You are on page 1of 32

นโยบายสาธารณะและการวางแผน

PUBLIC POLICY & PLANNING (2102215)


โดย
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ กนั ยาวรรนธ์ กาเนิดสิ นธุ์
รบ. (รัฐศาสตรบัณฑิต)
รม.(รัฐศาสตรมหาบัณฑิต)
วิธีการเรียน
2

1.คะแนนเก็บระหว่ างภาคเรียน 60 คะแนน


เข้ าเรียน 10 คะแนน
ใบงาน + พรีเซนต์ 30 คะแนน
สอบกลางภาค 20 คะแนน
2.คะแนนสอบปลายภาค 40 คะแนน
Course Syllabus
 คำอธิบำยรำยวิชำ
 ศึกษำแนวคิดทฤษฎีเกีย่ วกับนโยบำยสำธำรณะและกำรวำงแผน
ประเภทและวิ ธี ก ำรก ำหนดนโยบำยของรั ฐ อิ ท ธิ พ ลของ
สิ่ ง แวดล้ อ มต่ อ นโยบำย กำรน ำนโยบำยไปปฏิ บั ติ และกำร
ติดตำมประเมินผลนโยบำย รวมถึงกำรนำนโยบำยไปกำหนด
เป็ นแผนและโครงกำร เทคนิคและลักษณะกำรวำงแผน
ขอบเขตเนือ้ หา 9 บท
 ความรู้ พนื้ ฐานเกีย่ วกับนโยบายสาธารณะ
 ตัวแบบนโยบายสธารณะ
 การศึกษานโยบายสาธารณะ
 การกาหนดนโยบาย
 การนานโยบายไปปฏิบัติ
 การประเมินผล
 แผน
 กระบวนการวางแผน
 การบริหารโครงการ
บทที่ 1
ความรู้ พนื้ ฐานเกีย่ วกับนโยบายสาธารณะ
นโยบายสาธารณะและการวางแผน 6

(Public Policy and Planing)

> แนวคิดพืน้ ฐานเกี่ยวกับนโยบายสาธารณะ


> ในการดารงชีวิตประจาวันของมนุษย์โดยทั่วไปไม่
ว่าจะเป็นประเทศใด ระบอบการปกครองแบบใด
มนุษย์ย่อมจะต้องเกี่ยวข้องกับนโยบายของรัฐอยู่เสมอ
ขอบเขตเนือ้ หำ
 ควำมหมำยนโยบำยสำธำรณะ
 องค์ ประกอบนโยบำยสำธำรณะ
 ประโยชน์ และควำมสำคัญของกำรศึกษำ
 วัตถุประสงค์ นโยบำยสำธำรณะ
 ประเภท กระบวนกำร วงจรนโยบำยสำธำรณะ
ตัวอย่ ำง
นโยบำยพรรคกำรเมือง
นโยบำยเกิดจำกอะไร ? 9

 นโยบายเกิดจากปัญหาและความต้ องการของสั งคมของประเทศใด


ประเทศหนึ่ง โดยทีป่ ัญหาอาจจะเกิดจากบุคคล กลุ่มบุคคล ทีจ่ ะ
กระทาหรือไม่ กระทา บางสิ่ งบางอย่ าง หรือปัญหาอาจเกิดจาก
เหตุการณ์ ทางธรรมชาติกไ็ ด้
 ความต้ องการของบุคคลหรือกลุ่มคน และความต้ องการเหล่ านั้น
จาเป็ นทีจ่ ะต้ องแก้ไข จึงถูกผลักดันให้ เป็ นนโยบายของรัฐ โดยรัฐจะ
หาวิธีการแก้ไขปัญหาและสนองตอบความต้ องการของสั งคม

วิธีการที่รัฐบาลตัดสินใจเพื่อแก้ ปัญหาหรือสนองความ
ต้ องการเรียกว่ า โยบาย” (Policy)
ที่มาวิชานโยบายสาธารณะ 10

 นโยบำยสำธำรณะ (Public Policy) เกิดขึน้ ภำยใต้ กระบวนทัศน์ ที่ 5 ของ Nicholas


Henry กระบวนทัศน์ ทชี่ ื่อว่ ำ“รัฐประศำสนศำสตร์ ในฐำนะรัฐประศำสนศำสตร์ ” (Public
Administration as Public Administration) ซึ่งกระบวนทัศน์ นีเ้ กิดในปี 1970 ถึงปัจจุบัน
หรือที่เรียกกันว่ ำ“รัฐประศำสนศำสตร์ แนวใหม่ ” (New Public Administration หรือ NPA)
 นโยบำยสำธำรณะอยู่ในสำขำวิชำรัฐประศำสนศำสตร์ และอยู่ในสำขำวิชำรัฐศำสตร์
แนวคิดของ Woodrow Willson แยกกำรเมืองจำกกำรบริหำร

ภาพจาก : https://www.google.com/search?q
นโยบายสาธารณะ เป็น
เครื่องมือที่สาคัญของรัฐในการบริหารประเทศ
กาหนดทิศทางการพัฒนาของประเทศ
เป็นเรื่องที่สัมพันธ์กับประชากรของประเทศทั้ง
ทางตรง และทางอ้อม
ควำมหมำยของนโยบำยสำธำรณะ 12

 “ Policy ” มีความหมายว่ า แนวทางปฏิบัติ


ของบ้ านเมืองหรือหมู่ชน มาจากรากศัพท์ ภาษา
กรีก “Polis” ชุมชนทางการเมือง
 ศัพท์ ภาษาไทยว่ า “นย + อุบาย” หมายถึง
แนวทางหรืออุบายทีช่ ี้ทางไปสู่ วตั ถุประสงค์
ความหมายของนโยบายสาธารณะ 13

>ความหมายของคาว่ า “นโยบายสาธารณะ”
(Public Policy) มีหลายมิติดังนี้

Thomas R. Dye “สิ่ งที่รัฐบำลเลือกที่จะ


กระทำหรือไม่ กระทำ”
David Easton
การจัดสรรผลประโยชน์ หรือคุณค่าแก่สังคมโดยบุคคลผู้มี
อานาจสั่งการ จากการจัดสรรค่านิยมทางสังคม”

*** R.Dye 1984 นโยบายสาธารณะเป็ นสิ่ งที่รัฐบาลเลือกที่จะกระทาหรือไม่ กระทา ทั้งที่เป็ น


กิจวัตรและเกิดขึน้ ในบางโอกาส เช่ น ยกเลิกกฎหมายเกณฑ์ ทหารแต่ ให้ ชายฉกรรจ์ สมัครใจ หรือ
นโยบายการขึน้ ภาษีสินค้ าฟุ่ มเฟื อย เป็ นต้ น
ความหมายของนโยบายสาธารณะ (ต่ อ)
14

>James Anderson 1970 นโยบายต้อง - การปฏิบัตขิ องรัฐที่มีวตั ถุประสงค์


- โดยคนๆเดียว หรือคณะบุคคล - ต้ องมีวตั ถุประสงค์/แนวทางปฏิบัต/ิ ปฏิบัตจิ ริง/
- ผลเชิงบวก หรือ เชิงลบ

หมายถึง “แนวทางการกระทา (Course of action) ของรัฐ ที่มีจุดมุ่งหมายหรือ


วัตถุประสงค์ที่เกี่ยวกับเรื่องใดเรื่องหนึ่ง เช่น ความยากจน เกษตรกรรม เป็นต้น”

เป็ นแนวทางปฏิบัติที่กาหนดขึน้ เพือ่ ตอบสนองต่ อปัญหาต่ าง ๆ ที่กาหนดขึน้ หรือ


แนวทางที่รัฐบาลหรือองค์ กรของรัฐกาหนดขึน้ เพือ่ แก้ไขปัญหา

รัฐบาลสามารถประกาศนโยบายทั้งทางบวกและทางลบ เพือ่ เสถียรภาพทางเศรษฐกิจ


และความมั่นคงเจริญก้ าวหน้ าของประเทศ
ความหมายของนโยบายสาธารณะ (ต่ อ) 15

>Ira Sharkansky -- กิจกรรมที่กระทาโดยรัฐทั้งหมด


- การดาเนินงานของหน่วยงานของรัฐ

1. กิจกรรมเกีย่ วกับบริการสาธารณะด้ านต่ าง ๆ เช่ น ด้ านการศึกษา การคมนาคมขนส่ ง เป็ นต้ น


2. กฎ ข้ อบังคับของหน่ วยงานต่ าง ๆ เช่ น วินัยตารวจ/ทหาร ข้ อบังคับของพนักงานควบคุม
โรงงาน
3. การควบคุมการกาหนดนโยบายหรือการกระทาทางการเมืองอืน่ ๆ เช่ น การเปลีย่ นแปลง
วิธีการเสนอร่ างกฎหมาย การแก้ ไขกฎหมายรัฐธรรมนูญ การสถาปนาหรือการตัดสั มพันธภาพ
การทูตกับประเทศต่ าง ๆ
4. กิจกรรมทีเ่ กีย่ วกับการเฉลิมฉลองในโอกาสและเทศกาลทีเ่ ป็ นสั ญลักษณ์ของประเทศ เช่ น วัน
ชาติ วันสาคัญทางศาสนา
ความหมายของนโยบายสาธารณะ (ต่ อ)
16

Kennett Prewitt and Sidney Verba


- พันธะสัญญาระยะยาวในการดาเนินกิจกรรมอย่างเป็ นแบบแผนของรัฐบาล
- การบัญญัติกฎหมายของฝ่ ายนิติบญั ญัติ
- การนานโยบายไปปฏิบตั ิของรัฐบาล

Heinz Eulau and Kennett Prewitt


- การตัดสิ นใจทีม่ จี ุดยืนของรัฐบาล ซึ่งจะต้ องมีการกระทาทีต่ ่ อเนื่องสม่าเสมอ
- การตัดสิ นใจทีเ่ กีย่ วกับกิจกรรมทีม่ พี นั ธะผูกพัน
17
ความหมายของนโยบายสาธารณะ (ต่ อ)

> อมร รั กษาสัตย์


ความหมายอย่ างแคบ หมายถึง หลักการและกลวิธีทนี่ าไปสู่ เป้ าหมายที่กาหนดไว้

ความหมายอย่ างกว้ าง จะครอบคลุมถึงการตัดสิ นใจเกีย่ วกับการกาหนดตัวเป้ าหมาย


อีกด้ วย
ความหมายของนโยบายสาธารณะ (ต่ อ) 18

> ฮาโรลด์ ลาสเวลล์ กับ อับราฮัม แทปแพลน (Harold Lasswell &


Abraham Kaplan)

หมายถึง แผนงาน หรือโครงการทีไ่ ด้ กาหนดขึน้ อันประกอบด้ วย เป้ าหมาย คุณค่ า


และการปฏิบัตติ ่ าง ๆ เพือ่ ประโยชน์ ต่อประชาชนและประเทศชาติ
19

สรุ ปได้ ว่ำ นโยบำยสำธำรณะ หมำยถึง


1) ควำมหมำยทีแ่ คบ นโยบำยสำธำรณะ หมำยถึง กิจกรรม/กำร
กระทำของรัฐบำล และมิติกำรเลือกตัดสิ นใจของรัฐบำล
2) ในควำมหมำยทีก่ ว้ ำง นโยบำยสำธำรณะ หมำยถึง แนวทำงในกำร
กระทำของรัฐบำลอย่ ำงกว้ ำง ๆ ทีร่ ัฐบำลได้ ตัดสิ นใจเลือก และกำหนดไว้
ล่ วงหน้ ำ เพือ่ ชี้นำให้ มกี จิ กรรมหรือกำรกระทำต่ ำง ๆ เกิดขึน้ เพือ่ ให้
บรรลุเป้ ำหมำยและวัตถุประสงค์ ทกี่ ำหนดไว้ โดยมีกำรวำงแผนกำร
จัดทำโครงกำร วิธีกำรบริหำรงำนให้ บรรลุวตั ถุประสงค์
3) นโยบำยระดับชำติมกั มีลกั ษณะครอบคลุมกว้ ำงขวำงแต่ ขำด
ควำมชี้ชัดเฉพำะเจำะจง
4) นโยบำยระดับล่ ำง จะต้ องสอดคล้ องและสนับสนุนนโยบำย
ระดับชำติ จะมีควำมชัดเจนเฉพำะเจำะจง เน้ นเฉพำะเรื่องใดเรื่องหนึ่ง
วัตถุประสงค์ ของนโยบำยสำธำรณะ 20

- แก้ปัญหำปัจจุบัน (Quality Of Life)

- เพือ่ กำรพัฒนำ (Change For The Better)


1.พัฒนำให้ ดกี ว่ ำ
2. พัฒนำเพือ่ แก้ปัญหำ ป้ องกัน ในอนำคต

- สร้ ำงควำมเป็ นธรรมในสั งคม


ความสาคัญของนโยบายสาธารณะ 21

นโยบายสาธารณะเป็ นสิ่งที่มีคุณค่ าและประโยชน์ ต่อฝ่ ายต่ าง ๆ ที่


เกี่ยวข้ อง ดังนี ้

1. ต่ อผู้กาหนดนโยบาย ต้ องกาหนดนโยบายให้
สอดคล้องกับความต้ องการของประชาชน

2. ต่อประชาชน นโยบายมีผลกระทบต่อประชาชน
โดยตรง ประชาชนจึงต้องสามารถแสดงความต้องการ
ผ่านกลไกต่างๆ ได้ เช่น ระบบราชการ นักการเมือง

3. ในฐานะเครื่องมือบริหารประเทศของรัฐบาล
องค์ ประกอบของนโยบำยสำธำรณะ
22
เงื่อนไขสาคัญที่ทุก ๆ นโยบายจะต้ องมีอยู่เสมอ
1. นโยบายสาธารณะจะต้องมีเป้าหมายที่
ชัดเจน (สอดคล้องหรือสนองความต้องการ
ของประชาชนเป็นส่วนรวม)
2. ต้องมีลักษณะเป็นแนวทางหรือหลักการที่
จะทาให้เป้าหมายที่กาหนดไว้สามารถบรรลุผล
สาเร็จ (มีผลเป็นการทั่วไป ไม่เฉพาะกรณีหรือ
เฉพาะบุคคล)
3. แนวทางเลือกในการตัดสินใจเพื่อจะ
กระทาหรืองดเว้นไม่กระทา
4.ต้องเป็นสิ่งที่อยู่ในวิสัยที่นา่ จะเป็นไป
ได้ (เมื่อนาไปปฏิบัติ ไม่ใช่เพ้อฝัน)
องค์ ประกอบของนโยบำยสำธำรณะ
23
เงื่อนไขสาคัญที่ทุก ๆ นโยบายจะต้ องมีอยู่เสมอ
1. นโยบายสาธารณะจะต้องมีเป้าหมายที่ชัดเจน
(สอดคล้องหรือสนองความต้องการของประชาชนเป็น
ส่วนรวม)

2. ต้องมีลักษณะเป็นแนวทางหรือหลักการที่จะทาให้
เป้าหมายที่กาหนดไว้สามารถบรรลุผลสาเร็จ (มีผลเป็น
การทั่วไป ไม่เฉพาะกรณีหรือเฉพาะบุคคล)

3. แนวทางเลือกในการตัดสินใจเพื่อจะกระทา
หรืองดเว้นไม่กระทา
4.ต้องเป็นสิ่งที่อยู่ในวิสัยที่นา่ จะเป็นไปได้ (เมื่อ
นาไปปฏิบัติ ไม่ใช่เพ้อฝัน)
องค์ ประกอบของนโยบำยสำธำรณะ (ต่ อ)
เงื่อนไขสาคัญที่ทุก ๆ นโยบายจะต้ องมีอยู่เสมอ 24

7. ต้องมีวัตถุประสงค์ที่กาหนดไว้แน่นอน

8. ต้องมีลาดับขั้นตอนของพฤติกรรมต่าง ๆ ที่จะทาให้บรรลุ
วัตถุประสงค์

9. ต้องกาหนดการกระทาต่าง ๆ ให้สอดคล้องกับ
เวลา สถานที่ เพื่อให้บรรลุเป้าหมาย
10. ต้องมีประกาศให้ประชาชนรับรู้โดยทั่วกัน
(แถลงต่อสภา ประกาศผ่านสื่อมวลชน)
11. ต้องมีการดาเนินการตามที่ได้ตัดสินใจเลือก
ไว้แล้ว
ลักษณะของนโยบำยสำธำรณะจำแนกลักษณะของนโยบำย
สำธำรณะตำมผลกระทบทีพ่ งึ จะเกิดขึน้ จำแนกได้ 4 ประกำร 25

1. เป็นสิ่งที่ก่อให้เกิดความขัดแย้งอย่างใดอย่างหนึ่ง หรือหลายอย่างใน
สังคม (พอใจ ไม่พอใจ, ได้ประโยชน์และเสียประโยชน์)
2. เป็นกลไกในการจัดระเบียบสังคมไปในแนวทางที่ก่อให้เกิดความ
ขัดแย้งกับประเทศอื่นหรือสังคมอื่น (ความรักชาติ, ความเป็นชาตินิยม
ใช้สินค้าที่ผลิตในประเทศ)
3. เป็นกลไกสาคัญในการจัดสรรปันส่วนสินค้าและบริการ
ให้แก่สมาชิกของสังคม (เป็นธรรม, ทั่วถึง)
4.เป็นเครื่องมือในการดึงดูด หรือถอนเงินมาจากสังคมโดยทั่วไป (ภาษี
อากร, ค่าธรรมเนียม, ค่าปรับ แล้วนามาใช้จ่ายในกิจกรรมต่าง ๆ เพื่อ
บริการสาธารณะ เช่นการรักษาความสงบ, การแก้ไขปัญหาเงินเฟ้อ,
การส่งเสริม
ลักษณะของนโยบำยสำธำรณะ (ต่ อ)
26
จำแนกในฐำนะเป็ นเครื่องมือของรัฐบำล

1. นโยบาย มีลักษณะเป็นหลักเกณฑ์และแนวทางเกี่ยวกับการ
ปฏิบัติ (แสดงเป้าหมายและแนวทางที่จะนาไปสู่เป้าหมาย)

2. นโยบายมีลักษณะส่งเสริมเสถียรภาพ

3. นโยบายมีลักษณะแนบแน่นและมีภาวะต่อเนื่องกัน (มุ่ง
ความสอดคล้องกันระหว่างนโยบายต่าง ๆ)

4. นโยบายมีภาวะเอกรูป (จะต้องมีแบบแผนเป็นแนว
เดียวกัน)
ประเภทของนโยบายสาธารณะ 27

1. จาแนกตามลักษณะของเนื้อหาและวัตถุประสงค์ของ
นโยบาย

2. จาแนกตามขอบข่ายผลกระทบของนโยบาย

3. จาแนกตามกระบวนการของนโยบาย

4.จาแนกตามลักษณะของกิจกรรมหรือภารกิจ
สาคัญของรัฐบาล
ขอบข่ ำยและวิธีกำรศึกษำนโยบำยสำธำรณะ
28

ครอบคลุมใน 4 ประเด็น ตามกระบวนการของนโยบาย คือ

1. การกาหนดหรือก่ อรู ปของนโยบาย (Policy Formulation)


เริ่มต้ นพิจารณาถึงปัญหาทีต่ ้ องการแก้ไข กาหนดเป้ าหมายหรื อ
วัตถุประสงค์ แล้ ววิเคราะห์ หาทางเลือกและเลือกทางเลือกทีด่ ที สี่ ุ ด

2. การนานโยบายไปปฏิบัติ (Policy Implementation)


- ศึกษาถึงพฤติกรรมของคนและกลไกการบริหาร
- สภาพแวดล้อมและปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่ อความสาเร็จหรือล้ มเหลว
29

ขอบข่ ำยและวิธีกำรศึกษำนโยบำยสำธำรณะ (ต่ อ)

3. การประเมินผลของนโยบาย (Policy Evaluation)


- ศึกษาว่ านโยบายนั้นบรรลุเป้ าหมายหรือวัตถุประสงค์ หรือไม่
- ประเมินผลกระทบและประเมินกระบวนการ

4. การวิเคราะห์ ผลย้ อนกลับของนโยบาย (Policy Feedback


Analysis)
- ศึกษาดูว่า การสนองตอบของประชาชนกลุ่มต่ าง ๆ จะมีอทิ ธิพลต่ อการ
เปลีย่ นแปลงนโยบายหรือไม่
วงจรนโยบายสาธารณะ
30
วงจรนโยบายสาธารณะ 31

1. การก่อตัวนโยบาย (Policy Formation)

2. การกาหนดนโยบาย (Policy Formulation)

3. การตัดสินนโยบาย (Policy Decision)

4.การนานโยบายไปปฏิบัติ (Policy
Implementation)

การประเมินผลนโยบาย(Policy Evalution)
See you soon

You might also like