You are on page 1of 90

แนวข้อสอบ : พระราชบัญญัติระเบียบบริ หารราชการแผ่นดิน

1. การบริ หารราชการแผ่นดิน ของประเทศไทย ใช้หลักการในข้อใด


ก. รวมอานาจ ข.กระจายอานาจ
ค. แบ่งอานาจ ง. ถูกทุกข้อ

2. ข้อใดเป็ นหลักการในการบริ หารราชการตาม พ.ร.บ. ระเบียบบริ หารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 และที่


แก้ไขเพิม่ เติม
ก. เพื่อกระจายอานาจตัดสิ นใจ
ข. เพื่อลดภารกิจและยุบเลิกหน่วยงานที่ไมจาเป็ น
ค. เพื่อประโยชน์สุขของประชาชน
ง. ถูกทุกข้อ

3. พ.ร.บ. ระเบียบบริ หารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 ได้วา่ งแนวทางการจัดสรรงบประมาณและการบรรจุ


แต่งตั้ง บุคคลเข้าดารงตาแหน่ง หรื อปฏิบตั ิหน้าที่ตาม พ.ร.บ. จะต้องเป็ นไปตามหลักการใด
ก. ความเทาเทียมกัน ข. ความเสมอภาค
ค. ความมีประสิ ทธิภาพ ง. ถูกทุกข้อ

4. การจัดระเบียบบริ หารราชการแผ่นดิน มีรูปแบบใด


ก. กระทรวง ทบวง กรม
ข. ส่ วนกลาง ส่ วนภูมิภาค ส่ วนท้องถิ่น
ค. จังหวัด อาเภอ กิ่งอาเภอ ตาบล หมู่บา้ น
ง. ถูกทุกข้อ

5. การกาหนดตาแหน่งและอัตราเงินเดือน ของส่ วนราชการต่าง ๆ ตาม พ.ร.บ. ระเบียบบริ หารราชการ


แผ่นดิน พ.ศ. 2534 จะต้องคานึงถึงอะไร
ก. ประสิ ทธิภาพของบุคคล
ข. ภารกิจที่รับผิดชอบมีความสาคัญเพียงใด
ค. คุณภาพและปริ มาณของส่ วนราชการนั้น ๆ
ง. ถูกทุกข้อ
6. ข้อใดเป็ นการบริ หารราชการส่ วนกลาง
ก. ทบวง
ข. กระทรวง
ค. ส่ วนราชการที่ชื่อเรี ยกอย่างอื่นมีฐานะเป็ นกรม แต่ไมได้สังกัดกระทรวงหรื อทบวง
ง. ถูกทุกข้อ

7. ส่ วนราชการใด มีฐานะเป็ นนิติบุคคล


ก. สานักนายกรัฐมนตรี
ข. ทบวง ซึ่ งสังกัดสานักนายกรัฐมนตรี
ค. กรมสงเสริ มการปกครองท้องถิ่น
ง. ถูกทุกข้อ

8. การจัดการจัดตั้ง การรวม การโอน กระทรวง ทบวง กรม จะต้องตราเป็ นกฎหมายในลาดับใด


ก. กฎกระทรวง ข. พระราชกฤษฎีกา
ค. พระราชกาหนด ง. พระราชบัญญัติ

9. ข้อใดไม่ถูกต้อง
ก. การโอนส่ วนราชการเข้าด้วยกันถ้าไม่มีการกาหนดตาแหน่งหรื ออัตรากาลังของส่ วนราชการหรื อ
ลูกจ้างเพิ่มขึ้นให้ตราเป็ นพระราชกฤษฎีกา
ข. การเปลี่ยนชื่อส่ วนราชการที่มีฐานะเป็ นกรมให้ตราเป็ นพระราชกฤษฎีกา
ค. ให้สานักงานข้าราชการพลเรื อน และสานักงานพัฒนาระบบราชการมีหน้าที่การตรวจสอบดูแลมิ
ให้ส่วนราชการที่มีพระราชกฤษฎีกาให้รวมหรื อโอนเข้าด้วยกัน กาหนดตาแหน่งหรื ออัตรากาลังของ
ข้าราชการหรื อลูกจ้างเพิ่มจนกว่าจะครบสามปี นับแต่วนั ที่พระราชกฤษฎีกามีผลบังคับใช้
ง. ทุกข้อกล่าวถูกต้อง

10. หน่วยงานใดมีหน้าที่ในการตรวจสอบดูแล ส่ วนราชการที่จดั ตั้งขึ้นใหม่_มิให้มีการกาหนดตาแหน่งหรื อ


อัตรากาลังของข้าราชการหรื อลูกจ้างเพิ่มขึ้นจนกว่าจะครบสามปี
ก. สานักงานพัฒนาระบบราชการ และสานักงบประมาณ
ข. สานักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรื อน และสานักงบประมาณ
ค. สานักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรื อน และสานักงานพัฒนาระบบราชการ
ง. สานักงบประมาณ และสานักงานพัฒนาระบบราชการ
11. หากกรมส่ งเสริ มการปกครองท้องถิ่น จะเปลี่ยนชื่อเป็ นกรมท้องถิ่นจะต้องตราเป็ นกฎหมายใด
ก. พระราชบัญญัติ ข. กฎกระทรวง
ค. พระราชกาหนด ง. พระราชกฤษฎีกา

12. กรณี ที่กรมส่ งเสริ มการปกครองท้องถิ่น หมดความจาเป็ น หากต้องการที่จะยุบกรมดังกล่าว จะต้องตรา


เป็ นกฎหมายใด
ก. พระราชบัญญัติ ข. กฎกระทรวง
ค. พระราชกาหนด ง. พระราชกฤษฎีกา

13. การแบ่งส่ วนราชการภายในกรม จะต้องตราเป็ นกฎหมายข้อใด


ก. พระราชบัญญัติ ข. กฎกระทรวง
ค. พระราชกาหนด ง. พระราชกฤษฎีกา

14. ข้อใดกล่าวผิดเกี่ยวกับการยุบเลิกกรม
ก. ตราเป็ นพระราชกฤษฎีกา
ข. ให้งบประมาณรายจ่ายที่เหลืออยูข่ องกรมนั้นตกเป็ นงบกลาง
ค. ทรัพย์สินอื่นของกรมนั้นให้โอนแก่ส่วนราชการอื่นตามที่กาหนดไว้ในกฏกระทรวง
ง. ข้อ ข.และข้อ ค.

15. หน่วยงานใด มีหน้าที่เสนอความเห็นต่อคณะรัฐมนตรี ให้แบ่งส่ วนราชการภายในของกรมส่ งเสริ มการ


ปกครองท้องถิ่น
ก. สานักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรื อนและสานักงบประมาณ
ข. สานักนายกรัฐมนตรี
ค. คณะกรรมการข้าราชการพลเรื อน
ง. สานักงานรัฐมนตรี

16. บุคคลใดเป็ นผูร้ ับผิดชอบในการกาหนดนโยบายเป้ าหมาย และผลสัมฤทธิ์ ของงานในสานัก


นายกรัฐมนตรี
ก. รัฐมนตรี วา่ การกระทรวงมหาดไทย ข. รองนายกรัฐมนตรี
ค. รัฐมนตรี ประจาสานักนายกรัฐมนตรี ง. นายกรัฐมนตรี
17. กรณี ที่นายกรัฐมนตรี ตาย ขาดคุณสมบัติ ต้องคาพิพากษาให้จาคุก หรื อศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยว่าความ
เป็ นรัฐมนตรี ของนายกสิ้ นสุ ดลงในระหว่างที่รอคณะรัฐมนตรี ชุดใหม่เข้ามารับหน้าที่น้ นั คณะรัฐมนตรี ชุด
เดิมจะต้องทาอย่างไร
ก. มอบหมายให้รัฐมนตรี คนใดคนหนึ่งรักษาราชการแทนนายกรัฐมนตรี
ข. มอบหมายให้รัฐมนตรี คนใดคนหนึ่งปฏิบตั ิราชการแทนนายกรัฐมนตรี
ค. มอบหมายให้รองนายกรัฐมนตรี คนใดคนหนึ่งปฏิบตั ิหน้าที่แทนนายกรัฐมนตรี แล้วแต่กรณี
ง. มอบหมายให้รองนายกรัฐมนตรี คนใดคนหนึ่งปฏิบตั ิหน้าที่แทนนายกรัฐมนตรี

18. ข้อใดถูกต้องเกี่ยวกับอานาจนายกรัฐมนตรี ในฐานะหัวหน้ารัฐบาล กาหนดไว้ในมาตราใดและมีกี่ขอ้


ก. มาตรา 9 จานวน 11 ข้อ
ข. มาตรา 11 จานวน 8 ข้อ
ค. มาตรา 10 จานวน 10 ข้อ
ง. มาตรา 11 จานวน 9 ข้อ

19. ข้อใดกล่าวผิดเกี่ยวกับอานาจหน้าที่ของนายกรัฐมนตรี ในฐานะผูน้ ารัฐบาล


ก. สัง่ ให้ราชการส่ วนกลางรายงานการปฏิบตั ิราชการ
ข. สั่งให้ราชการส่ วนท้องถิ่นรายงานการปฏิบตั ิราชการ
ค. สั่งให้ราชการส่ วนภูมิภาคชี้แจงแสดงความคิดเห็น
ง. สั่งสอบสวนข้อเท็จจริ งเกี่ยวกับการปฏิบตั ิราชการของราชการส่ วนท้องถิ่น

20. นายกรัฐมนตรี สามารถยังยั้งการปฏิบตั ิราชการของหน่วยงานราชการใดบ้าง หากหน่วยงานราชการนั้น


ปฏิบตั ิราชการขัดต่อนโยบายของรัฐบาล
ก. ราชการส่ วนท้องถิ่น ข. ราชการส่ วนภูมิภาค
ค. ราชการส่ วนกลาง ง. ถูกทุกข้อ

21. นายกรัฐมนตรี สามารถยับยั้งการปฏิบตั ิราชการของส่ วนราชการท้องถิ่นได้ในกรณี ใด


ก. สามารถยับยั้งได้ถา้ ราชการส่ วนท้องถิ่นตามหลักการปกครองประเทศ
ข. กรณี ที่ราชการส่ วนท้องถิ่นปฏิบตั ิราชการขัดตอนโยบายหรื อมติของคณะรัฐมนตรี
ค. ยับยั้งได้หากราชการส่ วนท้องถิ่นกระทาการก่อให้เกิดความเสี ยหายต่อราชการ
ง. ถูกทุกข้อ
22. ข้อใดมิได้เป็ นอานาจของนายกรัฐมนตรี
ก. มีอานาจบังคับบัญชาปลัดกระทรวงกลาโหม
ข. มีอานาจบังคับบัญชาปลัดสานักนายกรัฐมนตรี
ค. มีอานาจบังคับบัญชาผูว้ า่ การไฟฟ้ าสวนภูมิภาค
ง. ถูกทุกข้อ

23. ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้อง
ก. นายกรัฐมนตรี มีอานาจสั่งให้ขา้ ราชการกรมสงเสริ มการปกครองท้องถิ่นมาปฏิบตั ิราชการสานัก
นายกรัฐมนตรี โดยให้ขาดจากอัตราเงินเดือนทางสังกัดเดิม
ข. นายกรัฐมนตรี มีอานาจสั่งให้ขา้ ราชการกระทรวงมหาดไทย มาปฏิบตั ิราชการสานัก
นายกรัฐมนตรี โดยอัตราเงินเดือนไมขาดจากทางสังกัดเดิม
ค. แต่งตั้งอธิ บดีกรมทางหลวงชนบทไปดารงตาแหน่งอธิ บดีกรมการปกครองโดยอนุ มตั ิ
คณะรัฐมนตรี
ง. แต่งตั้งอธิ บดีกรมส่ งเสริ มการปกครองท้องถิ่น ไปดารงตาแหน่งอธิ บดีกรมการปกครอง โดยให้
รับเงินเดือนจากกรมการปกครอง

24. ระเบียบปฏิบตั ิราชการที่นายกรัฐมนตรี ได้วา่ งขึ้น เพื่อการบริ หารราชการแผ่นดิน เป็ นไปโดยรวดเร็ วและ
มีประสิ ทธิ ภาพตามระเบียบบริ หารราชการแผ่นดิน กาหนดให้มีผลใช้บงั คับเมื่อใด
ก. ประกาศในราชกิจจานุ เบกษาแล้ว
ข. มีผลบังคับใช้ตามวันที่ระบุไว้ในระเบียบ และได้ประกาศในราชกิจจานุเบกษาแล้ว
ค. มีผลบังคับใช้ทนั ทีที่นายกรัฐมนตรี ในฐานะหัวหน้ารัฐบาลลงนามในคาสัง่
ง. เมื่อคณะรัฐมนตรี ให้ความเห็นชอบแล้ว

25. บุคคลตามข้อใด เป็ นข้าราชการเมือง


ก. เลขาธิการนายกรัฐมนตรี
ข. รองเลขาธิการนายกรัฐมนตรี ฝ่ายบริ หาร
ค. รองเลขาธิการนายกรัฐมนตรี ฝ่ายการเมือง
ง. ถูกเฉพาะข้อ ก. และข้อ ข.

26. สานักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี มีอานาจหน้าที่ในเรื่ องใด


ก. ราชการทางการเมือง ข. ราชการในสภาผูแ้ ทนราษฎร
ค. ราชการของรัฐสภา ง. ถูกเฉพาะข้อ ก. และ ข้อ ค.
27. บุคคลตามข้อใดต่อไปนี้ อาจเป็ นข้าราชการพลเรื อนสามัญ
ก. เลขาธิการคณะรัฐมนตรี ข. รองเลขาธิการคณะรัฐมนตรี
ค. ผูช้ ่วยเลขาธิ การคณะรัฐมนตรี ง. ถูกทุกข้อ

28. ข้อใดมิใช้อานาจของปลัดสานักนายกรัฐมนตรี
ก. รับผิดชอบควบคุมราชการประจาในสานักนายกรัฐมนตรี
ข. รับผิดชอบกาหนดแนวทางและแผนปฏิบตั ิราชการของสานักนายกรัฐมนตรี
ค. เป็ นผูบ้ งั คับบัญชาข้าราชการในสานักงานปลัดสานักนายกรัฐมนตรี
ง. เป็ นผูบ้ งั คับบัญชาข้าราชการสู งสุ ดของส่ วนราชการในสานักนายกรัฐมนตรี ยกเว้นข้าราชการของ
สวนราชการซึ่ งหัวหน้าส่ วนราชการขึ้นตรงตอนายกรัฐมนตรี

29. ตาแหน่งใดระเบียบบริ หารราชการแผ่นดิน มิได้กาหนดไว้


ก. ผูช้ ่วยเลขาธิ การนายกรัฐมนตรี
ข. ผูช้ ่วยเลขาธิ การคณะรัฐมนตรี
ค. ผูช้ ่วยปลัดสานักนายกรัฐมนตรี
ง. ผูช้ ่วยปลัดกระทรวง

30. คณะกรมการจังหวัดประกอบด้วย .........................เป็ นประธาน รองผูว้ า่ ราชการจังหวัดหนึ่งคนตามที่


ผูว้ า่ ราชการจังหวัดมอบหมาย ปลัดจังหวัด อัยการจังหวัดซึ่งเป็ นหัวหน้าที่ทาการอัยการจังหวัด ผูบ้ งั คับการ
ตารวจภูธรจังหวัด และหัวหน้าส่ วนราชการประจา จังหวัดจากกระทรวงและทบวงต่างๆ เว้นแต่
กระทรวงมหาดไทยซึ่ งประจาอยูใ่ นจังหวัด กระทรวง หรื อทบวงละหนึ่งคน เป็ นกรมการจังหวัดและหัวหน้า
สานักงานจังหวัดเป็ นกรมการจังหวัดและเลขานุการ
ก. รัฐมนตรี กระทรวงมหาดไทย ข. ปลัดกระทรวงมหาดไทย
ค. อธิบดีกรมการปกครอง ง. ผูว้ า่ ราชการจังหวัด

31. การจัดตั้งสานักนโยบายและแผน เป็ นส่ วนราชการภายในกระทรวง จะสามารถกระทาได้โดยวิธีใด


ก. ออกเป็ นกฎกระทรวง
ข. ตราเป็ นพระราชกฤษฎีกา
ค. ออกเป็ นพระราชกาหนด
ง. ออกเป็ นระเบียบบริ หารราชการโดยอนุมตั ิคณะรัฐมนตรี
32. การจัดระเบียบราชการของกระทรวง ตาม พ.ร.บ. ระเบียบบริ หารราชการแผ่นดิน(ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2545
ตาแหน่งใดไม่ได้ถูกกาหนดไว้
ก. ผูช้ ่วยเลขานุการรัฐมนตรี
ข. ผูช้ ่วยปลัดสานักนายกรัฐมนตรี
ค. หัวหน้าสานักงานรัฐมนตรี
ง. ผูช้ ่วยปลัดกระทรวง

33. การกาหนดในส่ วนราชการระดับกรมตั้งแต่สองกรมขึ้นไป อยูภ่ ายใต้กลุ่มภารกิจเดียวกัน สามารถกระทา


ได้โดยอาศัยกฎหมายใด
ก. พระราชกฤษฎีกา ข. กฎกระทรวง
ค. มติคณะรัฐมนตรี ง. เป็ นไปตามกฎหมายว่าด้วยการปรับปรุ งกระทรวง ทบวง กรม

34. ในการกาหนดให้ส่วนราชการระดับกรมตั้งแต่สองกรมขึ้นไปอยูใ่ นกลุ่มภารกิจเดียวกันนั้น หัวหน้ากลุ่ม


ภารกิจรับผิดชอบราชการและบังคับบัญชาข้าราชการ จะต้องเป็ นผูด้ ารงตาแหน่งใด
ก. รองปลัดกระทรวง ข. ผูช้ ่วยปลัดกระทรวง
ค. อธิบดี ง. ถูกทุกข้อ

35. การปฏิบตั ิราชการของ หัวหน้ากลุ่มภารกิจ ขึ้นตรงต่อบุคคลใด


ก. รัฐมนตรี
ข. ปลัดกระทรวง
ค. รองปลัดกระทรวง
ง. รัฐมนตรี หรื อปลัดกระทรวงก็ได้ แล้วแต่จะกาหนดไว้ในกฎกระทรวง

36. บุคคลที่มีหน้าที่ในการวางแผนและประสานกิจกรรมให้มีการใช้ทรัพยากรของส่ วนราชการต่างๆ ใน


กระทรวงร่ วมกัน เพื่อให้เกิดประสิ ทธิ ภาพ ตามมติและเป้ าหมายของกระทรวง ได้แก่
ก. รัฐมนตรี วา่ การกระทรวง ข. นายกรัฐมนตรี
ค. รัฐมนตรี ช่วยว่าการกระทรวง ง. หัวหน้ากลุ่มภารกิจ

37. ตาม พ.ร.บ. ระเบียบบริ หารราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2545 หากกระทรวงใดมิได้จดั ให้มีกลุ่ม
ภารกิจ และปริ มาณงานมาก จะสามารถมีรองปลัดกระทรวงได้กี่คน
ก. 1 ข. 2 คน
ค. 3 คน ง. 4 คน
38. ในกรณี ที่ไม่มีผดู ้ ารงตาแหน่งรัฐมนตรี วา่ การกระทรวงหรื อมีแต่ไม่อาจปฏิบตั ิราชการได้ ให้
........................เป็ นผูร้ ักษาราชการแทน ถ้ามีรัฐมนตรี ช่วยว่าการกระทรวงหลายคน ให้คณะรัฐมนตรี
มอบหมายให้รัฐมนตรี ช่วยว่าการกระทรวงคนใดคนหนึ่งเป็ นผูร้ ักษาราชการแทน ถ้าไม่_มีผดู ้ ารงตาแหน่ง
รัฐมนตรี ช่วยว่าการกระทรวงหรื อมีแต่ไม่อาจปฏิบตั ิราชการได้ ให้คณะรัฐมนตรี มอบหมายให้
.............................เป็ นผูร้ ักษาราชการแทน
ก. รัฐมนตรี ชวยว่าการกระทรวง/รัฐมนตรี คนใดคนหนึ่ง
ข. รัฐมนตรี คนใดคนหนึ่ง/รองนายกรัฐมนตรี คนใดคนหนึ่ง
ค. รัฐมนตรี ชวยว่าการกระทรวง/รัฐมนตรี ประจาสานักนายกรัฐมนตรี
ง.. รองนายกรัฐมนตรี /รัฐมนตรี คนใดคนหนึ่ง

39. ให้มีคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการคณะหนึ่ง เรี ยกโดยย่อว่า“ก.พ.ร.” ประกอบด้วย......................


ใครเป็ นประธาน รัฐมนตรี หนึ่งคนที่นายกรัฐมนตรี กาหนดเป็ นรองประธาน ผูซ้ ่ ึงคณะกรรมการการกระจาย
อานาจให้แก่องค์กรปกครองส่ วนท้องถิ่นมอบหมายหนึ่งคน และกรรมการผูท้ รงคุณวุฒิไม่เกินสิ บคน ซึ่ง
คณะรัฐมนตรี แต่งตั้งจากผูม้ ีความรู ้ความเชี่ยวชาญในทางด้านนิติศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ รัฐศาสตร์ การบริ หาร
รัฐกิจ การบริ หารธุ รกิจ การเงินการคลัง จิตวิทยาองค์การ และสังคมวิทยาอย่างน้อยด้านละหนึ่งคน
ก. นายกรัฐมนตรี หรื อรองนายกรัฐมนตรี ที่นายกรัฐมนตรี มอบหมายเป็ นประธาน
ข. นายกรัฐมนตรี หรื อรัฐมนตรี ที่นายกรัฐมนตรี มอบหมายเป็ นประธาน
ค. รองนายกรัฐมนตรี ที่คณะรัฐมนตรี เห็นชอบให้ประธาน
ง. ถูกทุกข้อ

40. กรรมการผูท้ รงคุณวุฒิของก.พ.ร. มีวาระการดารงตาแหน่งคราวละ.............ปี ผูซ้ ่ ึ งพ้นจากตาแหน่งแล้ว


อาจได้รับแต่งตั้งอีกได้แต่ไม่เกิน.........ติดต่อกัน
ก. 2 ปี /สองวาระ ข. 3 ปี /สองวาระ
ค. 4 ปี /สองวาระ ง. 5 ปี /สองวาระ

41. ในการจัดระเบียบราชการของกระทรวง ส่ วนราชการใดอาจมีหรื อไม่มีก็ได้


ก. สานักงานปลัดกระทรวง ข. สานักนายกรัฐมนตรี
ค. กรม ง. แผนก

42. สานักงานรัฐมนตรี มีอานาจหน้าที่เกี่ยวกับเรื่ องใด


ก. ราชการทัว่ ไปของกระทรวง
ข. ราชการทางเมือง
ค. ราชการที่มิได้กาหนดให้เป็ นหน้าที่ของกรมหนึ่งกรมใดโดยเฉพาะ
ง. ถูกทุกข้อ
43. สานักงานรัฐมนตรี มาจากชื่อเดิมของหน่วยงานใด
ก. สานักเลขาธิการรัฐมนตรี ข. สานักปลัดสานักนายกรัฐมนตรี
ค. สานักงานเลขานุการรัฐมนตรี ง. สานักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี

44. ใครเป็ นผูบ้ งั คับบัญชาข้าราชการและรับผิดชอบในการปฏิบตั ิราชการของกรมให้เกิดผลสัมฤทธิ์ และ


เป็ นไปตามเป้ าหมาย แนวทาง และแผนการปฏิบตั ิราชการของกระทรวง
ก. ปลัดกระทรวง ข. รองปลัดกระทรวง
ค. อธิบดี ง. ผูว้ า่ ราชการจังหวัด

45. สานักงานเลขานุการกรมมีอานาจหน้าที่เกี่ยวกับราชการทัว่ ไปของกรม และราชการที่มิได้แยกให้เป็ น


หน้าที่ของกองหรื อส่ วนราชการใดโดยเฉพาะมี……………………เป็ นผูบ้ งั คับบัญชาข้าราชการ และ
รับผิดชอบในการปฏิบตั ิราชการของสานักงานเลขานุการกรม
ก. อธิบดี ข. ผูอ้ านวยการ
ค. หัวหน้าแผนก ง. เลขานุการกรม

46. กระทรวง ทบวง กรมใดมีเหตุพิเศษ จะแบ่งท้องที่ออกเป็ นเขตเพื่อให้มีหวั หน้าส่ วนราชการประจาเขต


แล้วแต่จะเรี ยกชื่อเพื่อปฏิบตั ิงานทางวิชาการ ต้องตราเป็ นกฎหมายใด
ก. พระราชบัญญัติ ข. พระราชกาหนด
ค. กฎกระทรวง ง. พระราชกฤษฎีกา

47. การมอบอานาจในการสัง่ การอนุญาต การอนุมตั ิ การปฏิบตั ิราชการหรื อการดาเนินการอื่นที่ผดู้ ารง


ตาแหน่งใดจะพึงปฏิบตั ิหรื อดาเนินการตามกฎหมาย กฎ ระเบียบ ประกาศ หรื อคาสั่งใด หรื อมติของ
คณะรัฐมนตรี ในเรื่ องใด การมอบอานาจให้ทาเป็ นอะไร
ก. คาสั่งด้วยวาจา
ข. หนังสื อ
ค. ทาเป็ นคาสัง่ และประกาศในราชกิจจานุเบกษา
ง. ขออนุมตั ิคณะรัฐมนตรี ก่อน แล้วทาเป็ นคาสั่ง

48. ให้หน่วยบริ การรู ปแบบพิเศษ มีหน้าที่ปฏิบตั ิงานให้กบั ส่ วนราชการตามภารกิจที่จดั ตั้งหน่วยบริ การ


รู ปแบบพิเศษนั้นเป็ นหลัก และสนับสนุนภารกิจอื่นของส่ วนราชการดังกล่าวตามที่ได้รับมอบหมาย และอาจ
ให้บริ การแก่ส่วนราชการอื่น หน่วยงานของรัฐหรื อเอกชน แต่ตอ้ งไม่กระทบกระเทือนต่อภารกิจอันเป็ น
วัตถุประสงค์แห่งการจัดตั้ง ให้รายได้ของหน่วยบริ การรู ปแบบพิเศษเป็ นรายได้ที่...............................
ก. ไม่ตอ้ งนาสงคลังตามกฎหมายว่าด้วยวิธีการงบประมาณและกฎหมายว่าด้วยเงินคงคลัง
ข. ต้องนาสงคลังตามกฎหมายว่าด้วยวิธีการงบประมาณและกฎหมายว่าด้วยเงินคงคลัง
ค. ไม่ตอ้ งนาส่ งสานักงบประมาณตามกฎหมายว่าด้วยวิธีการงบประมาณและกฎหมายว่าด้วยเงินคงคลัง
ง. ต้องนาส่ งสานักงบประมาณตามกฎหมายว่าด้วยวิธีการงบประมาณและกฎหมายว่าด้วยเงินคงคลัง

49. ในกรณี ที่นายกรัฐมนตรี ไม่อาจปฏิบตั ิราชการได้ ให้รองนายกรัฐมนตรี เป็ นผูร้ ักษาราชการแทน ถ้ามีรอง
นายกรัฐมนตรี หลายคน ให้........................มอบหมายให้รองนายกรัฐมนตรี คนใดคนหนึ่งเป็ นผูร้ ักษาราชการ
แทน ถ้าไม่มีผดู ้ ารงตาแหน่งรองนายกรัฐมนตรี หรื อมีแต่ไม่อาจปฏิบตั ิราชการได้ ให้คณะรัฐมนตรี
มอบหมายให้รัฐมนตรี คนใดคนหนึ่งเป็ นผูร้ ักษาราชการแทน
ก. นายกรัฐมนตรี ประชุมมอบหมาย ข. รองนายกรัฐมนตรี
ค. ขอความเห็นชอบคณะรัฐมนตรี ง. คณะรัฐมนตรี

50. การจัดระเบียบบริ หารราชการส่ วนภูมิภาค ประกอบด้วย


ก. จังหวัด อาเภอ กิ่งอาเภอ ตาบล
ข. จังหวัด อาเภอ ตาบล หมู่บา้ น
ค. จังหวัด อาเภอ
ง. จังหวัด อาเภอ องค์กรปกครองส่ วนท้องถิ่น

51. ให้รวมท้องที่หลายๆ อาเภอตั้งขึ้นเป็ นจังหวัดมีฐานะเป็ น.......................การตั้ง ยุบ และเปลี่ยนแปลงเขต


จังหวัด ให้ตราเป็ น................................
ก. สวนภูมิภาค / พระราชบัญญัติ
ข. นิติบุคคล / พระราชบัญญัติ
ค. สวนภูมิภาค / พระราชกฤษฎีกา
ง. นิติบุคคล / พระราชกฤษฎีกา

52. ข้อใดไม่ใช่อานาจของจังหวัดภายในเขตจังหวัด ดังต่อไปนี้


ก. นาภารกิจของรัฐและนโยบายของรัฐบาลไปปฏิบตั ิให้เกิดผลสัมฤทธิ์
ข. ดูแลให้มีการปฏิบตั ิและบังคับการให้เป็ นไปตามกฎหมาย เพื่อให้เกิดความสงบเรี ยบร้อยและเป็ น
ธรรมในสังคม
ค. จัดให้มีการบริ การภาครัฐเพื่อให้ประชาชนสามารถเข้าถึงได้อย่างเสมอ รวดเร็ วและมีคุณภาพ
ง. สงเสริ มการพัฒนาสตรี เด็กและเยาวชน ผูส้ ู งอายุและพิการ
53. ข้อใดเป็ นอานาจของผูว้ า่ ราชการจังหวัด
ก. บริ หารราชการตามกฎหมาย ระเบียบแบบแผนของทางราชการ และตามแผนพัฒนาจังหวัด
ข. บริ หารราชการตามที่คณะรัฐมนตรี กระทรวง ทบวง กรม มอบหมายหรื อตามที่นายกรัฐมนตรี สั่ง
การในฐานะหัวหน้ารัฐบาล
ค. บริ หารราชการตามคาแนะนาและคาชี้แจงของผูต้ รวจราชการกระทรวงในเมื่อไมขัดต่อกฎหมาย
ระเบียบ ข้อบังคับ หรื อคาสั่งของกระทรวง ทบวง กรม มติของคณะรัฐมนตรี หรื อการสั่งการของ
นายกรัฐมนตรี
ง. ถูกทุกข้อ

54. ใครเป็ นผูบ้ งั คับบัญชาในสานักงานจังหวัด


ก. ผูว้ า่ ราชการจังหวัด ข. รัฐมนตรี วา่ การกระทรวงมหาดไทย
ค. เสมียนจังหวัด ง. หัวหน้าสานักงานจังหวัด

55. ในจังหวัดหนึ่งให้มีหน่วยราชการบริ หารรองจากจังหวัดเรี ยกว่าอาเภอ การตั้ง ยุบ และเปลี่ยนเขตอาเภอ


ให้ตราเป็ น…………………………………
ก. พระราชบัญญัติ
ข. ระเบียบกระทรวงมหาดไทย
ค. พระราชกฤษฎีกา
ง. พระราชกาหนด

56. ข้อใดไม่ใช่อานาจของนายอาเภอ
ก. บริ หารราชการตามกฎหมายและระเบียบแบบแผนของทางราชการ ถ้ากฎหมายใดมิได้บญั ญัติวา่
การปฏิบตั ิตามกฎหมายนั้นเป็ นหน้าที่ของผูใ้ ดโดยเฉพาะ ให้เป็ นหน้าที่ของนายอาเภอที่จะต้องรักษาการให้
เป็ นไปตามกฎหมายนั้นด้วย
ข. บริ หารราชการตามที่คณะรัฐมนตรี กระทรวง ทบวง กรม มอบหมายหรื อตามที่นายกรัฐมนตรี สั่ง
การในฐานะหัวหน้ารัฐบาล
ค. ควบคุมดูแลการบริ หารราชการส่ วนท้องถิ่นในอาเภอตามกฎหมาย
ง. บรรจุ แต่งตั้ง ให้บาเหน็จ และลงโทษข้าราชการส่ วนภูมิภาค
57.การจัดระเบียบบริ หารราชการส่ วนท้องถิ่น ดังนี้
(1)องค์การบริ หารส่ วนจังหวัด
(2)เทศบาล
(3) …………………….
(4)ราชการส่ วนท้องถิ่นอื่นตามที่มีกฎหมายกาหนด
ก. องค์การบริ หารส่ วนตาบล ข. สภานครเทศบาล
ค. เมืองพัทยา ง. สุ ขาภิบาล

58. ให้มีคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการคณะหนึ่ง เรี ยกโดยย่อว่า“ก.พ.ร.” ประกอบด้วยนายกรัฐมนตรี


หรื อรองนายกรัฐมนตรี ที่นายกรัฐมนตรี มอบหมายเป็ นประธาน รัฐมนตรี หนึ่งคนที่นายกรัฐมนตรี กาหนด
เป็ นรองประธาน ผูซ้ ่ ึ งคณะกรรมการการกระจายอานาจให้แก่องค์กรปกครองส่ วนท้องถิ่นมอบหมายหนึ่ง
คน และกรรมการผูท้ รงคุณวุฒิไม่เกินสิ บคน ซึ่ งคณะรัฐมนตรี แต่งตั้งจากผูม้ ีความรู ้ความเชี่ยวชาญใน
ทางด้านนิติศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ รัฐศาสตร์ การบริ หารรัฐกิจ การบริ หารธุ รกิจ การเงินการคลัง จิตวิทยา
องค์การ และสังคมวิทยาอย่างน้อยด้านละหนึ่งคน ในกรณี ที่มีความจาเป็ นเพื่อให้การปฏิบตั ิงานบรรลุผล
คณะรัฐมนตรี จะกาหนดให้กรรมการผูท้ รงคุณวุฒิไม่นอ้ ยกว่าสามคนแต่ไม่เกินห้าคนต้องทางานเต็มเวลาก็
ได้ เลขาธิการ ก.พ.ร.เป็ นกรรมการและเลขานุการโดยตาแหน่ง ปัจจุบนั ใครเป็ นเลขาธิการ ก.พ.ร.
ก. นายบวรศักดิ์ อุวรรณโณ
ข. นายวิษณุ เครื องาม
ค. นายโภคิน พลกุล
ง. นางสาวอ้อนฟ้ า เวชชาชีวะ

59. เมื่อตาแหน่งกรรมการผูท้ รงคุณวุฒิของก.พ.ร. ว่างลงก่อนวาระ ให้ดา เนินการแต่งตั้งกรรมการ


ผูท้ รงคุณวุฒิภายใน............... เว้นแต่วาระของกรรมการผูท้ รงคุณวุฒิเหลือไม่ถึงหนึ่งร้อยแปดสิ บวันจะไม่
ก. 15 วัน ข. 45 วัน ค. 60 วัน ง. 70 วัน

60. การประชุม ก.พ.ร. ต้องมีกรรมการมาประชุม....................ของจานวนกรรมการทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ จึงจะ


เป็ นองค์ประชุม
ก. ไมน้อยกว่ากึ่งหนึ่ง ไมรวมผูท้ รงคุณวุฒิที่ทางานไมเต็มเวลา
ข. ไมน้อยกว่ากึ่งหนึ่ง ไมว่าผูท้ รงคุณวุฒิที่ทางานเต็มเวลาหรื อไม
ค. ไมน้อยกว่ากึ่งหนึ่ง
ง. สามในสี่ ของกรรมการทั้งหมด
61. สานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ เป็ นส่ วนราชการใด
ก. สานักนายกรัฐมนตรี ข. สานักปลัดนายกรัฐมนตรี
ค. สานักงานข้าราชการพลเรื อน ง. ไมมีขอ้ ใดถูก

62. ข้อใดไม่ใช่อานาจหน้าที่ ของ ก.พ.ร.


ก. เสนอแนะและให้คาปรึ กษาแก่นายกรัฐมนตรี เกี่ยวกับนโยบายและยุทธศาสตร์ การบริ หาร
ทรัพยากรบุคคลภาครัฐในด้านมาตรฐานคาตอบแทน การบริ หารและการพัฒนาทรัพยากรบุคคล รวมตลอด
ทั้งการว่างแผนกาลังคนและด้านอื่น ๆ เพื่อให้ส่วนราชการใช้เป็ นแนวทางในการดาเนิ นการ
ข. เสนอแนะและให้คาปรึ กษาแกหน่วยงานอื่นของรัฐที่มิได้อยูใ่ นกากับของราชการฝ่ ายบริ หาร
ตามที่หน่วยงานดังกล่าวร้องขอ
ค. ดาเนินการให้มีการชี้ แจงทาความเข้าใจแก่ส่วนราชการและเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องและประชาชน
ทัว่ ไปรวมตลอดทั้งการฝึ กอบรม
ง. ถูกทุกข้อ
เฉลย แนวข้อสอบ : พระราชบัญญัติระเบียบบริ หารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534
และแก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 8) พ.ศ. 2553
1.ตอบ “ข้อ ง. ถูกทุกข้อ”
อธิ บายราชการแผ่นดิน นั้น ที่ประเทศตาง ๆ ทัว่ โลกนิยมใช้ มีอยู่ 3 หลักการด้วยกัน คือ
1. หลักการรวมอานาจ (Centralization)
2. หลักการแบ่งอานาจ (Deconcentralization)
3. หลักการกระจายอานาจ (Decentralization)
1.การรวมอานาจ เป็ นหลักการปกครองที่รวมอานาจที่สาคัญไว้ในส่ วนกลาง อานาจดังกล่าว ได้แก่การ
วินิจฉัยสัง่ การและการบังคับบัญชา ซึ่ งผลในการสัง่ การจะมีอานาจครอบคลุมทัว่ ประเทศ ทาให้เกิดระเบียบ
บริ หารราชการส่ วนกลาง หรื อรัฐบาลกลาง ซึ่งมีอานาจสู งสุ ดในการปกครองประเทศลักษณะสาคัญของการ
รวมอานาจ มี 5 ประการ คือ
1. กาลังทหารและตารวจขึ้นอยูก่ บั ส่ วนกลาง
2. การวินิจฉัยสั่งการขึ้นอยูก่ บั ส่ วนกลาง
3. มีการบังคับบัญชาตามลาดับชั้น
4. ส่ วนกลางเป็ นผูก้ าหนดนโยบายในการปกครองประเทศ
5. อานาจในการต่างประเทศ ส่ วนกลางเป็ นผูก้ าหนด
ข้อดีของหลักการรวมอานาจ
1. ทาให้เกิดความมัน่ คง
2. ทาให้เกิดการประหยัด
3. สามารถบริ การประชาชนโดยเสมอหน้า
4. ทาให้เกิดเอกภาพ (Unity) ในทางปกครอง
ข้อเสี ยของหลักการรวมอานาจ
1.ไม่สามารถดาเนินกิจการทุกอย่างให้ได้ผลดีทวั่ ท้องที่ได้ในขณะเดียวกัน
2.ทาให้เกิดความล่าช้าในการวินิจฉัยสั่งการ
3.ไม่สอดคล้องกับระบอบประชาธิ ปไตย
4.ไม่อาจสนองความต้องการของแต่ละท้องถิ่นได้อย่างแท้จริ ง
2.การแบ่งอานาจ หมายถึงการบริ หารราชการ ที่สวนกลางได้จดั แบ่งอานาจในการวินิจฉัยสั่งการบางส่ วน
หรื อบางขั้นตอนไปให้เจ้าหน้าที่ที่เป็ นตัวแทนของหน่วยงานของตน ซึ่ งออกไปประจาอยูใ่ นเขตการปกครอง
ต่าง ๆ ของประเทศให้วนิ ิจฉัยสั่งการได้เองตามระเบียบแบบแผนที่ส่วนกลางกาหนดไว้ การแบ่งอานาจทา
ให้เกิดระเบียบบริ หารราชการส่ วนภูมิภาค
ลักษณะสาคัญของการแบ่งอานาจ
1.ต้องมีราชการบริ หารส่ วนกลาง
2.ต้องมีเจ้าหน้าที่เป็ นตัวแทนของส่ วนกลาง
3.ส่ วนกลางแบ่งอานาจให้สวนภูมิภาค
ข้อดีของการแบ่งอานาจ
1.เป็ นก้าวแรกที่จะนาไปสู การกระจายอานาจ
2. ทาให้สวนกลางกับสวนท้องถิ่นมีการประสานงานกันดี
3. ทาให้การปฏิบตั ิราชการรวดเร็ วยิง่ ขึ้น
4. มีประโยชน์สาหรับประเทศที่ประชาชนยังขาดสานึกในการปกครองตนเอง
ข้อเสี ยของการแบ่งอานาจ
1. เป็ นอุปสรรคในการพัฒนาระบอบประชาธิปไตย
2. ก่อให้เกิดความล่าช้า
3.ก่อให้เกิดความไม่เป็ นธรรมแก่ทอ้ งถิ่น
3. การกระจายอานาจ หมายถึง การโอนอานาจในทางการปกครองจากส่ วนกลางบางอย่าง ไปให้ประชาชน
ในท้องถิ่นดาเนินการเอง โดยมีอิสระพอสมควร ภายใต้บทบัญญัติของกฎหมาย การกระจายอานาจทาให้เกิด
ระเบียบบริ หารราชการสวนท้องถิ่น
ลักษณะสาคัญของการกระจายอานาจ
1. เป็ นองค์กรที่มีฐานะเป็ นนิติบุคคล
2. มีสภาและผูบ้ ริ หารระดับท้องถิ่น
3. มีอิสระในการปกครองตนเอง (อยูภ่ ายในขอบเขตที่กฎหมายกาหนด)
4. มีงบประมาณและรายได้ของตนเอง
5. มีเจ้าหน้าที่ปฏิบตั ิงานของตนเอง
อนึ่ง หน่วยการปกครองสวนท้องถิ่น มิได้เป็ นหน่วยภายใต้บงั คับบัญชาของส่ วนกลางเหมือนการปกครอง
ส่ วนภูมิภาค
ข้อดีของหลักการกระจายอานาจ
1. สามารถสนองความต้องการของท้องถิ่นได้ดียงิ่ ขึ้น
2. เป็ นการแบ่งเบาภาระของส่ วนกลาง
3. กระตุน้ ให้ประชาชนเข้ามามีสวนรวมทางการเมือง
ข้อเสี ยของหลักการกระจายอานาจ
1.อาจเป็ นภัยต่อเอกภาพทางการปกครองและความมัน่ คงของประเทศ
2.ทาให้ราษฎรเพ็งเล็งเห็นประโยชน์ของท้องถิ่นสาคัญกว่าส่ วนรวม
3.เจ้าหน้าที่ที่ได้รับการเลือกตั้งอาจใช้อานาจหน้าที่โดยไม่เหมาะสม
4. ยอมทาให้เกิดความสิ้ นเปลืองมากกว่า
2.ตอบ “ข้อ ง. ถูกทุกข้อ”
อธิบายตาม พระราชบัญญัติระเบียบบริ หารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 และแก้ไขเพิ่มเติม(ฉบับที่ 8) พ.ศ.
2553
มาตรา 3/1 การบริ หารราชการตามพระราชบัญญัติน้ ีตอ้ งเป็ นไปเพื่อประโยชน์สุขของประชาชน
เกิดผลสัมฤทธิ์ ต่อภารกิจของรัฐ ความมีประสิ ทธิภาพ ความคุม้ ค่าในเชิงภารกิจแหงรัฐ การลดขั้นตอนการ
ปฏิบตั ิงานการลดภารกิจและยุบเลิกหน่วยงานที่ไมจาเป็ น การกระจายภารกิจและทรัพยากรให้แก่ทอ้ งถิ่น
การกระจายอานาจตัดสิ นใจ การอานวยความสะดวก และการตอบสนองความต้องการของประชาชน ทั้งนี้
โดยมีผรู ้ ับผิดชอบต่อผลของงานการจัดสรรงบประมาณ และการบรรจุและแต่งตั้งบุคคลเข้าดารงตาแหน่ง
หรื อปฏิบตั ิหน้าที่ตอ้ งคานึงถึงหลักการตามวรรคหนึ่งในการปฏิบตั ิหน้าที่ของส่ วนราชการ ต้องใช้วธิ ีการ
บริ หารกิจการบ้านเมืองที่ดีโดยเฉพาะอย่างยิง่ ให้คานึงถึงความรับผิดชอบของผูป้ ฏิบตั ิงาน การมีสวนรวม
ของประชาชน การเปิ ดเผยข้อมูล การติดตามตรวจสอบและประเมินผลการปฏิบตั ิงาน ทั้งนี้ ตามความ
เหมาะสมของแต่ละภารกิจเพื่อประโยชน์ในการดาเนินการให้เป็ นไปตามมาตรานี้ จะตราพระราชกฤษฎีกา
กาหนดหลักเกณฑ์และวิธีการในการปฏิบตั ิราชการและการสั่งการให้ส่วนราชการและข้าราชการปฏิบตั ิก็ได้

3.ตอบ “ข้อ ง. ความมีประสิ ทธิภาพ”


อธิบายตาม พระราชบัญญัติระเบียบบริ หารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 และแก้ไขเพิ่มเติม(ฉบับที่ 8) พ.ศ.
2553
มาตรา 3/1 การบริ หารราชการตามพระราชบัญญัติน้ ีตอ้ งเป็ นไปเพื่อประโยชน์สุขของประชาชน
เกิดผลสัมฤทธิ์ ต่อภารกิจของรัฐ ความมีประสิ ทธิภาพ ความคุม้ ค่าในเชิงภารกิจแหงรัฐ การลดขั้นตอนการ
ปฏิบตั ิงานการลดภารกิจและยุบเลิกหน่วยงานที่ไมจาเป็ น การกระจายภารกิจและทรัพยากรให้แก่ทอ้ งถิ่น
การกระจายอานาจตัดสิ นใจ การอานวยความสะดวก และการตอบสนองความต้องการของประชาชน ทั้งนี้
โดยมีผรู ้ ับผิดชอบต่อผลของงานการจัดสรรงบประมาณ และการบรรจุและแต่งตั้งบุคคลเข้าดารงตาแหน่ง
หรื อปฏิบตั ิหน้าที่ตอ้ งคานึงถึงหลักการตามวรรคหนึ่งในการปฏิบตั ิหน้าที่ของส่ วนราชการ ต้องใช้วธิ ีการ
บริ หารกิจการบ้านเมืองที่ดีโดยเฉพาะอย่างยิง่ ให้คานึงถึงความรับผิดชอบของผูป้ ฏิบตั ิงาน การมีส่วนร่ วม
ของประชาชน การเปิ ดเผยข้อมูล การติดตามตรวจสอบและประเมินผลการปฏิบตั ิงาน ทั้งนี้ ตามความ
เหมาะสมของแต่ละภารกิจเพื่อประโยชน์ในการดาเนินการให้เป็ นไปตามมาตรานี้ จะตราพระราชกฤษฎีกา
กาหนดหลักเกณฑ์และวิธีการในการปฏิบตั ิราชการและการสั่งการให้ส่วนราชการและข้าราชการปฏิบตั ิก็ได้

4.ตอบ “ข้อ ข. ส่ วนกลาง ส่ วนภูมิภาค ส่ วนท้องถิ่น”


อธิบายตาม พระราชบัญญัติระเบียบบริ หารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 และแก้ไขเพิ่มเติม(ฉบับที่ 8) พ.ศ.
2553
มาตรา 4 ให้จดั ระเบียบบริ หารราชการแผ่นดิน ดังนี้
(1) ระเบียบบริ หารราชการส่ วนกลาง
(2) ระเบียบบริ หารราชการส่ วนภูมิภาค
(3) ระเบียบบริ หารราชการส่ วนท้องถิ่น

5.ตอบ “ข้อ ค. คุณภาพและปริ มาณของส่ วนราชการนั้น ๆ”


อธิบายตาม พระราชบัญญัติระเบียบบริ หารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 และแก้ไขเพิ่มเติม(ฉบับที่ 8) พ.ศ.
2553
มาตรา 5 การแบ่งราชการออกเป็ นสวนตางๆ ตามที่บญั ญัติไว้ในพระราชบัญญัติน้ ี ให้กาหนด
ตาแหน่งและอัตราเงินเดือนโดยคานึงถึงคุณภาพและปริ มาณงานของส่ วนราชการนั้นๆ ไว้ดว้ ยการบรรจุและ
การแต่งตั้งบุคคลให้ดารงตาแหน่งหน้าที่ราชการตางๆ ให้เป็ นไปตามกฎหมาย

6.ตอบ “ข้อ ง. ถูกทุกข้อ”


อธิบายตาม พระราชบัญญัติระเบียบบริ หารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 และแก้ไขเพิม่ เติม(ฉบับที่ 8) พ.ศ.
2553
มาตรา 7 ให้จดั ระเบียบบริ หารราชการส่ วนกลาง ดังนี้
(1) สานักนายกรัฐมนตรี
(2) กระทรวง หรื อทบวงซึ่งมีฐานะเทียบเทากระทรวง
(3) ทบวง ซึ่ งสังกัดสานักนายกรัฐมนตรี หรื อกระทรวง
(4) กรม หรื อส่ วนราชการที่เรี ยกชื่ออย่างอื่นและมีฐานะเป็ นกรม ซึ่ งสังกัดหรื อไม่
สังกัดสานักนายกรัฐมนตรี กระทรวงหรื อทบวงสานักนายกรัฐมนตรี มีฐานะเป็ นกระทรวงส่ วนราชการตาม
(1) (2) (3) และ (4) มีฐานะเป็ นนิติบุคคล

7.ตอบ “ข้อ ง. ถูกทุกข้อ”


อธิบายตาม พระราชบัญญัติระเบียบบริ หารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 และแก้ไขเพิ่มเติม(ฉบับที่ 8) พ.ศ.
2553
มาตรา 7 ให้จดั ระเบียบบริ หารราชการส่ วนกลาง ดังนี้
(1) สานักนายกรัฐมนตรี
(2) กระทรวง หรื อทบวงซึ่ งมีฐานะเทียบเท่ากระทรวง
(3) ทบวง ซึ่ งสังกัดสานักนายกรัฐมนตรี หรื อกระทรวง
(4) กรม หรื อส่ วนราชการที่เรี ยกชื่ออย่างอื่นและมีฐานะเป็ นกรม ซึ่ งสังกัดหรื อไมสังกัดสานัก
นายกรัฐมนตรี กระทรวงหรื อทบวง
สานักนายกรัฐมนตรี มีฐานะเป็ นกระทรวง
ส่ วนราชการตาม (1) (2) (3) และ (4) มีฐานะเป็ นนิติบุคคล

8.ตอบ “ข้อ ง. พระราชบัญญัติ”


อธิบายตาม พระราชบัญญัติระเบียบบริ หารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 และแก้ไขเพิ่มเติม(ฉบับที่ 8) พ.ศ.
2553
มาตรา 8 การจัดตั้ง การรวม หรื อการโอนส่ วนราชการตามมาตรา 7 ให้ตราเป็ นพระราชบัญญัติการ
จัดตั้งทบวงโดยให้สังกัดสานักนายกรัฐมนตรี หรื อกระทรวง ให้ระบุการสังกัดไว้ในพระราชบัญญัติดว้ ยการ
จัดตั้งกรมหรื อส่ วนราชการที่เรี ยกชื่ออย่างอื่นและมีฐานะเป็ นกรม ซึ่ งไม่สังกัดสานักนายกรัฐมนตรี
กระทรวง หรื อทบวง ให้ระบุการไม่สังกัดไว้ในพระราชบัญญัติดว้ ย
มาตรา 7 ให้จดั ระเบียบบริ หารราชการส่ วนกลาง ดังนี้
(1) สานักนายกรัฐมนตรี
(2) กระทรวง หรื อทบวงซึ่งมีฐานะเทียบเทากระทรวง
(3) ทบวง ซึ่ งสังกัดสานักนายกรัฐมนตรี หรื อกระทรวง
(4) กรม หรื อส่ วนราชการที่เรี ยกชื่ออย่างอื่นและมีฐานะเป็ นกรม ซึ่ งสังกัดหรื อไม่สังกัดสานัก
นายกรัฐมนตรี กระทรวงหรื อทบวง
สานักนายกรัฐมนตรี มีฐานะเป็ นกระทรวง
ส่ วนราชการตาม (1) (2) (3) และ (4) มีฐานะเป็ นนิติบุคคล

9.ตอบ “ข้อ ค. ให้สานักงานข้าราชการพลเรื อน และสานักงานพัฒนาระบบราชการมีหน้าที่การตรวจสอบ


ดูแลมิให้ส่วนราชการที่มีพระราชกฤษฎีกาให้รวมหรื อโอนเข้าด้วยกัน กาหนดตาแหน่งหรื ออัตรากาลังของ
ข้าราชการหรื อลูกจ้างเพิ่มจนกว่าจะครบสามปี นับแต่วนั ที่พระราชกฤษฎีกามีผลบังคับใช้”อธิบายตาม
พระราชบัญญัติระเบียบบริ หารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 และแก้ไขเพิ่มเติม(ฉบับที่ 8) พ.ศ. 2553
มาตรา 8 ทวิ การรวมหรื อการโอนส่ วนราชการตามมาตรา ๗ ไม่วา่ จะมีผลเป็ นการจัดตั้งส่ วน
ราชการขึ้นใหม่หรื อไม่ ถ้าไม่มีการกาหนดตาแหน่งหรื ออัตราของข้าราชการหรื อลูกจ้างเพิ่มขึ้นให้ตราเป็ น
พระราชกฤษฎีกาพระราชกฤษฎีกาตามวรรคหนึ่ง ให้ระบุอานาจหน้าที่ของส่ วนราชการ การโอนอานาจ
หน้าที่ตามบทบัญญัติแหงกฎหมาย ซึ่ งส่ วนราชการหรื อเจ้าพนักงานที่มีอยูเ่ ดิม การโอนข้าราชการและ
ลูกจ้าง งบประมาณรายจ่าย รวมทั้งทรัพย์สินและหนี้สินเอาไว้ดว้ ย แล้วแต่กรณี ให้สานักงานคณะกรรมการ
ข้าราชการพลเรื อนและสานักงบประมาณมีหน้าที่ตรวจสอบดูแลมิให้มีการกาหนดตาแหน่งหรื ออัตราของ
ข้าราชการหรื อลูกจ้างของส่ วนราชการที่จดั ตั้งขึ้นใหม่ หรื อที่ถูกรวมหรื อโอนไปตามวรรคหนึ่ง เพิ่มขึ้น
จนกว่าจะครบกาหนดสามปี นับแต่วนั ที่พระราชกฤษฎีกาตามวรรคหนึ่งมีผลใช้บงั คับ
มาตรา 8 ตรี การเปลี่ยนชื่อส่ วนราชการตามมาตรา 7 ให้ตราเป็ นพระราชกฤษฎีกา และในกรณี ที่ชื่อ
ตาแหน่งของข้าราชการในส่ วนราชการนั้นเปลี่ยนไปให้ระบุการเปลี่ยนชื่อไว้ในพระราชกฤษฎีกาด้วย
บทบัญญัติแห่งกฎหมาย กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ เทศบัญญัติหรื อข้อบัญญัติทอ้ งถิ่นอื่น ประกาศ หรื อคาสั่งใด
ที่อา้ งถึงส่ วนราชการหรื อตาแหน่งของข้าราชการที่ได้ถูกเปลี่ยนชื่อตามวรรคหนึ่ง ให้ถือว่าบทบัญญัติแห่ง
กฎหมาย กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ เทศบัญญัติหรื อข้อบัญญัติทอ้ งถิ่นอื่น ประกาศหรื อคาสั่งนั้นอ้างถึงส่ วน
ราชการหรื อตาแหน่งของข้าราชการที่ได้เปลี่ยนชื่อนั้น
มาตรา 8 จัตวา การยุบส่ วนราชการตามมาตรา 7 ให้ตราเป็ นพระราชกฤษฎีกา
เมื่อมีพระราชกฤษฎีกายุบส่ วนราชการตามวรรคหนึ่งแล้ว ให้งบประมาณรายจ่ายที่เหลืออยูข่ องส่ วนราชการ
นั้นเป็ นอันระงับไป สาหรับทรัพย์สินอื่นของส่ วนราชการนั้นให้โอนให้แกส่ วนราชการอื่นหรื อหน่วยงาน
อื่นของรัฐ ตามที่รัฐมนตรี ซ่ ึ งเป็ นผูร้ ักษาการตามพระราชกฤษฎีกาตามวรรคหนึ่งกาหนดโดยความเห็นชอบ
ของคณะรัฐมนตรี สาหรับวิธีการจัดการกิจการ สิ ทธิ และหนี้สินของส่ วนราชการนั้นให้เป็ นไปตามที่กาหนด
ในพระราชกฤษฎีกาข้าราชการหรื อลูกจ้างซึ่ งต้องพ้นจากราชการเพราะเหตุยบุ ตาแหน่ง อันเนื่องมาแต่การ
ยุบส่ วนราชการตามวรรคหนึ่ ง นอกเหนือจากสิ ทธิประโยชน์ที่พึงได้รับตามกฎหมายหรื อระเบียบข้อบังคับ
อื่นแล้ว ให้ขา้ ราชการหรื อลูกจ้างได้รับเงินชดเชยตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่กาหนดในพระราชกฤษฎีกา
ตามวรรคหนึ่งด้วยในกรณี ที่ส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจหรื อหน่วยงานอื่นของรัฐประสงค์จะรับโอนข้าราชการ
หรื อลูกจ้างตามวรรคสามก็ให้กระทาได้โดยมิให้ถือว่าข้าราชการหรื อลูกจ้างผูน้ ้ นั ได้พน้ จากราชการตาม
วรรคสาม แต่ท้ งั นี้ ตอ้ งกระทาภายในสามสิ บวันนับแต่พระราชกฤษฎีกาตามวรรคหนึ่งมีผลใช้บงั คับ
มาตรา 7 ให้จดั ระเบียบบริ หารราชการส่ วนกลาง ดังนี้
(1) สานักนายกรัฐมนตรี
(2) กระทรวง หรื อทบวงซึ่ งมีฐานะเทียบเท่ากระทรวง
(3) ทบวง ซึ่ งสังกัดสานักนายกรัฐมนตรี หรื อกระทรวง
(4) กรม หรื อส่ วนราชการที่เรี ยกชื่ออย่างอื่นและมีฐานะเป็ นกรม ซึ่ งสังกัดหรื อไม่สังกัดสานัก
นายกรัฐมนตรี กระทรวงหรื อทบวง
สานักนายกรัฐมนตรี มีฐานะเป็ นกระทรวง
ส่ วนราชการตาม (1) (2) (3) และ (4) มีฐานะเป็ นนิติบุคคล

10.ตอบ “ข้อ ข. สานักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรื อน และสานักงบประมาณ”


อธิบายตาม พระราชบัญญัติระเบียบบริ หารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 และแก้ไขเพิ่มเติม(ฉบับที่ 8) พ.ศ.
2553
มาตรา 8 ทวิ การรวมหรื อการโอนส่ วนราชการตามมาตรา ๗ ไม่วา่ จะมีผลเป็ นการจัดตั้งส่ วน
ราชการขึ้นใหม่หรื อไม่ ถ้าไม่มีการกาหนดตาแหน่งหรื ออัตราของข้าราชการหรื อลูกจ้างเพิม่ ขึ้นให้ตราเป็ น
พระราชกฤษฎีกาพระราชกฤษฎีกาตามวรรคหนึ่ง ให้ระบุอานาจหน้าที่ของส่ วนราชการ การโอนอานาจ
หน้าที่ตามบทบัญญัติแหงกฎหมาย ซึ่ งส่ วนราชการหรื อเจ้าพนักงานที่มีอยูเ่ ดิม การโอนข้าราชการและ
ลูกจ้าง งบประมาณรายจ่าย รวมทั้งทรัพย์สินและหนี้สินเอาไว้ดว้ ย แล้วแต่กรณี ให้สานักงานคณะกรรมการ
ข้าราชการพลเรื อนและสานักงบประมาณมีหน้าที่ตรวจสอบดูแลมิให้มีการกาหนดตาแหน่งหรื ออัตราของ
ข้าราชการหรื อลูกจ้างของส่ วนราชการที่จดั ตั้งขึ้นใหม่ หรื อที่ถูกรวมหรื อโอนไปตามวรรคหนึ่ง เพิม่ ขึ้น
จนกว่าจะครบกาหนดสามปี นับแต่วนั ที่พระราชกฤษฎีกาตามวรรคหนึ่งมีผลใช้บงั คับ

11.ตอบ “ข้อ ง. พระราชกฤษฎีกา”


อธิบายตาม พระราชบัญญัติระเบียบบริ หารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 และแก้ไขเพิ่มเติม(ฉบับที่ 8) พ.ศ.
2553
มาตรา 8 ตรี การเปลี่ยนชื่อส่ วนราชการตามมาตรา 7 ให้ตราเป็ นพระราชกฤษฎีกา และในกรณี ที่ชื่อ
ตาแหน่งของข้าราชการในส่ วนราชการนั้นเปลี่ยนไปให้ระบุการเปลี่ยนชื่อไว้ในพระราชกฤษฎีกาด้วย
บทบัญญัติแหงกฎหมาย กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ เทศบัญญัติหรื อข้อบัญญัติทอ้ งถิ่นอื่น ประกาศ หรื อคาสั่งใด
ที่อา้ งถึงส่ วนราชการหรื อตาแหน่งของข้าราชการที่ได้ถูกเปลี่ยนชื่อตามวรรคหนึ่ง ให้ถือว่าบทบัญญัติแห่ง
กฎหมาย กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ เทศบัญญัติหรื อข้อบัญญัติทอ้ งถิ่นอื่น ประกาศหรื อคาสัง่ นั้นอ้างถึงส่ วน
ราชการหรื อตาแหน่งของข้าราชการที่ได้เปลี่ยนชื่อนั้น
มาตรา 7 ให้จดั ระเบียบบริ หารราชการส่ วนกลาง ดังนี้
(1) สานักนายกรัฐมนตรี
(2) กระทรวง หรื อทบวงซึ่งมีฐานะเทียบเทากระทรวง
(3) ทบวง ซึ่ งสังกัดสานักนายกรัฐมนตรี หรื อกระทรวง
(4) กรม หรื อส่ วนราชการที่เรี ยกชื่ออย่างอื่นและมีฐานะเป็ นกรม ซึ่ งสังกัดหรื อไมสังกัดสานัก
นายกรัฐมนตรี กระทรวงหรื อทบวงสานักนายกรัฐมนตรี มีฐานะเป็ นกระทรวง
ส่ วนราชการตาม (1) (2) (3) และ (4) มีฐานะเป็ นนิติบุคคล

12.ตอบ “ข้อ ง. พระราชกฤษฎีกา”


อธิบายตาม พระราชบัญญัติระเบียบบริ หารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 และแก้ไขเพิ่มเติม(ฉบับที่ 8) พ.ศ.
2553
มาตรา 8 จัตวา การยุบส่ วนราชการตามมาตรา 7 ให้ตราเป็ นพระราชกฤษฎีกา
เมื่อมีพระราชกฤษฎีกายุบส่ วนราชการตามวรรคหนึ่งแล้ว ให้งบประมาณรายจ่ายที่เหลืออยูข่ องส่ วนราชการ
นั้นเป็ นอันระงับไป สาหรับทรัพย์สินอื่นของส่ วนราชการนั้นให้โอนให้แกส่ วนราชการอื่นหรื อหน่วยงาน
อื่นของรัฐ ตามที่รัฐมนตรี ซ่ ึ งเป็ นผูร้ ักษาการตามพระราชกฤษฎีกาตามวรรคหนึ่งกาหนดโดยความเห็นชอบ
ของคณะรัฐมนตรี สาหรับวิธีการจัดการกิจการ สิ ทธิ และหนี้สินของส่ วนราชการนั้นให้เป็ นไปตามที่กาหนด
ในพระราชกฤษฎีกาข้าราชการหรื อลูกจ้างซึ่ งต้องพ้นจากราชการเพราะเหตุยบุ ตาแหน่ง อันเนื่องมาแต่การ
ยุบส่ วนราชการตามวรรคหนึ่ ง นอกเหนือจากสิ ทธิประโยชน์ที่พึงได้รับตามกฎหมายหรื อระเบียบข้อบังคับ
อื่นแล้ว ให้ขา้ ราชการหรื อลูกจ้างได้รับเงินชดเชยตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่กาหนดในพระราชกฤษฎีกา
ตามวรรคหนึ่งด้วยในกรณี ที่ส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจหรื อหน่วยงานอื่นของรัฐประสงค์จะรับโอนข้าราชการ
หรื อลูกจ้างตามวรรคสามก็ให้กระทาได้โดยมิให้ถือว่าข้าราชการหรื อลูกจ้างผูน้ ้ นั ได้พน้ จากราชการตาม
วรรคสาม แต่ท้ งั นี้ ตอ้ งกระทาภายในสามสิ บวันนับแต่พระราชกฤษฎีกาตามวรรคหนึ่งมีผลใช้บงั คับ
มาตรา 7 ให้จดั ระเบียบบริ หารราชการส่ วนกลาง ดังนี้
(1) สานักนายกรัฐมนตรี
(2) กระทรวง หรื อทบวงซึ่งมีฐานะเทียบเทากระทรวง
(3) ทบวง ซึ่ งสังกัดสานักนายกรัฐมนตรี หรื อกระทรวง
(4) กรม หรื อส่ วนราชการที่เรี ยกชื่ออย่างอื่นและมีฐานะเป็ นกรม ซึ่ งสังกัดหรื อไม่สังกัดสานัก
นายกรัฐมนตรี กระทรวงหรื อทบวงสานักนายกรัฐมนตรี มีฐานะเป็ นกระทรวง
ส่ วนราชการตาม (1) (2) (3) และ (4) มีฐานะเป็ นนิติบุคคล

13.ตอบ “ข้อ ข. กฎกระทรวง”


อธิบายตาม พระราชบัญญัติระเบียบบริ หารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 และแก้ไขเพิ่มเติม(ฉบับที่ 8) พ.ศ.
2553
มาตรา 8 ฉ การแบ่งส่ วนราชการภายในสานักงานรัฐมนตรี กรม หรื อส่ วนราชการที่เรี ยกชื่ออย่างอื่น
และมีฐานะเป็ นกรม ให้ออกเป็ นกฎกระทรวงและให้ระบุอานาจหน้าที่ของแต่ละส่ วนราชการไว้ใน
กฎกระทรวงด้วยให้รัฐมนตรี เจ้าสังกัดของส่ วนราชการตามวรรคหนึ่งเป็ นผูอ้ อกกฎกระทรวงแบ่งส่ วน
ราชการดังกล่าวกฎกระทรวงนั้นเมื่อได้ประกาศในราชกิจจานุเบกษาแล้วให้ใช้บงั คับได้

14.ตอบ “ข้อ ข. ให้งบประมาณรายจ่ายที่เหลืออยูข่ องกรมนั้นตกเป็ นงบกลาง”


อธิบายตาม พระราชบัญญัติระเบียบบริ หารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 และแก้ไขเพิ่มเติม(ฉบับที่ 8) พ.ศ.
2553
มาตรา 8 จัตวา การยุบส่ วนราชการตามมาตรา ๗ ให้ตราเป็ นพระราชกฤษฎีกา
เมื่อมีพระราชกฤษฎีกายุบส่ วนราชการตามวรรคหนึ่งแล้ว ให้งบประมาณรายจ่ายที่เหลืออยูข่ องส่ วนราชการ
นั้นเป็ นอันระงับไป สาหรับทรัพย์สินอื่นของส่ วนราชการนั้นให้โอนให้แกส่ วนราชการอื่นหรื อหน่วยงาน
อื่นของรัฐ ตามที่รัฐมนตรี ซ่ ึ งเป็ นผูร้ ักษาการตามพระราชกฤษฎีกาตามวรรคหนึ่งกาหนดโดยความเห็นชอบ
ของคณะรัฐมนตรี สาหรับวิธีการจัดการกิจการ สิ ทธิ และหนี้สินของส่ วนราชการนั้นให้เป็ นไปตามที่กาหนด
ในพระราชกฤษฎีกาข้าราชการหรื อลูกจ้างซึ่ งต้องพ้นจากราชการเพราะเหตุยบุ ตาแหน่ง อันเนื่องมาแต่การ
ยุบส่ วนราชการตาม
วรรคหนึ่ง นอกเหนือจากสิ ทธิประโยชน์ที่พึงได้รับตามกฎหมายหรื อระเบียบข้อบังคับอื่นแล้ว ให้ขา้ ราชการ
หรื อลูกจ้างได้รับเงินชดเชยตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่กาหนดในพระราชกฤษฎีกาตามวรรคหนึ่งด้วยใน
กรณี ที่ส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจหรื อหน่วยงานอื่นของรัฐประสงค์จะรับโอนข้าราชการหรื อลูกจ้างตามวรรค
สามก็ให้กระทาได้โดยมิให้ถือว่าข้าราชการหรื อลูกจ้างผูน้ ้ นั ได้พน้ จากราชการตามวรรคสาม แต่ท้ งั นี้ตอ้ ง
กระทาภายในสามสิ บวันนับแต่พระราชกฤษฎีกาตามวรรคหนึ่งมีผลใช้บงั คับ

15. ตอบ “ข้อ ก


อธิบายตาม พระราชบัญญัติระเบียบบริ หารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 และแก้ไขเพิ่มเติม(ฉบับที่ 8) พ.ศ.
2553
มาตรา 8 สัตต ให้สานักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรื อนและสานักงบประมาณรวมกันเสนอ
ความเห็นต่อคณะรัฐมนตรี ในการแบ่งส่ วนราชการภายในและในการกาหนดอานาจหน้าที่ของแต่ละส่ วน
ราชการตามมาตรา 8 ฉ ในการเสนอความเห็นดังกล่าวให้สานักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรื อนจัด
อัตรากาลัง และสานักงบประมาณจัดสรรเงินงบประมาณให้สอดคล้องเสนอไปในคราวเดียวกัน
มาตรา 8 ฉ การแบ่งส่ วนราชการภายในสานักงานรัฐมนตรี กรม หรื อส่ วนราชการที่เรี ยกชื่ออย่างอื่น
และมีฐานะเป็ นกรม ให้ออกเป็ นกฎกระทรวงและให้ระบุอานาจหน้าที่ของแต่ละส่ วนราชการไว้ใน
กฎกระทรวงด้วยให้รัฐมนตรี เจ้าสังกัดของส่ วนราชการตามวรรคหนึ่งเป็ นผูอ้ อกกฎกระทรวงแบ่งส่ วน
ราชการดังกล่าวกฎกระทรวงนั้นเมื่อได้ประกาศในราชกิจจานุเบกษาแล้วให้ใช้บงั คับได้

16.ตอบ “ข้อ ง.นายกรัฐมนตรี ”


อธิบายตาม พระราชบัญญัติระเบียบบริ หารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 และแก้ไขเพิ่มเติม(ฉบับที่ 8) พ.ศ.
2553
มาตรา 10 สานักนายกรัฐมนตรี มีอานาจหน้าที่ตามที่กาหนดไว้ในกฎหมายว่าด้วยการปรับปรุ ง
กระทรวงทบวง กรมสานักนายกรัฐมนตรี มีนายกรัฐมนตรี เป็ นผูบ้ งั คับบัญชาข้าราชการและรับผิดชอบใน
การกาหนดนโยบายเป้ าหมาย และผลสัมฤทธิ์ ของงานในสานักนายกรัฐมนตรี ให้สอดคล้องกับนโยบายที่
คณะรัฐมนตรี แถลงไว้ต่อรัฐสภาหรื อที่คณะรัฐมนตรี กาหนดหรื ออนุมตั ิ โดยจะให้มีรองนายกรัฐมนตรี และ
รัฐมนตรี ประจาสานักนายกรัฐมนตรี เป็ นผูช้ ่วยสัง่ และปฏิบตั ิราชการก็ได้ในกรณี ที่มีรองนายกรัฐมนตรี หรื อ
รัฐมนตรี ประจาสานักนายกรัฐมนตรี หรื อมีท้ งั รองนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรี ประจาสานักนายกรัฐมนตรี
การสั่งและการปฏิบตั ิราชการของรองนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรี ประจาสานักนายกรัฐมนตรี ให้เป็ นไป
ตามที่นายกรัฐมนตรี มอบหมายในระหว่างที่คณะรัฐมนตรี ตอ้ งอยูใ่ นตาแหน่งเพื่อปฏิบตั ิหน้าที่ต่อไปจนกว่า
คณะรัฐมนตรี ที่ต้ งั ขึ้นใหม่จะเข้ารับหน้าที่เพราะนายกรัฐมนตรี ตาย ขาดคุณสมบัติ ต้องคาพิพากษาให้จาคุก
สภาผูแ้ ทนราษฎรมีมติไม่ไว้วางใจ
ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยว่าความเป็ นรัฐมนตรี ของนายกรัฐมนตรี สิ้นสุ ดลง หรื อวุฒิสภามีมติให้ถอดถอนจาก
ตาแหน่งให้คณะรัฐมนตรี มอบหมายให้รองนายกรัฐมนตรี คนใดคนหนึ่งเป็ นผูป้ ฏิบตั ิหน้าที่แทน
นายกรัฐมนตรี ถ้าไม่มีผดู ้ ารงตาแหน่งรองนายกรัฐมนตรี หรื อมีแต่ไมอาจปฏิบตั ิราชการได้ ให้คณะรัฐมนตรี
มอบหมายให้รัฐมนตรี คนใดคนหนึ่งเป็ นผูป้ ฏิบตั ิหน้าที่แทน
ในระหว่างที่คณะรัฐมนตรี ตอ้ งอยูใ่ นตาแหน่งเพื่อปฏิบตั ิหน้าที่ต่อไปจนกว่าคณะรัฐมนตรี ที่ต้ งั ขึ้นใหม่จะเข้า
รับหน้าที่ ให้คณะรัฐมนตรี ดงั กล่าวอานวยความสะดวกให้หวั หน้าส่ วนราชการตางๆ ดาเนินการใดๆ เทาที่
จาเป็ น เพื่อรับแนวทางการบริ หารราชการแผ่นดิน จากนายกรัฐมนตรี คนใหม่มาเตรี ยมการดาเนิ นการได้

17.ตอบ “ข้อ ง. มอบหมายให้รองนายกรัฐมนตรี คนใดคนหนึ่งปฏิบตั ิหน้าที่แทนนายกรัฐมนตรี ”


อธิบายตาม พระราชบัญญัติระเบียบบริ หารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 และแก้ไขเพิ่มเติม(ฉบับที่ 8) พ.ศ.
2553
มาตรา 10 สานักนายกรัฐมนตรี มีอานาจหน้าที่ตามที่กาหนดไว้ในกฎหมายว่าด้วยการปรับปรุ ง
กระทรวงทบวง กรมสานักนายกรัฐมนตรี มีนายกรัฐมนตรี เป็ นผูบ้ งั คับบัญชาข้าราชการและรับผิดชอบใน
การกาหนดนโยบายเป้ าหมาย และผลสัมฤทธิ์ ของงานในสานักนายกรัฐมนตรี ให้สอดคล้องกับนโยบายที่
คณะรัฐมนตรี แถลงไว้ต่อรัฐสภาหรื อที่คณะรัฐมนตรี กาหนดหรื ออนุมตั ิ โดยจะให้มีรองนายกรัฐมนตรี และ
รัฐมนตรี ประจาสานักนายกรัฐมนตรี เป็ นผูช้ ่วยสัง่ และปฏิบตั ิราชการก็ได้ในกรณี ที่มีรองนายกรัฐมนตรี หรื อ
รัฐมนตรี ประจาสานักนายกรัฐมนตรี หรื อมีท้ งั รองนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรี ประจาสานักนายกรัฐมนตรี
การสั่งและการปฏิบตั ิราชการของรองนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรี ประจาสานักนายกรัฐมนตรี ให้เป็ นไป
ตามที่นายกรัฐมนตรี มอบหมายในระหว่างที่คณะรัฐมนตรี ตอ้ งอยูใ่ นตาแหน่งเพื่อปฏิบตั ิหน้าที่ต่อไปจนกว่า
คณะรัฐมนตรี ที่ต้ งั ขึ้นใหม่จะเข้ารับหน้าที่เพราะนายกรัฐมนตรี ตาย ขาดคุณสมบัติ ต้องคาพิพากษาให้จาคุก
สภาผูแ้ ทนราษฎรมีมติไมไว้วางใจศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยว่าความเป็ นรัฐมนตรี ของนายกรัฐมนตรี สิ้นสุ ดลง
หรื อวุฒิสภามีมติให้ถอดถอนจากตาแหน่งให้คณะรัฐมนตรี มอบหมายให้รองนายกรัฐมนตรี คนใดคนหนึ่ง
เป็ นผูป้ ฏิบตั ิหน้าที่แทนนายกรัฐมนตรี ถ้าไม่มีผดู ้ ารงตาแหน่งรองนายกรัฐมนตรี หรื อมีแต่ไมอาจปฏิบตั ิ
ราชการได้ ให้คณะรัฐมนตรี มอบหมายให้รัฐมนตรี คนใดคนหนึ่งเป็ นผูป้ ฏิบตั ิหน้าที่แทนในระหว่างที่
คณะรัฐมนตรี ตอ้ งอยูใ่ นตาแหน่งเพื่อปฏิบตั ิหน้าที่ต่อไปจนกว่าคณะรัฐมนตรี ที่ต้ งั ขึ้นใหม่จะ
เข้ารับหน้าที่ ให้คณะรัฐมนตรี ดงั กล่าวอานวยความสะดวกให้หวั หน้าส่ วนราชการตางๆ ดาเนินการใดๆ เทา
ที่จาเป็ น เพื่อรับแนวทางการบริ หารราชการแผ่นดิน จากนายกรัฐมนตรี คนใหม่มาเตรี ยมการดาเนิ นการได้

18.ตอบ “ข้อ ง. มาตรา 11 จานวน 9 ข้อ”


อธิบายตาม พระราชบัญญัติระเบียบบริ หารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 และแก้ไขเพิ่มเติม(ฉบับที่ 8) พ.ศ.
2553
มาตรา 11 นายกรัฐมนตรี ในฐานะหัวหน้ารัฐบาลมีอานาจหน้าที่ ดังนี้
(1) กากับโดยทัว่ ไปซึ่ งการบริ หารราชการแผ่นดิน เพื่อการนี้จะสั่งให้ราชการส่ วนกลาง ราชการส่ วนภูมิภาค
และส่ วนราชการซึ่ งมีหน้าที่ควบคุมราชการส่ วนท้องถิ่น ชี้แจง แสดงความคิดเห็น ทารายงานเกี่ยวกับการ
ปฏิบตั ิราชการ ในกรณี จาเป็ นจะยับยั้งการปฏิบตั ิราชการใดๆ ที่ขดั ตอนโยบายหรื อมติของคณะรัฐมนตรี ก็ได้
และมีอานาจสั่งสอบสวนข้อเท็จจริ งเกี่ยวกับการปฏิบตั ิราชการของราชการส่ วนกลาง ราชการส่ วนภูมิภาค
และราชการส่ วนท้องถิ่น
(2) มอบหมายให้รองนายกรัฐมนตรี กากับการบริ หารราชการของกระทรวง หรื อทบวงหนึ่งหรื อหลาย
กระทรวงหรื อทบวง
(3) บังคับบัญชาข้าราชการฝ่ ายบริ หารทุกตาแหน่งซึ่ งสังกัดกระทรวง ทบวง กรม และส่ วนราชการที่เรี ยกชื่อ
อย่างอื่นที่มีฐานะเป็ นกรม
(4) สั่งให้ขา้ ราชการซึ่ งสังกัดกระทรวง ทบวง กรมหนึ่งมาปฏิบตั ิราชการสานักนายกรัฐมนตรี โดยจะให้
ขาดจากอัตราเงินเดือนทางสังกัดเดิมหรื อไมก็ได้ ในกรณี ที่ให้ขาดจากอัตราเงินเดือนทางสังกัดเดิม ให้ได้รับ
เงินเดือนในสานักนายกรัฐมนตรี ในระดับ และขั้นที่ไมสู งกว่าเดิม
(5) แต่งตั้งข้าราชการซึ่ งสังกัดกระทรวง ทบวง กรมหนึ่งไปดารงตาแหน่งของอีกกระทรวง ทบวง กรมหนึ่ง
โดยให้ได้รับเงินเดือนจากกระทรวง ทบวง กรมเดิม ในกรณี เชนว่านี้ให้ขา้ ราชการซึ่ งได้รับแต่งตั้งมีฐานะ
เสมือนเป็ นข้าราชการสังกัดกระทรวง ทบวง กรม ซึ่ งตนมาดารงตาแหน่งนั้นทุกประการ แต่ถา้ เป็ นการ
แต่งตั้งข้าราชการตั้งแต่ตาแหน่งอธิ บดีหรื อเทียบเทาขึ้นไปต้องได้รับอนุมตั ิจากคณะรัฐมนตรี
(6) แต่งตั้งผูท้ รงคุณวุฒิเป็ นประธานที่ปรึ กษา ที่ปรึ กษา หรื อคณะที่ปรึ กษาของนายกรัฐมนตรี หรื อเป็ น
คณะกรรมการเพื่อปฏิบตั ิราชการใดๆ และกาหนดอัตราเบี้ยประชุมหรื อคาตอบแทนให้แกผูซ้ ่ ึ งได้รับแต่งตั้ง
(7) แต่งตั้งข้าราชการการเมืองให้ปฏิบตั ิราชการในสานักนายกรัฐมนตรี
(8) ว่างระเบียบปฏิบตั ิราชการ เพื่อให้การบริ หารราชการแผ่นดิน เป็ นไปโดยรวดเร็ วและมีประสิ ทธิ ภาพ
เท่าที่ไม่ขดั หรื อแย้งกับพระราชบัญญัติน้ ีหรื อกฎหมายอื่น
(9) ดาเนินการอื่นๆ ในการปฏิบตั ิตามนโยบายระเบียบตาม (8) เมื่อคณะรัฐมนตรี ให้ความเห็นชอบแล้ว ให้
ใช้บงั คับได้

19.ตอบ “ข้อ ข. สั่งให้ราชการส่ วนท้องถิ่นรายงานการปฏิบตั ิราชการ”


อธิบายตาม พระราชบัญญัติระเบียบบริ หารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 และแก้ไขเพิ่มเติม(ฉบับที่ 8) พ.ศ.
2553
มาตรา 11 นายกรัฐมนตรี ในฐานะหัวหน้ารัฐบาลมีอานาจหน้าที่ ดังนี้
(1) กากับโดยทัว่ ไปซึ่ งการบริ หารราชการแผ่นดิน เพื่อการนี้จะสัง่ ให้ราชการส่ วนกลาง ราชการส่ วนภูมิภาค
และส่ วนราชการซึ่ งมีหน้าที่ควบคุมราชการส่ วนท้องถิ่น ชี้แจง แสดงความคิดเห็น ทารายงานเกี่ยวกับการ
ปฏิบตั ิราชการ ในกรณี จาเป็ นจะยับยั้งการปฏิบตั ิราชการใดๆ ที่ขดั ตอนโยบายหรื อมติของคณะรัฐมนตรี ก็ได้
และมีอานาจสั่งสอบสวนข้อเท็จจริ งเกี่ยวกับการปฏิบตั ิราชการของราชการส่ วนกลาง ราชการส่ วนภูมิภาค
และราชการส่ วนท้องถิ่น
(2) มอบหมายให้รองนายกรัฐมนตรี กากับการบริ หารราชการของกระทรวง หรื อทบวงหนึ่งหรื อหลาย
กระทรวงหรื อทบวง
(3) บังคับบัญชาข้าราชการฝ่ ายบริ หารทุกตาแหน่งซึ่ งสังกัดกระทรวง ทบวง กรม และส่ วนราชการที่เรี ยกชื่อ
อย่างอื่นที่มีฐานะเป็ นกรม
(4) สั่งให้ขา้ ราชการซึ่ งสังกัดกระทรวง ทบวง กรมหนึ่งมาปฏิบตั ิราชการสานักนายกรัฐมนตรี โดยจะให้
ขาดจากอัตราเงินเดือนทางสังกัดเดิมหรื อไมก็ได้ ในกรณี ที่ให้ขาดจากอัตราเงินเดือนทางสังกัดเดิม ให้ได้รับ
เงินเดือนในสานักนายกรัฐมนตรี ในระดับ และขั้นที่ไมสู งกว่าเดิม
(5) แต่งตั้งข้าราชการซึ่ งสังกัดกระทรวง ทบวง กรมหนึ่งไปดารงตาแหน่งของอีกกระทรวง ทบวง กรมหนึ่ง
โดยให้ได้รับเงินเดือนจากกระทรวง ทบวง กรมเดิม ในกรณี เชนว่านี้ให้ขา้ ราชการซึ่ งได้รับแต่งตั้งมีฐานะ
เสมือนเป็ นข้าราชการสังกัดกระทรวง ทบวง กรม ซึ่ งตนมาดารงตาแหน่งนั้นทุกประการ แต่ถา้ เป็ นการ
แต่งตั้งข้าราชการตั้งแต่ตาแหน่งอธิ บดีหรื อเทียบเทาขึ้นไปต้องได้รับอนุมตั ิจากคณะรัฐมนตรี
(6) แต่งตั้งผูท้ รงคุณวุฒิเป็ นประธานที่ปรึ กษา ที่ปรึ กษา หรื อคณะที่ปรึ กษาของนายกรัฐมนตรี หรื อเป็ น
คณะกรรมการเพื่อปฏิบตั ิราชการใดๆ และกาหนดอัตราเบี้ยประชุมหรื อคาตอบแทนให้แกผูซ้ ่ ึ งได้รับแต่งตั้ง
(7) แต่งตั้งข้าราชการการเมืองให้ปฏิบตั ิราชการในสานักนายกรัฐมนตรี
(8) ว่างระเบียบปฏิบตั ิราชการ เพื่อให้การบริ หารราชการแผ่นดิน เป็ นไปโดยรวดเร็ วและมีประสิ ทธิ ภาพ
เท่าที่ไม่ขดั หรื อแย้งกับพระราชบัญญัติน้ ีหรื อกฎหมายอื่น
(9) ดาเนินการอื่นๆ ในการปฏิบตั ิตามนโยบาย
ระเบียบตาม (8) เมื่อคณะรัฐมนตรี ให้ความเห็นชอบแล้ว ให้ใช้บงั คับได้

20. ตอบ “ข้อ ง. ถูกทุกข้อ”


อธิบายตาม พระราชบัญญัติระเบียบบริ หารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 และแก้ไขเพิ่มเติม(ฉบับที่ 8) พ.ศ.
2553
มาตรา 11 นายกรัฐมนตรี ในฐานะหัวหน้ารัฐบาลมีอานาจหน้าที่ ดังนี้
(1) กากับโดยทัว่ ไปซึ่ งการบริ หารราชการแผ่นดิน เพื่อการนี้จะสั่งให้ราชการส่ วนกลาง ราชการส่ วนภูมิภาค
และส่ วนราชการซึ่ งมีหน้าที่ควบคุมราชการส่ วนท้องถิ่น ชี้แจง แสดงความคิดเห็น ทารายงานเกี่ยวกับการ
ปฏิบตั ิราชการ ในกรณี จาเป็ นจะยับยั้งการปฏิบตั ิราชการใดๆ ที่ขดั ตอนโยบายหรื อมติของคณะรัฐมนตรี ก็ได้
และมีอานาจสัง่ สอบสวนข้อเท็จจริ งเกี่ยวกับการปฏิบตั ิราชการของราชการส่ วนกลาง ราชการส่ วนภูมิภาค
และราชการส่ วนท้องถิ่น
(2) มอบหมายให้รองนายกรัฐมนตรี กากับการบริ หารราชการของกระทรวง หรื อทบวงหนึ่งหรื อหลาย
กระทรวงหรื อทบวง
(3) บังคับบัญชาข้าราชการฝ่ ายบริ หารทุกตาแหน่งซึ่ งสังกัดกระทรวง ทบวง กรม และส่ วนราชการที่เรี ยกชื่อ
อย่างอื่นที่มีฐานะเป็ นกรม
(4) สั่งให้ขา้ ราชการซึ่ งสังกัดกระทรวง ทบวง กรมหนึ่งมาปฏิบตั ิราชการสานักนายกรัฐมนตรี โดยจะให้ขาด
จากอัตราเงินเดือนทางสังกัดเดิมหรื อไมก็ได้ ในกรณี ที่ให้ขาดจากอัตราเงินเดือนทางสังกัดเดิม ให้ได้รับ
เงินเดือนในสานักนายกรัฐมนตรี ในระดับ และขั้นที่ไมสู งกว่าเดิม
(5) แต่งตั้งข้าราชการซึ่ งสังกัดกระทรวง ทบวง กรมหนึ่งไปดารงตาแหน่งของอีกกระทรวง ทบวง กรมหนึ่ง
โดยให้ได้รับเงินเดือนจากกระทรวง ทบวง กรมเดิม ในกรณี เชนว่านี้ให้ขา้ ราชการซึ่ งได้รับแต่งตั้งมีฐานะ
เสมือนเป็ นข้าราชการสังกัดกระทรวง ทบวง กรม ซึ่ งตนมาดารงตาแหน่งนั้นทุกประการ แต่ถา้ เป็ นการ
แต่งตั้งข้าราชการตั้งแต่ตาแหน่งอธิ บดีหรื อเทียบเทาขึ้นไปต้องได้รับอนุมตั ิจากคณะรัฐมนตรี
(6) แต่งตั้งผูท้ รงคุณวุฒิเป็ นประธานที่ปรึ กษา ที่ปรึ กษา หรื อคณะที่ปรึ กษาของนายกรัฐมนตรี หรื อเป็ น
คณะกรรมการเพื่อปฏิบตั ิราชการใดๆ และกาหนดอัตราเบี้ยประชุมหรื อคาตอบแทนให้แกผูซ้ ่ ึ งได้รับแต่งตั้ง
(7) แต่งตั้งข้าราชการการเมืองให้ปฏิบตั ิราชการในสานักนายกรัฐมนตรี
(8) ว่างระเบียบปฏิบตั ิราชการ เพื่อให้การบริ หารราชการแผ่นดิน เป็ นไปโดยรวดเร็ วและมีประสิ ทธิ ภาพ
เท่าที่ไมขัดหรื อแย้งกับพระราชบัญญัติน้ ีหรื อกฎหมายอื่น
(9) ดาเนินการอื่นๆ ในการปฏิบตั ิตามนโยบาย
ระเบียบตาม (8) เมื่อคณะรัฐมนตรี ให้ความเห็นชอบแล้ว ให้ใช้บงั คับได้

21.ตอบ “ข้อ ข. กรณี ที่ราชการส่ วนท้องถิ่นปฏิบตั ิราชการขัดตอนโยบายหรื อมติของคณะรัฐมนตรี ”


อธิบายตาม พระราชบัญญัติระเบียบบริ หารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 และแก้ไขเพิ่มเติม(ฉบับที่ 8) พ.ศ.
2553
มาตรา 11 นายกรัฐมนตรี ในฐานะหัวหน้ารัฐบาลมีอานาจหน้าที่ ดังนี้
(1) กากับโดยทัว่ ไปซึ่ งการบริ หารราชการแผ่นดิน เพื่อการนี้จะสั่งให้ราชการส่ วนกลาง ราชการส่ วนภูมิภาค
และส่ วนราชการซึ่ งมีหน้าที่ควบคุมราชการส่ วนท้องถิ่น ชี้แจง แสดงความคิดเห็น ทารายงานเกี่ยวกับการ
ปฏิบตั ิราชการ ในกรณี จาเป็ นจะยับยั้งการปฏิบตั ิราชการใดๆ ที่ขดั ต่อนโยบายหรื อมติของคณะรัฐมนตรี ก็ได้
และมีอานาจสั่งสอบสวนข้อเท็จจริ งเกี่ยวกับการปฏิบตั ิราชการของราชการส่ วนกลาง ราชการส่ วนภูมิภาค
และราชการส่ วนท้องถิ่น
(2) มอบหมายให้รองนายกรัฐมนตรี กากับการบริ หารราชการของกระทรวง หรื อทบวงหนึ่งหรื อหลาย
กระทรวงหรื อทบวง
(3) บังคับบัญชาข้าราชการฝ่ ายบริ หารทุกตาแหน่งซึ่ งสังกัดกระทรวง ทบวง กรม และส่ วนราชการที่เรี ยกชื่อ
อย่างอื่นที่มีฐานะเป็ นกรม
(4) สั่งให้ขา้ ราชการซึ่ งสังกัดกระทรวง ทบวง กรมหนึ่งมาปฏิบตั ิราชการสานักนายกรัฐมนตรี โดยจะให้ขาด
จากอัตราเงินเดือนทางสังกัดเดิมหรื อไมก็ได้ ในกรณี ที่ให้ขาดจากอัตราเงินเดือนทางสังกัดเดิม ให้ได้รับ
เงินเดือนในสานักนายกรัฐมนตรี ในระดับ และขั้นที่ไม่สูงกว่าเดิม
(5) แต่งตั้งข้าราชการซึ่ งสังกัดกระทรวง ทบวง กรมหนึ่งไปดารงตาแหน่งของอีกกระทรวง ทบวง กรมหนึ่ง
โดยให้ได้รับเงินเดือนจากกระทรวง ทบวง กรมเดิม ในกรณี เชนว่านี้ให้ขา้ ราชการซึ่ งได้รับแต่งตั้งมีฐานะ
เสมือนเป็ นข้าราชการสังกัดกระทรวง ทบวง กรม ซึ่ งตนมาดารงตาแหน่งนั้นทุกประการ แต่ถา้ เป็ นการ
แต่งตั้งข้าราชการตั้งแต่ตาแหน่งอธิ บดีหรื อเทียบเทาขึ้นไปต้องได้รับอนุมตั ิจากคณะรัฐมนตรี
(6) แต่งตั้งผูท้ รงคุณวุฒิเป็ นประธานที่ปรึ กษา ที่ปรึ กษา หรื อคณะที่ปรึ กษาของนายกรัฐมนตรี หรื อเป็ น
คณะกรรมการเพื่อปฏิบตั ิราชการใดๆ และกาหนดอัตราเบี้ยประชุมหรื อคาตอบแทนให้แก่ผซู ้ ่ ึ งได้รับแต่งตั้ง
(7) แต่งตั้งข้าราชการการเมืองให้ปฏิบตั ิราชการในสานักนายกรัฐมนตรี
(8) วางระเบียบปฏิบตั ิราชการ เพือ่ ให้การบริ หารราชการแผ่นดิน เป็ นไปโดยรวดเร็ วและมีประสิ ทธิ ภาพ
เท่าที่ไม่ขดั หรื อแย้งกับพระราชบัญญัติน้ ีหรื อกฎหมายอื่น
(9) ดาเนินการอื่นๆ ในการปฏิบตั ิตามนโยบายระเบียบตาม (8) เมื่อคณะรัฐมนตรี ให้ความเห็นชอบแล้ว ให้
ใช้บงั คับได้

22.ตอบ “ข้อ ค. มีอานาจบังคับบัญชาผูว้ า่ การไฟฟ้ าสวนภูมิภาค ”


อธิบายตาม พระราชบัญญัติระเบียบบริ หารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 และแก้ไขเพิ่มเติม(ฉบับที่ 8) พ.ศ.
2553
มาตรา 11 นายกรัฐมนตรี ในฐานะหัวหน้ารัฐบาลมีอานาจหน้าที่ ดังนี้
(1) กากับโดยทัว่ ไปซึ่ งการบริ หารราชการแผ่นดิน เพื่อการนี้จะสั่งให้ราชการส่ วนกลาง ราชการส่ วนภูมิภาค
และส่ วนราชการซึ่ งมีหน้าที่ควบคุมราชการส่ วนท้องถิ่น ชี้แจง แสดงความคิดเห็น ทารายงานเกี่ยวกับการ
ปฏิบตั ิราชการ ในกรณี จาเป็ นจะยับยั้งการปฏิบตั ิราชการใดๆ ที่ขดั ตอนโยบายหรื อมติของคณะรัฐมนตรี ก็ได้
และมีอานาจสั่งสอบสวนข้อเท็จจริ งเกี่ยวกับการปฏิบตั ิราชการของราชการส่ วนกลาง ราชการส่ วนภูมิภาค
และราชการส่ วนท้องถิ่น
(2) มอบหมายให้รองนายกรัฐมนตรี กากับการบริ หารราชการของกระทรวง หรื อทบวงหนึ่งหรื อหลาย
กระทรวงหรื อทบวง
(3) บังคับบัญชาข้าราชการฝ่ ายบริ หารทุกตาแหน่งซึ่ งสังกัดกระทรวง ทบวง กรม และส่ วนราชการที่เรี ยกชื่อ
อย่างอื่นที่มีฐานะเป็ นกรม
(4) สั่งให้ขา้ ราชการซึ่ งสังกัดกระทรวง ทบวง กรมหนึ่งมาปฏิบตั ิราชการสานักนายกรัฐมนตรี โดยจะให้ขาด
จากอัตราเงินเดือนทางสังกัดเดิมหรื อไมก็ได้ ในกรณี ที่ให้ขาดจากอัตราเงินเดือนทางสังกัดเดิม ให้ได้รับ
เงินเดือนในสานักนายกรัฐมนตรี ในระดับ และขั้นที่ไม่สูงกว่าเดิม
(5) แต่งตั้งข้าราชการซึ่ งสังกัดกระทรวง ทบวง กรมหนึ่งไปดารงตาแหน่งของอีกกระทรวง ทบวง กรมหนึ่ง
โดยให้ได้รับเงินเดือนจากกระทรวง ทบวง กรมเดิม ในกรณี เช่นว่านี้ให้ขา้ ราชการซึ่ งได้รับแต่งตั้งมีฐานะ
เสมือนเป็ นข้าราชการสังกัดกระทรวง ทบวง กรม ซึ่ งตนมาดารงตาแหน่งนั้นทุกประการ แต่ถา้ เป็ นการ
แต่งตั้งข้าราชการตั้งแต่ตาแหน่งอธิ บดีหรื อเทียบเทาขึ้นไปต้องได้รับอนุมตั ิจากคณะรัฐมนตรี
(6) แต่งตั้งผูท้ รงคุณวุฒิเป็ นประธานที่ปรึ กษา ที่ปรึ กษา หรื อคณะที่ปรึ กษาของนายกรัฐมนตรี หรื อเป็ น
คณะกรรมการเพื่อปฏิบตั ิราชการใดๆ และกาหนดอัตราเบี้ยประชุมหรื อคาตอบแทนให้แกผูซ้ ่ ึ งได้รับแต่งตั้ง
(7) แต่งตั้งข้าราชการการเมืองให้ปฏิบตั ิราชการในสานักนายกรัฐมนตรี
(8) ว่างระเบียบปฏิบตั ิราชการ เพื่อให้การบริ หารราชการแผ่นดิน เป็ นไปโดยรวดเร็ วและมีประสิ ทธิภาพ
เท่าที่ไม่ขดั หรื อแย้งกับพระราชบัญญัติน้ ีหรื อกฎหมายอื่น
(9) ดาเนินการอื่นๆ ในการปฏิบตั ิตามนโยบาย
ระเบียบตาม (8) เมื่อคณะรัฐมนตรี ให้ความเห็นชอบแล้ว ให้ใช้บงั คับได้

23.ตอบ “ข้อ ง. แต่งตั้งรองอธิ บดีกรมส่ งเสริ มการปกครองท้องถิ่น ไปดารงตาแหน่งอธิ บดีกรมการปกครอง


โดยให้รับเงินเดือนจากกรมการปกครอง”
อธิบายตาม พระราชบัญญัติระเบียบบริ หารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 และแก้ไขเพิ่มเติม(ฉบับที่ 8) พ.ศ.
2553
มาตรา 11 นายกรัฐมนตรี ในฐานะหัวหน้ารัฐบาลมีอานาจหน้าที่ ดังนี้
(1) กากับโดยทัว่ ไปซึ่ งการบริ หารราชการแผ่นดิน เพื่อการนี้จะสั่งให้ราชการส่ วนกลาง ราชการส่ วนภูมิภาค
และส่ วนราชการซึ่ งมีหน้าที่ควบคุมราชการส่ วนท้องถิ่น ชี้แจง แสดงความคิดเห็น ทารายงานเกี่ยวกับการ
ปฏิบตั ิราชการ ในกรณี จาเป็ นจะยับยั้งการปฏิบตั ิราชการใดๆ ที่ขดั ตอนโยบายหรื อมติของคณะรัฐมนตรี ก็ได้
และมีอานาจสัง่ สอบสวนข้อเท็จจริ งเกี่ยวกับการปฏิบตั ิราชการของราชการส่ วนกลาง ราชการส่ วนภูมิภาค
และราชการส่ วนท้องถิ่น
(2) มอบหมายให้รองนายกรัฐมนตรี กากับการบริ หารราชการของกระทรวง หรื อทบวงหนึ่งหรื อหลาย
กระทรวงหรื อทบวง
(3) บังคับบัญชาข้าราชการฝ่ ายบริ หารทุกตาแหน่งซึ่ งสังกัดกระทรวง ทบวง กรม และส่ วนราชการที่เรี ยกชื่อ
อย่างอื่นที่มีฐานะเป็ นกรม
(4) สั่งให้ขา้ ราชการซึ่ งสังกัดกระทรวง ทบวง กรมหนึ่งมาปฏิบตั ิราชการสานักนายกรัฐมนตรี โดยจะให้ขาด
จากอัตราเงินเดือนทางสังกัดเดิมหรื อไม่ก็ได้ ในกรณี ที่ให้ขาดจากอัตราเงินเดือนทางสังกัดเดิม ให้ได้รับ
เงินเดือนในสานักนายกรัฐมนตรี ในระดับ และขั้นที่ไม่สูงกว่าเดิม
(5) แต่งตั้งข้าราชการซึ่ งสังกัดกระทรวง ทบวง กรมหนึ่งไปดารงตาแหน่งของอีกกระทรวง ทบวง กรมหนึ่ง
โดยให้ได้รับเงินเดือนจากกระทรวง ทบวง กรมเดิม ในกรณี เชนว่านี้ให้ขา้ ราชการซึ่ งได้รับแต่งตั้งมีฐานะ
เสมือนเป็ นข้าราชการสังกัดกระทรวง ทบวง กรม ซึ่ งตนมาดารงตาแหน่งนั้นทุกประการ แต่ถา้ เป็ นการ
แต่งตั้งข้าราชการตั้งแต่ตาแหน่งอธิ บดีหรื อเทียบเท่าขึ้นไปต้องได้รับอนุมตั ิจากคณะรัฐมนตรี
(6) แต่งตั้งผูท้ รงคุณวุฒิเป็ นประธานที่ปรึ กษา ที่ปรึ กษา หรื อคณะที่ปรึ กษาของนายกรัฐมนตรี หรื อเป็ น
คณะกรรมการเพื่อปฏิบตั ิราชการใดๆ และกาหนดอัตราเบี้ยประชุมหรื อคาตอบแทนให้แก่ผซู ้ ่ ึ งได้รับแต่งตั้ง
(7) แต่งตั้งข้าราชการการเมืองให้ปฏิบตั ิราชการในสานักนายกรัฐมนตรี
(8) ว่างระเบียบปฏิบตั ิราชการ เพือ่ ให้การบริ หารราชการแผ่นดิน เป็ นไปโดยรวดเร็ วและมีประสิ ทธิ ภาพ
เท่าที่ไม่ขดั หรื อแย้งกับพระราชบัญญัติน้ ีหรื อกฎหมายอื่น
(9) ดาเนินการอื่นๆ ในการปฏิบตั ิตามนโยบาย
ระเบียบตาม (8) เมื่อคณะรัฐมนตรี ให้ความเห็นชอบแล้ว ให้ใช้บงั คับได้
24.ตอบ “ข้อ ง. เมื่อคณะรัฐมนตรี ให้ความเห็นชอบแล้ว”
อธิบายตาม พระราชบัญญัติระเบียบบริ หารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 และแก้ไขเพิ่มเติม(ฉบับที่ 8) พ.ศ.
2553
มาตรา 11 นายกรัฐมนตรี ในฐานะหัวหน้ารัฐบาลมีอานาจหน้าที่ ดังนี้
(1) กากับโดยทัว่ ไปซึ่ งการบริ หารราชการแผ่นดิน เพื่อการนี้จะสัง่ ให้ราชการส่ วนกลาง ราชการส่ วนภูมิภาค
และส่ วนราชการซึ่ งมีหน้าที่ควบคุมราชการส่ วนท้องถิ่น ชี้แจง แสดงความคิดเห็น ทารายงานเกี่ยวกับการ
ปฏิบตั ิราชการ ในกรณี จาเป็ นจะยับยั้งการปฏิบตั ิราชการใดๆ ที่ขดั ตอนโยบายหรื อมติของคณะรัฐมนตรี ก็ได้
และมีอานาจสั่งสอบสวนข้อเท็จจริ งเกี่ยวกับการปฏิบตั ิราชการของราชการส่ วนกลาง ราชการส่ วนภูมิภาค
และราชการส่ วนท้องถิ่น
(2) มอบหมายให้รองนายกรัฐมนตรี กากับการบริ หารราชการของกระทรวง หรื อทบวงหนึ่งหรื อหลาย
กระทรวงหรื อทบวง
(3) บังคับบัญชาข้าราชการฝ่ ายบริ หารทุกตาแหน่งซึ่ งสังกัดกระทรวง ทบวง กรม และส่ วนราชการที่เรี ยกชื่อ
อย่างอื่นที่มีฐานะเป็ นกรม
(4) สั่งให้ขา้ ราชการซึ่ งสังกัดกระทรวง ทบวง กรมหนึ่งมาปฏิบตั ิราชการสานักนายกรัฐมนตรี โดยจะให้ขาด
จากอัตราเงินเดือนทางสังกัดเดิมหรื อไม่ก็ได้ ในกรณี ที่ให้ขาดจากอัตราเงินเดือนทางสังกัดเดิม ให้ได้รับ
เงินเดือนในสานักนายกรัฐมนตรี ในระดับ และขั้นที่ไม่สูงกว่าเดิม
(5) แต่งตั้งข้าราชการซึ่ งสังกัดกระทรวง ทบวง กรมหนึ่งไปดารงตาแหน่งของอีกกระทรวง ทบวง กรมหนึ่ง
โดยให้ได้รับเงินเดือนจากกระทรวง ทบวง กรมเดิม ในกรณี เช่นว่านี้ให้ขา้ ราชการซึ่ งได้รับแต่งตั้งมีฐานะ
เสมือนเป็ นข้าราชการสังกัดกระทรวง ทบวง กรม ซึ่ งตนมาดารงตาแหน่งนั้นทุกประการ แต่ถา้ เป็ นการ
แต่งตั้งข้าราชการตั้งแต่ตาแหน่งอธิ บดีหรื อเทียบเทาขึ้นไปต้องได้รับอนุมตั ิจากคณะรัฐมนตรี
(6) แต่งตั้งผูท้ รงคุณวุฒิเป็ นประธานที่ปรึ กษา ที่ปรึ กษา หรื อคณะที่ปรึ กษาของนายกรัฐมนตรี หรื อเป็ น
คณะกรรมการเพื่อปฏิบตั ิราชการใดๆ และกาหนดอัตราเบี้ยประชุมหรื อคาตอบแทนให้แกผูซ้ ่ ึ งได้รับแต่งตั้ง
(7) แต่งตั้งข้าราชการการเมืองให้ปฏิบตั ิราชการในสานักนายกรัฐมนตรี
(8) ว่างระเบียบปฏิบตั ิราชการ เพื่อให้การบริ หารราชการแผ่นดิน เป็ นไปโดยรวดเร็ วและมีประสิ ทธิภาพ
เท่าที่ไม่ขดั หรื อแย้งกับพระราชบัญญัติน้ ีหรื อกฎหมายอื่น
(9) ดาเนินการอื่นๆ ในการปฏิบตั ิตามนโยบาย
ระเบียบตาม (8) เมื่อคณะรัฐมนตรี ให้ความเห็นชอบแล้ว ให้ใช้บงั คับได้

25.ตอบ “ข้อ ง. ถูกเฉพาะข้อ ก. และข้อ ค.”


อธิบายตาม พระราชบัญญัติระเบียบบริ หารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 และแก้ไขเพิ่มเติม(ฉบับที่ 8) พ.ศ.
2553
มาตรา 13 สานักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี มีอานาจหน้าที่เกี่ยวกับราชการทางการเมือง มีเลขาธิการ
นายกรัฐมนตรี เป็ นผูบ้ งั คับบัญชาข้าราชการ และรับผิดชอบในการปฏิบตั ิราชการขึ้นตรงต่อนายกรัฐมนตรี
และให้มีรองเลขาธิการนายกรัฐมนตรี ฝ่ายการเมืองและรองเลขาธิการนายกรัฐมนตรี ฝ่ายบริ หาร เป็ นผูช้ ่วย
สั่งและปฏิบตั ิราชการและจะให้มีผชู ้ ่วยเลขาธิ การนายกรัฐมนตรี เป็ นผูช้ ่วยสั่งและปฏิบตั ิราชการด้วยก็ได้ให้
เลขาธิการนายกรัฐมนตรี และรองเลขาธิการนายกรัฐมนตรี ฝ่ายการเมือง เป็ นข้าราชการการเมือง และให้รอง
เลขาธิการนายกรัฐมนตรี ฝ่ายบริ หาร และผูช้ ่วยเลขาธิ การนายกรัฐมนตรี เป็ นข้าราชการพลเรื อนสามัญ

26.ตอบ “ข้อ ก. ราชการทางการเมือง”


อธิบายตาม พระราชบัญญัติระเบียบบริ หารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 และแก้ไขเพิ่มเติม(ฉบับที่ 8) พ.ศ.
2553
มาตรา 13 สานักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี มีอานาจหน้าที่เกี่ยวกับราชการทางการเมือง มีเลขาธิการ
นายกรัฐมนตรี เป็ นผูบ้ งั คับบัญชาข้าราชการ และรับผิดชอบในการปฏิบตั ิราชการขึ้นตรงตอนายกรัฐมนตรี
และให้มีรองเลขาธิการนายกรัฐมนตรี ฝ่ายการเมืองและรองเลขาธิการนายกรัฐมนตรี ฝ่ายบริ หาร เป็ นผูช้ ่วย
สั่งและปฏิบตั ิราชการและจะให้มีผชู ้ ่วยเลขาธิ การนายกรัฐมนตรี เป็ นผูช้ ่วยสั่งและปฏิบตั ิราชการด้วยก็ได้ให้
เลขาธิการนายกรัฐมนตรี และรองเลขาธิการนายกรัฐมนตรี ฝ่ายการเมือง เป็ นข้าราชการการเมือง และให้รอง
เลขาธิการนายกรัฐมนตรี ฝ่ายบริ หาร และผูช้ ่วยเลขาธิ การนายกรัฐมนตรี เป็ นข้าราชการพลเรื อนสามัญ

27.ตอบ “ข้อ ง. ถูกทุกข้อ”


อธิบายตาม พระราชบัญญัติระเบียบบริ หารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 และแก้ไขเพิ่มเติม(ฉบับที่ 8) พ.ศ.
2553
มาตรา 14 สานักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี มีอานาจหน้าที่เกี่ยวกับราชการของคณะรัฐมนตรี รัฐสภา
และราชการในพระองค์ มีเลขาธิการคณะรัฐมนตรี เป็ นผูบ้ งั คับบัญชาข้าราชการ และรับผิดชอบในการ
ปฏิบตั ิราชการขึ้นตรงตอนายกรัฐมนตรี และให้มีรองเลขาธิ การคณะรัฐมนตรี เป็ นผูช้ ่วยสั่งและปฏิบตั ิ
ราชการ และจะให้มีผชู ้ ่วยเลขาธิ การคณะรัฐมนตรี เป็ นผูช้ ่วยสั่งและปฏิบตั ิราชการด้วยก็ได้ให้เลขาธิ การ
คณะรัฐมนตรี รองเลขาธิการคณะรัฐมนตรี และผูช้ ่วยเลขาธิ การคณะรัฐมนตรี เป็ นข้าราชการพลเรื อนสามัญ
28.ตอบ “ข้อ ง. เป็ นผูบ้ งั คับบัญชาข้าราชการสู งสุ ดของส่ วนราชการในสานักนายกรัฐมนตรี ยกเว้น
ข้าราชการของสวนราชการซึ่ งหัวหน้าส่ วนราชการขึ้นตรงต่อนายกรัฐมนตรี ”
อธิบายตาม พระราชบัญญัติระเบียบบริ หารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 และแก้ไขเพิ่มเติม(ฉบับที่ 8) พ.ศ.
2553
มาตรา 16 สานักนายกรัฐมนตรี นอกจากมีนายกรัฐมนตรี รองนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรี ประจา
สานักนายกรัฐมนตรี ให้มีปลัดสานักนายกรัฐมนตรี คนหนึ่ งมีอานาจหน้าที่ดงั นี้
(1) รับผิดชอบควบคุมราชการประจาในสานักนายกรัฐมนตรี กาหนดแนวทางและแผนการปฏิบตั ิราชการ
ของสานักนายกรัฐมนตรี และลาดับความสาคัญของแผนการปฏิบตั ิราชการประจาปี ของส่ วนราชการใน
สานักนายกรัฐมนตรี ให้เป็ นไปตามนโยบายที่นายกรัฐมนตรี กาหนดรวมทั้งกากับ เร่ งรัด ติดตามและ
ประเมินผลการปฏิบตั ิราชการของส่ วนราชการในสานักนายกรัฐมนตรี
(2) เป็ นผูบ้ งั คับบัญชาข้าราชการของส่ วนราชการในสานักนายกรัฐมนตรี รองจากนายกรัฐมนตรี รอง
นายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรี ประจาสานักนายกรัฐมนตรี ยกเว้นข้าราชการของส่ วนราชการซึ่ งหัวหน้าส่ วน
ราชการขึ้นตรงต่อนายกรัฐมนตรี
(3) เป็ นผูบ้ งั คับบัญชาข้าราชการในสานักงานปลัดสานักนายกรัฐมนตรี และรับผิดชอบในการปฏิบตั ิราชการ
ของสานักงานปลัดสานักนายกรัฐมนตรี ในการปฏิบตั ิราชการของปลัดสานักนายกรัฐมนตรี ตามวรรคหนึ่ง
ให้มีรองปลัดสานักนายกรัฐมนตรี เป็ นผูช้ ่วยสั่งและปฏิบตั ิราชการ และจะให้มีผชู ้ ่วยปลัดสานัก
นายกรัฐมนตรี เป็ นผูช้ ่วยสั่งและปฏิบตั ิราชการด้วยก็ได้
ในกรณี ที่มีรองปลัดสานักนายกรัฐมนตรี หรื อผูช้ ่วยปลัดสานักนายกรัฐมนตรี หรื อมีท้ งั รองปลัดสานัก
นายกรัฐมนตรี และผูช้ ่วยปลัดสานักนายกรัฐมนตรี ให้รองปลัดสา นักนายกรัฐมนตรี หรื อผูช้ ่วยปลัดสานัก
นายกรัฐมนตรี เป็ นผูบ้ งั คับบัญชาข้าราชการและรับผิดชอบในการปฏิบตั ิราชการรองจากปลัดสานัก
นายกรัฐมนตรี ให้ปลัดสานักนายกรัฐมนตรี รองปลัดสานักนายกรัฐมนตรี และผูช้ ่วยปลัดสานัก
นายกรัฐมนตรี เป็ นข้าราชการพลเรื อนสามัญ และให้รองปลัดสานักนายกรัฐมนตรี ผูช้ ่วยปลัดสานัก
นายกรัฐมนตรี และผูด้ ารงตาแหน่งที่เรี ยกชื่ออย่างอื่นในสานักงานปลัดสานักนายกรัฐมนตรี มีอานาจหน้าที่
ตามที่ปลัดสานักนายกรัฐมนตรี
กาหนดหรื อมอบหมายให้นาความในมาตรา 19/1 มาใช้บงั คับแกราชการของสานักนายกรัฐมนตรี ในสวนที่
เกี่ยวกับสานักงานปลัดสานักนายกรัฐมนตรี และส่ วนราชการที่มิได้ข้ ึนตรงต่อนายกรัฐมนตรี ดว้ ยโดยอนุ โลม
มาตรา 19/1 ให้ปลัดกระทรวง หัวหน้ากลุ่มภารกิจและหัวหน้าส่ วนราชการตั้งแต่ระดับกรมขึ้นไป
วางแผนและประสานกิจกรรมให้มีการใช้ทรัพยากรของส่ วนราชการตางๆ ในกระทรวงรวมกันเพื่อให้เกิด
ประสิ ทธิภาพ ความคุม้ ค่า และบรรลุเป้ าหมายของกระทรวง
เพื่อประโยชน์ในการดาเนินการตามวรรคหนึ่ง หัวหน้าส่ วนราชการและหัวหน้ากลุ่มภารกิจดังกล่าวจะมีมติ
ให้นางบประมาณที่แต่ละส่ วนราชการได้รับจัดสรรมาดาเนินการและใช้จ่ายรวมกันก็ได้

29.ตอบ “ข้อ ง. ผูช้ ่วยปลัดกระทรวง”


อธิบายตาม พระราชบัญญัติระเบียบบริ หารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 และแก้ไขเพิ่มเติม(ฉบับที่ 8) พ.ศ.
2553
มาตรา 13 สานักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี มีอานาจหน้าที่เกี่ยวกับราชการทางการเมือง มีเลขาธิการ
นายกรัฐมนตรี เป็ นผูบ้ งั คับบัญชาข้าราชการ และรับผิดชอบในการปฏิบตั ิราชการขึ้นตรงต่อนายกรัฐมนตรี
และให้มีรองเลขาธิการนายกรัฐมนตรี ฝ่ายการเมืองและรองเลขาธิการนายกรั ฐมนตรี ฝ่ายบริ หาร เป็ นผูช้ ่วย
สั่งและปฏิบตั ิราชการและจะให้มีผชู ้ ่วยเลขาธิ การนายกรัฐมนตรี เป็ นผูช้ ่วยสั่งและปฏิบตั ิราชการด้วยก็ได้ให้
เลขาธิการนายกรัฐมนตรี และรองเลขาธิการนายกรัฐมนตรี ฝ่ายการเมือง เป็ นข้าราชการการเมือง และให้รอง
เลขาธิการนายกรัฐมนตรี ฝ่ายบริ หาร และผูช้ ่วยเลขาธิ การนายกรัฐมนตรี เป็ นข้าราชการพลเรื อนสามัญ
มาตรา 14 สานักเลขาธิ การคณะรัฐมนตรี มีอานาจหน้าที่เกี่ยวกับราชการของคณะรัฐมนตรี รัฐสภา
และราชการในพระองค์ มีเลขาธิการคณะรัฐมนตรี เป็ นผูบ้ งั คับบัญชาข้าราชการ และรับผิดชอบในการ
ปฏิบตั ิราชการขึ้นตรงต่อนายกรัฐมนตรี และให้มีรองเลขาธิ การคณะรัฐมนตรี เป็ นผูช้ ่วยสั่งและปฏิบตั ิ
ราชการ และจะให้มีผชู ้ ่วยเลขาธิ การคณะรัฐมนตรี เป็ นผูช้ ่วยสัง่ และปฏิบตั ิราชการด้วยก็ได้ให้เลขาธิ การ
คณะรัฐมนตรี รองเลขาธิการคณะรัฐมนตรี และผูช้ ่วยเลขาธิ การคณะรัฐมนตรี เป็ นข้าราชการพลเรื อนสามัญ
มาตรา 16 สานักนายกรัฐมนตรี นอกจากมีนายกรัฐมนตรี รองนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรี ประจาสานัก
นายกรัฐมนตรี ให้มีปลัดสานักนายกรัฐมนตรี คนหนึ่งมีอานาจหน้าที่ดงั นี้
(๑) รับผิดชอบควบคุมราชการประจาในสานักนายกรัฐมนตรี กาหนดแนวทางและแผนการปฏิบตั ิราชการ
ของสานักนายกรัฐมนตรี และลาดับความสาคัญของแผนการปฏิบตั ิราชการประจาปี ของส่ วนราชการใน
สานักนายกรัฐมนตรี ให้เป็ นไปตามนโยบายที่นายกรัฐมนตรี กาหนดรวมทั้งกากับ เร่ งรัด ติดตามและ
ประเมินผลการปฏิบตั ิราชการของส่ วนราชการในสานักนายกรัฐมนตรี
(๒) เป็ นผูบ้ งั คับบัญชาข้าราชการของส่ วนราชการในสานักนายกรัฐมนตรี รองจากนายกรัฐมนตรี รอง
นายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรี ประจาสานักนายกรัฐมนตรี ยกเว้นข้าราชการของส่ วนราชการซึ่ งหัวหน้าส่ วน
ราชการขึ้นตรงตอนายกรัฐมนตรี
(๓) เป็ นผูบ้ งั คับบัญชาข้าราชการในสานักงานปลัดสานักนายกรัฐมนตรี และรับผิดชอบในการปฏิบตั ิราชการ
ของสานักงานปลัดสานักนายกรัฐมนตรี ในการปฏิบตั ิราชการของปลัดสานักนายกรัฐมนตรี ตามวรรคหนึ่ง
ให้มีรองปลัดสานักนายกรัฐมนตรี เป็ น
ผูช้ ่วยสั่งและปฏิบตั ิราชการ และจะให้มีผชู ้ ่วยปลัดสานักนายกรัฐมนตรี เป็ นผูช้ ่วยสั่งและปฏิบตั ิราชการด้วย
ก็ได้ในกรณี ที่มีรองปลัดสานักนายกรัฐมนตรี หรื อผูช้ ่วยปลัดสานักนายกรัฐมนตรี หรื อมีท้ งั รองปลัดสานัก
นายกรัฐมนตรี และผูช้ ่วยปลัดสานักนายกรัฐมนตรี ให้รองปลัดสา นักนายกรัฐมนตรี หรื อผูช้ ่วยปลัดสานัก
นายกรัฐมนตรี เป็ นผูบ้ งั คับบัญชาข้าราชการและรับผิดชอบในการปฏิบตั ิราชการรองจากปลัดสานัก
นายกรัฐมนตรี ให้ปลัดสานักนายกรัฐมนตรี รองปลัดสานักนายกรัฐมนตรี และผูช้ ่วยปลัดสานัก
นายกรัฐมนตรี เป็ นข้าราชการพลเรื อนสามัญ และให้รองปลัดสานักนายกรัฐมนตรี ผูช้ ่วยปลัดสานัก
นายกรัฐมนตรี และผูด้ ารงตาแหน่งที่เรี ยกชื่ออย่างอื่นในสานักงานปลัดสานักนายกรัฐมนตรี มีอานาจหน้าที่
ตามที่ปลัดสานักนายกรัฐมนตรี
กาหนดหรื อมอบหมายให้นาความในมาตรา 19/1 มาใช้บงั คับแกราชการของสานักนายกรัฐมนตรี ในสวนที่
เกี่ยวกับสานักงานปลัดสานักนายกรัฐมนตรี และส่ วนราชการที่มิได้ข้ ึนตรงตอนายกรัฐมนตรี ดว้ ยโดยอนุ โลม
มาตรา 21 ในกระทรวงให้มีปลัดกระทรวงคนหนึ่งมีอานาจหน้าที่ ดังนี้
(1) รับผิดชอบควบคุมราชการประจาในกระทรวง แปลงนโยบายเป็ นแนวทางและแผนการปฏิบตั ิราชการ
กากับการทางานของส่ วนราชการในกระทรวงให้เกิดผลสัมฤทธิ์ และประสานการปฏิบตั ิงานของส่ วน
ราชการในกระทรวงให้มีเอกภาพสอดคล้องกัน รวมทั้งเร่ งรัดติดตาม และประเมินผลการปฏิบตั ิราชการของ
ส่ วนราชการในกระทรวง
(2) เป็ นผูบ้ งั คับบัญชาข้าราชการของส่ วนราชการในกระทรวงรองจากรัฐมนตรี
(3) เป็ นผูบ้ งั คับบัญชาข้าราชการในสานักงานปลัดกระทรวง และรับผิดชอบในการปฏิบตั ิราชการของ
สานักงานปลัดกระทรวงในการปฏิบตั ิราชการของปลัดกระทรวงตามวรรคหนึ่ง จะให้มีรองปลัดกระทรวง
คนหนึ่งเป็ นผูช้ ่วยสัง่ และปฏิบตั ิราชการตามที่ปลัดกระทรวงมอบหมายก็ได้ภายในกระทรวงจะออก
กฎกระทรวงกาหนดให้ส่วนราชการระดับกรมตั้งแต่สองส่ วนราชการขึ้นไปอยูภ่ ายใต้กลุ่มภารกิจเดียวกันก็
ได้ โดยให้แต่ละกลุ่มภารกิจมีผดู ้ ารงตาแหน่งไมต่ากว่าอธิ บดีคนหนึ่งเป็ นหัวหน้ากลุ่มภารกิจรับผิดชอบ
ราชการและบังคับบัญชาข้าราชการของส่ วนราชการในกลุ่มภารกิจนั้น โดยปฏิบตั ิราชการขึ้นตรงต่อ
ปลัดกระทรวงหรื อขึ้นตรงต่อรัฐมนตรี ตามที่กาหนดโดยกฎกระทรวง และในกรณี ที่ข้ ึนตรงต่อรัฐมนตรี ตอ้ ง
รายงานผลการดาเนินงานต่อปลัดกระทรวงตามที่กาหนดโดยกฎกระทรวงในกลุ่มภารกิจเดียวกัน หัวหน้า
กลุ่มภารกิจอาจกาหนดให้ส่วนราชการของส่ วนราชการระดับกรมแห่งหนึ่งปฏิบตั ิงานที่เกี่ยวกับสารบรรณ
บุคลากร การเงิน การพัสดุ หรื อการบริ หารงานทัว่ ไปให้แกส่ วนราชการแหงอื่นภายใต้กลุ่มภารกิจเดียวกันก็
ได้กระทรวงใดมิได้จดั ให้มีกลุ่มภารกิจ และมีปริ มาณงานมาก จะให้มีรองปลัดกระทรวงเป็ นผูช้ ่วยสั่งและ
ปฏิบตั ิราชการเพิ่มขึ้นเป็ นสองคนก็ได้
ในกรณี ที่กระทรวงใดมีการจัดกลุ่มภารกิจ จะให้มีรองปลัดกระทรวงเพิม่ ขึ้นเป็ นหัวหน้ากลุ่มภารกิจก็ได้และ
ให้อานาจหน้าที่ของปลัดกระทรวงที่เกี่ยวกับราชการของส่ วนราชการในกลุ่มภารกิจเป็ นอานาจหน้าที่ของ
หัวหน้ากลุ่มภารกิจนั้น ทั้งนี้ เว้นแต่จะมีกฎกระทรวงกาหนดไว้เป็ นอย่างอื่นกระทรวงใดมีภารกิจเพิ่มขึ้น
และมีความจาเป็ นอย่างยิง่ ต้องมีรองปลัดกระทรวงมากกว่าที่กาหนดไว้ในวรรคห้าหรื อวรรคหก
คณะกรรมการข้าราชการพลเรื อน และคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการจะรวมกันอนุมตั ิให้กระทรวงนั้น
มีรองปลัดกระทรวงเพิม่ ขึ้นเป็ นกรณี พิเศษโดยจะกาหนดเงื่อนไขหรื อเงื่อนเวลาไว้ดว้ ยหรื อไมก็ได้ในการ
ดาเนินการตามวรรคเจ็ด ให้คณะกรรมการพัฒนาระบบราชการจัดให้มีการประชุมพิจารณารวมกันโดย
กรรมการแต่ละฝ่ ายจะต้องมาประชุมไมน้อยกว่ากึ่งหนึ่งจึงจะเป็ นองค์ประชุม และในการออกเสี ยงลงมติ
จะต้องได้คะแนนเสี ยงของกรรมการแต่ละฝ่ ายเกินกว่ากึ่งหนึ่งของกรรมการฝ่ ายดังกล่าวที่มาประชุม แล้วให้
นามติดงั กล่าวเสนอคณะรัฐมนตรี พิจารณาต่อไป

30.ตอบ “ข้อ ง. ผูว้ า่ ราชการจังหวัด”


อธิบายตาม พระราชบัญญัติระเบียบบริ หารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 และแก้ไขเพิ่มเติม(ฉบับที่ 8) พ.ศ.
2553
มาตรา 53 ในจังหวัดหนึ่งให้มีคณะกรมการจังหวัด ทาหน้าที่เป็ นที่ปรึ กษาของผูว้ า่ ราชการจังหวัด
ในการบริ หารราชการแผ่นดิน ในจังหวัดนั้น กับปฏิบตั ิหน้าที่อื่นตามที่กฎหมายหรื อมติของคณะรัฐมนตรี
กาหนดคณะกรมการจังหวัดประกอบด้วย ผูว้ า่ ราชการจังหวัดเป็ นประธาน รองผูว้ า่ ราชการจังหวัดหนึ่งคน
ตามที่ผวู ้ า่ ราชการจังหวัดมอบหมาย ปลัดจังหวัด อัยการจังหวัดซึ่งเป็ นหัวหน้าที่ทาการอัยการจังหวัด ผู้
บังคับการตารวจภูธรจังหวัด และหัวหน้าส่ วนราชการประจาจังหวัดจากกระทรวงและทบวงตางๆ เว้นแต่
กระทรวงมหาดไทยซึ่ งประจาอยูใ่ นจังหวัด กระทรวง หรื อทบวงละหนึ่งคน เป็ นกรมการจังหวัดและหัวหน้า
สานักงานจังหวัดเป็ นกรมการจังหวัดและเลขานุการถ้ากระทรวงหรื อทบวงมีหวั หน้าส่ วนราชการประจา
จังหวัดซึ่งกรมตางๆ ในกระทรวงหรื อทบวงนั้นส่ งมาประจาอยูใ่ นจังหวัดมากกว่าหนึ่ งคน ให้ปลัดกระทรวง
หรื อปลัดทบวงกาหนดให้หวั หน้าส่ วนราชการประจาจังหวัดหนึ่งคนเป็ นผูแ้ ทนของกระทรวงหรื อทบวงใน
คณะกรมการจังหวัดในการปฏิบตั ิหน้าที่ตามวรรคหนึ่ง เมื่อผูว้ า่ ราชการจังหวัดเห็นสมควรจะแต่งตั้งให้
หัวหน้าส่ วนราชการประจาจังหวัดซึ่ งปฏิบตั ิหน้าที่ในราชการส่ วนภูมิภาคคนหนึ่งหรื อหลายคนเป็ นกรมการ
จังหวัดเพิ่มขึ้นเฉพาะการปฏิบตั ิหน้าที่ใดหน้าที่หนึ่งก็ได้
31.ตอบ “ข้อ ข. ตราเป็ นพระราชกฤษฎีกา”
อธิบายตาม พระราชบัญญัติระเบียบบริ หารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 และแก้ไขเพิ่มเติม(ฉบับที่ 8) พ.ศ.
2553
มาตรา 18 ให้จดั ระเบียบราชการของกระทรวง ดังนี้
(1) สานักงานรัฐมนตรี
(2) สานักงานปลัดกระทรวง
(3) กรม หรื อส่ วนราชการที่เรี ยกชื่ออย่างอื่น เว้นแต่บางกระทรวงเห็นว่าไมมีความจาเป็ นจะไม่แยกส่ วน
ราชการตั้งขึ้นเป็ นกรมก็ได้ให้ส่วนราชการตาม (2) และส่ วนราชการที่เรี ยกชื่ออย่างอื่นตาม (3) มีฐานะเป็ น
กรมกระทรวงใดมีความจาเป็ นจะต้องมีส่วนราชการเพื่อทาหน้าที่จดั ทานโยบายและแผน กากับ เร่ งรัด และ
ติดตามนโยบายและแผนการปฏิบตั ิราชการของกระทรวง จะจัดระเบียบบริ หารราชการโดยอนุมตั ิ
คณะรัฐมนตรี เพื่อให้มีสานักนโยบายและแผนเป็ นส่ วนราชการภายใน ขึ้นตรงต่อรัฐมนตรี วา่ การกระทรวงก็
ได้ในกระทรวงจะตราพระราชกฤษฎีกาจัดตั้งส่ วนราชการเพื่อรับผิดชอบภาระหน้าที่ใดโดยเฉพาะซึ่ งไมมี
ฐานะเป็ นกรมแต่มีผบู ้ งั คับบัญชาของส่ วนราชการดังกล่าวเป็ นอธิ บดีหรื อตาแหน่งที่เรี ยกชื่ออย่างอื่นที่มี
ฐานะเป็ นอธิ บดีก็ได้ ในกรณี เช่นนั้นให้อธิ บดีหรื อผูด้ ารงตาแหน่งที่เรี ยกชื่ออย่างอื่นดังกล่าวมีอานาจหน้าที่
สาหรับส่ วนราชการนั้นเชนเดียวกับอธิ บดี ตามที่กาหนดในพระราชกฤษฎีกา และให้คณะอนุกรรมการ
สามัญประจากระทรวงทาหน้าที่คณะอนุกรรมการสามัญประจากรม สาหรับส่ วนราชการนั้นการตราพระ
ราชกฤษฎีกาตามวรรคสี่ ให้กระทาได้ในกรณี เป็ นการยุบ รวม หรื อโอนกรมในกระทรวงใดมาจัดตั้งเป็ นส่ วน
ราชการตามวรรคสี่ ในกระทรวงนั้นหรื อกระทรวงอื่น โดยไมมีการกาหนดตาแหน่งหรื ออัตราของข้าราชการ
หรื อลูกจ้างเพิ่มขึ้น และให้นาความในมาตรา 8 ทวิ และมาตรา 8 เบญจ มาใช้บงั คับโดยอนุโลมการแต่งตั้ง
อธิ บดีหรื อผูด้ ารงตาแหน่งที่เรี ยกชื่ออย่างอื่นของส่ วนราชการตามวรรคสี่ ให้รัฐมนตรี เจ้าสังกัดเป็ นผู ้
นาเสนอคณะรัฐมนตรี เพื่อพิจารณาอนุมตั ิ และให้ผดู ้ ารงตาแหน่งดังกล่าวเป็ นผูด้ ารงตาแหน่งระดับสู งตาม
กฎหมายประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการปองกันและปราบปรามการทุจริ ตก่อนที่คณะรัฐมนตรี จะให้ความ
เห็นชอบในรางพระราชกฤษฎีกาจัดตั้งส่ วนราชการตามวรรคสี่ ของกระทรวงใด ให้นายกรัฐมนตรี สงราง
พระราชกฤษฎีกาดังกล่าวต่อสภาผูแ้ ทนราษฎรและวุฒิสภาเพื่อทราบให้นาความในวรรคสี่ วรรคห้า วรรค
หก และวรรคเจ็ด มาใช้บงั คับกับสานักนายกรัฐมนตรี และทบวงตามหมวด 3 โดยอนุโลม

32.ตอบ “ข้อ ค. หัวหน้าสานักงานรัฐมนตรี ”


อธิบายตาม พระราชบัญญัติระเบียบบริ หารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 และแก้ไขเพิ่มเติม(ฉบับที่ 8) พ.ศ.
2553
มาตรา 29 สานักงานรัฐมนตรี มีอานาจหน้าที่เกี่ยวกับราชการทางการเมือง มีเลขานุการรัฐมนตรี ซ่ ึง
เป็ นข้าราชการการเมืองเป็ นผูบ้ งั คับบัญชาข้าราชการ และรับผิดชอบในการปฏิบตั ิราชการของสานักงาน
รัฐมนตรี ข้ ึนตรงต่อรัฐมนตรี วา่ การทบวง และจัดให้มีผชู ้ ่วยเลขานุการรัฐมนตรี ซึ่งเป็ นข้าราชการการเมือง
คนหนึ่งหรื อหลายคน
เป็ นผูช้ ่วยสั่งหรื อปฏิบตั ิราชการแทนเลขานุการรัฐมนตรี ก็ได้
มาตรา 22 สานักงานรัฐมนตรี มีอานาจหน้าที่เกี่ยวกับราชการทางการเมือง มีเลขานุการรัฐมนตรี ซ่ ึง
เป็ นข้าราชการการเมืองเป็ นผูบ้ งั คับบัญชาข้าราชการ และรับผิดชอบในการปฏิบตั ิราชการของสานักงาน
รัฐมนตรี ข้ ึนตรงต่อรัฐมนตรี วา่ การกระทรวง และจะให้มีผชู ้ ่วยเลขานุการรัฐมนตรี ซ่ ึ งเป็ นข้าราชการ
การเมืองคนหนึ่งหรื อหลายคนเป็ นผูช้ ่วยสัง่ หรื อปฏิบตั ิราชการแทนเลขานุการรัฐมนตรี ก็ได้
มาตรา 16 สานักนายกรัฐมนตรี นอกจากมีนายกรัฐมนตรี รองนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรี ประจา
สานักนายกรัฐมนตรี ให้มีปลัดสานักนายกรัฐมนตรี คนหนึ่ งมีอานาจหน้าที่ดงั นี้
(1) รับผิดชอบควบคุมราชการประจาในสานักนายกรัฐมนตรี กาหนดแนวทางและแผนการปฏิบตั ิราชการ
ของสานักนายกรัฐมนตรี และลาดับความสาคัญของแผนการปฏิบตั ิราชการประจาปี ของส่ วนราชการใน
สานักนายกรัฐมนตรี ให้เป็ นไปตามนโยบายที่นายกรัฐมนตรี กาหนดรวมทั้งกากับ เร่ งรัด ติดตามและ
ประเมินผลการปฏิบตั ิราชการของส่ วนราชการในสานักนายกรัฐมนตรี
(2) เป็ นผูบ้ งั คับบัญชาข้าราชการของส่ วนราชการในสานักนายกรัฐมนตรี รองจากนายกรัฐมนตรี รอง
นายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรี ประจาสานักนายกรัฐมนตรี ยกเว้นข้าราชการของส่ วนราชการซึ่ งหัวหน้าส่ วน
ราชการขึ้นตรงตอนายกรัฐมนตรี
(3) เป็ นผูบ้ งั คับบัญชาข้าราชการในสานักงานปลัดสานักนายกรัฐมนตรี และรับผิดชอบในการปฏิบตั ิราชการ
ของสานักงานปลัดสานักนายกรัฐมนตรี ในการปฏิบตั ิราชการของปลัดสานักนายกรัฐมนตรี ตามวรรคหนึ่ง
ให้มีรองปลัดสานักนายกรัฐมนตรี เป็ นผูช้ ่วยสั่งและปฏิบตั ิราชการ และจะให้มีผชู ้ ่วยปลัดสานัก
นายกรัฐมนตรี เป็ นผูช้ ่วยสั่งและปฏิบตั ิราชการด้วยก็ได้
ในกรณี ที่มีรองปลัดสานักนายกรัฐมนตรี หรื อผูช้ ่วยปลัดสานักนายกรัฐมนตรี หรื อมีท้ งั รองปลัดสานัก
นายกรัฐมนตรี และผูช้ ่วยปลัดสานักนายกรัฐมนตรี ให้รองปลัดสา นักนายกรัฐมนตรี หรื อผูช้ ่วยปลัดสา นัก
นายกรัฐมนตรี เป็ นผูบ้ งั คับบัญชาข้าราชการและรับผิดชอบในการปฏิบตั ิราชการรองจากปลัดสานัก
นายกรัฐมนตรี ให้ปลัดสานักนายกรัฐมนตรี รองปลัดสานักนายกรัฐมนตรี และผูช้ ่วยปลัดสานัก
นายกรัฐมนตรี เป็ นข้าราชการพลเรื อนสามัญ และให้รองปลัดสานักนายกรัฐมนตรี ผูช้ ่วยปลัดสานัก
นายกรัฐมนตรี และผูด้ ารงตาแหน่งที่เรี ยกชื่ออย่างอื่นในสานักงานปลัดสานักนายกรัฐมนตรี มีอานาจหน้าที่
ตามที่ปลัดสานักนายกรัฐมนตรี
กาหนดหรื อมอบหมายให้นาความในมาตรา 19/1 มาใช้บงั คับแกราชการของสานักนายกรัฐมนตรี ในสวนที่
เกี่ยวกับสานักงานปลัดสานักนายกรัฐมนตรี และส่ วนราชการที่มิได้ข้ ึนตรงตอนายกรัฐมนตรี ดว้ ยโดยอนุ โลม

33.ตอบ “ข้อ ข. กฎกระทรวง”


อธิบายตาม พระราชบัญญัติระเบียบบริ หารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 และแก้ไขเพิ่มเติม(ฉบับที่ 8) พ.ศ.
2553
มาตรา 21 ในกระทรวงให้มีปลัดกระทรวงคนหนึ่งมีอานาจหน้าที่ ดังนี้
(1) รับผิดชอบควบคุมราชการประจาในกระทรวง แปลงนโยบายเป็ นแนวทางและแผนการปฏิบตั ิราชการ
กากับการทางานของส่ วนราชการในกระทรวงให้เกิดผลสัมฤทธิ์ และประสานการปฏิบตั ิงานของส่ วน
ราชการในกระทรวงให้มีเอกภาพสอดคล้องกัน รวมทั้งเร่ งรัดติดตาม และประเมินผลการปฏิบตั ิราชการของ
ส่ วนราชการในกระทรวง
(2) เป็ นผูบ้ งั คับบัญชาข้าราชการของส่ วนราชการในกระทรวงรองจากรัฐมนตรี
(3) เป็ นผูบ้ งั คับบัญชาข้าราชการในสานักงานปลัดกระทรวง และรับผิดชอบในการปฏิบตั ิราชการของ
สานักงานปลัดกระทรวงในการปฏิบตั ิราชการของปลัดกระทรวงตามวรรคหนึ่ง จะให้มีรองปลัดกระทรวง
คนหนึ่งเป็ นผูช้ ่วยสั่งและปฏิบตั ิราชการตามที่ปลัดกระทรวงมอบหมายก็ได้ภายในกระทรวงจะออก
กฎกระทรวงกาหนดให้ส่วนราชการระดับกรมตั้งแต่สองส่ วนราชการขึ้นไปอยูภ่ ายใต้กลุ่มภารกิจเดียวกันก็
ได้ โดยให้แต่ละกลุ่มภารกิจมีผดู ้ ารงตาแหน่งไมต่ากว่าอธิ บดีคนหนึ่งเป็ นหัวหน้ากลุ่มภารกิจรับผิดชอบ
ราชการและบังคับบัญชาข้าราชการของส่ วนราชการในกลุ่มภารกิจนั้น โดยปฏิบตั ิราชการขึ้นตรงต่อ
ปลัดกระทรวงหรื อขึ้นตรงต่อรัฐมนตรี ตามที่กาหนดโดยกฎกระทรวง และในกรณี ที่ข้ ึนตรงต่อรัฐมนตรี ตอ้ ง
รายงานผลการดาเนินงานต่อปลัดกระทรวงตามที่กาหนดโดยกฎกระทรวงในกลุ่มภารกิจเดียวกัน หัวหน้า
กลุ่มภารกิจอาจกาหนดให้ส่วนราชการของส่ วนราชการระดับกรมแห่งหนึ่งปฏิบตั ิงานที่เกี่ยวกับสารบรรณ
บุคลากร การเงิน การพัสดุ หรื อการบริ หารงานทัว่ ไปให้แกส่ วนราชการแหงอื่นภายใต้กลุ่มภารกิจเดียวกันก็
ได้กระทรวงใดมิได้จดั ให้มีกลุ่มภารกิจ และมีปริ มาณงานมาก จะให้มีรองปลัดกระทรวงเป็ นผูช้ ่วยสั่งและ
ปฏิบตั ิราชการเพิ่มขึ้นเป็ นสองคนก็ได้
ในกรณี ที่กระทรวงใดมีการจัดกลุ่มภารกิจ จะให้มีรองปลัดกระทรวงเพิ่มขึ้นเป็ นหัวหน้ากลุ่มภารกิจก็ได้และ
ให้อานาจหน้าที่ของปลัดกระทรวงที่เกี่ยวกับราชการของส่ วนราชการในกลุ่มภารกิจเป็ นอานาจหน้าที่ของ
หัวหน้ากลุ่มภารกิจนั้น ทั้งนี้ เว้นแต่จะมีกฎกระทรวงกาหนดไว้เป็ นอย่างอื่นกระทรวงใดมีภารกิจเพิม่ ขึ้น
และมีความจาเป็ นอย่างยิง่ ต้องมีรองปลัดกระทรวงมากกว่าที่กาหนดไว้ในวรรคห้าหรื อวรรคหก
คณะกรรมการข้าราชการพลเรื อน และคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการจะรวมกันอนุมตั ิให้กระทรวงนั้น
มีรองปลัดกระทรวงเพิ่มขึ้นเป็ นกรณี พิเศษโดยจะกาหนดเงื่อนไขหรื อเงื่อนเวลาไว้ดว้ ยหรื อไมก็ได้ในการ
ดาเนินการตามวรรคเจ็ด ให้คณะกรรมการพัฒนาระบบราชการจัดให้มีการประชุมพิจารณารวมกัน
โดยกรรมการแต่ละฝ่ ายจะต้องมาประชุมไมน้อยกว่ากึ่งหนึ่ งจึงจะเป็ นองค์ประชุม และในการออกเสี ยงลง
มติจะต้องได้คะแนนเสี ยงของกรรมการแต่ละฝ่ ายเกินกว่ากึ่งหนึ่งของกรรมการฝ่ ายดังกล่าวที่มาประชุม แล้ว
ให้นามติดงั กล่าวเสนอคณะรัฐมนตรี พิจารณาต่อไป

34.ตอบ “ข้อ ค. อธิบดี”


อธิบายตาม พระราชบัญญัติระเบียบบริ หารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 และแก้ไขเพิ่มเติม(ฉบับที่ 8) พ.ศ.
2553
มาตรา 21 ในกระทรวงให้มีปลัดกระทรวงคนหนึ่งมีอานาจหน้าที่ ดังนี้
(1) รับผิดชอบควบคุมราชการประจาในกระทรวง แปลงนโยบายเป็ นแนวทางและแผนการปฏิบตั ิราชการ
กากับการทางานของส่ วนราชการในกระทรวงให้เกิดผลสัมฤทธิ์ และประสานการปฏิบตั ิงานของส่ วน
ราชการในกระทรวงให้มีเอกภาพสอดคล้องกัน รวมทั้งเร่ งรัดติดตาม และประเมินผลการปฏิบตั ิราชการของ
ส่ วนราชการในกระทรวง
(2) เป็ นผูบ้ งั คับบัญชาข้าราชการของส่ วนราชการในกระทรวงรองจากรัฐมนตรี
(3) เป็ นผูบ้ งั คับบัญชาข้าราชการในสานักงานปลัดกระทรวง และรับผิดชอบในการปฏิบตั ิราชการของ
สานักงานปลัดกระทรวงในการปฏิบตั ิราชการของปลัดกระทรวงตามวรรคหนึ่ง จะให้มีรองปลัดกระทรวง
คนหนึ่งเป็ นผูช้ ่วยสั่งและปฏิบตั ิราชการตามที่ปลัดกระทรวงมอบหมายก็ได้ภายในกระทรวงจะออก
กฎกระทรวงกาหนดให้ส่วนราชการระดับกรมตั้งแต่สองส่ วนราชการขึ้นไปอยูภ่ ายใต้กลุ่มภารกิจเดียวกันก็
ได้ โดยให้แต่ละกลุ่มภารกิจมีผดู ้ ารงตาแหน่งไมต่ากว่าอธิ บดีคนหนึ่งเป็ นหัวหน้ากลุ่มภารกิจรับผิดชอบ
ราชการและบังคับบัญชาข้าราชการของส่ วนราชการในกลุ่มภารกิจนั้น โดยปฏิบตั ิราชการขึ้นตรงต่อ
ปลัดกระทรวงหรื อขึ้นตรงต่อรัฐมนตรี ตามที่กาหนดโดยกฎกระทรวง และในกรณี ที่ข้ ึนตรงต่อรัฐมนตรี ตอ้ ง
รายงานผลการดาเนินงานต่อปลัดกระทรวงตามที่กาหนดโดยกฎกระทรวงในกลุ่มภารกิจเดียวกัน หัวหน้า
กลุ่มภารกิจอาจกาหนดให้ส่วนราชการของส่ วนราชการระดับกรมแห่งหนึ่งปฏิบตั ิงานที่เกี่ยวกับสารบรรณ
บุคลากร การเงิน การพัสดุ หรื อการบริ หารงานทัว่ ไปให้แกส่ วนราชการแหงอื่นภายใต้กลุ่มภารกิจเดียวกันก็
ได้กระทรวงใดมิได้จดั ให้มีกลุ่มภารกิจ และมีปริ มาณงานมาก จะให้มีรองปลัดกระทรวงเป็ นผูช้ ่วยสั่งและ
ปฏิบตั ิราชการเพิ่มขึ้นเป็ นสองคนก็ได้ ในกรณี ที่กระทรวงใดมีการจัดกลุ่มภารกิจ จะให้มีรองปลัดกระทรวง
เพิ่มขึ้นเป็ นหัวหน้ากลุ่มภารกิจก็ได้และให้อานาจหน้าที่ของปลัดกระทรวงที่เกี่ยวกับราชการของส่ วน
ราชการในกลุ่มภารกิจเป็ นอานาจหน้าที่ของหัวหน้ากลุ่มภารกิจนั้น ทั้งนี้ เว้นแต่จะมีกฎกระทรวงกาหนดไว้
เป็ นอย่างอื่นกระทรวงใดมีภารกิจเพิม่ ขึ้น และมีความจาเป็ นอย่างยิง่ ต้องมีรองปลัดกระทรวงมากกว่าที่
กาหนดไว้ในวรรคห้าหรื อวรรคหก คณะกรรมการข้าราชการพลเรื อน และคณะกรรมการพัฒนาระบบ
ราชการจะรวมกันอนุมตั ิให้กระทรวงนั้นมีรองปลัดกระทรวงเพิ่มขึ้นเป็ นกรณี พิเศษโดยจะกาหนดเงื่อนไข
หรื อเงื่อนเวลาไว้ดว้ ยหรื อไมก็ได้ในการดาเนินการตามวรรคเจ็ด ให้คณะกรรมการพัฒนาระบบราชการจัด
ให้มีการประชุมพิจารณารวมกันโดยกรรมการแต่ละฝ่ ายจะต้องมาประชุมไมน้อยกว่ากึ่งหนึ่งจึงจะเป็ นองค์
ประชุม และในการออกเสี ยงลงมติจะต้องได้คะแนนเสี ยงของกรรมการแต่ละฝ่ ายเกินกว่ากึ่งหนึ่งของ
กรรมการฝ่ ายดังกล่าวที่มาประชุม แล้วให้นามติดงั กล่าวเสนอคณะรัฐมนตรี พิจารณาต่อไป

35.ตอบ “ข้อ ง. รัฐมนตรี หรื อปลัดกระทรวงก็ได้ แล้วแต่จะกาหนดไว้ในกฎกระทรวง”


อธิบายตาม พระราชบัญญัติระเบียบบริ หารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 และแก้ไขเพิ่มเติม(ฉบับที่ 8) พ.ศ.
2553
มาตรา 21 ในกระทรวงให้มีปลัดกระทรวงคนหนึ่งมีอานาจหน้าที่ ดังนี้
(1) รับผิดชอบควบคุมราชการประจาในกระทรวง แปลงนโยบายเป็ นแนวทางและแผนการ
ปฏิบตั ิราชการกากับการทางานของส่ วนราชการในกระทรวงให้เกิดผลสัมฤทธิ์ และประสานการปฏิบตั ิงาน
ของส่ วนราชการในกระทรวงให้มีเอกภาพสอดคล้องกัน รวมทั้งเร่ งรัดติดตาม และประเมินผลการปฏิบตั ิ
ราชการของส่ วนราชการในกระทรวง
(2) เป็ นผูบ้ งั คับบัญชาข้าราชการของส่ วนราชการในกระทรวงรองจากรัฐมนตรี
(3) เป็ นผูบ้ งั คับบัญชาข้าราชการในสานักงานปลัดกระทรวง และรับผิดชอบในการปฏิบตั ิ
ราชการของสานักงานปลัดกระทรวงในการปฏิบตั ิราชการของปลัดกระทรวงตามวรรคหนึ่ง จะให้มีรอง
ปลัดกระทรวงคนหนึ่งเป็ นผูช้ ่วยสั่งและปฏิบตั ิราชการตามที่ปลัดกระทรวงมอบหมายก็ได้ภายในกระทรวง
จะออกกฎกระทรวงกาหนดให้ส่วนราชการระดับกรมตั้งแต่สองส่ วนราชการขึ้นไปอยูภ่ ายใต้กลุ่มภารกิจ
เดียวกันก็ได้ โดยให้แต่ละกลุ่มภารกิจมีผดู ้ ารงตาแหน่งไมต่ากว่าอธิ บดีคนหนึ่งเป็ นหัวหน้ากลุ่มภารกิจ
รับผิดชอบราชการและบังคับบัญชาข้าราชการของส่ วนราชการในกลุ่มภารกิจนั้น โดยปฏิบตั ิราชการขึ้นตรง
ต่อปลัดกระทรวงหรื อขึ้นตรงต่อรัฐมนตรี ตามที่กาหนดโดยกฎกระทรวง และในกรณี ที่ข้ ึนตรงต่อรัฐมนตรี
ต้องรายงานผลการดาเนินงานต่อปลัดกระทรวงตามที่กาหนดโดยกฎกระทรวงในกลุ่มภารกิจเดียวกัน
หัวหน้ากลุ่มภารกิจอาจกาหนดให้ส่วนราชการของส่ วนราชการระดับกรมแห่งหนึ่งปฏิบตั ิงานที่เกี่ยวกับสาร
บรรณ บุคลากร การเงิน การพัสดุ หรื อการบริ หารงานทัว่ ไปให้แกส่ วนราชการแหงอื่นภายใต้กลุ่มภารกิจ
เดียวกันก็ได้กระทรวงใดมิได้จดั ให้มีกลุ่มภารกิจ และมีปริ มาณงานมาก จะให้มีรองปลัดกระทรวงเป็ นผูช้ ่วย
สั่งและปฏิบตั ิราชการเพิ่มขึ้นเป็ นสองคนก็ได้ในกรณี ที่กระทรวงใดมีการจัดกลุ่มภารกิจ จะให้มีรอง
ปลัดกระทรวงเพิ่มขึ้นเป็ นหัวหน้ากลุ่มภารกิจก็ได้และให้อานาจหน้าที่ของปลัดกระทรวงที่เกี่ยวกับราชการ
ของส่ วนราชการในกลุ่มภารกิจเป็ นอานาจหน้าที่ของหัวหน้ากลุ่มภารกิจนั้น ทั้งนี้ เว้นแต่จะมีกฎกระทรวง
กาหนดไว้เป็ นอย่างอื่นกระทรวงใดมีภารกิจเพิ่มขึ้น และมีความจาเป็ นอย่างยิง่ ต้องมีรองปลัดกระทรวง
มากกว่าที่กาหนดไว้ในวรรคห้าหรื อวรรคหก คณะกรรมการข้าราชการพลเรื อน และคณะกรรมการพัฒนา
ระบบราชการจะรวมกันอนุมตั ิให้กระทรวงนั้นมีรองปลัดกระทรวงเพิ่มขึ้นเป็ นกรณี พิเศษโดยจะกาหนด
เงื่อนไขหรื อเงื่อนเวลาไว้ดว้ ยหรื อไมก็ได้ในการดาเนินการตามวรรคเจ็ด ให้คณะกรรมการพัฒนาระบบ
ราชการจัดให้มีการประชุมพิจารณารวมกันโดยกรรมการแต่ละฝ่ ายจะต้องมาประชุมไมน้อยกว่ากึ่งหนึ่งจึง
จะเป็ นองค์ประชุม และในการออกเสี ยงลงมติจะต้องได้คะแนนเสี ยงของกรรมการแต่ละฝ่ ายเกินกว่ากึ่งหนึ่ง
ของกรรมการฝ่ ายดังกล่าวที่มาประชุม แล้วให้นามติดงั กล่าวเสนอคณะรัฐมนตรี พิจารณาต่อไป

36.ตอบ “ข้อ ข. ปลัดกระทรวง”


อธิบายตาม พระราชบัญญัติระเบียบบริ หารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 และแก้ไขเพิ่มเติม(ฉบับที่ 8) พ.ศ.
2553
มาตรา 19/1 ให้ปลัดกระทรวง หัวหน้ากลุ่มภารกิจและหัวหน้าส่ วนราชการตั้งแต่ระดับกรมขึ้นไป
วางแผนและประสานกิจกรรมให้มีการใช้ทรัพยากรของส่ วนราชการตางๆ ในกระทรวงรวมกันเพื่อให้เกิด
ประสิ ทธิภาพ ความคุม้ ค่า และบรรลุเป้ าหมายของกระทรวง
เพื่อประโยชน์ในการดาเนินการตามวรรคหนึ่ง หัวหน้าส่ วนราชการและหัวหน้ากลุ่มภารกิจดังกล่าวจะมี

37.ตอบ “ข้อ ข. 2 คน”


อธิบายตาม พระราชบัญญัติระเบียบบริ หารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 และแก้ไขเพิ่มเติม(ฉบับที่ 8) พ.ศ.
2553
มาตรา 21 ในกระทรวงให้มีปลัดกระทรวงคนหนึ่งมีอานาจหน้าที่ ดังนี้
(1) รับผิดชอบควบคุมราชการประจาในกระทรวง แปลงนโยบายเป็ นแนวทางและแผนการปฏิบตั ิราชการ
กากับการทางานของส่ วนราชการในกระทรวงให้เกิดผลสัมฤทธิ์ และประสานการปฏิบตั ิงานของส่ วน
ราชการในกระทรวงให้มีเอกภาพสอดคล้องกัน รวมทั้งเร่ งรัดติดตาม และประเมินผลการปฏิบตั ิราชการของ
ส่ วนราชการในกระทรวง
(2) เป็ นผูบ้ งั คับบัญชาข้าราชการของส่ วนราชการในกระทรวงรองจากรัฐมนตรี
(3) เป็ นผูบ้ งั คับบัญชาข้าราชการในสานักงานปลัดกระทรวง และรับผิดชอบในการปฏิบตั ิราชการของ
สานักงานปลัดกระทรวงในการปฏิบตั ิราชการของปลัดกระทรวงตามวรรคหนึ่ง จะให้มีรองปลัดกระทรวง
คนหนึ่งเป็ นผูช้ ่วยสั่งและปฏิบตั ิราชการตามที่ปลัดกระทรวงมอบหมายก็ได้ภายในกระทรวงจะออก
กฎกระทรวงกาหนดให้ส่วนราชการระดับกรมตั้งแต่สองส่ วนราชการขึ้นไปอยูภ่ ายใต้กลุ่มภารกิจเดียวกันก็
ได้ โดยให้แต่ละกลุ่มภารกิจมีผดู ้ ารงตาแหน่งไมต่ากว่าอธิ บดีคนหนึ่งเป็ นหัวหน้ากลุ่มภารกิจรับผิดชอบ
ราชการและบังคับบัญชาข้าราชการของส่ วนราชการในกลุ่มภารกิจนั้น โดยปฏิบตั ิราชการขึ้นตรงต่อ
ปลัดกระทรวงหรื อขึ้นตรงต่อรัฐมนตรี ตามที่กาหนดโดยกฎกระทรวง และในกรณี ที่ข้ ึนตรงต่อรัฐมนตรี ตอ้ ง
รายงานผลการดาเนินงานต่อปลัดกระทรวงตามที่กาหนดโดยกฎกระทรวงในกลุ่มภารกิจเดียวกัน หัวหน้า
กลุ่มภารกิจอาจกาหนดให้ส่วนราชการของส่ วนราชการระดับกรมแห่งหนึ่งปฏิบตั ิงานที่เกี่ยวกับสารบรรณ
บุคลากร การเงิน การพัสดุ หรื อการบริ หารงานทัว่ ไปให้แกส่ วนราชการแหงอื่นภายใต้กลุ่มภารกิจเดียวกันก็
ได้กระทรวงใดมิได้จดั ให้มีกลุ่มภารกิจ และมีปริ มาณงานมาก จะให้มีรองปลัดกระทรวงเป็ นผูช้ ่วยสั่งและ
ปฏิบตั ิราชการเพิ่มขึ้นเป็ นสองคนก็ได้
ในกรณี ที่กระทรวงใดมีการจัดกลุ่มภารกิจ จะให้มีรองปลัดกระทรวงเพิ่มขึ้นเป็ นหัวหน้ากลุ่มภารกิจ
ก็ได้และให้อานาจหน้าที่ของปลัดกระทรวงที่เกี่ยวกับราชการของส่ วนราชการในกลุ่มภารกิจเป็ นอานาจ
หน้าที่ของหัวหน้ากลุ่มภารกิจนั้น ทั้งนี้ เว้นแต่จะมีกฎกระทรวงกาหนดไว้เป็ นอย่างอื่นกระทรวงใดมีภารกิจ
เพิ่มขึ้น และมีความจาเป็ นอย่างยิง่ ต้องมีรองปลัดกระทรวงมากกว่าที่กาหนดไว้ในวรรคห้าหรื อวรรคหก
คณะกรรมการข้าราชการพลเรื อน และคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการจะรวมกันอนุมตั ิให้กระทรวงนั้น
มีรองปลัดกระทรวงเพิ่มขึ้นเป็ นกรณี พิเศษโดยจะกาหนดเงื่อนไขหรื อเงื่อนเวลาไว้ดว้ ยหรื อไมก็ได้ในการ
ดาเนินการตามวรรคเจ็ด ให้คณะกรรมการพัฒนาระบบราชการจัดให้มีการประชุมพิจารณารวมกันโดย
กรรมการแต่ละฝ่ ายจะต้องมาประชุมไมน้อยกว่ากึ่งหนึ่งจึงจะเป็ นองค์ประชุม และในการออกเสี ยงลงมติ
จะต้องได้คะแนนเสี ยงของกรรมการแต่ละฝ่ ายเกินกว่ากึ่งหนึ่งของกรรมการฝ่ ายดังกล่าวที่มาประชุม แล้วให้
นามติดงั กล่าวเสนอคณะรัฐมนตรี พิจารณาต่อไป

38.ตอบ “ข้อ ก.รัฐมนตรี ชวยว่าการกระทรวง/รัฐมนตรี คนใดคนหนึ่ง”


อธิบายตาม พระราชบัญญัติระเบียบบริ หารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 และแก้ไขเพิ่มเติม(ฉบับที่ 8) พ.ศ.
2553
มาตรา 42 ในกรณี ที่ไมมีผดู ้ ารงตาแหน่งรัฐมนตรี วา่ การกระทรวงหรื อมีแต่ไมอาจปฏิบตั ิราชการได้
ให้รัฐมนตรี ชวยว่าการกระทรวงเป็ นผูร้ ักษาราชการแทน ถ้ามีรัฐมนตรี ชวยว่าการกระทรวงหลายคน ให้
คณะรัฐมนตรี มอบหมายให้รัฐมนตรี ชวยว่าการกระทรวงคนใดคนหนึ่งเป็ นผูร้ ักษาราชการแทน ถ้าไม่มีผู ้
ดารงตาแหน่งรัฐมนตรี ชวยว่าการกระทรวงหรื อมีแต่ไมอาจปฏิบตั ิราชการได้ ให้คณะรัฐมนตรี มอบหมายให้
รัฐมนตรี คนใดคนหนึ่งเป็ นผูร้ ักษาราชการแทนให้นาความในวรรคหนึ่งมาใช้บงั คับแกรัฐมนตรี วา่ การทบวง
ด้วยโดยอนุโลม
39.ตอบ “ข้อ ก. นายกรัฐมนตรี หรื อรองนายกรัฐมนตรี ที่นายกรัฐมนตรี มอบหมายเป็ นประธาน”
อธิบายตาม พระราชบัญญัติระเบียบบริ หารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 และแก้ไขเพิ่มเติม(ฉบับที่ 8) พ.ศ.
2553
มาตรา 71/1 ให้มีคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการคณะหนึ่ง เรี ยกโดยย่อว่า “ก.พ.ร.”
ประกอบด้วยนายกรัฐมนตรี หรื อรองนายกรัฐมนตรี ที่นายกรัฐมนตรี มอบหมายเป็ นประธาน รัฐมนตรี หนึ่ง
คนที่นายกรัฐมนตรี กาหนดเป็ นรองประธาน ผูซ้ ่ ึงคณะกรรมการการกระจายอานาจให้แกองค์กรปกครอง
ส่ วนท้องถิ่นมอบหมายหนึ่งคน และกรรมการผูท้ รงคุณวุฒิไมเกินสิ บคน ซึ่ งคณะรัฐมนตรี แต่งตั้งจากผูม้ ี
ความรู้ความเชี่ยวชาญในทางด้าน
นิติศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ รัฐศาสตร์ การบริ หารรัฐกิจ การบริ หารธุ รกิจ การเงินการคลัง จิตวิทยาองค์การ
และสังคมวิทยาอย่างน้อยด้านละหนึ่งคน
ในกรณี ที่มีความจาเป็ นเพื่อให้การปฏิบตั ิงานบรรลุผล คณะรัฐมนตรี จะกาหนดให้กรรมการ
ผูท้ รงคุณวุฒิไม่นอ้ ยกว่าสามคนแต่ไมเกินห้าคนต้องทางานเต็มเวลาก็ได้เลขาธิ การ ก.พ.ร. เป็ นกรรมการและ
เลขานุการโดยตาแหน่งการแต่งตั้งกรรมการผูท้ รงคุณวุฒิ ให้คณะรัฐมนตรี พิจารณาจากรายชื่อบุคคลที่ได้รับ
การเสนอโดยวิธีการสรรหา ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์และวิธีการสรรหาที่คณะรัฐมนตรี กาหนด

40.ตอบ “ข้อ ก. 4 ปี /สองวาระ”


อธิบายตาม พระราชบัญญัติระเบียบบริ หารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 และแก้ไขเพิ่มเติม(ฉบับที่ 8) พ.ศ.
2553
มาตรา 71/3 กรรมการผูท้ รงคุณวุฒิมีวาระการดารงตาแหน่งคราวละสี่ ปี ผูซ้ ่ ึ งพ้นจากตาแหน่งแล้ว
อาจได้รับแต่งตั้งอีกได้แต่ไมเกินสองวาระติดต่อกันในกรณี ที่กรรมการผูท้ รงคุณวุฒิพน้ จากตาแหน่งตาม
วาระ แต่ยงั มิได้แต่งตั้งกรรมการผูท้ รงคุณวุฒิใหม่ ให้
กรรมการผูท้ รงคุณวุฒิน้ นั ปฏิบตั ิหน้าที่ไปก่อนจนกว่าจะได้แต่งตั้งกรรมการผูท้ รงคุณวุฒิใหม่

41.ตอบ “ข้อ ค. กรม”


อธิบายตาม พระราชบัญญัติระเบียบบริ หารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 และแก้ไขเพิม่ เติม(ฉบับที่ 8) พ.ศ.
2553
มาตรา 17 ให้จดั ระเบียบราชการของกระทรวง ดังนี้
(1) สานักงานรัฐมนตรี
(2) สานักงานปลัดกระทรวง
(3) กรม หรื อส่ วนราชการที่เรี ยกชื่ออย่างอื่น เว้นแต่บางกระทรวงเห็นว่าไมมีความจาเป็ นจะไม่แยกส่ วน
ราชการตั้งขึ้นเป็ นกรมก็ได้ให้ส่วนราชการตาม (2) และส่ วนราชการที่เรี ยกชื่ออย่างอื่นตาม (3) มีฐานะเป็ น
กรมกระทรวงใดมีความจาเป็ นจะต้องมีส่วนราชการเพื่อทาหน้าที่จดั ทานโยบายและแผน กากับ เร่ งรัด และ
ติดตามนโยบายและแผนการปฏิบตั ิราชการของกระทรวง จะจัดระเบียบบริ หารราชการโดยอนุมตั ิ
คณะรัฐมนตรี เพื่อให้มีสานักนโยบายและแผนเป็ นส่ วนราชการภายใน ขึ้นตรงต่อรัฐมนตรี วา่ การกระทรวงก็
ได้ในกระทรวงจะตราพระราชกฤษฎีกาจัดตั้งส่ วนราชการเพื่อรับผิดชอบภาระหน้าที่ใดโดยเฉพาะซึ่ งไมมี
ฐานะเป็ นกรมแต่มีผบู ้ งั คับบัญชาของส่ วนราชการดังกล่าวเป็ นอธิ บดีหรื อตาแหน่งที่เรี ยกชื่ออย่างอื่นที่มี
ฐานะเป็ นอธิ บดีก็ได้ ในกรณี เชนนั้นให้อธิ บดีหรื อผูด้ ารงตาแหน่งที่เรี ยกชื่ออย่างอื่นดังกล่าวมีอานาจหน้าที่
สาหรับส่ วนราชการนั้นเชนเดียวกับอธิ บดี ตามที่กาหนดในพระราชกฤษฎีกา และให้คณะอนุกรรมการ
สามัญประจากระทรวงทาหน้าที่คณะอนุกรรมการสามัญประจากรม สาหรับส่ วนราชการนั้นการตราพระ
ราชกฤษฎีกาตามวรรคสี่ ให้กระทาได้ในกรณี เป็ นการยุบ รวม หรื อโอนกรมในกระทรวงใดมาจัดตั้งเป็ นส่ วน
ราชการตามวรรคสี่ ในกระทรวงนั้นหรื อกระทรวงอื่น โดยไมมีการกาหนดตาแหน่งหรื ออัตราของข้าราชการ
หรื อลูกจ้างเพิ่มขึ้น และให้นาความในมาตรา 8 ทวิ และมาตรา 8 เบญจ มาใช้บงั คับโดยอนุโลมการแต่งตั้ง
อธิ บดีหรื อผูด้ ารงตาแหน่งที่เรี ยกชื่ออย่างอื่นของส่ วนราชการตามวรรคสี่ ให้รัฐมนตรี เจ้าสังกัดเป็ นผู ้
นาเสนอคณะรัฐมนตรี เพื่อพิจารณาอนุมตั ิ และให้ผดู ้ ารงตาแหน่งดังกล่าวเป็ นผูด้ ารงตาแหน่งระดับสู งตาม
กฎหมายประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการปองกันและปราบปรามการทุจริ ตก่อนที่คณะรัฐมนตรี จะให้ความ
เห็นชอบในรางพระราชกฤษฎีกาจัดตั้งส่ วนราชการตามวรรคสี่ ของ
กระทรวงใด ให้นายกรัฐมนตรี สงรางพระราชกฤษฎีกาดังกล่าวต่อสภาผูแ้ ทนราษฎรและวุฒิสภาเพื่อทราบ
ให้นาความในวรรคสี่ วรรคห้า วรรคหก และวรรคเจ็ด มาใช้บงั คับกับสานักนายกรัฐมนตรี และทบวงตาม
หมวด 3 โดยอนุโลม
มาตรา 7 ให้จดั ระเบียบบริ หารราชการส่ วนกลาง ดังนี้
(1) สานักนายกรัฐมนตรี
(2) กระทรวง หรื อทบวงซึ่งมีฐานะเทียบเทากระทรวง
(3) ทบวง ซึ่ งสังกัดสานักนายกรัฐมนตรี หรื อกระทรวง
(4) กรม หรื อส่ วนราชการที่เรี ยกชื่ออย่างอื่นและมีฐานะเป็ นกรม ซึ่ งสังกัดหรื อไมสังกัดสานัก
นายกรัฐมนตรี กระทรวงหรื อทบวง
สานักนายกรัฐมนตรี มีฐานะเป็ นกระทรวงส่ วนราชการตาม (1) (2) (3) และ (4) มีฐานะเป็ นนิติบุคคล

42.ตอบ “ข้อ ข. ราชการทางเมือง”


อธิบายตาม พระราชบัญญัติระเบียบบริ หารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 และแก้ไขเพิ่มเติม(ฉบับที่ 8) พ.ศ.
2553
มาตรา 22 สานักงานรัฐมนตรี มีอานาจหน้าที่เกี่ยวกับราชการทางการเมือง มีเลขานุการรัฐมนตรี ซ่ ึง
เป็ นข้าราชการการเมืองเป็ นผูบ้ งั คับบัญชาข้าราชการ และรับผิดชอบในการปฏิบตั ิราชการของสานักงาน
รัฐมนตรี ข้ ึนตรงต่อรัฐมนตรี วา่ การกระทรวง และจะให้มีผชู ้ ่วยเลขานุการรัฐมนตรี ซ่ ึ งเป็ นข้าราชการ
การเมืองคนหนึ่งหรื อหลายคนเป็ นผูช้ ่วยสั่งหรื อปฏิบตั ิราชการแทนเลขานุการรัฐมนตรี ก็ได้

43.ตอบ “ข้อ ค. สานักงานเลขานุการรัฐมนตรี ”


อธิบายตาม พระราชบัญญัติระเบียบบริ หารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 และแก้ไขเพิ่มเติม(ฉบับที่ 8) พ.ศ.
2553
มาตรา 22 สานักงานรัฐมนตรี มีอานาจหน้าที่เกี่ยวกับราชการทางการเมือง มีเลขานุการรัฐมนตรี ซ่ ึง
เป็ นข้าราชการการเมืองเป็ นผูบ้ งั คับบัญชาข้าราชการ และรับผิดชอบในการปฏิบตั ิราชการของสานักงาน
รัฐมนตรี ข้ ึน
ตรงต่อรัฐมนตรี วา่ การกระทรวง และจะให้มีผชู ้ ่วยเลขานุการรัฐมนตรี ซ่ ึ งเป็ นข้าราชการการเมืองคนหนึ่ง
หรื อหลายคนเป็ นผูช้ ่วยสั่งหรื อปฏิบตั ิราชการแทนเลขานุ การรัฐมนตรี ก็ได้

44.ตอบ “ข้อ ค. อธิบดี”


อธิบายตาม พระราชบัญญัติระเบียบบริ หารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 และแก้ไขเพิม่ เติม(ฉบับที่ 8) พ.ศ.
2553
มาตรา 32 กรมมีอานาจหน้าที่เกี่ยวกับราชการของกระทรวงตามที่กาหนดในกฎกระทรวงแบ่งส่ วน
ราชการของกรม หรื อตามกฎหมายว่าด้วยอานาจหน้าที่ของกรมนั้นในกรมหนึ่งมีอธิ บดีคนหนึ่งเป็ น
ผูบ้ งั คับบัญชาข้าราชการและรับผิดชอบในการปฏิบตั ิราชการของกรมให้เกิดผลสัมฤทธิ์ และเป็ นไปตาม
เป้ าหมาย แนวทาง และแผนการปฏิบตั ิราชการของกระทรวงและในกรณี ที่มีกฎหมายอื่นกาหนดอานาจ
หน้าที่ของอธิบดีไว้เป็ นการเฉพาะ การใช้อานาจและการปฏิบตั ิหน้าที่ตามกฎหมายดังกล่าวให้คานึงถึง
นโยบายที่คณะรัฐมนตรี แถลงไว้ต่อรัฐสภาหรื อที่คณะรัฐมนตรี กาหนดหรื ออนุมตั ิ และนโยบายแนวทาง
และแผนการปฏิบตั ิราชการของกระทรวงด้วย

45.ตอบ “ข้อ ง. เลขานุการกรม”


อธิบายตาม พระราชบัญญัติระเบียบบริ หารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 และแก้ไขเพิ่มเติม(ฉบับที่ 8) พ.ศ.
2553
มาตรา 33 สานักงานเลขานุการกรมมีอานาจหน้าที่เกี่ยวกับราชการทัว่ ไปของกรม และราชการที่
มิได้แยกให้เป็ นหน้าที่ของกองหรื อส่ วนราชการใดโดยเฉพาะมีเลขานุการกรมเป็ นผูบ้ งั คับบัญชาข้าราชการ
และรับผิดชอบในการปฏิบตั ิราชการของสานักงานเลขานุการกรม

46.ตอบ “ข้อ ง. พระราชกฤษฎีกา”


อธิบายตาม พระราชบัญญัติระเบียบบริ หารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 และแก้ไขเพิ่มเติม(ฉบับที่ 8) พ.ศ.
2553
มาตรา 34 กระทรวง ทบวง กรมใดมีเหตุพิเศษ จะตราพระราชกฤษฎีกาแบ่งท้องที่ออกเป็ นเขต
เพื่อให้มีหวั หน้าส่ วนราชการประจาเขตแล้วแต่จะเรี ยกชื่อเพื่อปฏิบตั ิงานทางวิชาการก็ได้หวั หน้าส่ วน
ราชการประจาเขตมีอานาจหน้าที่เป็ นผูร้ ับนโยบายและคาสั่งจากกระทรวง ทบวง กรม มาปฏิบตั ิงานทาง
วิชาการ และเป็ นผูบ้ งั คับบัญชาข้าราชการประจาสานักงานเขตซึ่ งสังกัดกระทรวง ทบวง กรมนั้น

47.ตอบ “ข้อ ข. หนังสื อ”


อธิบายตาม พระราชบัญญัติระเบียบบริ หารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 และแก้ไขเพิม่ เติม(ฉบับที่ 8) พ.ศ.
2553
มาตรา 38 อานาจในการสั่ง การอนุญาต การอนุมตั ิ การปฏิบตั ิราชการหรื อการดาเนินการอื่นที่ผู้
ดารงตาแหน่งใดจะพึงปฏิบตั ิหรื อดาเนิ นการตามกฎหมาย กฎ ระเบียบ ประกาศ หรื อคาสั่งใด หรื อมติของ
คณะรัฐมนตรี ในเรื่ องใด ถ้ากฎหมาย กฎ ระเบียบ ประกาศ หรื อคาสั่งนั้น หรื อมติของคณะรัฐมนตรี ในเรื่ อง
นั้นมิได้กาหนดเรื่ องการมอบอานาจไว้เป็ นอย่างอื่น หรื อมิได้หา้ มเรื่ องการมอบอานาจไว้ ผูด้ ารงตาแหน่งนั้น
อาจมอบอานาจให้ผดู้ ารง
ตาแหน่งอื่นในส่ วนราชการเดียวกันหรื อส่ วนราชการอื่น หรื อผูว้ า่ ราชการจังหวัดเป็ นผูป้ ฏิบตั ิราชการแทน
ได้ ทั้งนี้ตามหลักเกณฑ์ที่กาหนดในพระราชกฤษฎีกา
พระราชกฤษฎีกาตามวรรคหนึ่งอาจกาหนดให้มีการมอบอานาจในเรื่ องใดเรื่ องหนึ่งตลอดจนการ
มอบอานาจให้ทานิติกรรมสัญญา ฟ้ องคดีและดาเนินคดี หรื อกาหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ หรื อเงื่อนไขในการ
มอบอานาจหรื อที่ผรู ้ ับมอบอานาจต้องปฏิบตั ิก็ได้ความในวรรคหนึ่งมิให้ใช้บงั คับกับอานาจในการอนุ ญาต
ตามกฎหมายที่บญั ญัติให้ตอ้ งออกใบอนุญาตหรื อที่บญั ญัติผมู้ ีอานาจอนุญาตไว้เป็ นการเฉพาะ ในกรณี เชน
นั้นให้ผดู ้ ารงตาแหน่งซึ่ งมีอานาจตามกฎหมายดังกล่าวมีอานาจมอบอานาจให้ขา้ ราชการซึ่ งเป็ น
ผูใ้ ต้บงั คับบัญชาและผูว้ า่ ราชการจังหวัดได้ตามที่เห็นสมควร หรื อตามที่คณะรัฐมนตรี กาหนดในกรณี มอบ
อานาจให้ผวู ้ า่ ราชการจังหวัด ให้ผวู ้ า่ ราชการจังหวัดมีอานาจมอบอานาจได้ต่อไปตามหลักเกณฑ์และ
เงื่อนไขที่ผมู ้ อบอานาจกาหนดในกรณี ตามวรรคสาม เพื่อประโยชน์ในการอานวยความสะดวกแกประชาชน
จะตราพระราชกฤษฎีกากาหนดรายชื่ อกฎหมายที่ผดู ้ ารงตาแหน่งซึ่ งมีอานาจตามกฎหมายดังกล่าวอาจมอบ
อานาจตามวรรคหนึ่งตามหลักเกณฑ์และเงื่อนไขที่กาหนดในพระราชกฤษฎีกาดังกล่าวก็ได้การมอบอานาจ
ให้ทาเป็ นหนังสื อ

48.ตอบ “ก. ไมต้องนาสงคลังตามกฎหมายว่าด้วยวิธีการงบประมาณและกฎหมายว่าด้วยเงินคงคลัง”


อธิบายตาม พระราชบัญญัติระเบียบบริ หารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 และแก้ไขเพิม่ เติม(ฉบับที่ 8) พ.ศ.
2553
มาตรา 40/1 ในการปฏิบตั ิราชการของส่ วนราชการภายในกรม ถ้าการปฏิบตั ิราชการใดของส่ วน
ราชการนั้นมีลกั ษณะเป็ นงานการให้บริ การหรื อมีการให้บริ การเกี่ยวเนื่องอยูด่ ว้ ยและหากแยกการบริ หาร
ออกเป็ นหน่วยบริ การรู ปแบบพิเศษจะบรรลุเป้ าหมายตามมาตรา ๓/๑ ยิง่ ขึ้น ส่ วนราชการดังกล่าวโดยความ
เห็นชอบของคณะรัฐมนตรี จะแยกการปฏิบตั ิราชการในเรื่ องนั้น ไปจัดตั้งเป็ นหน่วยบริ การรู ปแบบพิเศษ ซึ่ง
มิใช่เป็ นส่ วนราชการหรื อรัฐวิสาหกิจแต่อยูใ่ นกากับของส่ วนราชการดังกล่าวก็ได้ ทั้งนี้ ให้เป็ นไปตาม
ระเบียบสานักนายกรัฐมนตรี ระเบียบสานักนายกรัฐมนตรี ตามวรรคหนึ่งอย่างน้อยให้กาหนดรายละเอียด
เกี่ยวกับการจัดตั้งการมอบอานาจให้ปฏิบตั ิราชการแทน วิธีการบริ หารงาน การดาเนินการด้านทรัพย์สิน การ
กากับดูแลสิ ทธิ ประโยชน์ของบุคลากรและการยุบเลิกไว้ดว้ ยให้หน่วยบริ การรู ปแบบพิเศษ มีหน้าที่
ปฏิบตั ิงานให้กบั ส่ วนราชการตามภารกิจที่จดั ตั้งหน่วยบริ การรู ปแบบพิเศษนั้นเป็ นหลัก และสนับสนุน
ภารกิจอื่นของส่ วนราชการดังกล่าวตามที่ได้รับมอบหมาย และอาจให้บริ การแกส่ วนราชการอื่น หน่วยงาน
ของรัฐหรื อเอกชน แต่ตอ้ งไมกระทบกระเทือนต่อภารกิจอันเป็ น
วัตถุประสงค์แหงการจัดตั้งให้รายได้ของหน่วยบริ การรู ปแบบพิเศษเป็ นรายได้ที่ไมต้องนาสงคลังตาม
กฎหมายว่าด้วยวิธีการงบประมาณและกฎหมายว่าด้วยเงินคงคลัง

49.ตอบ “ข้อ ง. คณะรัฐมนตรี ”


อธิบายตาม พระราชบัญญัติระเบียบบริ หารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 และแก้ไขเพิ่มเติม(ฉบับที่ 8) พ.ศ.
2553
มาตรา 41 ในกรณี ที่นายกรัฐมนตรี ไมอาจปฏิบตั ิราชการได้ ให้รองนายกรัฐมนตรี เป็ นผูร้ ักษา
ราชการแทนถ้ามีรองนายกรัฐมนตรี หลายคน ให้คณะรัฐมนตรี มอบหมายให้รองนายกรัฐมนตรี คนใดคน
หนึ่งเป็ นผูร้ ักษาราชการแทน ถ้าไม่มีผดู ้ ารงตาแหน่งรองนายกรัฐมนตรี หรื อมีแต่ไมอาจปฏิบตั ิราชการได้ ให้
คณะรัฐมนตรี มอบหมายให้รัฐมนตรี คนใดคนหนึ่งเป็ นผูร้ ักษาราชการแทน

50.ตอบ “ค. จังหวัด อาเภอ”


อธิบายตาม พระราชบัญญัติระเบียบบริ หารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 และแก้ไขเพิ่มเติม(ฉบับที่ 8) พ.ศ.
2553
มาตรา 51 ให้จดั ระเบียบบริ หารราชการส่ วนภูมิภาค ดังนี้
(1) จังหวัด
(2) อาเภอ

51.ตอบ “ข้อ ข. นิติบุคคล / พระราชบัญญัติ”


อธิบายตาม พระราชบัญญัติระเบียบบริ หารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 และแก้ไขเพิม่ เติม(ฉบับที่ 8) พ.ศ.
2553
มาตรา 52 ให้รวมท้องที่หลายๆ อาเภอตั้งขึ้นเป็ นจังหวัดมีฐานะเป็ นนิติบุคคล การตั้ง ยุบ และ
เปลี่ยนแปลงเขตจังหวัด ให้ตราเป็ นพระราชบัญญัติเพื่อประโยชน์ในการบริ หารงานแบบบูรณาการใน
จังหวัดหรื อกลุ่มจังหวัด ให้จงั หวัดหรื อกลุ่มจังหวัดยืน่ คาขอจัดตั้งงบประมาณได้ ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์
วิธีการ และเงื่อนไขที่กาหนดในพระราชกฤษฎีกา ในกรณี น้ ีให้ถือว่าจังหวัดหรื อกลุ่มจังหวัดเป็ นส่ วน
ราชการตามกฎหมายว่าด้วยวิธีการงบประมาณ

52.ตอบ “ตอบ ข้อ ง. ส่ งเสริ มการพัฒนาสตรี เด็กและเยาวชน ผูส้ ู งอายุและพิการ”


อธิบายตาม พระราชบัญญัติระเบียบบริ หารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 และแก้ไขเพิ่มเติม(ฉบับที่ 8) พ.ศ.
2553
มาตรา 52/1 ให้จงั หวัดมีอานาจภายในเขตจังหวัด ดังต่อไปนี้
(1) นาภารกิจของรัฐและนโยบายของรัฐบาลไปปฏิบตั ิให้เกิดผลสัมฤทธิ์
(2) ดูแลให้มีการปฏิบตั ิและบังคับการให้เป็ นไปตามกฎหมาย เพื่อให้เกิดความสงบ
เรี ยบร้อยและเป็ นธรรมในสังคม
(3) จัดให้มีการคุม้ ครอง ปองกัน สงเสริ ม และชวยเหลือประชาชนและชุมชนที่ดอ้ ยโอกาส
เพื่อให้ได้รับความเป็ นธรรมทั้งด้านเศรษฐกิจและสังคมในการดารงชีวติ ่อย่างพอเพียง
(4) จัดให้มีการบริ การภาครัฐเพื่อให้ประชาชนสามารถเข้าถึงได้อย่างเสมอ รวดเร็ วและมี
คุณภาพ
(5) จัดให้มีการสงเสริ ม อุดหนุน และสนับสนุนองค์กรปกครองส่ วนท้องถิ่นเพื่อให้
สามารถดาเนินการตามอานาจและหน้าที่ขององค์กรปกครองส่ วนท้องถิ่น และให้มีขีดความสามารถพร้อมที่
จะดาเนินการตามภารกิจที่ได้รับการถ่ายโอนจากกระทรวง ทบวง กรม
(6) ปฏิบตั ิหน้าที่อื่นตามที่คณะรัฐมนตรี กระทรวง ทบวง กรม หรื อหน่วยงานอื่นของรัฐ
มอบหมาย หรื อที่มีกฎหมายกาหนด
เพื่อประโยชน์ในการปฏิบตั ิหน้าที่ของจังหวัดตามวรรคหนึ่ง ให้เป็ นหน้าที่ของส่ วนราชการและหน่วยงาน
ของรัฐที่ประจาอยูใ่ นเขตจังหวัดที่จะต้องปฏิบตั ิให้สอดคล้องและเป็ นไปตามแผนพัฒนาจังหวัดตามมาตรา
53/1
มาตรา 53/1 ให้จงั หวัดจัดทาแผนพัฒนาจังหวัดให้สอดคล้องกับแนวทางการพัฒนาเศรษฐกิจและ
สังคมในระดับชาติ และความต้องการของประชาชนในท้องถิ่นในจังหวัด
ในการจัดทาแผนพัฒนาจังหวัดตามวรรคหนึ่ง ให้ผวู ้ า่ ราชการจังหวัดจัดให้มีการประชุ มปรึ กษาหารื อรวมกัน
ระหว่างหัวหน้าส่ วนราชการที่มีสถานที่ต้ งั ทาการอยูใ่ นจังหวัดไมว่าจะเป็ นราชการบริ หารสวนภูมิภาคหรื อ
ราชการบริ หารสวนกลางและผูบ้ ริ หารองค์กรปกครองส่ วนท้องถิ่นทั้งหมดในจังหวัดรวมทั้งผูแ้ ทนภาค
ประชาสังคมและผูแ้ ทนภาคธุ รกิจเอกชน
การจัดทาแผนพัฒนาจังหวัดตามวรรคหนึ่ง จานวนและวิธีการสรรหาผูแ้ ทนภาคประชาสังคมและผูแ้ ทนภาค
ธุ รกิจเอกชนตามวรรคสอง ให้เป็ นไปตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่กาหนดในพระราชกฤษฎีกาเมื่อ
ประกาศใช้แผนพัฒนาจังหวัดแล้ว การจัดทาแผนพัฒนาท้องถิ่นขององค์กรปกครองส่ วนท้องถิ่นและการ
ดาเนินกิจการของส่ วนราชการและหน่วยงานอื่นของรัฐทั้งปวงที่กระทาในพื้นที่จงั หวัดต้องสอดคล้องกับ
แผนพัฒนาจังหวัดดังกล่าว

53.ตอบ “ตอบ ข้อ ง. ถูกทุกข้อ”


อธิบายตาม พระราชบัญญัติระเบียบบริ หารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 และแก้ไขเพิ่มเติม(ฉบับที่ 8) พ.ศ.
2553
มาตรา 57 ผูว้ า่ ราชการจังหวัดมีอานาจและหน้าที่ดงั นี้
(1) บริ หารราชการตามกฎหมาย ระเบียบแบบแผนของทางราชการ และตามแผนพัฒนา
จังหวัด
(2) บริ หารราชการตามที่คณะรัฐมนตรี กระทรวง ทบวง กรม มอบหมายหรื อตามที่
นายกรัฐมนตรี สงั่ การในฐานะหัวหน้ารัฐบาล
(3) บริ หารราชการตามคาแนะนาและคาชี้แจงของผูต้ รวจราชการกระทรวงในเมื่อไมขัดต่อ
กฎหมายระเบียบ ข้อบังคับ หรื อคาสัง่ ของกระทรวง ทบวง กรม มติของคณะรัฐมนตรี หรื อการสัง่ การของ
นายกรัฐมนตรี
(4) กากับดูแลการปฏิบตั ิราชการอันมิใช่ราชการส่ วนภูมิภาคของข้าราชการซึ่ งประจาอยูใ่ น
จังหวัดนั้นยกเว้นข้าราชการทหาร ข้าราชการฝ่ ายตุลาการ ข้าราชการฝ่ ายอัยการ ข้าราชการพลเรื อนใน
มหาวิทยาลัยข้าราชการในสานักงานตรวจเงินแผ่นดิน และข้าราชการครู ให้ปฏิบตั ิราชการให้เป็ นไปตาม
กฎหมาย ระเบียบข้อบังคับหรื อคาสัง่ ของกระทรวง ทบวง กรม หรื อมติของคณะรัฐมนตรี หรื อการสัง่ การ
ของนายกรัฐมนตรี หรื อยับยั้งการกระทาใดๆ ของข้าราชการในจังหวัดที่ขดั ต่อกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ
หรื อคาสั่งของกระทรวง ทบวงกรมมติของคณะรัฐมนตรี หรื อการสั่งการของนายกรัฐมนตรี ไว้ชวั่ คราวแล้ว
รายงานกระทรวง ทบวง กรม ที่เกี่ยวข้อง
(5) ประสานงานและรวมมือกับข้าราชการทหาร ข้าราชการฝ่ ายตุลาการข้าราชการฝ่ าย
อัยการ ข้าราชการพลเรื อนในมหาวิทยาลัย ข้าราชการในสานักงานตรวจเงินแผ่นดิน และข้าราชการครู
ผูต้ รวจราชการและหัวหน้า
ส่ วนราชการในระดับเขตหรื อภาค ในการพัฒนาจังหวัดหรื อป้ องกันภัยพิบตั ิสาธารณะ
(6) เสนองบประมาณต่อกระทรวงที่เกี่ยวข้อง หรื อเสนอขอจัดตั้งงบประมาณต่อสานักงบประมาณ
ตาม
มาตรา 52 วรรคสาม และรายงานให้กระทรวงมหาดไทยทราบ
(7) กากับดูแลการบริ หารราชการส่ วนท้องถิ่นตามกฎหมาย
(8) กากับการปฏิบตั ิหน้าที่ของพนักงานองค์การของรัฐบาลหรื อรัฐวิสาหกิจ ในการนี้ให้มี
อานาจทารายงานหรื อแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการดาเนินงานขององค์การของรัฐบาลหรื อรัฐวิสาหกิจต่อ
รัฐมนตรี เจ้าสังกัดองค์การของรัฐบาลหรื อรัฐวิสาหกิจ
(9) บรรจุ แต่งตั้ง ให้บาเหน็จ และลงโทษข้าราชการส่ วนภูมิภาคในจังหวัดตามกฎหมาย และตามที่
ปลัดกระทรวง ปลัดทบวง หรื ออธิบดีมอบหมาย

54.ตอบ “ตอบ ข้อ ง. หัวหน้าสานักงานจังหวัด”


อธิบายตาม พระราชบัญญัติระเบียบบริ หารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 และแก้ไขเพิ่มเติม(ฉบับที่ 8) พ.ศ.
2553
มาตรา 60 ให้แบ่งส่ วนราชการของจังหวัดดังนี้
(1) สานักงานจังหวัด มีหน้าที่เกี่ยวกับราชการทัว่ ไปและการว่างแผนพัฒนาจังหวัดของ
จังหวัดนั้นมีหวั หน้าสานักงานจังหวัดเป็ นผูบ้ งั คับบัญชาข้าราชการ และรับผิดชอบในการปฏิบตั ิราชการของ
สานักงานจังหวัด
(2) ส่ วนตางๆ ซึ่งกระทรวง ทบวง กรม ได้ต้ งั ขึ้น มีหน้าที่เกี่ยวกับราชการของกระทรวง
ทบวง กรมนั้นๆ มีหวั หน้าส่ วนราชการประจาจังหวัดนั้นๆ เป็ นผูป้ กครองบังคับบัญชารับผิดชอบ

55.ตอบ “ค.พระราชกฤษฎีกา ”
อธิบายตาม พระราชบัญญัติระเบียบบริ หารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 และแก้ไขเพิ่มเติม(ฉบับที่ 8) พ.ศ.
2553
มาตรา 61 ในจังหวัดหนึ่งให้มีหน่วยราชการบริ หารรองจากจังหวัดเรี ยกว่าอาเภอ
การตั้ง ยุบ และเปลี่ยนเขตอาเภอ ให้ตราเป็ นพระราชกฤษฎีกา

56.ตอบ “ข้อ ง. บรรจุ แต่งตั้ง ให้บาเหน็จ และลงโทษข้าราชการส่ วนภูมิภาค”


อธิบายตาม พระราชบัญญัติระเบียบบริ หารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 และแก้ไขเพิ่มเติม(ฉบับที่ 8) พ.ศ.
2553
มาตรา 65 นายอาเภอมีอานาจและหน้าที่ดงั นี้
(1) บริ หารราชการตามกฎหมายและระเบียบแบบแผนของทางราชการ ถ้ากฎหมายใดมิได้
บัญญัติวา่ การปฏิบตั ิตามกฎหมายนั้นเป็ นหน้าที่ของผูใ้ ดโดยเฉพาะ ให้เป็ นหน้าที่ของนายอาเภอที่จะต้อง
รักษาการให้เป็ นไปตามกฎหมายนั้นด้วย
(2) บริ หารราชการตามที่คณะรัฐมนตรี กระทรวง ทบวง กรม มอบหมายหรื อตามที่
นายกรัฐมนตรี สงั่ การในฐานะหัวหน้ารัฐบาล
(3) บริ หารราชการตามคาแนะนาและคาชี้แจงของผูว้ า่ ราชการจังหวัดและผูม้ ีหน้าที่ตรวจ
การอื่นซึ่งคณะรัฐมนตรี นายกรัฐมนตรี กระทรวง ทบวง กรม และผูว้ า่ ราชการจังหวัดมอบหมาย ในเมื่อไม
ขัดต่อกฎหมายระเบียบ ข้อบังคับ หรื อคาสั่งของกระทรวง ทบวง กรม มติของคณะรัฐมนตรี หรื อการสั่งการ
ของนายกรัฐมนตรี
(4) ควบคุมดูแลการบริ หารราชการส่ วนท้องถิ่นในอาเภอตามกฎหมาย

57.ตอบ “ข้อ ง. สุ ขาภิบาล”


อธิบายตาม พระราชบัญญัติระเบียบบริ หารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 และแก้ไขเพิ่มเติม(ฉบับที่ 8) พ.ศ.
2553
มาตรา 70 ให้จดั ระเบียบบริ หารราชการส่ วนท้องถิ่น ดังนี้
(1) องค์การบริ หารสวนจังหวัด
(2) เทศบาล
(3) สุ ขาภิบาล
(4) ราชการส่ วนท้องถิ่นอื่นตามที่มีกฎหมายกาหนด

58.ตอบ “ข้อ ง. นางสาวอ้อนฟ้ า เวชชาชีวะ


อธิบายตาม จากเว็บไซต_ opdc.go.th
สานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ เป็ นส่ วนราชการไทยประเภทกรม สังกัดสา นัก
นายกรัฐมนตรี มีหน้าที่ริเริ่ ม ผลักดัน และเสนอแนะนโยบายต่อคณะรัฐมนตรี ในเรื่ องที่เป็ นประโยชน์ต่อการ
ปฏิบตั ิราชการ และการพัฒนาระบบราชการ ผ่านกลไกต่าง ๆ (ก.พ.ร. อ.ก.พ.ร. คตป.) เพื่อให้เกิด การ
บริ หารกิจการบ้านเมืองที่ดี (Good Governance) เพื่อประโยชน์สุขของประชาชน ตามมาตรา 3/1 ของ
พระราชบัญญัติระเบียบบริ หารราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2545 หน่วยงานทั้งของรัฐและรัฐวิสาหกิจ
การริ เริ่ ม ผลักดัน และเสนอแนะนโยบายต่อคณะรัฐมนตรี ในเรื่ องที่เป็ นประโยชน์ต่อการปฏิบตั ิราชการ
และการพัฒนาระบบราชการ ผ่านกลไกต่าง ๆ เพื่อให้เกิดการบริ หารกิจการบ้านเมืองที่ดี (Good
Governance)เพื่อประโยชน์สุขของประชาชน ตามมาตรา 3/1 ของพระราชบัญญัติระเบียบบริ หารราชการ
แผ่นดิน (ฉบับที่ 5)พ.ศ. 2545 โดย “การบริ หารกิจการบ้านเมืองที่ดี” นั้น เป็ นหลักในการพัฒนาระบบ
ราชการ ที่เริ่ มจากแนวคิดในการเปลี่ยนแปลงการบริ หารราชการ จากระบบเดิมที่มีรัฐบาลและระบบราชการ
เป็ นตัวนา มาเป็ นการบริ หารราชการที่ตอ้ งประกอบด้วยกลไก 3 สวนที่ทาหน้าที่ขบั เคลื่อนบ้านเมือง ได้แก
ภาครัฐ ภาคประชาชน และภาคประชาสังคม ในการดาเนินนโยบายตาง ๆ นั้น จะต้องหาความสมดุลและ
ความพอดีของกลไกทั้ง 3 สวนด้วย จึงทาให้การบริ หารกิจการบ้านเมืองในปั จจุบนั จึงเปลี่ยนจากคาว่า
“Government” ไปสู “Governance” และเมื่อเป็ น Governance แล้ว ก็ตอ้ งเป็ น Governance ที่ดีดว้ ย ทั้งใน
มุมมองของภาครัฐ ภาคประชาชน และภาคประชาสังคม ซึ่ งกลไกทั้ง 3 สวนนั้นตางก็มองการบริ หารกิจการ
บ้านเมืองที่ “ดี” ที่แตกตางกันไปตามปรัชญาและมุมมองของตนดังนั้น จึงได้มีการนาแนวความคิดเรื่ องการ
บริ หารกิจการบ้านเมืองที่ดี ในมุมมองตาง ๆ มาใสไว้ในกฎหมายแม่บทของการปฏิรูประบบราชการ นัน่ คือ
พระราชบัญญัติระเบียบบริ หารราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ 5)พ.ศ. 2545 ในมาตรา 3/1 และถ่ายทอดออกมาเป็ น
พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริ หารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 โดยนาแนวคิดเรื่ องการ
บริ หารกิจการบ้านเมืองที่ดีในพระราชบัญญัติดงั กล่าว มาขยายความและรายละเอียดในมาตราตาง ๆ ของ
พระราชกฤษฎีกาฯ เป็ นหลักเกณฑ์ให้ส่วนราชการดาเนิ นการนอกจากพระราชบัญญัติระเบียบบริ หาร
ราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2545 และ พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริ หารกิจการ
บ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 แล้วในการดาเนินงานของสานักงาน ก.พ.ร. ยังได้ยดึ หลักและแนวทางตามแผน
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทย พ.ศ. 2546 - 2550 ควบคูกนั ไปด้วย

59.ตอบ “ข้อ ก. 30 วัน”


อธิบายตาม พระราชบัญญัติระเบียบบริ หารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 และแก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 8) พ.ศ.
2553
มาตรา 71/5 ในกรณี ที่กรรมการผูท้ รงคุณวุฒิพน้ จากตาแหน่งก่อนวาระและยังมิได้แต่งตั้งกรรมการ
ผูท้ รงคุณวุฒิแทนตาแหน่งที่วา่ ง ให้กรรมการที่เหลืออยูป่ ฏิบตั ิหน้าที่ต่อไปได้
เมื่อตาแหน่งกรรมการผูท้ รงคุณวุฒิวา่ งลงก่อนวาระ ให้ดาเนินการแต่งตั้งกรรมการผูท้ รงคุณวุฒิภายใน
สามสิ บวัน เว้นแต่วาระของกรรมการผูท้ รงคุณวุฒิเหลือไมถึงหนึ่งร้อยแปดสิ บวันจะไมแต่งตั้งกรรมการ
ผูท้ รงคุณวุฒิก็ได้

60.ตอบ “ข้อ ข. ไมน้อยกว่ากึ่งหนึ่ง ไมว่าผูท้ รงคุณวุฒิที่ทางานเต็มเวลาหรื อไม”


อธิบายตาม พระราชบัญญัติระเบียบบริ หารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 และแก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 8) พ.ศ.
2553
มาตรา 71/7 การประชุม ก.พ.ร. ต้องมีกรรมการมาประชุมไมน้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจานวนกรรมการ
ทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ จึงจะเป็ นองค์ประชุม ไมว่ากรรมการดังกล่าวจะเป็ นกรรมการผูท้ รงคุณวุฒิที่ทางานเต็ม
เวลาหรื อไมในการประชุม ก.พ.ร. ถ้าประธานไมอยูใ่ นที่ประชุมหรื อไมอาจปฏิบตั ิหน้าที่ได้ ให้รองประธาน
ปฏิบตั ิหน้าที่แทน ในกรณี ที่ไมมีรองประธานหรื อมีแต่ไมอาจปฏิบตั ิหน้าที่ได้ ให้กรรมการที่มาประชุมเลือก
กรรมการคนหนึ่งทาหน้าที่เป็ นประธานในที่ประชุมการวินิจฉัยชี้ขาดให้ถือเสี ยงข้างมาก กรรมการคนหนึ่ง
ให้มีเสี ยงหนึ่งในการลงคะแนน ถ้ามีคะแนนเสี ยงเท่ากัน ให้ประธานในที่ประชุมออกเสี ยงเพิ่มขึ้นอีกเสี ยง
หนึ่งเป็ นเสี ยงชี้ขาด
61.ตอบ “ข้อ ก. สานักนายกรัฐมนตรี ”
อธิบายตาม พระราชบัญญัติระเบียบบริ หารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 และแก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 8) พ.ศ.
2553
มาตรา 71/9 ให้มีสานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ เป็ นส่ วนราชการในสานัก
นายกรัฐมนตรี ทาหน้าที่รับผิดชอบงานธุรการของ ก.พ.ร. และหน้าที่อื่นตามที่กฎหมายหรื อ ก.พ.ร. กาหนด
โดยมีเลขาธิการ ก.พ.ร. ซึ่งเป็ นข้าราชการพลเรื อนสามัญเป็ ผบู้ งั คับบัญชาข้าราชการและลูกจ้างของ
สานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ และรับผิดชอบการปฏิบตั ิราชการขึ้นตรงตอนายกรัฐมนตรี

62.ตอบ “ข้อ ก. เสนอแนะและให้คาปรึ กษาแกคณะรัฐมนตรี เกี่ยวกับนโยบายและยุทธศาสตร์ การบริ หาร


ทรัพยากรบุคคลภาครัฐในด้านมาตรฐานคาตอบแทน การบริ หารและการพัฒนาทรัพยากรบุคคล รวมตลอด
ทั้งการว่างแผนกาลังคนและด้านอื่น ๆ เพื่อให้ส่วนราชการใช้เป็ นแนวทางในการดาเนินการ”อธิบายตาม
พระราชบัญญัติระเบียบบริ หารราชการแผ่นดิน
พ.ศ. 2534 และแก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 8) พ.ศ. 2553
มาตรา 71/10 ก.พ.ร. มีอานาจหน้าที่ ดังต่อไปนี้
(1) เสนอแนะและให้คาปรึ กษาแกคณะรัฐมนตรี เกี่ยวกับการพัฒนาระบบราชการและงาน
ของรัฐอย่างอื่นซึ่ งรวมถึงโครงสร้างระบบราชการ ระบบงบประมาณ ระบบบุคลากร มาตรฐานทางคุณธรรม
และจริ ยธรรมค่าตอบแทน และวิธีปฏิบตั ิราชการอื่น ให้เป็ นไปตามมาตรา ๓/๑ โดยจะเสนอแนะให้มีการ
กาหนดเป้ าหมายยุทธศาสตร์ และมาตรการก็ได้
(2) เสนอแนะและให้คาปรึ กษาแกหน่วยงานอื่นของรัฐที่มิได้อยูใ่ นกากับของราชการฝ่ าย
บริ หารตามที่หน่วยงานดังกล่าวร้องขอ
(3) รายงานต่อคณะรัฐมนตรี ในกรณี ที่มีการดาเนิ นการขัดหรื อไมสอดคล้องกับหลักเกณฑ์
ที่กาหนดในมาตรา 3/1
(4) เสนอต่อคณะรัฐมนตรี เพื่อกาหนดหลักเกณฑ์และมาตรฐานในการจัดตั้ง การรวม การ
โอน การยุบเลิกการกาหนดชื่ อ การเปลี่ยนชื่อ การกาหนดอานาจหน้าที่ และการแบ่งส่ วนราชการภายในของ
ส่ วนราชการที่เป็ นกระทรวง ทบวง กรม หรื อส่ วนราชการอื่น
(5) เสนอความเห็นต่อคณะรัฐมนตรี ในการตราพระราชกฤษฎีกา และกฎที่ออกตาม
พระราชบัญญัติน้ ี
(6) ดาเนินการให้มีการชี้แจงทาความเข้าใจแกส่ วนราชการและเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องและ
ประชาชนทัว่ ไปรวมตลอดทั้งการฝึ กอบรม
(7) ติดตาม ประเมินผล และแนะนาเพื่อให้มีการปฏิบตั ิตามพระราชบัญญัติน้ ี และรายงาน
ต่อคณะรัฐมนตรี พร้อมทั้งข้อเสนอแนะ
(8) ตีความและวินิจฉัยปั ญหาที่เกิดขึ้นจากการใช้บงั คับพระราชบัญญัติน้ ี หรื อกฎหมายว่า
ด้วยการปรับปรุ งกระทรวง ทบวง กรม รวมตลอดทั้งกาหนดแนวทางปฏิบตั ิ ในกรณี ที่เป็ นปัญหา มติของ
คณะกรรมการตามข้อนี้ เมื่อได้รับความเห็นชอบจากคณะรัฐมนตรี แล้ว ให้ใช้บงั คับได้ตามกฎหมาย
(9) เรี ยกให้เจ้าหน้าที่หรื อบุคคลอื่นใดมาชี้แจงหรื อแสดงความเห็นประกอบการพิจารณา
(10) จัดทารายงานประจาปี เกี่ยวกับการพัฒนาและจัดระบบราชการและงานของรัฐอย่างอื่น
เสนอต่อคณะรัฐมนตรี เพื่อเสนอต่อสภาผูแ้ ทนราษฎรและวุฒิสภา
(11) แต่งตั้งคณะกรรมการ คณะอนุกรรมการ หรื อคณะทางาน เพื่อปฏิบตั ิหน้าที่ตางๆ
ตามที่มอบหมายและจะกาหนดอัตราเบี้ยประชุมหรื อคาตอบแทนอื่นด้วยก็ได้
(12) ปฏิบตั ิหน้าที่อื่นตามที่กาหนดในพระราชบัญญัติน้ ีหรื อตามที่คณะรัฐมนตรี มอบหมาย

แนวข้อสอบพระราชบัญญัติระเบียบบริ หารราชการแผ่นดิน
1.ข้อใดเป็ นหลักการในการบริ หารราชการตาม พรบ. ระเบียบบริ หารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 และที่แก้ไข
เพิม่ เติม
ก. เพื่อประโยชน์สุขของประชาชน
ข. เพื่อลดภารกิจและยุบเลิกหน่วยงานที่ไม่จาเป็ น
ค. เพื่อกระจายอานาจตัดสิ นใจ
ง. ข้อ ก. และ ข.
จ. ข้อ ก. , และ ค. ถูก
2.พ.ร.บ. ระเบียบบริ หารราชการแผ่นดิน พ.ศ 2534 ได้วางแนวทางการจัดสรรงบประมาณและการ บรรจุ
แต่งตั้งบุคคลเข้าดารงตาแหน่ง หรื อปฏิบตั ิหน้าที่ตาม พ.ร.บ. จะต้องเป็ นไปตามหลักการใด
ก. ความยุติธรรม
ข. ความเสมอภาค
ค. ความเท่าเทียมกัน
ง. ความมีประสิ ทธิภาพ
จ. ถูกทุกข้อ
3.การจัดระเบียบบริ หารราชการแผ่นดินมีรูปแบบใด
ก. กระทรวง ทบวง กรม
ข. จังหวัด อาเภอ
ค. จังหวัด อาเภอ กิ่งอาเภอ ตาบล หมู่บา้ น
ง. ส่ วนกลาง ส่ วนภูมิภาค ส่ วนท้องถิ่น
จ. ก และ ข
4.การกาหนดตาแหน่งและอัตราเงินเดือน ของส่ วนราชการต่าง ๆ ตาม พ.ร.บ. ระเบียบบริ หาร ราชการ
แผ่นดิน พ.ศ. 2534 จะต้องคานึงถึง
ก. ภารกิจที่รับผิดชอบ
ข. ประสิ ทธิ ภาพของส่ วนราชการ
ค. คุณภาพและปริ มาณของส่ วนราชการนั้น ๆ
ง. ก และ ค
จ. ถูกทุกข้อ

5.ข้อใดเป็ นการบริ หารราชการส่ วนกลาง


ก. กระทรวง
ข. ทบวง
ค. ส่ วนราชการที่ชื่อเรี ยกอย่างอื่นมีฐานะเป็ นกรม แต่ไม่ได้สังกัดกระทรวงหรื อทบวง
ง. ข้อ ก. และ ข. ถูก
จ. ถูกทุกข้อ
6.ส่ วนราชการใด ไม่มีฐานะเป็ นนิติบุคคล
ก. สานักนายกรัฐมนตรี
ข. ทบวง ซึ่ งสังกัดสานักนายกรัฐมนตรี
ค. กรมซึ่ งไม่สังกัดกระทรวง
ง. ข้อ ก. และข้อ ค. แล้วแต่กรณี
จ. ทุกข้อมีฐานะเป็ นนิติบุคคล

7.โดยทัว่ ไปการจัดการจัดตั้ง การรวม การโอน กระทรวง ทบวง กรม จะต้องตราเป็ นกฎหมายใน ลาดับใด
ก. พระราชบัญญัติ
ข. พระราชกาหนด
ค. พระราชกฤษฎีกา
ง. กฎกระทรวง
จ. ระเบียบกระทรวง

8.ข้อใดผิด
ก. การโอนส่ วนราชการเข้าด้วยกันถ้าไม่มีการกาหนดตาแหน่งหรื ออัตรากาลังของส่ วน ราชการ
หรื อลูกจ้างเพิ่มขึ้นให้ตราเป็ นพระราชกฤษฎีกา
ข. ให้สานักงานข้าราชการพลเรื อน และสานักงานพัฒนาระบบราชการมีหน้าที่การ ตรวจสอบดูแล
มิให้ส่วนราชการที่มีพระราชกฤษฎีกาให้รวมหรื อโอนเข้าด้วยกัน กาหนดตาแหน่งหรื อ อัตรากาลังของ
ข้าราชการหรื อลูกจ้างเพิ่มจนกว่าจะครบสามปี นับแต่วนั ที่พระราชกฤษฎีกามีผล บังคับใช้
ค. การเปลี่ยนชื่อส่ วนราชการที่มีฐานะเป็ นกรมให้ตราเป็ นพระราชกฤษฎีกา ง. การยุบส่ วนราชการ
ที่มีฐานะเป็ นกระทรวงให้ตราเป็ นพระราชกฤษฎีกา
จ. ข้อ ข. และ ง.
9.หน่วยงานใดมีหน้าที่ในการตรวจสอบดูแล ส่ วนราชการที่จดั ตั้งขึ้นใหม่ มิให้มีการกาหนดตาแหน่ง หรื อ
อัตรากาลังของข้าราชการหรื อลูกจ้างเพิ่มขึ้นจนกว่าจะครบสามปี
ก. สานักงานพัฒนาระบบราชการ
ข. สานักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรื อน
ค. สานักงบประมาณ
ง. ข้อ ก. ข. และ ค.
จ. ข้อ ข. และ ค.

10.หากกรมการปกครอง จะเปลี่ยนชื่อเป็ นกรมการความมัน่ คงภายใน จะต้องตราเป็ นกฎหมายใด


ก. พระราชบัญญัติ
ข. พระราชกฤษฎีกา
ค. พระราชกาหนด
ง. กฎกระทรวง
จ. ระเบียบกระทรวง

11.กรณี ที่กรมส่ งเสริ มการปกครองท้องถิ่น หมดความจาเป็ น หากต้องการที่จะยุบกรมดังกล่าว จะต้องตรา


เป็ น กฎหมายใด
ก. พระราชบัญญัติๆ
ข. พระราชกฤษฎีกา
ค. พระราชกาหนด
ง. กฎกระทรวง
จ. ระเบียบกระทรวง
12.การแบ่งส่ วนราชการภายในกรม จะต้องตราเป็ นกฎหมายข้อใด
ก. พระราชบัญญัติ
ข. พระราชกฤษฎีกา
ค. พระราชกาหนด
ง. กฎกระทรวง
จ. ระเบียบกระทรวง

13.ข้อใดกล่าวผิดเกี่ยวกับการยุบเลิกกรม
ก. จัดทาเป็ นพระราชกฤษฎีกา
ข. ให้งบประมาณรายจ่ายที่เหลืออยูข่ องกรมนั้นตกเป็ นงบกลาง
ค. ทรัพย์สินอื่นของกรมนั้นให้โอนแก่ส่วนราชการอื่นตามที่กาหนดไว้ในพระราชกฤษฎีกา
ง. ข้าราชการหรื อลูกจ้างซึ่งต้องพ้นจากราชการเพราะเหตุยบุ ตาแหน่งให้ได้รับเงินชดเชย
จ. ข้อ ข. และ ค.

14.หน่วยงานใดมีหน้าที่เสนอความเห็นต่อคณะรัฐมนตรี ให้แบ่งส่ วนราชการภายในของกรมการ ปกครอง


ก. สานักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรื อน
ข. กระทรวงมหาดไทย
ค. สานักงานพัฒนาระบบราชการ
ง. สานักงบประมาณ
จ. ข้อ ก. และ ข.
15.บุคคลใดเป็ นผูร้ ับผิดชอบในการกาหนดนโยบายเป้ าหมาย และผลสาฤทธิ์ ของงานในสานัก
นายกรัฐมนตรี
ก. นายกรัฐมนตรี
ข. ปลัดสานักนายกรัฐมนตรี
ค. รัฐมนตรี ประจาสานักนายกรัฐมนตรี
ง. ข้อ ก. และ ข. ถูก
จ. ข้อ ก. ข. และ ค. ถูก
16.ในกรณี ที่นายกรัฐมนตรี ตาย ขาดคุณสมบัติ ต้องคาพิพากษาให้จาคุก หรื อศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัย ว่า
ความเป็ นรัฐมนตรี ของนายกสิ้ นสุ ดลงในระหว่างที่รอคณะรัฐมนตรี ชุดใหม่เข้ามารับหน้าที่น้ นั
คณะรัฐมนตรี ชุดเดิม จะต้องทาอย่างไร
ก. มอบหมายให้รองนายกรัฐมนตรี คนใดคนหนึ่งรักษาราชการแทนนายกรัฐมนตรี
ข. มอบหมายให้รองนายกรัฐมนตรี คนใดคนหนึ่งปฏิบตั ิหน้าที่แทนนายกรัฐมนตรี
ค. มอบหมายให้รองนายกรัฐมนตรี คนใดคนหนึ่งปฏิบตั ิราชการแทนนายกรัฐมนตรี
ง. มอบหมายให้รองนายกรัฐมนตรี คนใดคนหนึ่งปฏิบตั ิหน้าที่แทนนายกรัฐมนตรี แล้วแต่กรณี
จ. มอบหมายให้รองนายกรัฐมนตรี หรื อรัฐมนตรี คนใดคนหนึ่งปฏิบตั ิราชการแทนแล้วแต่กรณี

17.อานาจนายกรัฐมนตรี ในฐานะหัวหน้ารัฐบาล กาหนดไว้ในมาตราใดและมีกี่ขอ้


ก. ม. 8 11 ข้อ
ข. ม. 11 ข้อ
ค. ม.10 10 ข้อ
ง. ม.11 9 ข้อ
จ. ม.11 11 ข้อ
18.ข้อใดกล่าวผิดเกี่ยวกับอานาจหน้าที่ของนายกรัฐมนตรี ในฐานะหัวหน้ารัฐบาล
ก. สั่งให้ราชการส่ วนกลางรายงานการปฏิบตั ิราชการ
ข. สั่งให้ราชการส่ วนภูมิภาคชี้แจงแสดงความคิดเห็น
ค. สั่งให้ราชการส่ วนท้องถิ่นรายงานการปฏิบตั ิราชการ
ง. สั่งสอบสวนข้อเท็จจริ งเกี่ยวกับการปฏิบตั ิราชการของราชการส่ วนท้องถิ่น
จ. ข้อ ค. และ ข้อ ง. กล่าวผิด

19.กรณี จาเป็ นนายกรัฐมนตรี สามารถยังยั้งการปฏิบตั ิราชการของหน่วยงานใดบ้าง หากหน่วยงาน นั้น


ปฏิบตั ิราชการขัดต่อนโยบายของรัฐบาล
ก. ราชการส่ วนกลาง
ข. ราชการส่ วนภูมิภาค
ค. ราชการส่ วนท้องถิ่น
ง. เฉพาะข้อ ก. และ ข.
จ. ยับยั้งได้ท้ งั ก. ข. และ ค.

20.นายกรัฐมนตรี สามารถยับยั้งการปฏิบตั ิราชการของส่ วนราชการท้องถิ่นได้ในกรณี ใด


ก. ไม่สามารถยับยั้งเป็ นอิสระของราชการส่ วนท้องถิ่นตามหลักการปกครองตนเอง
ข. ยับยั้งได้หากราชการส่ วนท้องถิ่นกระทาการก่อให้เกิดความเสี ยหายต่อท้องถิ่น
ค. กรณี ที่ราชการส่ วนท้องถิ่นปฏิบตั ิราชการต่อนโยบายหรื อมติของคณะรัฐมนตรี
ง. ข้อ ข. และ ค.
จ. ข้อ ก. และ ค.
21.ข้อใดมิได้เป็ นอานาจการบังคับของนายกรัฐมนตรี
ก. มีอานาจบังคับบัญชาปลัดกระทรวงมหาดไทย
ข. มีอานาจบังคับบัญชาปลัดสานักนายกรัฐมนตรี
ค. มีอานาจบังคับบัญชาผูว้ า่ การไฟฟ้ าส่ วนภูมิภาค
ง. ข้อ ก. และ ค. ถูก
จ. ไม่มีขอ้ ถูก

22.ข้อใดผิด
ก. นายกรัฐมนตรี มีอานาจสั่งให้ขา้ ราชการกรมการปกครองมาปฏิบตั ิราชการสานัก นายกรัฐมนตรี
โดยให้ขาดจากอัตราเงินเดือนทางสังกัดเดิม
ข. นายกรัฐมนตรี มีอานาจสั่งให้ขา้ ราชการกระทรวงคมนาคม มาปฏิบตั ิราชการสานัก
นายกรัฐมนตรี โดยอัตราเงินเดือนไม่ขาดจากทางสังกัดเดิม
ค. แต่งตั้งรองอธิ บดีกรมส่ งเสริ มการปกครองท้องถิ่น ไปดารงตาแหน่งอธิบดีกรมการ ปกครอง โดย
ให้รับเงินเดือนจากกรมการปกครอง
ง. แต่งตั้งอธิ บดีกรมทางหลวงชนบทไปดารงตาแหน่งอธิ บดีกรมการปกครองโดยอนุมตั ิ
คณะรัฐมนตรี
จ. ไม่มีขอ้ ใดผิด

23.ระเบียบปฏิบตั ิราชการที่นายกรัฐมนตรี ได้วางขึ้น เพื่อการบริ หารราชการแผ่นดินเป็ นไปโดย รวดเร็ วและ


มีประสิ ทธิ ภาพตามระเบียบบริ หารราชการแผ่นดินกาหนดให้มีผลใช้บงั คับเมื่อใด
ก. ประกาศในราชกิจจานุ เบกษาแล้ว ข. เมื่อคณะรัฐมนตรี ให้ความเห็นชอบแล้ว
ค. มีผลบังคับใช้ทนั ทีที่นายกรัฐมนตรี ในฐานะหัวหน้ารัฐบาลลงนามในคาสั่ง
ง. มีผลบังคับตามที่ระบุไว้ในระเบียบ
จ. มีผลบังคับใช้ตามวันที่ระบุไว้ในระเบียบ และได้ประกาศในราชกิจจานุเบกษาแล้ว
24.บุคคลตามข้อใด เป็ นข้าราชการเมือง
ก. เลขาธิการนายกรัฐมนตรี
ข. รองเลขาธิการนายกรัฐมนตรี ฝ่ายบริ หาร
ค. รองเลขาธิการนายกรัฐมนตรี ฝ่ายการเมือง
ง. ข้อ ก. และ ค. ถูก
จ. ข้อ ก ข และ ค

25.สานักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี มีอานาจหน้าที่ในเรื่ องใด


ก. ราชการทางการเมือง
ข. ราชการของรัฐสภา
ค. ราชการในพระองค์
ง. ข้อ ข. และ ค. ถูก
จ. ถูกทุกข้อ

26.บุคคลตามข้อใดต่อไปนี้ อาจเป็ นข้าราชการการเมืองหรื อข้าราชการพลเรื อนสามัญก็ได้


ก. เลขาธิการคณะรัฐมนตรี
ข. รองเลขาธิการคณะรัฐมนตรี
ค. ผูช้ ่วยเลขาธิ การคณะรัฐมนตรี
ง. ข้อ ข. และ ค.
จ. ไม่มีขอ้ ใดถูก
27.ข้อใดมิใช่อานาจของปลัดสานักนายกรัฐมนตรี
ก. รับผิดชอบควบคุมราชการประจาในสานักนายกรัฐมนตรี
ข. รับผิดชอบกาหนดแนวทางและแผนปฏิบตั ิราชการของสานักนายกรัฐมนตรี
ค. เป็ นผูบ้ งั คับบัญชาข้าราชการสู งสุ ดของส่ วนราชการในสานักนายกรัฐมนตรี ยกเว้น ข้าราชการ
ของ ส่ วนราชการซึ่ งหัวหน้าส่ วนราชการขึ้นตรงต่อนายกรัฐมนตรี
ง. เป็ นผูบ้ งั คับบัญชาข้าราชการในสานักงานปลัดสานักนายกรัฐมนตรี
จ. ทุกข้อเป็ นอานาจของปลัดสานักนายกรัฐมนตรี

28.ตาแหน่งใดระเบียบบริ หารราชการแผ่นดินมิได้กาหนดไว้
ก. ผูช้ ่วยเลขาธิ การนายกรัฐมนตรี
ข. ผูช้ ่วยปลัดสานักนายกรัฐมนตรี
ค. ผูช้ ่วยเลขาธิ การคณะรัฐมนตรี
ง. ผูช้ ่วยปลัดกระทรวง
จ. ข้อ ข. และ ง.

29.ส่ วนราชการใดต่อไปนี้ ตามระเบียบบริ หารราชการแผ่นดินไม่มีฐานะเป็ นนิ ติบุคคล


ก. สานักนายกรัฐมนตรี
ข. สานักงานปลัดกระทรวง
ค. สานักงานเลขานุการรัฐมนตรี
ง. ข้อ ก. และ ข.
จ. ข้อ ก. และ ค.
30.การจัดตั้งสานักนโยบายและแผน เป็ นส่ วนราชการภายในกระทรวง จะสามารถกระทาได้โดยวิธี ใด
ก. ตราเป็ นพระราชกฤษฎีกา
ข. ออกเป็ นกฎกระทรวง
ค. ออกเป็ นพระราชกาหนดคณะรัฐมนตรี
ง. ออกเป็ นระเบียบบริ หารราชการโดยอนุมตั ิ
จ. โดยคาสัง่ รัฐมนตรี เจ้าสังกัด

31.การจัดระเบียบราชการของกระทรวง ตาม พ.ร.บ. ระเบียบบริ หารราชการแผ่นดิน(ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2545


ตาแหน่งใดไม่ได้ถูกกาหนดไว้
ก. ผูช้ ่วยเลขานุการรัฐมนตรี
ข. ผูช้ ่วยปลัดสานักนายกรัฐมนตรี
ค. ผูช้ ่วยปลัดกระทรวง
ง. หัวหน้าสานักงานรัฐมนตรี
จ. ข้อ ค. และ ง.

32.การกาหนดในส่ วนราชการระดับกรมตั้งแต่สองกรมขึ้นไป อยูภ่ ายใต้กลุ่มภารกิจเดียวกัน สามารถ กระทา


ได้โดยอาศัยกฎหมายใด
ก. พระราชกฤษฎีกา
ข. ระเบียบกระทรวง
ค. มติคณะรัฐมนตรี
ง. กฎกระทรวง
จ. เป็ นไปตามกฎหมายว่าด้วยการปรับปรุ งกระทรวง ทบวง กรม
33.ในการกาหนดให้ส่วนราชการระดับกรมตั้งแต่สองกรมขึ้นไปอยูใ่ นกลุ่มภารกิจเดียวกันนั้น หัวหน้า กลุ่ม
ภารกิจรับผิดชอบราชการและบังคับบัญชาข้าราชการ จะต้องเป็ นผูด้ ารงตาแหน่งใด
ก. รองปลัดกระทรวง
ข. อธิบดี
ค. ผูช้ ่วยปลัดกระทรวง
ง. ข้อ ก. และ ข.
จ. ถูกทุกข้อ

34.การปฏิบตั ิราชการของ หัวหน้ากลุ่มภารกิจ ขึ้นตรงต่อบุคคลใด


ก. รัฐมนตรี
ข. ปลัดกระทรวง
ค. รองปลัดกระทรวง
ง. รัฐมนตรี หรื อปลัดกระทรวงก็ได้ แล้วแต่จะกาหนดไว้ในกฎกระทรวง
จ. เฉพาะข้อ ข. และ ค. เท่านั้น

35.บุคคลที่มีหน้าที่ในการวางแผนและประสานกิจกรรมให้มีการใช้ทรัพยากรของส่ วนราชการต่าง ๆ ใน
กระทรวงร่ วมกัน เพื่อให้เกิดประสิ ทธิ ภาพ ตามมติและเป้ าหมายของกระทรวง ได้แก่
ก. รัฐมนตรี
ข. ปลัดกระทรวง
ค. หัวหน้ากลุ่มภารกิจ
ง. หัวหน้าส่ วนราชการระดับกรม
จ. ข้อ ข. ค. และ ง.
36.ตามพ.ร.บ. ระเบียบบริ หารราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2545 หากกระทรวงใดมิได้จดั ให้มี กลุ่ม
ภารกิจ และปริ มาณงานมาก จะสามารถมีรองปลัดกระทรวงได้กี่คน
ก. 1 คน ข. 2 คน ค. 3 คน ง. 4 คน
จ. เป็ นไปตามที่คณะกรรมการข้าราชการพลเรื อนและคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ ร่ วมกัน
อนุมตั ิ

37.กระทรวงใดมีการแบ่งกลุ่มภารกิจ
ก. กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา
ข. กระทรวงพัฒนาสังคมและความมัน่ คงของมนุษย์
ค. กระทรวงพลังงาน
ง. กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่ อสาร
จ. ไม่มีขอ้ ถูก

38.กระทรวงมหาดไทยมีกลุ่มภารกิจ ดังนี้ขอ้ ใดมิใช่


ก. ด้านกิจการความมัน่ คงภายใน
ข. ด้านพัฒนาเมืองและส่ งเสริ มการปกครองท้องถิ่น
ค. ด้านพัฒนาชุมชนและและส่ งเสริ มการปกครองท้องถิ่น
ง. ด้านสาธารณภัยและพัฒนาเมือง
จ. ข้อ ข. และ ง
39.กลุ่มภารกิจของกระทรวงมหาดไทยมีการบังคับบัญชาในลักษณะใด
ก. ทุกกลุ่มภารกิจปฏิบตั ิราชการขึ้นตรงต่อรัฐมนตรี
ข. ทุกกลุ่มภารกิจปฏิบตั ิราชการขึ้นตรงต่อปลัดกระทรวงแต่ให้รายงานโดยตรงต่อรัฐมนตรี อีกต่อ
หนึ่งด้วย
ค. ทุกกลุ่มภารกิจปฏิบตั ิราชการขึ้นตรงต่อปลัดกระทรวงเว้นแต่ดา้ นกิจการความมัน่ คง ภายในขึ้น
ตรงต่อรัฐมนตรี
ง. ทุกกลุ่มภารกิจปฏิบตั ิราชการขึ้นตรงต่อรัฐมนตรี เว้นแต่ดา้ นกิจการความมัน่ คงภายในขึ้น ตรงต่อ
ปลัดกระทรวง
จ. ผิดทุกข้อ

40.ในการจัดระเบียบราชการของกระทรวง ส่ วนราชการใดอาจมีหรื อไม่มีก็ได้


ก. สานักนายกรัฐมนตรี
ข. สานักงานปลัดกระทรวง
ค. กรม
ง. ข้อ ก. และ ข.
จ. ต้องมีหมดทั้งข้อ ก. และ ค.

41.สานักงานรัฐมนตรี มีอานาจหน้าที่เกี่ยวกับเรื่ องใด


ก. ราชการทางเมือง
ข. ราชการทัว่ ไปของกระทรวง
ค. ราชการที่มิได้กาหนดให้เป็ นหน้าที่ของกรมหนึ่งกรมใดโดยเฉพาะ
ง. ข้อ ก. และ ข.
จ. ข้อ ก. และ ค.
42.ข้อใดมิใช่อานาจหน้าที่ของสานักงานปลัดกระทรวง
ก. ราชการทางเมือง
ข. ราชการทัว่ ไปของกระทรวง
ค. ราชการที่มิได้กาหนดให้เป็ นหน้าที่ของกรมหนึ่งกรมใดโดยเฉพาะ
ง. เร่ งรัดการปฏิบตั ิราชการของส่ วนราชการในกระทรวง
จ. ก และ ง

43.ในการจัดระเบียบราชการในกรม โดยทัว่ ไปส่ วนราชการใด จะต้องถูกกาหนดไว้เสมอ


ก. สานักงานเลขานุการกรม
ข. กอง
ค. ส่ วนราชการที่มีฐานะเทียบกอง
ง. ข้อ ก. และ ข.
จ. ถูกทุกข้อ

44.กรณี ที่มีกฎหมายอื่นกาหนดหน้าที่ของอธิบดีไว้เป็ นการเฉพาะ การใช้อานาจและการปฏิบตั ิหน้าที่ ตาม


กฎหมายดังกล่าว อธิ บดีจะต้องคานึงถึง...
ก. นโยบายที่คณะรัฐมนตรี ได้แถลงไว้ต่อรัฐสภา
ข. นโยบายที่คณะรัฐมนตรี กาหนดหรื ออนุมตั ิ
ค. นโยบาย แนวทาง และแผนการปฏิบตั ิของกระทรวง
ง. ก และ ค
จ. ข้อ ก ข และ ค
45.กระทรวงใดมีเหตุพิเศษ ต้องการแบ่งท้องที่ออกเป็ นเขต และให้มีหวั หน้าส่ วนราชการประจาเขต
สามารถทาได้โดยอาศัยกฎหมายใด
ก. พระราชบัญญัติ
ข. ระเบียบสานักนายกรัฐมนตรี
ค. พระราชกฤษฎีกา
ง. กฎกระทรวง
จ. มติคณะรัฐมนตรี

46.การที่กรมใด จะต้องแบ่งท้องที่ออกเป็ นเขตและให้มีหวั หน้าส่ วนราชการประจาเขต มี วัตถุประสงค์ใน


การแบ่งอย่างใด
ก. เพื่อปฏิบตั ิทางการเงิน
ข. เพื่อปฏิบตั ิงานวิชาการ
. เพื่อปฏิบตั ิงานตรวจสอบ
ง. เพื่อปฏิบตั ิงานการวิจยั
จ. ข้อ ข. และ ค.

47.การแบ่งท้องที่ออกเป็ นเขตเพื่อให้มีหวั หน้าส่ วนราชการประจาเขตปฏิบตั ิงานทางวิชาการไม่บงั คับ ใช้แก่


ส่ วนราชการใดต่อไปนี้
ก. กระทรวงต่างประเทศ
ข. สานักงานตารวจแห่งชาติ
ค. สานักงานอัยการสู งสุ ด
ง. ข้อ ข. และ ค.
จ. ถูกทุกข้อ
48.การที่กระทรวง ทบวง กรมใด จะกาหนดให้มีผตู้ รวจราชการของกระทรวง ทบวง กรม ต้อง พิจารณาจาก
สิ่ งใด
ก. ลักษณะงานที่มีการตรวจสอบ
ข. สภาพและประมาณของงาน
ค. ภารกิจที่รับผิดชอบ
ง. ข้อ ข. และ ค.
จ. ถูกทุกข้อ

49.ตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบบริ หารราชการแผ่นดิน การมอบอานาจในการปฏิบตั ิราชการแทน


นายกรัฐมนตรี ขอ้ ใดถูก (ยกเลิกแล้ว)
ก. นายกรัฐมนตรี มอบอานาจให้รัฐมนตรี วา่ การกระทรวงมหาดไทย
ข. นายกรัฐมนตรี มอบอานาจให้ปลัดกระทรวง
ค. นายกรัฐมนตรี มอบอานาจให้รัฐมนตรี ประจาสานักนายกรัฐมนตรี
ง. ข้อ ก. และ ค. ถูก
จ. ถูกทุกข้อ

50.ตามกฎหมายระเบียบบริ หารราชการแผ่นดิน การมอบอานาจในการปฏิบตั ิราชการแทนข้อใดไม่ ถูกต้อง


ก. ผูว้ า่ ราชการจังหวัดมอบอานาจให้ส่วนราชการประจาอาเภอ
ข. ผูว้ า่ ราชการจังหวัดมอบอานาจให้หวั หน้าส่ วนราชการประจากิ่งอาเภอ
ค. หัวหน้าส่ วนราชการประจาจังหวัดมอบอานาจให้นายอาเภอ
ง. ข้อ ข. และ ค. ไม่ถูกต้อง
จ. ข้อ ก, ข และ ค. ไม่ถูกต้อง
51.ข้อใดกล่าวผิดเกี่ยวกับการมอบอานาจให้ผวู ้ า่ ราชการจังหวัดได้ (ยกเลิกแล้ว)
ก. นายกรัฐมนตรี
ข. รัฐมนตรี ที่มิใช่รัฐมนตรี วา่ การกระทรวงมหาดไทย
ค. ปลัดสานักนายกรัฐมนตรี
ง. ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ
จ. ก และ ค

52.ข้อใดกล่าวผิดเกี่ยวกับการมอบอานาจ(ยกเลิกแล้ว)
ก. หัวหน้าส่ วนราชการจังหวัดมอบอานาจให้นายอาเภอ
ข. นายอาเภออาจมอบอานาจให้หวั หน้าส่ วนราชการประจาอาเภอ
ค. หัวหน้าส่ วนราชการจังหวัดมอบอานาจให้หวั หน้าส่ วนราชการประจากิ่งอาเภอ
ง. ผูว้ า่ ราชการจังหวัดมอบอานาจให้หวั หน้าส่ วนราชการประจากิ่งอาเภอ
จ. ข้อ ก. และ ง.

53.ข้อใดกล่าวผิดเกี่ยวกับการมอบอานาจของผูว้ า่ ราชการจังหวัด
ก. การมอบอานาจต้องทาเป็ นหนังสื อ
ข. ถ้าอานาจที่ได้รับมอบมาจากผูอ้ ื่นผูว้ า่ ราชการจังหวัดจะมอบอานาจต่อมิได้เว้นแต่มอบ อานาจให้
รองผูว้ า่ ราชการจังหวัด
ค. ผูว้ า่ ราชการจังหวัดเมื่อรับมอบอานาจมาแล้วจะมอบอานาจให้แก่หวั หน้าส่ วนราชการ ประจา
จังหวัดต้องได้รับความเห็นชอบจากผูร้ ับมอบอานาจชั้นต้นก่อน
ง. ผูว้ า่ ราชการจังหวัดสามารถมอบอานาจให้หวั หน้าส่ วนราชการประจาอาเภอได้
จ. ไม่มีขอ้ ผิด
54.เมื่อรัฐมนตรี วา่ การกระทรวงมหาดไทย มอบอานาจให้ผวู ้ า่ ราชการจังหวัด ปฏิบตั ิราชการแทน แล้ว หาก
ผูว้ า่ ราชการจังหวัดมอบอานาจดังกล่าวให้ปลัดจังหวัดปฏิบตั ิราชการแทน จะต้องทา อย่างไร
ก. สามารถมอบอานาจได้ทนั ที
ข. มอบอานาจแล้วรายงานให้รัฐมนตรี วา่ การกระทรวงมหาดไทยทราบ
ค. ไม่สามารถมอบได้เพราะเป็ นอานาจเฉพาะตัว
ง. ขอความเห็นชอบจากรัฐมนตรี วา่ การกระทรวงมหาดไทยก่อน เมื่อได้รับความเห็นชอบ แล้วจึง
สามารถทาการมอบอานาจได้
จ. ผิดทุกข้อ

55.ข้อใดกล่าวผิดเกี่ยวกับการมอบอานาจตามพระราชบัญญัติระเบียบบริ หารราชการแผ่นดิน(ฉบับที่ 7)
พ.ศ. 2550
ก. ผูม้ ีอานาจมอบอานาจให้ผดู้ ารงตาแหน่งอื่นได้เฉพาะในส่ วนราชการเดียวกันเว้นแต่มอบ อานาจ
ให้ผวู ้ า่ ราชการจังหวัด
ข. กาหนดหลักเกณฑ์มอบอานาจไว้ในพระราชกฤษฎีกา
ค. อานาจในการออกใบอนุญาตที่กฎหมายกาหนดไว้เป็ นการเฉพาะอาจมอบอานาจให้ เฉพาะ
ราชการซึ่ งเป็ นผูใ้ ต้บงั คับบัญชาและผูว้ า่ ราชการจังหวัดเท่านั้น
ง. วางหลักการสนับสนุนให้มีการมอบอานาจกว้างขวางขึ้นเพื่อเน้นการบริ การประชาชนให้ มีความ
สะดวกและรวดเร็ ว
จ. ผูม้ อบอานาจพิจารณาถึงการอานวยความสะดวกแก่ประชาชน ความรวดเร็ วในการ ปฏิบตั ิ
ราชการ การกระจายความรับผิดชอบตามสภาพตาแหน่ง
56.เมื่อมีการมอบอานาจในการปฏิบตั ิราชการแทนให้แก่บุคคลใดแล้วผูม้ อบอานาจนั้น ยังคงหน้าที่อย่างไร
ก. ยังคงมีอานาจอยูเ่ ช่นเดิมและแก้ไขการปฏิบตั ิราชการของผูร้ ับมอบอานาจได้
ข. มีหน้าที่กากับติดตามผลการปฏิบตั ิราชการของผูร้ ับมอบอานาจ
ค. มีอานาจแนะนาและแก้ไขการปฏิบตั ิราชการของผูร้ ับมอบอานาจได้
ง. ข้อ ข. และ ค. ถูก
จ. ก ข และ ค

57.การรักษาราชการแทนข้อใดถูก
ก. กรณี ที่นายกรัฐมนตรี ไม่อาจปฏิบตั ิราชการแทนได้และไม่มีผดู ้ ารงตาแหน่งรอง นายกรัฐมนตรี
ให้รัฐมนตรี ประจาสานักนายกรัฐมนตรี เป็ นผูร้ ักษาราชการแทน
ข. กรณี นายกรัฐมนตรี ไม่อาจปฏิบตั ิราชการได้ให้คณะรัฐมนตรี มอบอานาจให้รัฐมนตรี คน ใดคน
หนึ่งเป็ นผูร้ ักษาราชการแทน
ค. กรณี ที่นายกรัฐมนตรี ไม่อาจปฏิบตั ิราชการได้และมีรองนายกรัฐมนตรี หลายคนให้
นายกรัฐมนตรี มอบหมายให้รองนายกรัฐมนตรี คนใดคนหนึ่งเป็ นผูร้ ักษาราชการแทน
ง. กรณี ที่นายกรัฐมนตรี ไม่อาจปฏิบตั ิราชการได้และมีรองนายกรัฐมนตรี หลายคนได้ให้
คณะรัฐมนตรี มอบหมายให้รองนายกรัฐมนตรี คนใดคนหนึ่งเป็ นผูร้ ักษาราชการแทน
จ. กรณี ที่ไม่มีผดู ้ ารงตาแหน่งนายกรัฐมนตรี และมีรองนายกรัฐมนตรี หลายคนได้ให้ คณะรัฐมนตรี
มอบหมายให้รองนายกรัฐมนตรี คนใดคนหนึ่งเป็ นผูร้ ักษาราชการแทน
58. ในกรณี ที่รัฐมนตรี วา่ การกระทรวงไม่อาจปฏิบตั ิราชการแทนได้...........ข้อใดกล่าวถูกต้อง
ก. ให้รัฐมนตรี วา่ การกระทรวงแต่งตั้งรัฐมนตรี ช่วยว่าการกระทรวงคนใดคนหนึ่งเป็ นผูร้ ักษา
ราชการแทน
ข. ถ้าไม่มีรัฐมนตรี วา่ การกระทรวงให้ปลัดกระทรวงเป็ นผูร้ ักษาราชการแทน
ค. ถ้ามีรัฐมนตรี วา่ การกระทรวงหลายคนให้นายกรัฐมนตรี มอบหมายให้รัฐมนตรี ช่วยว่าการ
กระทรวงคนใดคนหนึ่งเป็ นผูร้ ักษาราชการแทน
ง. ถ้าไม่มีรัฐมนตรี วา่ การกระทรวงให้คณะรัฐมนตรี มอบหมายให้รัฐมนตรี คนใดคนหนึ่ งเป็ น
ผูร้ ักษาราชการแทน
จ. ข้อ ค. และ ง.

59.กรณี ที่ปลัดกระทรวงไม่อาจปฏิบตั ิราชการแทนได้และไม่มีรองปลัดกระทรวงหรื อมีแต่ไม่อาจ ปฏิบตั ิ


ราชการ ได้ ข้อใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวกับการรักษาราชการแทนปลัดกระทรวง
ก. ให้รัฐมนตรี วา่ การกระทรวงแต่งตั้งอธิ บดีหรื อผูด้ ารงตาแหน่งเทียบเท่าเป็ นผูร้ ักษา ราชการแทน
ข. ให้รัฐมนตรี วา่ การกระทรวงแต่งตั้งข้าราชการในกระทรวงซึ่ งดารงตาแหน่งไม่ต่ากว่า
ผูอ้ านวยการกองหรื อเทียบเท่าเป็ นผูร้ ักษาราชการแทน
ค. ให้ปลัดกระทรวงแต่งตั้งข้าราชการในกระทรวงซึ่ งดารงตาแหน่งไม่ต่ากว่าอธิ บดีหรื อ เทียบเท่า
เป็ นผูร้ ักษาราชการแทน
ง. ก และ ค แล้วแต่กรณี
60.ในกรณี ที่ไม่มีผดู ้ ารงตาแหน่งเลขานุการรัฐมนตรี หรื อมีไม่อาจปฏิบตั ิราชการได้ใครจะเป็ นผูร้ ักษา
ราชการ แทน ข้อใดกล่าวถูกต้อง
ก. ผูช้ ่วยเลขานุการรัฐมนตรี ผมู ้ ีความอาวุโส
ข. ผูช้ ่วยเลขานุการรัฐมนตรี ที่รัฐมนตรี วา่ การกระทรวงมอบหมาย
ค. หัวหน้าสานักงานรัฐมนตรี กรณี ที่ไม่มีผชู ้ ่วยเลขานุการรัฐมนตรี
ง. ถ้าไม่มีผชู ้ ่วยเลขานุการรัฐมนตรี ให้รัฐมนตรี วา่ การกระทรวงแต่งตั้งข้าราชการการเมือง คนหนึ่ง
เป็ นผูร้ ักษาราชการแทน
จ. ข้อ ข. และ ง.

61.ในกรณี ที่ไม่มีผดู ้ ารงตาแหน่งรองปลัดกระทรวง หรื อมีแต่ไม่อาจปฏิบตั ิราชการได้ใครจะเป็ น ผูร้ ักษา


ราชการแทน ข้อใดกล่าวถูกต้อง
ก. พระราชบัญญัติระเบียบบริ หารราชการแผ่นดินมิได้บญั ญัติกรณี ดงั กล่าวนี้ไว้
ข. ปลัดกระทรวงจะแต่งตั้งข้าราชการในกระทรวงซึ่ งดารงตาแหน่งไม่ต่ากว่าอธิ บดีหรื อ เทียบเท่า
เป็ นผูร้ ักษาราชการแทน
ค. ปลัดกระทรวงแต่งตั้งข้าราชการในกระทรวงซึ่ งดารงตาแหน่งไม่ต่ากว่าผูน้ วยการกอง หรื อ
เทียบเท่าเป็ นผูร้ ักษาราชการแทน
ง. รัฐมนตรี วา่ การกระทรวงจะแต่งตั้งข้าราชการในกระทรวงซึ่ งดารงตาแหน่งไม่ต่ากว่า อธิบดีหรื อ
เทียบเท่าเป็ นผูร้ ักษาราชการแทน
จ. รัฐมนตรี วา่ การกระทรวงจะแต่งตั้งข้าราชการในกระทรวงซึ่ งดารงตาแหน่งไม่ต่ากว่าผู้ นวยการ
กองหรื อเทียบเท่าเป็ นผูร้ ักษาราชการแทน
62.ข้อใดกล่าวผิดเกี่ยวกับการรักษาราชการแทน อธิ บดี
ก. กรณี ที่มีรองอธิ บดีหลายคนให้ปลัดกระทรวงแต่งตั้งรองอธิ บดีคนใดคนหนึ่งเป็ นผูร้ ักษา ราชการ
แทน
ข. ถ้าไม่มีผดู ้ ารงตาแหน่งรองอธิ บดีหรื อมีแต่ไม่อาจปฏิบตั ิราชการได้ให้ปลัดกระทรวง แต่งตั้ง
ข้าราชการในกระทรวงซึ่งดารงตาแหน่งเทียบเท่ารองอธิ บดีหรื อข้าราชการตั้งแต่หวั หน้ากอง หรื อเทียบเท่า
ขึ้นไปเป็ นผูร้ ักษาการแทน
ค. ถ้ารัฐมนตรี วา่ การกระทรวงเห็นสมควรเพื่อความเหมาะสมแก่การรับผิดชอบการปฏิบตั ิ ราชการ
ในกรมนั้นรัฐมนตรี วา่ การกระทรวงจะแต่งตั้งข้าราชการคนใดคนหนึ่งซึ่ งดารงตาแหน่งไม่ต่ า กว่ารอง
อธิ บดีหรื อเทียบเท่าเป็ นผูร้ ักษาราชการแทน
ง. ข้อ ก. และ ข.
จ. ข้อ ข. และ ค. ผิด

63.การรักษาราชการแทนตาม พ.ร.บ. ระเบียบบริ หารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 ไม่ใช้บงั คับแก่ส่วน


ราชการใด
ก. กระทรวงศึกษาธิการ
ข. กระทรวงการคลัง
ค. สานักงานตารวจแห่งชาติ
ง. กระทรวงกลาโหม
จ. ค และ ง
64.กรณี เลขานุการกรมการปกครอง ไม่สามารถปฏิบตั ิราชการได้ หากต้องการที่จะแต่งตั้งผูร้ ักษา ราชการ
แทนเลขานุการปกครองจะต้องทาอย่างไร
ก. เลขานุการกรมการปกครองออกคาสั่งแต่งตั้งหัวหน้าฝ่ ายคนใดคนหนึ่งเป็ นผูร้ ักษาราชการแทน
ข. อธิบดีออกคาสั่งแต่งตั้งหัวหน้าฝ่ ายคนใดคนหนึ่งเป็ นผูร้ ักษาราชการแทน
ค. อธิบดีออกคาสั่งแต่งตั้งข้าราชการในกรมคนใดคนหนึ่งซึ่ งดารงตาแหน่งไม่ต่ากว่าหัวหน้า กอง
หรื อเทียบเท่าเป็ นผูร้ ักษาราชการแทน
ง. ข้อ ข. และ ค. ถูก
จ. ผิดทุกข้อ

65.ข้อใดกล่าวเกี่ยวกับเรื่ องการรักษาราชการแทนถูกต้อง
ก. ผูร้ ักษาราชการแทนมีอานาจหน้าที่เช่นเดียวกับผูซ้ ่ ึ งตนแทน
ข. กรณี ที่ผดู้ ารงตาแหน่งใดมอบอานาจให้ผดู้ ารงตาแหน่งอื่นปฏิบตั ิราชการแทน ให้ผทู้ ี่ปฏิบตั ิ
ราชการแทนมีหน้าที่เช่นเดียวกับผูซ้ ่ ึ งมอบอานาจ
ค. กรณี ที่มีกฎหมายอื่นแต่งตั้งให้ผดู ้ ารงตาแหน่งเป็ นกรรมการหรื อให้มีอานาจหน้าที่อย่าง ใด
ผูร้ ักษาราชการแทนย่อมมีอานาจหน้าที่เป็ นกรรมการหรื อมีอานาจหน้าที่เช่นเดียวกับผูด้ ารง ตาแหน่งนั้น
ง. เฉพาะข้อ ก. และ ข. ถูก
จ. ข้อ ก. ถึง ค. ถูก

66."หัวหน้าคณะผูแ้ ทน" ตาม พ.ร.บ. ระเบียบบริ หารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 และที่แก้ไข เพิ่มเติม (ฉบับ
ที่ 5) 2545 โดยทัว่ ไปเป็ นข้าราชการสังกัดส่ วนราชการใด
ก. สานักนายกรัฐมนตรี ข. กระทรวงการต่างประเทศ
ค. กระทรวงกลาโหม ง. กระทรวงใดก็ได้ที่ได้รับแต่งตั้งจากนายกรัฐมนตรี
จ. กระทรวงพาณิ ชย์
67.กรณี ที่ปลัดกระทรวงมหาดไทย จะมอบอานาจเรื่ องใดเรื่ องหนึ่งให้หวั หน้าคณะผูแ้ ทนในการ บริ หาร
ราชการ ใน ต่างประเทศ ตาม พ.ร.บ. ระเบียบบริ หารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 และที่ แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับ
ที่ 5) พ.ศ. 2545 จะต้องทาอย่างไร
ก. ทาหนังสื อให้คณะรัฐมนตรี ทราบ
ข. แจ้งเรื่ องมอบอานาจให้หวั หน้าคณะผูแ้ ทนทราบโดยตรง
ค. ขออนุมตั ิรัฐมนตรี วา่ การกระทรวงมหาดไทยก่อนที่จะทาการมอบอานาจ
ง. แจ้งเรื่ องการมอบอานาจดังกล่าวผ่านกระทรวงต่างประเทศ
จ. ไม่มีขอ้ ใดถูก

68.การจัดระเบียบบริ หารราชการส่ วนภูมิภาค เป็ นไปตามข้อใด


ก. จังหวัด อาเภอ
ข. ส่ วนกลาง ส่ วนภูมิภาค ส่ วนท้องถิ่น
ค. จังหวัด อาเภอ ตาบล หมู่บา้ น
ง. จังหวัด อาเภอ กิ่งอาเภอ
จ. ไม่มีขอ้ ใดถูก

69.จังหวัดสุ รินทร์ มีพ้ืนที่ 10,000 ตารางเมตร หากต้องการจะแบ่งเขตพื้นที่ ของบางอาเภอจานวน 1,000


ตารางเมตร ให้เป็ นของจังหวัดบุรีรัมย์ จะต้องทาอย่างไร
ก. ทาเป็ นคาสั่งของกระทรวงมหาดไทย
ข. ตราเป็ นพระราชกฤษฎีกา
ค. ตราเป็ นพระราชกาหนด
ง. ตราเป็ นพระราชบัญญัติ
จ. ออกเป็ นกฎกระทรวง
70. หน่วยงานใดสามารถยืน่ คาขอจัดตั้งงบประมาณได้ตามกฎหมายว่าด้วยวิธีการและ งบประมาณ
ก. จังหวัด ข. กลุ่มจังหวัด ค. อาเภอ ง. ก และ ข จ. ถูกทุกข้อ

71.ในการบริ หารราชการแผ่นดินของจังหวัดใด ใครมีหน้าที่เป็ นที่ปรึ กษาของผูว้ า่ ราชการจังหวัด


ก. สมาชิกสภาผูแ้ ทนราษฎรในจังหวัด
ข. สภาจังหวัด
ค. คณะกรรมการจังหวัด
ง. คณะกรรมการธรรมภิบาลจังหวัด
จ. ค และ ง

72.ตามพระราชบัญญัติระเบียบบริ หารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2550 กาหนดให้จงั หวัดมีอานาจกี่ขอ้


ก. 6 ข้อ ข. 7 ข้อ ค. 8 ข้อ ง. ข้อ 9 จ. 5 ข้อ

73. ข้อใดกล่าวผิดเกี่ยวกับคณะกรรมการจังหวัด
ก. หัวหน้าส่ วนราชการประจาจังหวัดจากกระทรวงต่างๆกระทรวงละหนึ่งคนเป็ นกรมการจังหวัด
ข. ถ้ากระทรวงใดมีหวั หน้าส่ วนราชการประจาจังหวัดมากกว่าหนึ่งคนให้ผวู ้ า่ ราชการ จังหวัด
มอบหมายให้หวั หน้าส่ วนราชการจังหวัดคนหนึ่งเป็ นผูแ้ ทนในคณะกรรมการจังหวัด
ค. ผูว้ า่ ราชการจังหวัดเห็นสมควรจะแต่งตั้งให้หวั หน้าส่ วนราชการประจาจังหวัดซึ่งปฏิบตั ิ หน้าที่
ในราชการ ส่ วนภูมิภาคคนหนึ่งหรื อหลายคนเป็ นกรมการจังหวัดเพิ่มขึ้นเฉพาะการปฏิบตั ิ หน้าที่ดา้ นใดด้าน
หนึ่งก็ได้
ง. มีหน้าที่ให้ความเห็นชอบแผนพัฒนาจังหวัด
จ. ข และ ง กล่าวผิด
74.ข้อใดเป็ นอานาจหน้าที่ของคณะกรรมการจังหวัด
ก. ให้ความเห็นชอบในการจัดทาแผนพัฒนาจังหวัด
ข. ทาหน้าที่เป็ นที่ปรึ กษาของผูว้ า่ ราชการจังหวัด
ค. ปฏิบตั ิหน้าที่อื่นตามที่กฎหมายหรื อมติของคณะรัฐมนตรี กาหนด
ง. ถูกเฉพาะข้อ ข. และ ค.
จ. ก ข และ ค

75.หัวหน้าสานักงานจังหวัดมีตาแหน่งใดในคณะกรมการจังหวัด
ก. เลขานุการ
ข. กรมการจังหวัด
ค. เป็ นตามที่ผวู ้ า่ ราชการจังหวัดมอบหมาย
ง. ข้อ ก. และ ข. ถูก
จ. ถูกทุกข้อ

76.ใครเป็ นประธานกรมการจังหวัด
ก. ผูว้ า่ ราชการจังหวัด
ข. รองผูว้ า่ ราชการจังหวัดที่ผวู ้ า่ ราชการมอบหมาย
ค. ปลัดจังหวัด
ง. นายกองค์การบริ หารส่ วนจังหวัด
จ. ผิดทุกข้อ
77. กรณี ที่กระทรวงใดมีหวั หน้าส่ วนราชการประจาจังหวัดซึ่ งกรมต่าง ๆ ในกระทรวงนั้นส่ งมา ประจาอยู่
จังหวัด มากกว่าหนึ่งคน ใครเป็ นผูม้ ีอานาจกาหนดให้หวั หน้าส่ วนราชการคนหนึ่งเป็ น ผูแ้ ทนของกระทรวง
ในคณะกรมการจังหวัด
ก. ปลัดกระทรวง
ข. ผูว้ า่ ราชการจังหวัด
ค. รัฐมนตรี เจ้ากระทรวง
ง. หัวหน้าส่ วนราชการตกลงกันเอง
จ. ผิดทุกข้อ

78.ข้อใดกล่าวผิดเกี่ยวกับการบริ หารราชการจังหวัด
ก. ปลัดจังหวัดเป็ นผูร้ ักษาราชการแทนผูว้ า่ ราชการจังหวัดรองจากผูว้ า่ ราชการจังหวัด
ข. ผูว้ า่ ราชการจังหวัดเป็ นหัวหน้าบังคับบัญชาบรรดาข้าราชการฝ่ ายบริ หาร
ค. การเปลี่ยนแปลงเขตจังหวัดให้ตราเป็ นพระราชบัญญัติ
ง. จะให้มีผชู ้ ่วยผูว้ า่ ราชการจังหวัดเป็ นผูช้ ่วยผูส้ ั่งการและปฏิบตั ิราชการแทนผูว้ า่ ราชการจังหวัดก็ได้
จ. ฐานะของปลัดจังหวัดตามกฎหมายเป็ นผูท้ าหน้าที่เป็ นผูช้ ่วยเหลือ ผูว้ า่ ราชการจังหวัดมิใช่ผชู ้ ่วยสั่ง

79.กรณี ที่ผวู ้ า่ ราชการจังหวัดไม่อาจปฏิบตั ิราชการได้ หากมีรองผูว้ า่ ราชการจังหวัด อยู่ 2 คน ใคร เป็ นผูม้ ี
อานาจแต่งตั้งรองผูว้ า่ ราชการจังหวัดคนใดคนหนึ่งเป็ นผูร้ ักษาราชการแทน
ก. รัฐมนตรี วา่ การกระทรวงมหาดไทย ข. ปลัดกระทรวงมหาดไทย
ค. ผูว้ า่ ราชการจังหวัด
ง. ผูว้ า่ ราชการจังหวัดแต่งตั้งโดยขอความเห็นชอบจากปลัดกระทรวงมหาดไทย
จ. ไม่มีใครแต่งตั้งเป็ นโดยตาแหน่งโดยรองผูว้ า่ ราชการจังหวัดที่มีความอาวุโสตามระเบียบ แบบ
แผนของทางราชการ
80.ตามพระราชบัญญัติระเบียบบริ หารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 ผูว้ า่ ราชการจังหวัดมีอานาจ กี่ขอ้
ก. 8 ข. 9 ค. 10 ง. 11 จ. 12

81.ข้อใดไม่ใช่อานาจหน้าที่ของผูว้ า่ ราชการจังหวัด
ก. ยับยั้งการกระทาใด ๆ ของข้าราชการพลเรื อนในมหาวิทยาลัยไว้ชวั่ คราว แล้วรายงาน
กระทรวงศึกษาธิการ
ข. ประสานงานและร่ วมมือกับข้าราชการทหารในการพัฒนาจังหวัด
ค. เสนอขอจัดตั้งงบประมาณจังหวัดและรายงานให้กระทรวงมหาดไทยทราบ
ง. กากับการปฏิบตั ิหน้าที่ของพนักงานองค์กรรัฐบาลหรื อรัฐวิสาหกิจ
จ. ควบคุมการบริ หารราชการส่ วนท้องถิ่นตามกฎหมาย

82.กรณี ที่ส่วนราชการใด ต้องการให้ขา้ ราชการในสังกัดมีอานาจหน้าที่ในการบริ หารราชการส่ วน ภูมิภาค


เช่นเดียวกับผูว้ า่ ราชการจังหวัด จะต้องทาอย่างไร
ก. ออกพระราชบัญญัติ ข. ออกพระราชฎีกา
ค. ออกเป็ นมติคณะรัฐมนตรี ง. ออกระเบียบกระทรวง
จ. ออกกฎกระทรวง

83.ข้อใดเป็ นการแบ่งส่ วนราชการจังหวัด


ก. จังหวัด อาเภอ ข. จังหวัด อาเภอ ราชการส่ วนท้องถิ่น
ค. สานักงานจังหวัด ส่ วนราชการต่าง ๆ ซึ่ งกระทรวง ทบวง กรม ได้ต้ งั ขึ้นมีหน้าที่เกี่ยวกับ ราชการ
ของกระทรวง ทบวง กรมนั้น
ง. ข้อ ก. และ ค. ถูก จ. ข้อ ก. และ ข. ถูก
84.ข้อใดเป็ นหน้าที่ของสานักงานจังหวัด
ก. งานเลขานุการผูว้ า่ ราชการจังหวัด ข. ราชการทัว่ ไป
ค. การวางแผนพัฒนาจังหวัด ง. ข้อ ข. และ ค. ถูก
จ. ถูกทุกข้อ

85.ข้อใดเป็ นอานาจหน้าที่ของอาเภอที่เพิม่ เติมไปจากอานาจหน้าที่ของจังหวัดตามพระราชบัญญัติ ระเบียบ


บริ หารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2550
ก. ส่ งเสริ ม สนับสนุน และจัดให้มีศูนย์บริ การร่ วม
ข. ประสานงานกับองค์การปกครองส่ วนท้องถิ่นเพื่อร่ วมมือกับชุมชนในการด าเนิ นงานให้มี แผน
ชุมชน
ค. ประสานงานกับองค์กรปกครองส่ วนท้องถิ่นและประนี ประนอมข้อพิพาทระหว่างเพื่อให้ เกิด
ความสงบเรี ยบร้อยในสังคม
ง. ก และ ค จ. ก ข และ ค

86.ข้อใดกล่าวผิดเกี่ยวกับการไกล่เกลี่ยและประนีประนอมข้อพิพาทของประชาชนตามระเบียบ บริ หาร


ราชการแผ่นดิน
ก. นายอาเภอเป็ นหน้าที่ไกล่เกลี่ยและประนอมข้อพิพาทคู่กรณี ฝ่ายใดฝ่ ายหนึ่งมีภูมิลาเนา อยูใ่ น
อาเภอ
ข. มีคณะบุคคลผูท้ าหน้าที่ไกล่เกลี่ยประนอมข้อพิพาทโดยความเห็นชอบจาก คณะกรรมการ
จังหวัด ซึ่งคัดจากบุคคลที่มีความรู้หรื อประสบการณ์เหมาะสม
ค. เป็ นข้อพิพาททางแพ่งเกี่ยวกับที่ดินและมรดกโดยไม่จากัดคุณสมทรัพย์
ง. ผูเ้ ป็ นประธานคณะบุคคลทาหน้าที่ไกล่เกลี่ยและประนอมข้อพิพาทได้แก่นายอาเภอ พนักงาน
อัยการประจาจังหวัดหรื อปลัดอาเภอ
จ. ก และ ค
87.ข้อใดกล่าวผิดเกี่ยวกับการไกล่เกลี่ยและประนอมข้อพิพาทของประชาชนตามระเบียบบริ หาร ราชการ
แผ่นดิน
ก. ข้อพิพาทเกี่ยวกับทางแพ่งกับที่ดินมรดก และข้อพิพาททางแพ่งอื่นที่มีทุนทรัพย์ไม่เกิน สองแสน
บาท
ข. แยกระบบการไกล่เกลี่ยข้อพิพาทในทางแพ่งและในทางอาญาออกจากกันอย่างชัดเจน
ค. ในทางอาญาต้องเป็ นคดีอนั ยอมความกันได้เว้นแต่เป็ นคดีเกี่ยวกับเพศ เด็กและเยาวชน
ง. อายุความฟ้ องร้องสะดุดหยุดลงนับแต่วนั ที่ยนื่ ข้อพิพาทเว้นแต่ในทางอาญาอายุความร้อง ทุกข์ให้
เริ่ มนับใหม่นบั แต่วนั ที่จาหน่ายข้อพิพาท
จ. ข้อตกลงตามสัญญาประนีประนอมยอมความมีผลเช่นเดียวกับคาชี้ของอนุญาโตตุลาการ

88.อาเภอ ก. ไม่มีผดู ้ ารงตาแหน่งนายอาเภอเนื่องจากนายอาเภอคนเดิมย้ายไปดารงตาแหน่งที่ อาเภอ ข. กรณี


นี้หากต้องการที่จะให้มีการแต่งตั้งผูร้ ักษาราชการแทนนายอาเภอจะต้องทาอย่างไร
ก. ให้ผวู ้ า่ ราชการจังหวัดแต่งตั้งปลัดอาเภอ หรื อหัวหน้าส่ วนราชการประจาอาเภอ มีผอู้ าวุโส ตาม
ระเบียบแบบแผนของทางราชการเป็ นผูร้ ักษาราชการแทน
ข. ให้ปลัดอาเภอหรื อหัวหน้าส่ วนราชการประจาอาเภอผูม้ ีอาวุโสตามระเบียบแบบแผนของ ทาง
ราชการเป็ นผูร้ ักษาราชการแทน
ค. ให้นายอาเภอคนเดิมแต่งตั้งผูร้ ักษาราชการแทนก่อนที่จะเดินทางไปรับตาแหน่งใหม่ ง.
ปลัดอาเภอผูม้ ีความอาวุโสเป็ นผูร้ ักษาราชการแทน
จ. ไม่มีขอ้ ถูก

89.การยุบ และเปลี่ยนเขตอาเภอ ให้จดั ทาโดย...................?


ก. พระราชบัญญัติ ข. พระราชกฤษฎีกา
ค. ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ง. ประกาศกระทรวงมหาดไทย
จ. กฎกระทรวง
90.บุคคลต่อไปนี้ กฎหมายมิได้กาหนดต้องให้สังกัดกระทรวงมหาดไทย
ก. นายอาเภอ
ข. ผูช้ ่วยผูว้ า่ ราชการจังหวัด
ค. ปลัดจังหวัด
ง. หัวหน้าสานักจังหวัด
จ. ข้อ ค. และ ง.

เฉลยพระราชบัญญัติระเบียบบริ หารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534


และแก้ไขเพิ่มเติมถึงฉบับที่ 7 (พ.ศ.2550)
1. จ 30. ง 59. ก 88. ก
2. ง 31. จ 60. ข 89. ข
3. ง 32. จ 61. ค 90. จ
4. ค 33. ง 62. ข
5. จ 34. ง 63. ง
6. ก 35. จ 64. ค
7. ก 36. ข 65. จ
8. ข 37. จ 66. ข
9. จ 38. ข 67. ง
10. ข 39. ก 68. ก
11. ข 40. ค 69. ง
12. ง 41. ก 70. ง
13. จ 42. ก 71. ค
14. จ 43. ก 72. จ
15. ก 44. จ 73. จ
16. ง 45. ค 74. ข
17. ง 46. ข 75. ง
18. ค 47. ค 76. ก
19. จ 48. ข 77. ก
20. ค 49. ค 78. ก
21. ค 50. ง 79. ข
22. ค 51. ก 80. ข
23. ข 52. ก 81. ก
24. ง 53. จ 82. ก
25. ง 54. ง 83. ค
26. จ 55. ก 84. ง
27. ค 56. ง 85. จ
28. ง 57. ง 86. ก
29. ก 58. ง 87. ค
1.พรบ. ระเบียบริ หารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 บังคับใช้วนั ที่
ก. 5 กันยายน 2534 ข.18 กันยายน 2534
ค. 23 กุมภาพันธ์ 2534 ง. 2 ตุลาคม 2534
ตอบ ก. 5 กันยายน 2534

2. พรบ. ระเบียบริ หารราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ 7) พ.ศ. 2550 บังคับใช้วนั ที่


ก. 5 กันยายน 2550 ข. 2 ตุลาคม 2550
ค. 18 พฤศจิกายน 2550 ง. 16 กันยายน 2550
ตอบ ง. 16 กันยายน 2550

3.การจัดระเบียบบริ หารราชการแผ่นดิน มีอะไรบ้าง


ก. ระเบียบบริ หารราชการส่ วนกลาง ข. ระเบียบบริ หารราชการส่ วนภูมิภาค
ค. ระเบียบบริ หารราชการส่ วนท้องถิ่น ง. ถูกทุกข้อ
ตอบ ง. ถูกทุกข้อ

4.การแบ่งส่ วนราชการออกเป็ นส่ วนต่าง ๆ ให้มีการกาหนดตาแหน่งโดยคานึงถึงอะไรบ้าง


ก. คุณภาพ ข. ปริ มาณงาน
ค. คุณภาพและปริ มาณงาน ง. ถูกทุกข้อ
ตอบ ง. ถูกทุกข้อ
5.ใครเป็ นผูร้ ักษาการ ระเบียบริ หารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534
ก. นายกรัฐมนตรี ข. รัฐมนตรี วา่ การกระทรวงการคลัง
ค. รัฐมนตรี วา่ การกระทรวงมหาดไทย ง. ปลัดสานักนายกรัฐมนตรี
ตอบ ก. นายกรัฐมนตรี

6.ข้อใดไม่ใช่การจัดระเบียบบริ หารราชการส่ วนกลาง


ก. สานักนายกรัฐมนตรี ข. ทบวง
ค. จังหวัด ง. กรม
ตอบ ค. จังหวัด

7.สานักนายกรัฐมนตรี มีฐานะเป็ น
ก. กระทรวง ข. ทบวง
ค. กรม ง. มูลนิธิ
ตอบ ก. กระทรวง

8.ข้อใดมีฐานะเป็ นนิติบุคคล
ก. สานักนายกรัฐมนตรี ข. ทบวง
ค. กรม ง. ถูกทุกข้อ
ตอบ ง. ถูกทุกข้อ
9.การจัดตั้ง การรวมหรื อ การโอน สานักนายกรัฐมนตรี ให้ออกเป็ นกฎหมายใด
ก. พระราชบัญญัติ ข. พระราชกฤษฎีกา
ค. กฎกระทรวง ง. ประกาศสานักนายกรัฐมนตรี
ตอบ ก. พระราชบัญญัติ

10.การจัดตั้ง การรวมหรื อ การโอน ทบวง ให้ออกเป็ นกฎหมายใด


ก. พระราชบัญญัติ ข. พระราชกฤษฎีกา
ค. กฎกระทรวง ง. ประกาศทบวง
ตอบ ก. พระราชบัญญัติ

11.การรวม หรื อการโอน กระทรวง ถ้าไม่มีการกาหนดตาแหน่งหรื ออัตราข้าราชการหรื อลูกจ้างเพิ่มขึ้น ให้


ออกเป็ นกฎหมายใด
ก. พระราชบัญญัติ ข. พระราชกฤษฎีกา
ค. กฎกระทรวง ง. ประกาศกระทรวง
ตอบ ข. พระราชกฤษฎีกา

12.การรวม หรื อการโอน ถ้าไม่มีการกาหนดตาแหน่งหรื ออัตราข้าราชการหรื อลูกจ้างเพิ่มขึ้น ให้สานักงาน


ก.พ. และสานักงบประมาณตรวจสอบมิให้มีการกาหนดตาแหน่งข้าราชการหรื อลูกจ้างเพิม่ ขึ้นจนกว่าจะ
ครบกี่ปี
ก. 3 ปี ข. 5 ปี
ค. 7 ปี ง. 10 ปี
ตอบ ก. 3 ปี
13.การเปลี่ยนชื่อส่ วนราชการ ของ สานักนายกรัฐมนตรี กระทรวง ทบวง หรื อกรม ให้ออกเป็ นกฎหมายใด
ก. พระราชบัญญัติ ข. พระราชกฤษฎีกา
ค. กฎกระทรวง ง. พระราชกาหนด
ตอบ ค. กฎกระทรวง

14.การยุบส่ วนราชการ ของ สานักนายกรัฐมนตรี กระทรวง ทบวง หรื อกรม ให้ออกเป็ นกฎหมายใด
ก. พระราชบัญญัติ ข. พระราชกฤษฎีกา
ค. กฎกระทรวง ง. พระราชกาหนด
ตอบ ข. พระราชกฤษฎีกา

15.การแบ่งส่ วนราชการภายใน สานักนายกรัฐมนตรี กรม ส่ วนราชการที่เรี ยกชื่ออย่างอื่นและมีฐานะเป็ น


กรม ให้ออกเป็ นกฎหมายใด
ก. พระราชบัญญัติ ข. พระราชกฤษฎีกา
ค. กฎกระทรวง ง. พระราชกาหนด
ตอบ ค. กฎกระทรวง

16.ส่ วนราชการใดต่อไปนี้ไม่ได้ข้ ึนตรงต่อนายกรัฐมนตรี


ก. สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ข. สานักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรื อน
ค. สานักงบประมาณ ง. สานักงานตารวจแห่งชาติ
ตอบ ง. สานักงานตารวจแห่ งชาติ
17.ส่ วนราชการในสานักนายกรัฐมนตรี มีฐานะเป็ น
ก. กระทรวง ข. กรม
ค. หน่วยงาน ง. ทบวง
ตอบ ข. กรม

18.ใครเป็ นผูบ้ งั คับบัญชาข้าราชการและรับผิดชอบในการกาหนดนโยบายในสานักนายกรัฐมนตรี


ก. นายกรัฐมนตรี ข. ปลัดสานักนายกรัฐมนตรี
ค. รัฐมนตรี ประจาสานักนายกรัฐมนตรี ง. ถูกทุกข้อ
ตอบ ก. นายกรัฐมนตรี

19.เมื่อนายกรัฐมนตรี ตาย, ขาดคุณสมบัติ, จาคุก, สภาลงมติไม่ไว้วางใจ, ศาลวินิจฉัยความเป็ นนายกสิ้ นสุ ด


ลง
ก. ให้คณะรัฐมนตรี มอบหมายให้ รองนายกรัฐมนตรี ปฏิบตั ิหน้าที่แทน
ข. ให้คณะรัฐมนตรี มอบหมายให้ รองนายกรัฐมนตรี รักษาราชการแทน
ค. ให้นายกรัฐมนตรี มอบหมายให้ รองนายกรัฐมนตรี ปฏิบตั ิหน้าที่แทน
ง. ให้นายกรัฐมนตรี มอบหมายให้ รัฐมนตรี ประจาสานักนายกรัฐมนตรี รักษาราชการแทน
ตอบ ก. ให้คณะรัฐมนตรี มอบหมายให้ รองนายกรัฐมนตรี ปฏิบตั ิหน้าที่แทน
20.ข้อใดไม่ใช่อานาจหน้าที่ของนายกรัฐมนตรี
ก. มอบหมายให้รองนายกรัฐมนตรี กากับการบริ หารราชการของกระทรวง หรื อทบวงหนึ่งหรื อ
หลายกระทรวงหรื อทบวง
ข. บังคับบัญชาข้าราชการฝ่ ายบริ หารทุกตาแหน่งซึ่ งสังกัดกระทรวง ทบวง กรม และส่ วนราชการที่
เรี ยกชื่ออย่างอื่นที่มีฐานะเป็ นกรม
ค. แต่งตั้งข้าราชการการเมืองให้ปฏิบตั ิราชการในสานักนายกรัฐมนตรี
ง.บริ หารราชการตามกฎหมายระเบียบแบบแผนของทางราชการ
ตอบ ง.บริ หารราชการตามกฎหมายระเบียบแบบแผนของทางราชการ

You might also like