You are on page 1of 33

LA

W
SLAPP
Strategic Lawsuit against Public Par-
ticipation
การดำเนินคดียท
ุ ธศาสตร์เพือ
สว่ นร่วมสาธารณะ
่ ต่อต้านการมี
SLAP
นิยามและความคิดทว่ ั ไปเกีย
่ วก ับ

Ps
SLAPPs
• SLAPPs ศก ึ ษาจริงจังโดย Penelope
Canan และ George Pring
• SLAPPs เป็ นรูปแบบหนึง่ ของการ

คุกคามโดยการใชกระบวนการยุ ตธิ รรม
เป็ นเครือ
่ งมือ (Judicial Harassment)
โดยมุง่ คุกคามเฉพาะเจาะจงทีก ่ ารมีสว่ น
ร่วมสาธารณะหรือการใชส้ ท ิ ธิทางการ
เมืองของประชาชน
• เพือ่ ข่มขู่ มุง่ ตอบโต ้ หรือฟ้ องเพือ
่ หยุด
ลงโทษการพูด หรือต่อต ้านกิจกรรม
ทางการเมือง
คดีต ัวอย่าง

• คดีจน ิ ตนา แก ้วขาว เป็ นประธานกลุม ่ อนุรักษ์ฯบ ้านกรูด ร่วมกับพวกบุกรุกเข ้าไปใน


พืน ่ องบริษัทซงึ่ ดำเนินโครงการโรงไฟฟ้ าหินกรูด
้ ทีข
• คดีตำรวจฟ้ องข ้อหาฟ้ องเท็จจริงและเบิกความเท็จ สบ ื เนือ
่ งจากเหยือ ้
่ ซอมทรมาน
ฟ้ องตำรวจจากกรณีซอมทรมาน ้
• คดีปราชญ์กะเหรีย ่ งราชบุรห ี มิน
่ ประมาทอดีตหัวหน ้าอุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน
• คดีเหมืองทุง่ คำฟ้ องแพ่งเรียก 50 ล ้าน จากชาวบ ้านเหมืองเลยติดป้ าย "หมูบ ่ ้านนีไ
้ ม่
เอาเหมือง“
• คดีฟ้องชาวบ ้าน 17 คน คดีเดินเทใจให ้เทพาเดินคัดค ้านโรงไฟฟ้ าถ่านหิน
• คดีสำนักงานศาลยุตธิ รรมฟ้ องนักเคลือ ่ นไหวกรณีป่าแหว่ง
• แจ ้งความ 4 ภาคี save บางกลอย ยุยงบุรก ุ /พรบ.คอมฯ
• ฟ้ องหมิน ่ ประมาททางแพ่งกรณีหนังสอ ื ขุนศก ึ ศก
ั ดินา พญาอินทรีย ์ เรียก 50 ล ้าน
ทำให ้ราชสกุลรังสต ิ เสย ี หาย
เกณฑ์การพิจารณาคดีทเี่ ข้าข่ายเป็น
SLAPPs ้ ึ ษาใน
เดิม Canan และ Pring ได้ใชหล ักเกณฑ์ 4 ประการ เพือ ่ จำแนกกรณีศก
งานวิจัยของพวกเขา
เป็ นการฟ้ องคดีแพ่ง รวมถึงการฟ้ องแย ้ง หรือการร ้อง
สอด
เป็ นการฟ้ องต่อบุคคลหรือกลุม ่ บุคคลนอกภาครัฐ
(NGOs)
จากการสอ ื่ สารทีท
่ ำขึน
้ เพือ
่ ให ้เกิดอิทธิพลต่อการ
ดำเนินการหรือผลลัพธ์ทางรัฐบาล (government ac-
tion or outcome)
เกีย่ วกับสาธารณะหรือประเด็นทีม ี วามสำคัญทาง
่ ค
สงั คม
Note : ปั จจุบน
ั คดี SLAPPs ได ้ขยายขอบเขตคลุมลักษณะของคดีประเภทอืน ่ นอกจากคดี
แพ่ง รวมถึงฟ้ องต่อบุคคลหรือหน่วยงานใดๆไม่เฉพาะแต่ NGOs เชน ่ ฟิ ลป
ิ ปิ นส ์ กำหนดให ้
คดี “SLAPPs” ครอบคลุมถึงการดำเนินคดีทางแพ่ง อาญา และปกครอง และครอบคลุการ
ฟ้ องบุคคลหรือหน่วยงใดๆทีส่ งั กัดหน่วยงานรัฐด ้วยเป็ นต ้น
SLAPPs ในบริบท
ประเทศไทย
สรุปนิยามของ SLAPPs การฟ้องคดีเพือ ้ ท
่ คุกคามการใชส ิ ธิตามร ัฐธรรมนูญ
เกีย่ วก ับประเด็นสาธารณะ หรือการดำเนินการอืน ่ สน ับสนุนการใช ้
่ ใดเพือ
สทิ ธิตามร ัฐธรรมนูญเกีย
่ วก ับประเด็นสาธารณะ

เป็ นการฟ้ องคดีแพ่ง การแจ ้งความหรือฟ้ องอาญา ฟ้ องคดี


ปกครอง
เป็ นการฟ้ องต่อบุคคล กลุม ่ บุคคล องค์กร สมาคม หรือ
หน่วยงานใดๆ
จากการการใชส้ ท ิ ธิหรือสนับสนุนการใชส้ ท ิ ธิตาม
รัฐธรรมนูญ (การใชเสรี ้ ภาพในการพูด การแสดงออก หรือ
เสรีภาพสอ ื่ หรือสทิ ธิในการชุมนุมโดยสงบ หรือสท ิ ธิใน
การร ้องเรียนต่อรัฐบาล)
เกีย่ วกับประเด็นสาธารณะหรือประเด็นทีม ่ คี วามสำคัญทาง
สงั คม (สงิ่ ใดๆทีเ่ กีย
่ วข ้องกับนัยสำคัญ เป็ นประโยชน์ มี
ความสำคัญ หรือเกีย ่ วกับสวัสดิภาพสาธารณะ สงั คมหรือ
ชุมชน )
Strategic Law-มีล ักษณะเป็นยุทธศาสตร์

suit เกีย
่ วก ับสาธารณะ/
ISSUE
against มีน ัยสำค ัญทางสงคม

Public
พูด/แสดงออก/
Action
แสงความเห็น/
ชุมนุม/ร้องเรียน/ฯลฯ
Participation
การฟ้องคดี SLAPPs จะมีผลเป็นการเปลีย
่ นแปลงใน
่ งสำค ัญ
3 เรือ
• การแปลงข้อพิพาท (Dispute Trans-
formation)
• การแปลงเวทีการต่อสู ้ (Forum Trans-
formation)
• การแปลงประเด็น (Issue Transforma-
tion)

• ข ้อโต ้แย ้งทางการ • ข ้อโต ้แย ้งทางกฎหมาย


• เวทีของกระบวนการยุตธิ รรม
เมือง
• เวทีสาธารณะ หรือศาล
• ความเสย ี หายต่อ • ความเสย ี หายต่อสว่ นตัวของผู ้
สาธารณะ V ฟ้ องคดี
S
วามแตกต่างระหว่างคดี SLAPPs ก ับคดีทว่ ั ไป
• คดี SLAPPs มีลก ั ษณะแตกต่างจากคดีสามัญทั่วไป
เพราะผู ้ฟ้ องคดีไม่ได ้ต ้องการแสวงหาความยุตธิ รรม ไม่
ได ้คาดหวังถึงผลของคดี
• แต่มเี ป้ าหมายเพือ ่ ข่มขู่ หรือกลัน
่ แกล ้งฝ่ ายตรงข ้ามให ้
อ่อนแรงและหยุดวิพากษ์วจ ิ ารณ์หรือคัดค ้านไป ด ้วยการ
ดูดทร ัพยากร บังคับให ้ฝ่ ายตรงข ้ามใชจ่้ ายเงินเพือ ่ ต่อสู ้
คดี ลดทอนประสท ิ ธิภาพในการทำงาน การทำ
กิจกรรม เวลา สร้างความกดด ันทางอารมณ์และลด
ทอนกำลังใจ
• คดี SLAPPs ไม่เพียงแต่หยุดยัง้ การมีสว่ นร่วมสาธารณะ
ทีก
่ ำลังดำเนินอยูเ่ ท่านัน้ แต่ยังสร ้างความกลัว ความ
ท ้อใจทีจ ่ ะทำกิจกรรมหรือการมีสว่ นร่วมสาธารณะใน
อนาคต และขยายความหวาดกลัวและสง่ ข ้อความแห่ง
ข้อแนะนำเพือ
่ การพิจารณาว่าคดีใดเป็
น SLAPPs
การกระทำทีถ ่ ก
ู กล่าวหาเป็ นการกระทำทีไ่ ด ้รับการคุ ้มครองตามรัฐธรรมนูญหรือ
ไม่?
ผู ้ถูกฟ้ องเป็ นกลุม ่ หรือประชาชนทีก ่ ระตือรือร ้นทางการเมืองและการมีส ว่ นร่วม
สาธารณะหรือไม่?
มีความพยายามใชประโยชน์ ้ จากความได ้เปรียบทางเศรษฐกิจหรืออำนาจรัฐ
กดดันผู ้ถูกฟ้ องหรือไม่?
ผู ้ฟ้ องคดีมปี ระวัตก ิ ารดำเนินคดีเพือ
่ ข่มขูน่ ักวิจารณ์หรือนักเคลือ
่ นไหวหรือไม่?

มีการเรียกร ้องค่าเสย ี หายในจำนวนทีส ั สว่ นกับความเสย


่ งู เกินจริง ไม่ได ้สด ี หาย
จริงทีเ่ กิดขึน
้ หรือไม่?
ผู ้ฟ้ องไม่ได ้ให ้หลักฐานทีแ ่ แสดงว่าผู ้ถูกฟ้ องมีสว่ นร่วมในการกระ
่ ท ้จริงเพือ
ทำความผิดใชห ่ รือไม่
ผู ้ฟ้ องคดีมค
ี วามพยายามประวิงคดีออกไปให ้นานทีส ่ ด
ุ เท่าทีเ่ ป็ นไปได ้หรือไม่?
สถานการณ์ SLAPPs ใน
ประเทศไทย
บริบทพิเศษ
บริบท (ความข ัดแย้งทางการเมือง)
ทว่ ั ไป • นับแต่ปี 2557 หลังเหตุการณ์
• นับแต่ปี 2540 ถึง 31 พฤษภาคม รัฐประหาร 22 พฤษภาคม 2557 คดี
2562 พบกรณีทเี่ ข ้าข่ายเป็ น SLAPPs อันเป็ นผลมาจากการ
SLAPPs มากกว่า 100 กรณี เคลือ่ นไหวทางการเมืองเพิม ่ ขึน
้ –
• มากกว่า 190 กรณีเป็ นการดำเนิน
พรบ.คอมฯ /116
คดีอาญา
• ปี 2556 พบคดี SLAPPs มีจำนวน • ในปี 2563 ภายหลังการเคลือ ่ นไหว
่ อย่างมีนัยะสำคัญ ซงึ่ เป็ นผล
เพิม ของราษฏร – ความผิดเกีย ่ วกับ
มาจากข ้อพิพาทกรณีเหมืองแร่ กษั ตริย/์ ยุยงปุกปั่ น/พรก.ฉุกเฉินฯ
ฟาร์มไก่ • ข ้อมูล TLHR จาก พ.ย. 63 – 11 มี.ค.
64 มีผู ้ถูกดำเนินคดี 112 อย่างน ้อย 67
ราย ใน 54 คดี
• ข ้อมูล THHR ตัง้ แต่ พ.ค. 63 ถึงสน ิ้ ปี
าพรวมข้อมูลตามประเภทคดีและการดำเนินคดี
ในจำนวนกรณีทรี่ วบรวมไว้ 212 การยืน ่ ฟ้องคดีตอ ่ ศาลเอง ร้องทุกหรือกล่าวโทษ 153
กรณี มี 59 กรณี กรณี
• คดีแพ่ง 9 กรณี • คดีแพ่ง 9 กรณี ทัง้ หมดยืน ่ • สว่ นใหญ่เป็ นการดำเนิน
ฟ้ องโดยบริษัทเอกชน การตามรูปแบบของการ
• คดีแพ่งและอาญา 7 กรณี
• คดีแพ่งและอาญา 7 กรณี ี
ดำเนินคดีทรี่ ัฐเป็ นผู ้เสย
• คดีอาญา 196 กรณี สว่ นใหญ่ยน ื่ ฟ้ องโดย หาย โดยเฉพาะการกล่าว
บริษัทเอกชน มีกรณีเดียวที่ โทษโดย คสช. และ ปอท.
ฟ้ องโดยเจ ้าหน ้าทีร่ ัฐ นอกนัน ้ เป็ นการร ้องทุกข์
• คดีอาญา 43 กรณี สว่ น กล่าวโทษโดยหน่วยงาน
ใหญ่เป็ นการฟ้ องโดย รัฐต่างๆ เชน ่ กองทัพเรือ,
บริษัทเอกชน รองลงมา หน่วยงานทหาร, กรม
เป็ นบุคคลในตำแหน่ง สอบสวนคดีพเิ ศษ,
หน ้าทีต่ า่ งๆ เชน ่ สำนักงาน กกต. ฯลฯ
แพ่ง แพ่งและอาญา
ข ้าราชการ บอร์ด • มีการร ้องทุกข์บริษัท
อาญา รัฐวิสาหกิจ แพทย์ ฯลฯ เอกชน เพียง 11 กรณี
โดยหน่วยงานรัฐ 2 กรณี บางกรณีร ้องทุกข์ไว ้ แต่
ี่ งต่อการตกเป็นเป้าหมายของการถูกฟ้องคดี
สย

นักเคลือ
่ นไหวการเมือง

4%
6% ประชนชนหรือชุมชนคัดค ้านโครงการฯ
5% 27% ิ ธิฯ/นักพัฒนาเอกชน
นักสท
8%
ประชาชนทีส
่ นใจการเมือง
12% ื่ มวลชน
สอ
ผู ้ถูกละเมิด/ญาติทเี่ รียกร ้องความเป็ น
23% ธรรม
16%
นักวิชาการ/อาจารย์
อืน
่ ๆ
ี่ งต่อการถูกฟ้องคดี
ระเด็นทีเ่ สย

การปกครอง

5% สงิ่ แวดล ้อมและการพัฒนา


6% เจ ้าหน ้าทีร่ ัฐ กระบวนการยุตธิ รรมและ
39% ศาล
12%
ทุจริต
ิ ธิแรงงาน
สท
สาธารณะสุข/การแพทย์
32%
พลังงาน
อืน
่ ๆ
การกระทำทีถ
่ ก
ู ฟ้องคดี

การเผยแพร่ข ้อมูลผ่านชอ ่ งทางออนไลน์


การชุมนุมสาธารณะ
การจัดกิจกรรมเชงิ ส ญ ั ลักษณ์
การทำหนังส อ ื ร ้องเรียนต่อหน่วยงาน
26% ั ภาษณ์หรือเขียนบทความเผยแพร่
การให ้ส ม
ื่
ทางส อ
4% การชุมนุมหรือจัดกิจกรรมในพืน ้ ทีโ่ ครงการ
4% การเผยแพร่ข า่ วหรือบทความในส ำนักข่าว
6% ออนไลน์
การแจกเอกสาร
6% 16% การแถลงข่าวหรือแถลงการณ์
8% การเข ้าไปในพืน ้ ทีด่ ำเนิน โครงการเพือ ่ ตรวจ
13% สอบ
การสนับสนุน การจัดกิจกรรม
การทำหน ้าทีส ่ อื่ มวลชน
ามผิดทางกฎหมายทีถ
่ ก
ู นำมาฟ้องคดี
ั ว่ นกฎหมายปกติก ับกฎหมาย
สดส กฎหมายปกติ
เฉพาะกิจ
หมิน
่ ประมาทอาญา
8%
2% พ.ร.บ. คอมพิวเตอร์ฯ
6%
23% 26% ความมั่น คง/ความสงบเรียบร ้อย
7%
พ.ร.บ. ชุมนุมฯ

77% ทรัพย์
9%
ปกครองและกระบวนการ
16% 25% ยุตธิ รรม
ร่างกาย/เสรีภาพ
กฎหมายปกติ แพ่ง
กฎหมายเฉพาะกิจ
รูปแบบการสร้าง การฟ้องผู ้
0
อุปสรรคจาก
ภาระ เกีย
่ วข้องใน
ปริมาณมากๆ 04
5 กระบวนการ
ยุตธ ิ รรมทางอาญา
ไว้กอ่ น เชน ่ การปล่อย
ชว่ ั คราว การ
การกระจาย 03 สน ับสนุนจาก
ความกล ัวโดย กองทุนยุตธ ิ รรม
การไล่ฟ้องผู ้
สน ับสนุนด้วย
ร้องทุกข์หรือ ข้อหาร้ายแรง
ฟ้องคดีในเขต 02
อำนาจศาลที่
ไกลจาก
01 มีการฟ้องจาก
ภูมลิ ำเนาของ เหตุการณ์
จำเลย เดียวก ัน เป็น
หลายคดี
หล ักการและแนวทางในการจ ัดการก ับคดี
SLAPPs
ิ ธิมนุษยชนก ับคดี
กรอบกฎหมายสท
SLAPPs
สทิ ธิทางการ ประโยช สท ิ ธิในชอ
ื่ เสย
ี ง/การเข้า
เมือง น์ ถึงศาล
สาธารณ ผู้ฟ้อง (เอกชน)
เสรีภผู ้ถูกฟ้ องด
าพในการพู ะ ิ ธิในความเป็ นอยูส
สท ่ ว่ นตัว

VS
เสรีภาพในการแสดงความ เกียรติยศ ชอ ื่ เสย
ี ง
คิดเห็น ทรัพย์สน ิ / การร ้องเรียน/การ
เสรีภาพทางวิชาการ เข ้าถึงศาล
เสรีภาพสอ ื่ มวลชน ความมน
่ ั คง
เสรีภาพในการชุมนุมโดย ฯลฯ
สงบ ผู ้ฟ้อง (รัฐ)
ความมั่นคงของชาติ
เสรีภาพในการสมาคม หรือความปลอดภัย
สทิ ธิในการร ้องเรียน ร ้อง
ความสงบเรียบร ้อย
ทุกข์ การสาธารณสุข หรือ
สท ิ ธิชม ุ ชน ี ธรรมของประชาชน
ศล
กฎหมาย Anti - SLAPPs ในต่าง
ประเทศ
• ทำให้ขอ้ พิพาทย้ายจากศาลกล ับมาสูเ่ วทีทางการเมืองหรือ
สาธารณะโดยเร็วทีส ่ ด

• ขณะเดียวก ันก็ตอ ้ งร ักษาความสมดุลระหว่างการคุม
้ ครองสทิ ธิ
ทางการเมืองก ับสท ิ ธิของบุคคลในการฟ้องร้องคดีโดยสุจริตเพือ่
เยียวยาความเสย ี หายด้วย

• ข ้อโต ้แย ้งทางการ • ข ้อโต ้แย ้งทางกฎหมาย


• เวทีของกระบวนการยุตธิ รรม
เมือง
• เวทีสาธารณะ หรือศาล
• ความเสย ี หายต่อ • ความเสย ี หายต่อสว่ นตัวของผู ้
สาธารณะ V ฟ้ องคดี
S
กฎหมาย Anti - SLAPPs ในต่าง
ประเทศ
กฎหมาย Anti SLAPP หรือมัก หล ักเกณฑ์สำค ัญของกฏหมายจะประกอบด้วย
เรียกว่ากฎหมายคุ ้มครองการมี • ขอบเขตการคุม ้ ครองตามกฎหมาย
สว่ นร่วมสาธารณะ (The Citi- • การอนุญาตให้จำเลยมีชอ ่ งทางเฉพาะในการยืน ่
zens Participation Act / The คำร้องเพือ ่ ให้ยกฟ้องตงแต่ั้ เริม
่ ต้น (อาจจะเรียกว่า Mo-
Public speech protection act/ tion to strike/a special motion to strike/motion to dis-
Protection of Public Participa- miss/) ถือเป็ นหัวใจสำคัญของกฎหมาย
tion Act) ถูกพัฒนาขึน ้ ใน • กำหนดให้ตอ ้ งมีการไต่สวนคำร้องอย่างเร่งด่วน การ
สหรัฐอเมริกา (ปั จจุบน ั มี 32 พักหรือจำกัดการพิจารณา การกำหนดกระบวนการไต่สวน
มลรัฐทีม ่ กี ฎหมาย) สว่ นประเท การอุทธรณ์ ฯลฯ
ศอืน่ ๆก็ได ้แก่ แคนาดา (Que- • กำหนดภาระการพิสจ ู น์และหล ักเกณฑ์การพิสจ ู น์
bec, ontario) และออสเตรเลีย ของคูก ่ รณี
(Australian Capital Territory ) • กำหนดการชดใชแ ้ ละบทลงโทษสำหร ับคูก ่ รณี ได ้แก่
ในอาเซย ี นก็มฟ ิ ปิ นส ์
ี ิ ลป ค่าธรรมเนียมศาล ค่าทนายความ และค่าใชจ่้ ายอืน ่ ๆ รวม
ถึงค่าเสยี หายเชงิ ลงโทษ
กลไกทางกฎหมายในการจ ัดการ SLAPPs ใน
ประเทศไทย
คดี
การต้องพิสจ
ู น์และยกฟ้องคดีโดยรวดเร็ว
อาญาชนั้
สอบสวน ั้ ง่ ั คดี
ชนส ั้
ชนศาล
พน ักงาน พน ักงานอ ัยการ • ชนการตรวจคำฟ
ั้ ้ อง
สอบสวน/ • กลัน ่ กรองสำนวน ตรวจ
ประมวลกฎหมายวิธ ี
• พนรวบรวมพยานหลั
ักงานอ ัยการ กฐาน สอบค ้นหาความจริง
พิจารณาความอาญา มาตรา
ทุกชนิดเพือ ่ ทราบข ้อ สอบสวนเพิม ่ เติม สงั่ ไม่
161/1 มีข ้อจำกัดไม่ใชกั้ บ
เท็จจริงและพฤติการณ์ ฟ้ อง
คดีทพ ี่ นักงานอัยการเป็ น
ต่างๆ เกีย ่ วกับความผิดที่ • สงั่ ไม่ฟ้องคดีอาญาเพราะ
โจทก์และไม่มข ี น
ั ้ ตอนที่
มีการกล่าวหา เพือ ่ จะ ไม่เป็ นประโยชน์ตอ ่ สา ั เจน
ชด
รู ้ตัวผู ้กระทำผิด และ ธารณะฯ ตามพรบ.องค์กร • ชนไต่ ั้ สวนมูลฟ้อง
พิสจ ู น์ให ้เห็นความผิด อัยการฯ มาตรา 21
ประมวลกฎหมายวิธ ี
หรือความบริสท ุ ธิข์ องผู ้ ประกอบระเบียบว่าด ้วย
พิจารณาความอาญา
ต ้องหา และทำความ การสงั่ คดีอาญาทีจ ่ ะไม่
มาตรา 165/2 มีข ้อจำกัดไม่
เห็นควรสงั่ ไม่ฟ้อง เป็ นประโยชน์แก่
ใชกั้ บคดีทพ ี่ นักงานอัยการ
สาธารณชน ฯ
การชดใชแ ้ ละการลงโทษ : คดีอาญาไม่มกี ฎหมายบัญญัตใิ ห ้ศาลต
เป็ นโจทก์
้องสงั่ จ่ายค่าใช ้
จ่ายในการดำเนินคดี ค่าทนายความ ค่าเสย ี หาย รวมถึงมาตรการลงโทษอืน ่ แก่คก ู่ รณี
ประมวลกฎหมายวิธพ
ี จ
ิ ารณาความอาญา
มาตรา 161/1
“ในคดีราษฎรเป็ นโจทก์ หากความปรากฏต่อศาลเองหรือมีพยาน
หลักฐานทีศ ่ าลเรียกมาว่าโจทก์ฟ้องคดีโดยไม่สจ ุ ริตหรือโดยบิดเบือน
ข ้อเท็จจริง เพือ ่ กลัน
่ แกล ้งหรือเอาเปรียบจำเลยหรือโดยมุง่ หวังผลอ
ย่างอืน ่ ยิง่ กว่าประโยชน์ทพ ี่ งึ ได ้โดยชอบ ให ้ศาลยกฟ้ อง และห ้ามมิให ้
โจทก์ยน ื่ ฟ้ องในเรือ่ งเดียวกันนัน ้ อีก
การฟ้ องคดีโดยไม่สจ ุ ริตตามวรรคหนึง่ ให ้หมายความรวมถึงการ
ทีโ่ จทก์จงใจฝ่ าฝื นคำสงั่ หรือคำพิพากษาของศาลในคดีอาญาอืน ่ ซงึ่
ถึงทีส่ ดุ แล ้วโดยปราศจากเหตุผลอันสมควรด ้วย”
ประมวลกฎหมายวิธพ
ี จ
ิ ารณาความอาญา
มาตรา 165/2
“ในการไต่สวนมูลฟ้ อง จำเลยอาจแถลงให ้ศาลทราบถึงข ้อเท็จ
จริงหรือข ้อกฎหมายอันสำคัญทีศ ่ าลควรสงั่ ว่าคดีไม่มม
ี ล ู และจะระบุใน
คำแถลงถึงตัวบุคคล เอกสาร หรือวัตถุทจ ี่ ะสนับสนุนข ้อเท็จจริงตาม
คำแถลงของจำเลยด ้วยก็ได ้ กรณีเชน ่ ว่านี้ ศาลอาจเรียกบุคคล เอกสาร
หรือวัตถุดงั กล่าวมาเป็ นพยานศาลเพือ
่ ประกอบการวินจ ิ ฉั ยสงั่ คดีได ้
ตามทีจ ่ ำเป็ นและสมควร โดยโจทก์และจำเลยอาจถามพยานศาลได ้
เมือ
่ ได ้รับอนุญาตจากศาล”
คดีแพ่ง
การต้องพิสจ ู น์และยกฟ้องคดีโดยรวดเร็ว
• ไม่มกี ลไกทีช ั เจน
่ ด
การชดใชแ ้ ละการลงโทษ
• หากคูค ่ วามฝ่ ายใดแพ ้คดี ศาลจะสงั่ ให ้จ่ายค่าฤชาธรรมเนียม ค่า
ทนายความให ้แก่ผู ้ชนะคดี หากโจทก์ชนะคดี จำเลยต ้องจ่ายค่าฤชา
ธรรมเนียมและค่าทนายความแทนโจทก์ หากจำเลยชนะคดี โจทก์จะต ้อง
จ่ายค่าฤชาธรรมเนียมและค่าทนายความแทนจำเลย
• ค่าใชจ ่ า่ ยดังกล่าวจะไม่ครอบคลุมค่าใชจ่้ ายอืน ่ ๆทีต ี ไปจากการ
่ ้องเสย
ดำเนินคดี ไม่วา่ จะเป็ นค่าเดินทาง ค่าขาดประโยชน์จากการถูกดำเนินคดี
ฯลฯ ซงึ่ หากผู ้ถูกฟ้ องคดีต ้องการทีจ
่ ะให ้โจทก์ชดใชค่้ าใชจ่้ ายเหล่านีก
้ ็จะ
ต ้องไปดำเนินคดีทางแพ่งเรียกร ้องค่าเสย ี หายต่างหาก
LA
W
LA
W

SLAPP
บทสรุปและข้อเสนอแนะ

สรุปและข้อสงเกตประการ
สำค ัญ
องค์กรหรือหน่วยงานร ัฐ ร ัฐวิสาหกิจ หน่วยงาน
้ ำนาจทางปกครอง มีบทบาทสำค ัญใน
ทีใ่ ชอ
การดำเนินคดี SLAPPs
คดี SLAPPs ในประเทศไทย สว่ นใหญ่เป็นคดี
อาญาและก่อให้เกิดภาระมากกว่าคดีแพ่ง

่ ำรวจพบ) เข้ามา
คดีสว่ นใหญ่ (จากข้อมูลทีส
ทางชอ ่ งทางของพน ักงานอ ัยการ
ข้อเสนอแนะ : แนวทางปฏิบ ัติ
คดีอาญา
รัฐหรือหน่วยงานรัฐ รวมถึงรัฐวิสาหกิจ ควรยุตก ั ประชาชนทีใ่ ชส้ ท
ิ ารดำเนินคดีกบ ิ ธิ
1
่ การมีสว่ นร่วมสาธารณะ
และเสรีภาพตามรัฐธรรมนูญเพือ
2
ชน ั้
ั้ ง่ ั คดี
ชนส ั้
ชนศาล
สอบสวน
• พนักงานสอบสวนและ • พนักงานอัยการ ควร • ควรกำหนดแนวทางที่
พนักงานอัยการ ควรร่วมกัน พิจารณานำ พ.ร.บ. องค์กร ั เจนในการใชอำนาจตาม

ชด
ตรวจสอบค ้นหาความจริง อัยการฯ พ.ศ. 2553 มาตรา
มาตรา 161/1
และนำหลักการสท ิ ธิ 21 ประกอบระเบียบ อสส. • ้
ควรใชกลไกไต่ สวนมูลฟ้ อง
เสรีภาพของประชาชนทีไ่ ด ้ ว่าด ้วยการสงั่ คดีอาญาทีจ ่ ะ
ทัง้ ในคดีทรี่ าษฏรเป็ นโจทก์
รับการคุ ้มครองตาม ไม่เป็ นประโยชน์แก่สา
และคดีทพ ี่ นักงานอัยการ
รัฐธรรมนูญมาพิจารณา ธารณชนฯ พ.ศ. 2554 และ
เป็ นโจทก์ โดยเฉพาะหากมี
ประกอบ เพือ ่ กลัน
่ กรอง ทีแ ่ ก ้ไขเพิม
่ เติม ฉบับที่ 2
การร ้องขอจากผู ้ต ้องหาว่า
และยุตค ิ ดีโดยเร็ว พ.ศ. 2561 มาพิจารณาปรับ
คดีนัน้ เข ้าข่ายเป็ นคดี
• ไม่เพิม ่ ภาระโดยไม่จำเป็ น ใชกั้ บคดี SLAPPs ให ้มาก
SLAPPs
แก่ผู ้ถูกฟ้ อง ขึน

3 กองทุนยุตธิ รรมควรให ้ความสำคัญเป็ นพิเศษกับคดี
SLAPPs
ข้อเสนอแนะ : เชงิ
นิตบ
ิ ัญญ ัติ
สารบ ัญญ ัติ
• การแก้ไขกฎหมายหรือลดทอดความเป็น
อาชญากรรมในความผิดบางเรือ ่ ง อย่างน้อย ด ังต่อ
ไปนี้
• ยกเลิกความผิดฐานหมิน ่ ประมาททางอาญา
• แก้ไขพระราชบ ัญญ ัติการชุมนุมสาธารณะ พ.ศ.
2558
• ทบทวนความผิดทีเ่ กีย ่ วก ับความมน ่ ั คงซงึ่ เป็น
อุปสรรคต่อการใชเ้ สรีภาพในการแสดงออกและ
่ ความผิดตามประมวลกฎหมาย
การชุมนุม เชน
อาญา มาตรา 116, 215, 216 เป็นต้น
วิธส
ี บ ัญญ ัติ มีความจำเป็ นต ้องปรับปรุงกฎหมายเพือ่ ประสท
ิ ธิภาพในการต่อต ้าน SLAPPs โดยการ
แก ้ไขกฎหมายทีม ่ อ
ี ยู่ หรือร่างกฎหมายใหม่ (แพ่งหรืออาญา) ควรนำแนวทางAnti SLAPPs มาพิจารณา
ดังนี้ ขอบเขต ชอ่ งทางยืน ่ การชดใช ้
การไต่สวน ภาระการ
การ คำร้องให้ และการ
คำร้อง พิสจู น์
คุม
้ ครอง ยกฟ้อง ลงโทษ
ควรให ้การ กฎหมายไทยยัง ควรกำหนดให ้มี กำหนดภาระการ ควรกำหนดการชดใช ้
คุ ้มครองใน ไม่มก ี ารกำหนด การไต่สวนอย่าง พิสจ ู น์และหลัก ให ้แก่ผู ้ถูกฟ้ องเมือ ่
ขอบเขตกว ้าง ให ้ ให ้สามารถยืน ่ เร่งด่วน หรือ เกณฑ์การพิสจ ู น์ ศาลพิพากษายกฟ้ อง
คุ ้มครองการ คำร ้องขอยุตก ิ าร กำหนดกรอบเวลา ของคูก ่ รณีให ้ ได ้แก่ ค่าใชจ่้ ายใน
ดำเนินคดีจากการ ดำเนินคดีได ้ จึง ในการไต่สวน ชดั เจนว่าต ้อง การดำเนินคดีและค่า
ใชส้ ท ิ ธิตาม ควรมีการกำหนด คำร ้องไว ้ให ้ชดั เจน พิสจ ู น์ถงึ ขนาด ทนายความทีส ่ มเหตุ
รัฐธรรมนูญเกีย ่ ว ขัน้ ตอนนีใ้ น เพือ ่ ป้ องกันความ ไหน ทัง้ ฝ่ ายทีย ่ น
ื่ สมผล ค่าเสย ี หาย
กับประเด็น กฎหมาย ไม่วา่ จะ ล่าชาในการดำเนิ้ น คำร ้อง (จำเลยใน และการลงโทษอืน ่ ๆ
สาธารณะหรือการ เป็ นในคดีอาญา การ การกำหนด คดีหลัก) และฝ่ าย เพือ ่ การยับยัง้
ดำเนินการอืน ่ ใด หรือคดีแพ่ง ทัง้ นี้ เรือ ่ งการพักหรือ ทีต่ ้องตอบโต ้ และควรกำหนดให ้
เพือ ่ สนับสนุนการ ควรกำหนดกรอบ จำกัดการพิจารณา คำร ้อง (โจทก์ใน ชดใชให ้ ้แก่ผู ้ฟ้ องคดี
ใชส้ ท ิ ธิตาม เวลาในการยืน ่ กระบวนการไต่สวน คดีหลัก) ในกรณีทศ ี่ าลปฏิเสธ
รัฐธรรมนูญเกีย ่ ว คำร ้องให ้ชด ั เจน รวมทัง้ การอุทธรณ์ คำร ้องและเห็นว่า
กับประเด็น เพือ ่ ไม่ให ้คดี ฯลฯ คำขอยุตค ิ ดีไม่เหมาะ
• เรือ
่ งอืน ่ ๆ
• การกำหนดกลไกชว ่ ยเหลือ รวมถึงการให ้พนักงานอัยการหรือหน่วยงานรัฐเข ้า
แทรกแซงชว่ ยเหลือคดีแก่ผู ้ถูกฟ้ อง
• การรายงาน
• ควรมีการกำหนดให ้ในคดีทผ ี่ ู ้ยืน
่ ฟ้ องเป็ นผู ้ทำสญ ั ญากับรัฐบาล หากพิสจ ู น์
และศาลยกฟ้ องเพราะเป็ นคดี SLAPPs แล ้ว ควรให ้มีการสง่ คำวินจ ิ ฉั ยของ
ศาลไปยังหัวหน ้าหน่วยงานภาครัฐทีเ่ กีย ่ วข ้องทีท ่ ำธุรกิจผู ้ทำสญ ั ญากับ
รัฐบาลนัน ้ ด ้วย
• ในคดีทฟ ี่ ้ องโดยหน่วยงานของรัฐ ซงึ่ ศาลตัดสน ิ ว่าเป็ น SLAPPs หน่วยงาน
ของรัฐนัน ้ จะต ้องรายงานผลการตัดสน ิ ต่อคณะรัฐมนตรี ประธานวุฒส ิ ภา และ
ประธานสภาผู ้แทนราษฎร
• ข้อเสนอเพิม ่ เติมกรณีคดีอาญา
• กำหนดบทบาทของพนักงานสอบสวนและพนักงานอัยการ โดยให ้เป็ นหน ้าทีข ่ อง
พนักงานสอบสวนและหรือพนักงานอัยการ เมือ ่ ได ้รับคำร ้องทุกข์หรือกล่าวโทษ
ใดๆ หรือในการดำเนินกระบวนการสอบสวนคดีของบุคคลทีถ ่ ก
ู จับกุม พนักงาน
สอบสวนหรือพนักงานอัยการผู ้ทำการสอบสวนมีหน ้าทีพ ่ จ
ิ ารณาโดยทันทีวา่ การ
ร ้องทุกข์นัน ้ เป็ น SLAPPs หรือไม่ หากพบว่ามีทำนองเดียวกับคดี SLAPPs ให ้สงั่

You might also like