You are on page 1of 43

อาจารย์ ดร.

ลักษณา ศริ วิ รรณ


ประธานกรรมการบริหารชุดวิชา33303
นโยบายสาธารณะและการวางแผน
1 ความรู ้เบื้องต้นเกี่ยวกับนโยบายสาธารณะ
2 ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อนโยบายสาธารณะ
3 การวิเคราะห์นโยบายสาธารณะ
4 การกำหนดนโยบายสาธารณะ
5 การนำนโยบายสาธารณะไปปฏิบตั ิ
6 การประเมินผลนโยบายและการพัฒนานโยบายสาธารณะ
7 ปัญหาและแนวทางพัฒนานโยบายสาธารณะในประเทศไทย
8 ความสัมพันธ์ระหว่างนโยบาย แผน และโครงการ
9 ทฤษฎีและแนวคิดเกี่ยวกับการวางแผนพัฒนา
10 การวางแผนยุทธศาสตร์การพัฒนา
11 การศึกษาความเป็ นไปได้ของโครงการ
12 การวางแผน การดำเนิน การควบคุมโครงการ
13 การติดตามและประเมินผลโครงการ
14 แผนและโครงการในประเทศไทย
15 ระบบสารสนเทศกับกระบวนการนโยบายสาธารณะและการวางแผน
ตอนที่ 1.1 แนวคิดพืน้ ฐานเกีย่ วกับนโยบาย
สาธารณะ
ตอนที่ 1.2 กระบวนการนโยบายสาธารณะ
ตอนที่ 1.3 การศึกษานโยบายสาธารณะ
เป็ นการตัดสิ นใจกระทำหรื อไม่กระทำของ
รัฐบาลหรื อองค์การภาครัฐที่มีอ ำนาจตาม
กฎหมาย ซึ่งส่ งผลต่อส่ วนรวมและการแก้ไข
ปัญหาสาธารณะ
ลักษณะสำคัญของนโยบายสาธารณะ
เป็ นการตัดสินใจกระทำหรือไม่ กระทำของรัฐบาลหรื อ
องค์การภาครัฐที่มีอำนาจตามกฎหมาย
มีการกำหนดวัตถุประสงค์ และแนวทางดำเนินการกว้ าง ๆ
เพื่อบรรลุวตั ถุประสงค์นนั ้
มีตัวแสดงทัง้ ที่เป็ นทางการและไม่ เป็ นทางการ
เป็ นการตัดสินใจของรัฐบาลในทุกระดับ
ส่งต่อส่ วนรวมและการแก้ ไขปั ญหาสาธารณะ
และอยูใ่ นรูปกฎหมายหรือไม่ ใช่ กฎหมายก็ได้
ด้ านการตอบสนอง
ด้ านการบริหารและ ความต้ องการและ
พัฒนาประเทศ แก้ไขปัญหาของ
ประชาชน
ประเภทของนโยบายสาธารณะจำแนกตามมิตติ ่ าง ๆ

มิติ ประเภทของนโยบายสาธารณะ
มิติด้านภารกิจ - นโยบายสาธารณะด้านการเมืองการบริหาร
- นโยบายสาธารณะด้านเศรษฐกิจ
- นโยบายสาธารณะด้านสังคม
- นโยบายสาธารณะด้านสาธารณสุข
- นโยบายสาธารณะด้านการศึกษา
- นโยบายสาธารณะด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
- นโยบายสาธารณะด้านความมัน่ คงและการป้ องกัน
ประเทศ
- นโยบายสาธารณะด้านต่างประเทศ
- นโยบายสาธารณะด้านสิ่งแวดล้อม
ประเภทของนโยบายสาธารณะจำแนกตามมิตติ ่ าง ๆ

มิติ ประเภทของนโยบายสาธารณะ
มิติด้าน - นโยบายสาธารณะเชิงวัตถุ
วัตถุหรือ - นโยบายสาธารณะเชิงสัญลักษณ์
สัญลักษณ์
ประเภทของนโยบายสาธารณะจำแนกตามมิตติ ่ าง ๆ

มิติ ประเภทของนโยบายสาธารณะ
มิติด้าน - นโยบายสาธารณะกระจายผล
ผลกระทบ ประโยชน์
ของ - นโยบายสาธารณะจัดสรรผล
นโยบาย ประโยชน์ใหม่
สาธารณะ - นโยบายสาธารณะกำกับควบคุม
ประชาชน
- นโยบายสาธารณะให้ประชาชน
กำกับควบคุมตนเอง
ประเภทของนโยบายสาธารณะจำแนกตามมิตติ ่ าง ๆ

มิติ ประเภทของนโยบายสาธารณะ
มิติด้านผู้ - นโยบายสาธารณะที่กำหนดโดย
กำหนด ฝ่ ายบริหาร
นโยบาย - นโยบายสาธารณะที่กำหนดโดย
สาธารณะ ฝ่ ายนิติบัญญัติ
- นโยบายสาธารณะที่กำหนดโดย
ฝ่ ายตุลาการ
- นโยบายสาธารณะที่กำหนดโดย
หน่วยงานของรัฐ
ประเภทของนโยบายสาธารณะจำแนกตามมิตติ ่ าง ๆ

มิติ ประเภทของนโยบายสาธารณะ
มิติด้าน - นโยบายสาธารณะเชิงเสรีนิยม
อุดมการณ์ - นโยบายสาธารณะเชิงอนุรักษ์
นิยม
ประเภทของนโยบายสาธารณะจำแนกตามมิตติ ่ าง ๆ

มิติ ประเภทของนโยบายสาธารณะ
มิติด้าน - นโยบายสาธารณะมุ่งเน้น
เนื้ อหา เนื้ อหา
หรือขั้น - นโยบายสาธารณะมุ่งเน้นขั้น
ตอน ตอน
ประเภทของนโยบายสาธารณะจำแนกตามมิตติ ่ าง ๆ

มิติ ประเภทของนโยบายสาธารณะ
มิติด้าน - นโยบายสาธารณะที่อยู่ในรูป
กฎหมาย ของกฎหมาย
- นโยบายสาธารณะที่ไม่อยู่ในรูป
ของกฎหมาย
ตอนที่ 1.1 แนวคิดพื้นฐานเกี่ยวกับนโยบาย
สาธารณะ
ตอนที่ 1.2 กระบวนการนโยบายสาธารณะ
ตอนที่ 1.3 การศึกษานโยบายสาธารณะ
ขั้นตอนหลักในกระบวนการนโยบายสาธารณะ
การกำหนดนโยบายสาธารณะ
การนำนโยบายสาธารณะไปปฏิบตั ิ
การประเมินนโยบายสาธารณะ
การเปลี่ยนแปลง การพัฒนา
หรื อการยุตินโยบายสาธารณะ
การกำหนดนโยบายสาธารณะ เป็ นการก่อตัวของปั ญหา
สาธารณะ การเข้ าสูว่ าระการพิจารณาร่างนโยบายสาธารณะ
จนได้ รับการตัดสินใจกำหนดเป็ นนโยบายเพื่อแก้ ไขปั ญหา
สาธารณะ
การนำนโยบายสาธารณะไปปฏิบตั ิ เป็ นกระบวนการนำการ
ตัดสินนโยบายสาธารณะที่ได้ กระทำไว้ ไปปฏิบตั ิให้ บรรลุเป้า
หมายโดยองค์การต่าง ๆ
การประเมินผลนโยบายสาธารณะเป็ นการตัดสินใจว่าผลของ
นำนโยบายสาธารณะไปปฏิบตั ิเป็ นไปตามวัตถุประสงค์หรื อ
ไม่ อย่างไร และตรวจสอบถึงผลกระทบที่เกิดขึ ้นจริ ง เพื่อให้
ทราบว่านโยบายสาธารณะประสบความสำเร็จหรื อล้ มเหลว
และเพื่อมีข้อมูลในการเปลี่ยนแปลง การพัฒนา หรื อการยุติ
นโยบายสาธารณะ
การเปลี่ยนแปลงนโยบายสาธารณะ (Policy change) หมายถึง
การทดแทน การรวมกัน หรื อการแยกนโยบายสาธารณะที่มีอยู่
เดิม
การพัฒนานโยบายสาธารณะ (Policy development) หมายถึง
การปรับนโยบายสาธารณะให้มีเป้ าหมายและวิธีการสอดคล้อง
กัน เพื่อให้ได้นโยบายสาธารณะที่เหมาะสม
การยุตินโยบายสาธารณะ (Policy termination) หมายถึง การ
สิ้ นสุ ดของวงจรนโยบายสาธารณะ
ความโปร่ งใส
ความรับผิดชอบที่ตรวจสอบได้
การมีส่วนร่ วม
การสนองตอบความต้องการของประชาชน
ความเป็ นธรรม
ประสิ ทธิผลและประสิ ทธิภาพ
การยึดฉันทามติ
นิติธรรม
การเปิ ดเผยให้ประชาชนสามารถเข้าถึง
ข้อมูลข่าวสารต่าง ๆ ได้อย่างเสรี
การมีภาระรับผิดชอบต่อประชาชนและผูม้ ี
ส่ วนได้ส่วนเสี ย และพร้อมรับการตรวจ
สอบการดำเนินงานจากสาธารณะ
การที่สมาชิกในสังคมได้สมัครใจเข้ามา
ร่ วมคิด ร่ วมทำ ร่ วมติดตามการดำเนิน
งานทั้งทางตรงและทางอ้อมผ่านตัวแทน
อันชอบธรรม บนพื้นฐานของการมี
เสรี ภาพใน การรวมกลุ ่ม
การแสดงความคิดเห็น และการเข้ามีส่วน
ร่ วมอย่างมีเหตุผลในเชิงสร้างสรรค์
การดำเนินงานของสถาบันทางการเมือง
ต่าง ๆ ให้ความสนใจและพยายามตอบ
สนองข้อเรี ยกร้องหรื อความต้องการของ
ประชาชน
การที่ทุกคนมีโอกาสในการปรับปรุ ง
สถานะหรื อรักษาระดับชีวติ ความเป็ นอยู่
ของตนอย่างเท่าเทียมกัน ซึ่งเป็ นสิ ทธิข้นั
พื้นฐานที่ประชาชนทุกคนพึงได้รับจาก
รัฐบาล
ประสิ ทธิผล (Effectiveness)
หมายถึง การดำเนินการบรรลุ
วัตถุประสงค์ที่ก ำหนดไว้ และ
ประสิ ทธิภาพ (Efficiency) หมาย
ถึง การดำเนินการใช้ทรัพยากรที่มีอยูใ่ ห้
ได้ผลตอบแทนที่คุม้ ค่าหรื อเกิด
ประโยชน์สูงที่สุด
การกำหนดและสรุ ปความต้องการของ
คนในสังคม โดยพยายามหาจุดสนใจ
ร่ วมกันและความต้องการที่สอดคล้อง
ต้องกันของสังคมมาเป็ นข้อปฏิบตั ิ เพื่อ
ลดปัญหาความขัดแย้งในสังคมและเป็ น
ประโยชน์ต่อทุกฝ่ าย
ความถูกต้องตามกรอบของกฎหมาย ทุก
คนในสังคมอยูภ่ ายใต้ขอ้ กำหนดของ
กฎหมายเดียวกัน
ตอนที่ 1.1 แนวคิดพื้นฐานเกี่ยวกับนโยบาย
สาธารณะ
ตอนที่ 1.2 กระบวนการนโยบายสาธารณะ
ตอนที่ 1.3 การศึกษานโยบายสาธารณะ
ยุคต้ น (ค.ศ. 1946 – 1969) มีจุดเริ่ มต้นของการศึกษา
นับแต่มีการจัดตั้งสภาที่ปรึ กษาทางเศรษฐกิจเพื่อ
ระดมนักวิชาการด้านต่าง ๆ มาช่วยกำหนดนโยบาย
สาธารณะในสหรัฐอเมริ กา และเริ่ มมีการสร้างองค์
ความรู้เกี่ยวกับนโยบายสาธารณะเพื่อใช้แก้ไข
ปัญหาและพัฒนาประเทศ โดยเฉพาะอย่างยิง่ ในขั้น
ตอนของการกำหนดนโยบายสาธารณะด้วยวิธีการ
ศึกษาเชิงคุณภาพและกรณี ศึกษา
ยุคกลาง (ช่ วง ค.ศ. 1970 –1989) มีจุดเริ่ มต้นจากการขยาย
ตัวของการศึกษานโยบายสาธารณะผ่านการจัดตั้งองค์การ การ
จัดทำหลักสูตรในสถาบันการศึกษา และการเผยแพร่ ผลงาน
วิชาการ รวมทั้งการศึกษากระบวนการนโยบายสาธารณะที่
ครอบคลุมขั้นตอนการกำหนดนโยบายสาธารณะ การนำ
นโยบายสาธารณะไปปฏิบตั ิ การประเมินผลนโยบาย
สาธารณะ และการยุตินโยบายสาธารณะโดยให้ความสำคัญกับ
การศึกษาเชิงปริ มาณมากขึ้น
ยุคเปลีย่ นแปลง (ช่ วงทศวรรษ 1990 เป็ นต้ นมา)
มีการเปลี่ยนแปลงในหลาย ๆ เรื่ องทั้ง
การศึกษานโยบายสาธารณะในมุมมองใหม่ ๆ การ
ศึกษาแบบผสมผสาน (Mixed method) ทั้งเทคนิค
เชิงคุณภาพและเทคนิคเชิงปริ มาณ และการใช้แนว
การศึกษาแบบหลังปฏิฐานนิยม (Post-positivism
approach) หรื อแนวการศึกษาแบบปัญญาญาณ
(Intuitive approach) เพื่ออธิบายปรากฏการณ์ใน
กระบวนการนโยบายสาธารณะ
แนวทางการศึกษานโยบายสาธารณะ
ลักษณะสำคัญ
แนวทางการศึกษา
แนวทางพรรณนา - อธิบายเนื้อหาสาระของนโยบายสาธารณะ (Policy Content) และ
นโยบายสาธารณะ กระบวนการของนโยบายสาธารณะ (Policy Process) ตามที่
ปรากฏอยูจ่ ริ ง เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับนโยบาย
สาธารณะ
- นำวิธีการศึกษาจากสังคมศาสตร์และพฤติกรรมศาสตร์มา
พรรณนาหรื ออธิบายเนื้อหาสาระและกระบวนการนโยบาย
สาธารณะ เพื่อสร้างองค์ความรู้เกี่ยวกับหลักการ แนวคิด ตัวแบบ
และทฤษฎีดา้ นนโยบายสาธารณะที่เป็ นสากล
แนวทางการศึกษานโยบายสาธารณะ
แนวทางการ ลักษณะสำคัญ
ศึกษา
แนวทาง - ให้ความสำคัญกับการศึกษาขั้นตอนการกำหนด
นโยบายสาธารณะและผลลัพธ์หรือผลกระทบของ
พรรณนา นโยบายสาธารณะ
นโยบาย - มองว่านโยบายสาธารณะเป็ นผลผลิตของระบบ
สาธารณะ การเมือง
- เป็ นแนวทางที่นักรัฐศาสตร์นิยมใช้ โดยศึกษาเป็ น
รายกรณีหรือกรณีศึกษา
แนวทางการศึกษานโยบายสาธารณะ
แนวทางการ ลักษณะสำคัญ
ศึกษา
แนวทาง 1) วิเคราะห์และเสนอแนะข้อมูล
เสนอแนะ ที่เป็ นประโยชน์ต่อการตัดสินใจ
นโยบาย เชิงนโยบาย
สาธารณะ 2) ประยุกต์ใช้เทคนิค ระเบียบวิธี
และศาสตร์หลายแขนง
3) ให้ความสำคัญกับขั้นตอนการ
กำหนดนโยบายสาธารณะ
แนวทางการศึกษานโยบายสาธารณะ
แนวทางการ ลักษณะสำคัญ
ศึกษา
แนวทาง 4) สามารถวิเคราะห์เชิง
เสนอแนะ วิทยาศาสตร์ เชิงวิชาชีพ หรือเชิง
นโยบาย การเมือง
สาธารณะ 5) นักรัฐประศาสนศาสตร์นิยมใช้

6) เป็ นวิชาชีพสาขาหนึ่ง และ


7) ทำให้ข้อโต้แย้งเกี่ยวกับ
ประการที่ 1 การศึกษานโยบายสาธารณะแบบแยกส่ วน
ประการที่ 2 การศึกษาที่ไม่เกิดประโยชน์ต่อการพัฒนาองค์
ความรู ้หรื อพัฒนานโยบาย
ประการที่ 3 ในทางปฏิบตั ิการศึกษานโยบายสาธารณะมัก
จำกัดอยูท่ ี่บางกรอบแนวคิดหรื อตัวแบบและศึกษาไม่ต่อเนื่อง
ประการที่ 4 การศึกษานโยบายสาธารณะมีลกั ษณะเชิงอัตวิสยั
(Subjective)
ประการที่ 5 การศึกษาการนำนโยบายสาธารณะไปปฏิบตั ิและ
การประเมินผลนโยบายสาธารณะนิยม
วัดความสำเร็ จตามวัตถุประสงค์ที่หน่วยงานของรัฐกำหนดขึ้น
ประการที่ 1 การศึกษานโยบายสาธารณะควรคำนึงถึงความ
สัมพันธ์ระหว่างขั้นตอนต่าง ๆ ในกระบวนการนโยบายสาธารณะ
ประการที่ 2 การศึกษานโยบายสาธารณะควรคำนึงถึงผลกระทบที่
มีต่อการพัฒนาความรู้และพัฒนานโยบายมากกว่าการศึกษาตาม
ผลการศึกษาในอดีต
ประการที่ 3 การศึกษานโยบายสาธารณะควรพัฒนาตัวแบบใหม่ที่
เหมาะสมกับบริ บทของแต่ละประเทศ และใช้องค์ความรู้เชิงสห
วิทยาการ
ประการที่ 4 การศึกษานโยบายสาธารณะควรให้ความสำคัญกับการ
ศึกษาเชิงผสมผสานทั้งเชิงคุณภาพและเชิงปริ มาณ ใช้ขอ้ มูลทั้งเชิง
อัตวิสยั และภววิสยั และเก็บรวบรวมข้อมูลจากหลายแหล่ง
ประการที่ 5 การศึกษานโยบายสาธารณะควรให้ความ
สำคัญกับการแก้ไขปัญหาสาธารณะและการศึกษาเปรี ยบ
เทียบในพื้นที่หรื อช่วงเวลาอื่น

You might also like