You are on page 1of 19

อาจารย์ ดร.

ลักษณา ศริ วิ รรณ


ประธานกรรมการบริหารชุดวิชา33303
นโยบายสาธารณะและการวางแผน
1 ความรู ้เบื้องต้นเกี่ยวกับนโยบายสาธารณะ
2 ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อนโยบายสาธารณะ
3 การวิเคราะห์นโยบายสาธารณะ
4 การกำหนดนโยบายสาธารณะ
5 การนำนโยบายสาธารณะไปปฏิบตั ิ
6 การประเมินผลนโยบายและการพัฒนานโยบายสาธารณะ
7 ปัญหาและแนวทางพัฒนานโยบายสาธารณะในประเทศไทย
8 ความสัมพันธ์ระหว่างนโยบาย แผน และโครงการ
9 ทฤษฎีและแนวคิดเกี่ยวกับการวางแผนพัฒนา
10 การวางแผนยุทธศาสตร์การพัฒนา
11 การศึกษาความเป็ นไปได้ของโครงการ
12 การวางแผน การดำเนิน การควบคุมโครงการ
13 การติดตามและประเมินผลโครงการ
14 แผนและโครงการในประเทศไทย
15 ระบบสารสนเทศกับกระบวนการนโยบายสาธารณะและการวางแผน
ตอนที่ 2.1 แนวคิดเกีย่ วกับสิ่ งแวดล้ อมกับ
นโยบายสาธารณะ
ตอนที่ 2.2 ตัวแบบการวิเคราะห์ปัจจัยสิ่ ง
แวดล้อมที่มีอิทธิพลต่อนโยบายสาธารณะ
ตอนที่ 2.3 ปัจจัยสิ่ งแวดล้อมที่มีอิทธิพลต่อ
นโยบายสาธารณะ
Human Capital
หมายถึงสิง่ ที่อยูร่ อบๆ นโยบาย
สาธารณะที่เป็ นเงื่อนไขที่มีอิทธิพลต่อ
นโยบายสาธารณะ
ทังในเชิ
้ งบวกและเชิงลบ
ความสำคัญของการศึกษาปั จจัยสิ่งแวดล้ อมที่มีอทิ ธิพล
ต่ อนโยบายสาธารณะ
ช่วยกำหนดเกี่ยวกับพันธกิจ
ช่วยกำหนดกลยุทธ์เพื่อสร้ างความได้ เปรี ยบในการแข่งขัน
ช่ วยตัดสินใจในนโยบายได้ ถูกต้ อง
ช่วยปรับตัวแก้ ไขปั ญหาได้ อย่างรวดเร็ว
ช่วยป้องกันการทุจริ ตเชิงนโยบายได้
จำแนกได้เป็ น 2 แนวทาง

•แนวทางตามความสัมพันธ์ เชิงระบบ

•แนวทางตามขอบเขตระบบการเมือง
การศึกษาสิ่ งแวดล้อมตามความสั มพันธ์ เชิงระบบ
1. ความสั มพันธ์ ในเชิงการให้ ความหมาย : การเมืองเป็ นการกำหนดนโยบาย
สาธารณะ และวิธีการเพื่อให้ได้มาซึ่งนโยบายสาธารณะนั้นก็คือการบริ หาร
2. ความสั มพันธ์ ในเชิงเหตุและผล :
- การเมืองกับการบริ หาร การเมืองเป็ นตัวกำหนดแนวทางของการบริ หาร
- การเมืองกับนโยบายสาธารณะ การเมืองเป็ นตัวกำหนดนโยบายสาธารณะ
- การบริ หารกับนโยบายสาธารณะ นโยบายสาธารณะถือได้วา่ เป็ นส่ วนหนึ่ง
ของการบริ หาร
3. ความสั มพันธ์ ในเชิงระบบใหญ่ กบั ระบบย่ อย
- ระบบนโยบายสาธารณะเป็ นส่ วนหนึ่งของระบบการบริ หาร
- ระบบการบริ หารเป็ นส่ วนหนึ่งของระบบนโยบายสาธารณะ
การศึกษาสิ่ งแวดล้อมตามขอบเขตระบบการเมือง

1. ปัจจัยสิ่ งแวดล้อมภายนอกระบบการเมือง
1.1 ปัจจัยเกี่ยวกับเศรษฐกิจ ระดับการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ
และระดับของทรัพยากร ระดับการกระจายทรัพยากร
1.2 ปัจจัยเกี่ยวกับสังคม วัฒนธรรมและปทัสถานทางสังคม เขต
ชุมชนตัวเมือง
1.3 ปัจจัยสิ่ งแวดล้อมอื่น ภูมิศาสตร์และประวัติศาสตร์เทคโนโลยี
และทรัพยากรธรรมชาติ
การศึกษาสิ่ งแวดล้อมตามขอบเขตระบบการเมือง

2. ปัจจัยสิ่ งแวดล้อมภายในระบบการเมือง
2.1 ปัจจัยด้านสถาบันทางการเมือง หมายถึง สถาบันที่มีส่วนในการ
กำหนดนโยบายสาธารณะ เช่น พรรคการเมือง รัฐสภาและรัฐบาล
เป็ นต้น
2.2.2 ปั จจัยด้านกระบวนการทางการเมือง หมายถึง ขั้นตอนในการ
กำหนดนโยบายสาธารณะ
2.2.3 ปั จจัยด้านพฤติกรรมการเมือง หมายถึง พฤติกรรมของผูน้ ำ
การเมืองที่มีผลต่อการตัดสิ นใจนโยบายนั้นๆ เช่น ค่านิยมและ
บุคลิกภาพของผูน้ ำ เป็ นต้น
ตอนที่ 2.1 แนวคิดเกี่ยวกับสิ่ งแวดล้อมกับ
นโยบายสาธารณะ
ตอนที่ 2.2 ตัวแบบการวิเคราะห์ ปัจจัยสิ่ ง
แวดล้อมที่มีอิทธิพลต่อนโยบายสาธารณะ
ตอนที่ 2.3 ปัจจัยสิ่ งแวดล้อมที่มีอิทธิพลต่อ
นโยบายสาธารณะ
•ตัวแบบการวิเคราะห์สิ่งแวดล้อมเชิงสาเหตุและผล
•ตัวแบบการวิเคราะห์สงิ่ แวดล้อมเชิงระบบนโยบาย
•ตัวแบบการวิเคราะห์สงิ่ แวดล้อมเชิงองค์ประกอบของระบบ
ตัวแบบการวิเคราะห์ สิ่งแวดล้อมเชิงสาเหตุและผล

• ระบบสั งคมและระบบการเมือง ซึ่งมีความสัมพันธ์แบบ


โต้ตอบกัน (Dye, 2002: 6)
• เป็ นการวิเคราะห์ถึงสาเหตุ (Cause) ที่ก่อให้เกิดผลที่ตาม
มา (Consequence) ของนโยบายสาธารณะ
ตัวแบบการวิเคราะห์ สิ่งแวดล้อมเชิงระบบนโยบาย

• สิ่ งแวดล้ อมนโยบายและผู้มสี ่ วนได้ ส่วนเสี ยที่มีความ


สัมพันธ์แบบโต้ตอบกัน (Dunn, 1981: 46)
• ปัจจัยสิ่ งแวดล้อมที่มีอิทธิพลต่อนโยบายสาธารณะตาม
แนวคิดของดันน์ (Dunn) ได้แก่ ปัจจัยสิ่ งแวดล้อมนโยบาย
(Policy environment) ปัจจัยผูม้ ีส่วนได้ส่วนเสี ย
(Stakeholders)
ตัวแบบการวิเคราะห์ สิ่งแวดล้ อม
เชิงองค์ ประกอบของระบบ
• ปัจจัยนำเข้า กระบวนการเปลี่ยนแปลง ปัจจัยนำออก ผล
สะท้อนกลับ และสิ่ งแวดล้ อม (David Easton)
• สิ่ งแวดล้ อม หมายถึง สิ่ งแวดล้อมทางเศรษฐกิจและสังคม
ที่มีอิทธิพลต่อระบบนโยบายสาธารณะ
ตอนที่ 2.1 แนวคิดเกี่ยวกับสิ่ งแวดล้อมกับ
นโยบายสาธารณะ
ตอนที่ 2.2 ตัวแบบการวิเคราะห์ปัจจัยสิ่ ง
แวดล้อมที่มีอิทธิพลต่อนโยบายสาธารณะ
ตอนที่ 2.3 ปัจจัยสิ่ งแวดล้อมทีม่ อี ทิ ธิพลต่ อ
นโยบายสาธารณะ
• ปัจจัยด้ านเศรษฐกิจ
- ระดับการพัฒนาทางเศรษฐกิจ ระดับของทรัพยากรทางเศรษฐกิจ
ทั้งหมด และระดับของการกระจายทรัพยากร
• ปัจจัยด้ านสั งคม
- วัฒนธรรมและปทัสถานทางสังคม เขตชุมชนตัวเมือง ภาวะการ
ว่างงาน
• ปัจจัยสิ่ งแวดล้ อมอืน่
• สถาบันการเมือง : รัฐธรรมนูญ พระมหากษัตริ ย ์ พรรคการเมือง
การเลือกตั้ง รัฐสภา การบัญญัติกฎหมาย และรัฐบาล
• กระบวนการทางการเมือง : (1) ระบุปัญหานโยบาย (2) จัดทำวาระแห่ง
ชาติ (3) กำหนดนโยบาย (4) ประกาศนโยบาย (5) นำนโยบายไปปฏิบตั ิ (6
) ประเมินผลนโยบาย
• พฤติกรรมทางการเมือง : พฤติกรรมของผูน้ ำ (ผูน้ ำแบบประชาธิปไตย
ผูน้ ำแบบเผด็จการ ผูน้ ำแบบเสรี นิยม)

You might also like