู่เป็ นแต่การรอนสิ ทธิตาม มาตรา 480 เท่านั้น ผูร้ ับโอนกรรมสิ ทธิ์ที่ดินจะยก
การรับโอนกรรมสิ ทธิ์โดยสุ จริ ตขึ้นเป็ นข้อต่อสู ้เพื่อให้ภาระจายอมที่มีอยู่ในที่ดินนั้นต้องสิ้ นไปหาได้ไม่
การชาระหนี้ตกเป็ นพ้นวิสัยหลังลูกหนี้ผดิ นัด 204, 217, 218, 219

ปพพ. มาตรา 204


•“ถ้าได้กาหนดเวลาชาระหนี้ไว้ตามวันเวลาแห่งปฏิทนิ และลูกหนี้มิได้ชาระหนี้ตามกาหนดไซร้ ท่านว่า
ลูกหนี้ตกเป็ นผูผ้ ิดนัดโดยมิพกั ต้องเตือนเลย”
•ปพพ. มาตรา 217
•“ลูกหนี้จะต้องรับผิดชอบในความเสี ยหายบรรดาที่เกิดแต่ความประมาทเลินเล่อในระหว่างที่ตนผิดนัด ทั้ง
จะต้องรับผิดชอบในการที่การชาระหนี้กลายเป็ นพ้นวิสัยเพราะอุบตั ิเหตุอนั เกิดขึ้นในระหว่างที่ผิดนัดนั้น
ด้วย เว้นแต่ความเสี ยหายนั้น ถึงแม้ว่าตนจะได้ชาระหนี้ทนั เวลากาหนดก็คงจะต้องเกิดมีอยูน่ นั่ เอง”
1.1 พฤติการณ์ ที่ลูกหนี้ไม่ ต้องรับผิดชอบ
•ปพพ. มาตรา 219
•“ถ้าการชาระหนี้กลายเป็ นพ้นวิสัยเพราะพฤติการณ์อนั ใดอันหนึ่งซึ่งเกิดขึ้นภายหลังทีไ่ ด้ก่อหนี้ และซึ่ง
ลูกหนี้ไม่ตอ้ งรับผิดชอบนั้นไซร้ ท่านว่าลูกหนี้เป็ นอันหลุดพ้นจากการชาระหนี้”
1.2 พฤติการณ์ ที่ลูกหนี้ต้องรับผิดชอบ
•ปพพ. มาตรา 218
•“ถ้าการชาระหนี้กลายเป็ นพ้นวิสัยจะทาได้เพราะพฤติการณ์อนั ใดอันหนึ่งซึ่งลูกหนี้ตอ้ งรับผิดชอบไซร้
ท่านว่าลูกหนี้จะต้องใช้ค่าสิ นไหมทดแทนให้แก่เจ้าหนี้เพื่อค่าเสี ยหายอย่างใด ๆ อันเกิดแต่การไม่ชาระหนี้น้ นั ”
ส่วนที่ 2 รับช่วงสิทธิ

มาตรา 226 บุคคลผูร้ ับช่วงสิ ทธิของเจ้าหนี้ชอบที่จะใช้สิทธิท้งั หลายบรรดาที่เจ้าหนี้มีอยู่โดยมูลหนี้ รวมทั้ง


ประกันแห่งหนี้น้ นั ได้ในนามของตนเอง
ช่วงทรัพย์ ได้แก่เอาทรัพย์สินอันหนึ่งเข้าแทนที่ทรัพย์สินอีกอันหนึ่งในฐานะนิตินยั อย่างเดียวกันกับทรัพย์สินอัน
ก่อน
มาตรา 231 ถ้าทรัพย์สินที่จานอง จานา หรื ออยู่ในบังคับบุริมสิทธิประการอืน่ นั้นเป็ นทรัพย์อนั ได้เอาประกันภัยไว้
ไซร้ท่านว่าสิ ทธิ จานอง จานาหรื อบุริมสิ ทธิอย่างอื่นนั้นย่อมครอบไปถึงสิ ทธิที่จะเรี ยกร้องเอาแก่ผรู ้ ับประกันภัย
ด้วย
มาตรา 232 ถ้าตามความในมาตรา ก่อนนี้เป็ นอันว่าจะเอาเงินจานวนหนึ่งให้แทนทรัพย์สินที่ทาลายหรื อบุบสลาย
ไซร้ เงินจานวนนี้ท่านยังมิให้ส่งมอบแก่ผรู ้ ับจานอง ผูร้ ับจานาหรื อเจ้าหนี้มีบุริมสิ ทธิคนอื่นก่อนที่หนี้ซ่ ึงได้เอา
ทรัพย์น้ ีเป็ นประกันไว้น้ นั จะถึงกาหนดและถ้าคู่กรณี ไม่สามารถจะตกลงกับลูกหนี้ได้ไซร้ ท่านว่าต่างฝ่ ายต่าง มี
สิ ทธิที่จะเรี ยกร้องให้นาเงินจานวนนั้นไปวางไว้ ณ สานักงานวาง ทรัพย์เพือ่ ประโยชน์อนั ร่ วมกัน เว้นแต่ลูกหนี้จะ
หาประกันให้ไว้ตามสมควร
สิทธิยด
ึ หน่วง
มาตรา 241 ผูใ้ ดเป็ นผูค้ รองทรัพย์สินของผูอ้ ื่น และมีหนี้อนั เป็ นคุณประโยชน์แก่ตนเกีย่ วด้วยทรัพย์สินซึ่งครองนั้น
ไซร้ ท่านว่าผูน้ ้ นั จะยึดหน่วงทรัพย์สินนั้นไว้จนกว่าจะได้ชาระหนี้ก็ได้ แต่ความที่กล่าวนี้ท่านมิให้ใช้บงั คับ เมื่อหนี้
นั้นยังไม่ถึงกาหนด
อนึ่งบทบัญญัติในวรรคก่อนนี้ ท่านมิให้ใช้บงั คับ ถ้าการที่เข้าครอบครองนั้นเริ่ มมาแต่ทาการอันใดอันหนึ่งซึ่งไม่
ชอบด้วยกฎหมาย
มาตรา 244 ผูท้ รงสิ ทธิยึดหน่วงจะใช้สิทธิของตนแก่ทรัพย์สินทั้งหมดที่ยึดหน่วงไว้น้ นั จนกว่าจะชาระหนี้สิ้นเชิงก็
ได้
การเพิกถอนการฉ้อฉล
มาตรา 237 เจ้าหนี้ชอบที่จะร้องขอให้ศาลเพิกถอนเสี ยได้ซ่ ึงนิตกิ รรมใดๆอันลูกหนี้ได้กระทาลงทั้งรูอ้ ยู่ว่าจะเป็ น
ทางให้เจ้าหนี้เสี ยเปรี ยบแต่ความข้อนี้ท่านมิให้ใช้บงั คับ ถ้าปรากฏว่าในขณะที่ทานิติกรรมนั้นบุคคลซึ่งเป็ นผูไ้ ด้ลาภ
งอกแต่การนั้นมิได้รู้เท่าถึงข้อความจริ งอันเป็ นทางให้เจ้าหนี้ตอ้ งเสี ยเปรี ยบนั้นด้วย แต่หากกรณี เป็ นการทาให้โดย
เสน่หาท่านว่าเพียงแต่ลูกหนี้เป็ นผูร้ ู ้ฝ่ายเดียวเท่านั้นก็พอแล้วที่จะขอเพิกถอนได้
บทบัญญัติดงั กล่าวมาในวรรคก่อนนี้ ท่านมีให้ใช้บงั คับแก่นิติกรรมใดอันมิได้มีวตั ถุเป็ นสิ ทธิในทรัพย์สิน
มาตรา 240 การเรี ยกร้องขอเพิกถอนนั้น ท่านห้ามมิให้ฟ้องร้อง เมื่อพ้นปีหนึ่งนับแต่เวลาที่เจ้าหนี้ได้รู้ตน้ เหตุอนั
เป็ นมูลให้เพิกถอนหรื อพ้นสิ บปีนับแต่ได้ทานิติกรรมนั้น

You might also like