You are on page 1of 57

โครงงานต้นไม้ในพระพุทธศาสนา

ภายในสวนพฤกษศาสตร์
โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
ห้อง ๑๕๖ ปีการศึกษา ๒๕๖๓
น.ส.กะรัตเพชร ฤทธิสิงห์ ห้อง156 เลขที่1

ต้นไม้ในพระพุทธศาสนาภายในสวนพฤกษศาสตร์ โรงเรียนเตรียม
อุดมศึกษา

ต้นดอกจิก

ต้นจิกมีความสัมพันธ์กับพระพุทธศาสนาในด้านประวัติของพระพุทธเจ้าโดย
ภายหลังจากพระพุทธเจ้าทรงตรัสรู้แล้วถึงสัปดาห์ที่ 6 ทรงประทับภายใต้ร่มเงาของ
ต้นไม้จิกอันมีชื่อว่ามุจลินทร์ซึ่งตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ใกล้ ๆ กับต้นพระ
ศรีมหาโพธิ์พระพุทธเจ้าเมื่อเสวยวิมุติสุขอยู่ใต้ต้นมุจลินท์ก็ได้มีฝนเจือลมหนาวตกพรำ
อยู่เจ็ดวันพญานาคชื่อมุจลินท์ซึ่งเป็นพญานาคที่มีอานุภาพมากอาศัยอยู่ที่สระโบกขรณี
ใกล้ต้นมุจลินท์พฤกษ์นั้นมีความเลื่อมใสในพระศิริวิลาศจึงเข้ามาวงด้วยขนตเจ็ตรอบ
แล้วแผ่พังพานปกพระผู้มีพระภาคเจ้าเพื่อป้องกันลมและฝนมิให้ถูกพระกายครั้นฝนหาย
แล้วก็คลายขนตออกจำแลงเพศเป็นมาณพเข้ามายืนเฝ้า ณ ที่เฉพาะพระพักตร์พระผู้มี
พระภาคเจ้าได้ทรงเปล่งอุทานว่า“ สุโขวิเวโกตุฎสสะตะธัมมัสสะปัสสะโตอัพยาปัขขังสุ
ขังโลเกปาณะภูเตสูสัญญะโมสุขาวิราคะตาโลเกกามานังสะโมอัสมิมานัสสะวินะโยเอตัง
เวปะระมังสุขังฯ ” มีความหมายว่า“ ความสงัดเป็นความสุขสำหรับบุคคลผู้สดับธรรม
แล้วยินดีอยู่ในที่สงัดรู้เห็นตามเป็นอย่างไรความไม่เบียดเบียนคือความสำรวมในสัตว์
ทั้งหลายและความปราศจากก้าหนัดคือความส่วงกามทั้งหลายเสียได้ด้วยประการทั้ง
ปวงเป็นสุขในโลกความน้ำอัสมิมานะถือว่ามีตัวตนให้หมดได้เป็นสุขอย่างยิ่ง” พระพุทธ
จริยาที่เสด็จประทับนั่งเสวยวิมุตติสุขภายในขนตของพญานาคมุจลินท์นาคราชที่ขต
แวดล้อมพระกายอยู่นี้เป็นเหตุให้สร้างพระพุทธรูปปางนาคปรกถือว่าเป็นหนึ่งในปาง
สำคัญและเป็นปางประจำวันเกิดของผู้ที่เกิดวันเสาร์จากข้อมูลข้างต้นพบว่านอกจากต้น
จิกจะให้ประโยชน์กับมนุษย์ในด้านต่างๆทั้งทางตรงและทางอ้อมแล้วต้นจิกยังเป็นหนึ่ง
ในพรรณไม้สำคัญต่อพุทธศาสนาที่ให้เหล่าพุทธศาสนิกชนได้ศึกษาและได้ข้อคิดจาก
สอนของพระพุทธเจ้าที่สามารถนำมาปรับใช้ได้ในชีวิตประจำวัน
ดอกบัว
2/156

ทางพุ ทธศาสนา ถือได้ว่าบัวเปนสัญลักษณ์ของ


พุ ทธศาสนา ใช้เปนดอกไม้บูชาพระรัตนตรัย
เปนการผูกพันจิตใจให้ระลึกถึงพระพุ ทธ พระ ดอกบัวมีความสําคัญในแง่ของการเปน
ธรรม พระสงฆ์สําหรับชาวพุ ทธ ตัวแทนองค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุ ทธเจ้า ไม่
ว่าพระพุ ทธองค์จะประทับในพระอิริยาบถใด
ก็ตาม เช่น นัง นอน หรือ ยืน ดอกบัวจะเปน
ส่วนฐานทีคอยรองรับพระวรกายของ
ดอกบัวเปรียบเทียบได้กับความบริสุทธิ เปรียบเทียบกับพระพุ ทพระพุ
ธ ทธองค์เสมอ
องค์ ซึงเปนผู้บริสุทธิ แม้จะเกิดมาในชมพู ทวีป โลกของมนุษย์ทีมี
ทังกิเลส ความโลก ความโกรธ และความหลง แต่ทังหมดก็ไม่
สามารถทําให้พระหฤทัยของพระพุ ทธองค์แปดเปอนได้เลยแม้แต่น้อย
หากเราสังเกตให้ชัดแจ้งถึงภูมิปญญาของคนโบราณในการสร้าง
ถาวรวัตถุ เพือถวายเปนพุ ทธบูชา เช่นการสร้างพระพุ ทธรูป ก็มักจะ
มีดอกบัวเปนฐานรองรับอยู่เสมอ และลักษณะของดอกบัวนันยัง
แฝงไปด้วยการเปรียบเทียบทีเกียวข้องกับบัวทัง 4 เหล่า

พระพุ ทธเจ้าทรงตรัสเปรียบบุคคล 4 ประเภททีมี


สติปญญาแตกต่างกันไปกับดอกบัว 4 เหล่า ดังนี

1. อุคคติตัญ ู หมายถึงบุคคลทีมีอุปนิสัย สติปญญาแก่กล้า พอฟงธรรมก็


สามารถรู้แจ้งในธรรมวิเศษ โดยทันที เปรียบเหมือนดอกบัวโผล่พ้นเหนือนํา
2. วิปจจิตัญ ู หมายถึงบุคคลทีมีอุปนิสัย สติปญญามาก ขนาดได้ฟงธรรมคําสัง
สอนอย่างละเอียด แจกแจงให้เข้าใจแล้วสามารถรู้แจ้งเห็นธรรมวิเศษได้ เปรียบ
เหมือนดอกบัวทีเติบโตขึนมาพอดีกับพืนนํา
3. เนยยบุคคล หมายถึงบุคคลทีมีอุปนิสัย สติปญญาขนาดทีต้องพากเพียรค้นคว้า
ไต่ถาม หมันศึกษาเล่าเรียน และคบกัลยาณมิตร จึงจะสามารถรู้เห็นแจ้ง
ในธรรมได้ เปรียบเหมือนดอกบัวทีเติบโตอยู่ใต้นํา
4. ปทปรมบุคคล หมายถึงบุคคลทีมีอุปนิสัย สติปญญาไม่สามารถ
รู้แจ้งในธรรมได้เลย แม้จะอธิบายอย่างละเอียดอย่างไรก็ตาม
เปรียบเหมือนดอกบัวทีเติบโตอยู่ใต้นํา ไม่สามารถจะโผล่
ขึนมาเหนือนํา
สถานที : สระนําคูบัว
น.ส. จิณณ์พัชร์ กุลชาติกิตติศักดิ ห้อง 156 เลขที 2
น.ส.ฉัตรพร คุ้มพุ่ม ม.6 ห้อง 156 เลขที่ 3

สวนพฤกษศาสตร์
ต้นสะเดา บริเวณหลังตึก 60 ปี

ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ของสะเดา
สะเดา เป็นไม้ต้น สูง 8-12 เมตร เปลือกต้นสีน้าตาลใบเป็นใบประกอบแบบขนนก ออกเรียงสลับ รูปรี
โคนใบเบียว ปลายใบเรียวแหลม ขอบใบจักเป็นฟันเลื่อย แผ่นใบเรียบ สีเขียวเป็นมัน ดอก ออกเป็นช่อตาม
ซอกใบใกล้ปลายยอด ดอกสีขาว กลีบดอกมี 5 กลีบ ปลายกลีบมน โคนเรียว ผลเป็นผลสด รูปกลมรี ผิว
เรียบเป็นมัน ผลอ่อนสีเขียว สุกสีเหลือง เมล็ดเดี่ยว
เกี่ยวข้องกับพระพุทธศาสนา
ต้นสะเดา (ต้นนิมพะ) ในพระไตรปิฎกเล่มที่ 33 พระสุตตันปิฎก เล่ม 25 ขุททกนิกาย พุทธวงศ์ สุเมธ
พุทธวงศ์ กล่าวไว้ว่า พระพุทธเจ้าองค์ที่ 14 พระนามว่า พระสุเ มธพุทธเจ้า ผู้ทรงแสวงหาประโยชน์เพื่อ
สรรพสัตว์ ทรงเปลืองสัตว์ให้พ้นจากเครื่องผูกเป็นอันมาก ได้ประทับตรัสรู้ ณ ควงไม้สะเดา หลังทรงบ้าเพ็ญ
เพียรอยู่ 8 เดือนเต็ม และ ต้นสะเดาอินเดีย ที่เป็นโพธิญาณพฤกษาของพระสุเมธพุทธเจ้า สะเดาอินเดีย มี
ชื่อทางวิทยาศาสตร์ว่า “Azadirachta indica A. Juss.” อยู่ในวงศ์ “Meliaceae” ในภาษาบาลีเรียกว่า
“ต้นนิมพะ” หรือ “ต้นมหานิมพะ” ชาวฮินดูเรียกว่า “นิมะ” มีชื่อพืนเมืองที่เรียกกันต่างไปในแต่ละท้องถิ่น
ของไทย คือ กะเดา (ภาคใต้), สะเลียม (ภาคเหนือ), คินินหรื อขีนิน (ภาคอีสาน), จะตัง, ไม้เดา, เดา เป็นต้น
พระพุทธประวัติกล่าวว่า ในพรรษาที่ 11 พระพุทธเจ้าได้จ้าพรรษาภายใต้จิมมันทพฤกษ์ คือไม้สะเดา
อันเป็นมุขพิมานของเพรุยักษ์ ใกล้นครเวรัญชา และได้มีเหตุการณ์เกิดขึน ณ บริเวณต้นสะเดา ใกล้เมือง
เวรัญชา เวรัญชพราหมณ์ได้เข้าไปหาพระพุทธเจ้า และได้คุยประเด็นการตรัสรู้ได้ด้วยความเพียรและ
เปรียบตนเองเหมือนลูกไก่ที่ เจาะเปลือกออกมาก่อ นตัวอื่น
(ที่มาจากพระไตรปิฎกและอรรถกถาแปล ฉบับมหากุฏราชวิทยาลัย เล่มที่ 1)
น.ส.ชยาภรณ์ ทองอยู่ ม. 6 ห้อง 156 เลขที่ 4

ชือ่ : พญาสัตบรรณ
ชื่ออื่น: สัตบรรณ, ตีนเป็ด, ตีนเป็ดขาว
ประเภท: ไม้ยืนต้น (ไม้ดอก)
ถิ่นดั้งเดิม: เอเชียตะวันออกเฉียงใต้
กระจายอยู่ในทุกภาคของไทย
พืชชนิดนี้ถูกนามาใช้ประโยชน์
มากมาย เช่นนาเปลือกไม้มารักษาโรคบิด
และมาลาเรีย ใบใช้รักษาโรคระบบทางเดิน
หายใจ รวมถึงยังสามารถยับยั้งการ
เจริญเติบโตของพืชอืน่ ได้อีกด้วย

ความเกี่ยวข้องกับพระพุทธศาสนา
ในคัมภีร์ของพระพุทธศาสนา ตาราชินกาลมาลีปกรณ์ ได้กล่าวไว้ว่า
‘พระตัณหังกรพุทธเจ้า’ พระพุทธเจ้าองค์แรกในพระพุทธศาสนา ได้
ประทับตรัสรู้ที่ใต้ตน้ ตีนเป็ดขาว หรือต้นพญาสัตตบรรณ และต้นไม้
ชนิดนี้ยังขึ้นอยู่หน้า ‘ถ้าสตฺตปณฺณคูหา’ ซึ่งเป็นสถานที่ที่มกี ารสังคายนา
พระไตรปิฎกเป็นครั้งแรก โดยมีพระเจ้าอชาตศัตรูเป็นผู้อปุ การะในการ
สังคายนาครั้งนัน้ ด้วย
ชลลดา ศรีสงวนสกุล ห้อง156 เลขที่5

ต้นกระทิง

ต้นกระทิงชื่อทางวิทยาศาสตร์ว่า “Calophylum inophyllum Linn.” อยู่ในวงศ์ “Guttiferae” ในภาษาบาลี


เรียกว่า “ต้นนาคะ” ถิ่นกำเนิดอยู่ในอินเดียและฝั่งตะวันตกของแปซิฟิค ในบ้านเรานั้นเรียกชื่อต่างกันไป ได้แก่
กากะทิง, กระทิง (ภาคกลาง) เนาวกาน, สารภีแนน (ภาคเหนือ) ทิง, สารภีทะเล (ภาคใต้) เป็นต้น

เป็นไม้ยืนต้นขนาดกลางถึงขนาดใหญ่สูงประมาณ 8-20 เมตร เรือนยอดเป็นพุ่มกลมทึบ เปลือกนอกสีน้ำตาล


อมเทา ใบมนรูปไข่กลับ ผิวใบเกลี้ยง เนื้อใบหนาเป็นมัน สีเขียวเข้ม ไม่ผลัดใบ ใบมียางสีขาว

ดอกเล็กสีขาวถึงเหลืองนวล กลิ่นหอม ดอกบานไม่พร้อมกัน ออกเป็นช่อสั้นตามปลายกิ่งและซอกใบใกล้ปลาย


กิ่ง ดอกตูมมักอยู่ที่ปลายช่อดอก ดอกบานเต็มที่มีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 2 ซ.ม. กลีบดอกงองุ้มโค้ง
เข้าหากัน มีเกสรตัวผู้สีเหลืองเข้มจำนวนมาก เมื่อใกล้โรยเกสรตัวผู้จะเปลี่ยนเป็นสีน้ำตาล ออกดอกช่วงเดือน
ตุลาคม-ธันวาคม ผลทรงกลม เส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 2.5 ซม. ผลอ่อนสีเขียว ปลายผลเป็นติ่งแหลม และ
เมื่อแก่จะมีสีน้ำตาล แห้ง ผิวย่น แต่ละผลมี 1 เมล็ด ขยายพันธุ์โดยการเพาะเมล็ด แต่จากการที่กระทิงเป็นพันธุ์
ไม้ที่ชอบขึ้นตามป่าที่อยู่ใกล้ชายทะเลตอนที่น้ำทะเลขึ้นไม่ถึงและป่าที่ชื้นทั่วไป ที่สูงจากระดับน้ำทะเลประมาณ
50-100 เมตร ทำให้ลมและน้ำเป็นตัวการสำคัญที่จะมีส่วนช่วยในการแพร่กระจายพันธุ์ของไม้กระทิงในสภาพ
ธรรมชาติ เนื่องจากต้นกากะทิงมีเนื้อไม้สีน้ำตาลอมแดง หนักและแข็ง ทนน้ำ จึงมักนำมาใช้ทำเรือ กระดูกงูเรือ
สร้างบ้านเรือน ทำตู้ ไม้หมอนรถไฟ เครื่องมือเกษตรกรรม เช่น แอก ฯลฯ เมล็ดนำมาสกัดน้ำมันใช้ ใน
อุตสาหกรรมสบู่ ทำเทียนไข และผสมทำเครื่องสำอาง

ส่วนสรรพคุณด้านพืชสมุนไพรนั้น ใบสดนำมาขยำแช่น้ำ ใช้น้ำล้างตา แก้ตาฝ้า ตามัว ตาแดง, สำหรับน้ำมันที่


ได้จากเมล็ดนำมาใช้ทาถูนวด แก้ปวดข้อ เคล็ดบวม รักษาโรคเรื้อน, ดอกปรุงเป็นยาหอม บำรุงหัวใจ, รากเป็น
ยาเบื่อปลา แก้ซาง, เปลือกใช้ชำระล้างแผล แก้คัน และเป็นยาเบื่อปลา แต่ยางทำให้อาเจียน และถ่ายอย่าง
รุนแรง
น.ส. ชัญญา จงวัฒนธรรม ม.6 ห้อง156 เลขที;6

สวนพฤกษศาสตร์ :ต้ นสาละ


ก่อนพุทธศักราช /0 ปี พระพุทธมารดาคือพระนางสิ ริมหามายา ทรงครรภ์ใกล้ครบกําหนดพระสู ติการ จึงเสด็จออกจากกรุ ง
กบิลพัสดุ์ เพืJอไปมีพระสู ติการ ณ กรุ งเทวทหะ อันเป็ นเมืองต้นตระกูลของพระนาง ตามธรรมเนียมประเพณี พราหมณ์ (ทีJการ
คลอดบุตร ฝ่ ายหญิงจะต้องกลับไปคลอดทีJบา้ นพ่อ-แม่ของฝ่ ายหญิง) เมืJอขบวนเสด็จมาถึงครึJ งทางระหว่างกรุ งกบิลพัสดุก์ บั กรุ ง
เทวทหะ ณ ทีJตรงนัVนเป็ นสวนมีชืJอว่า “สวนลุมพินีวนั ” เป็ นสวนป่ าไม้ “สาละใหญ่”
พระนางได้ทรงหยุดพักอิริยาบท (ปัจจุบนั คือตําบล “รุ มมินเด” แขวงเปชวาร์ ประเทศเนปาล) พระนางประทับยืนชูพระหัตถ์ขV ึน
เหนีJยวกิJงสาละใหญ่ และขณะนัVนเองก็รู้สึกประชวรพระครรภ์ และได้ประสู ติพระสิ ทธัตถะกุมาร ซึJงตรงกับวันศุกร์ วันเพ็ญ
เดือน Z ปี จอ ก่อนพุทธศักราช /0 ปี คําว่า “สิ ทธัตถะ” แปลว่า “สมปรารถนา”
ตอนก่อนพระพุทธเจ้าจะตรัสรู ้และแสดงธรรมเทศนา
เมืJอพระองค์เสวยข้าวมธุปายาสทีJบรรจุอยูใ่ นถาดทองคําของนางสุ ชาดาแล้ว ได้ทรงอธิษฐานว่า ถ้าพระองค์ได้สาํ เร็ จพระ
โพธิญาณ ขอให้การลอยถาดทองคํานีVสามารถทวนกระแสนํVาแห่งแม่นV าํ เนรัญชลาได้ เมืJอทรงอธิษฐานแล้วได้ทรงลอยถาด
ปรากฏว่าถาดทองคํานัVนได้ลอยทวนกระแสนํVา จากนัVนพระองค์เสด็จไปประทับยังควงไม้สาละใหญ่ ตลอดเวลากลางวัน ครัVน
เวลาเย็นก็เสด็จไปยังต้นพระศรี มหาโพธิ_ ประทับนังJ บนบัลลังก์ภายใต้ร่มเงาต้นโพธิ_ และได้ทรงบําเพ็ญเพียรจนตรัสรู ้อนุตตร
สัมมาสัมโพธิญาณ เป็ นพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ในเวลารุ่ งอรุ ณยามสาม ณ วันเพ็ญเดือน Z ก่อนพุทธศักราช `a ปี
ครัVนวันเพ็ญเดือน / สองเดือนหลังตรัสรู ้ พระพุทธองค์เสด็จมาถึงบริ เวณป่ าสาละใหญ่อนั ร่ มรืJ น ณ อุทยานมฤคทายวันหรื ออิสิป
ตนมฤคทายวัน ทางทิศเหนือใกล้เมืองพาราณสี แคว้นกาสี ณ ทีJนV ี พระพุทธเจ้าทรงแสดงธรรมเทศนากัณฑ์แรกคือธัมมจัก
กัปปวัตตนสู ตร โปรดปั ญจวัคคีย ์ พระรัตนตรัยจึงเกิดครบบริ บูรณ์ครัVงแรกในโลกนีV คือ พระพุทธ พระธรรม และพระสงฆ์
ตอนพระพุทธเจ้าจะเสด็จดับขันธปริ นิพพาน
เมืJอมีพระชนมายุครบ /0 พรรษา พระพุทธเจ้าพร้อมด้วยพระภิกษุสงฆ์สาวก ได้เสด็จถึงเขตเมืองกุสินาราของมัลละกษัตริ ย ์ ใกล้
ฝัJงแม่นV าํ หิ รัญวดี เป็ นเวลาใกล้คJาํ ของวันเพ็ญเดือน Z วันสุ ดท้ายก่อนการกําเนิดพุทธศักราช ได้ประทับในบริ เวณสาลวโณทยาน
พระองค์ทรงเหน็ดเหนืJอยมาก จึงมีรับสังJ ให้พระอานนท์ซJ ึงเป็ นองค์อุปัฏฐากปูลาดพระทีJบรรทม โดยหันพระเศียรไปทางทิศ
เหนือ ระหว่างต้นสาละใหญ่ e ต้น แล้วพระองค์กท็ รงเอนพระวรกายลง ประทับไสยาสน์แบบสี หไสยาเป็ นอนุฏฐานไสยา คือ
การนอนครัVงสุ ดท้าย โดยพระปรัศว์เบืVองขวา (นอนตะแคงขวาพระบาทซ้ายซ้อนทับพระบาทขวา) และแล้วเสด็จเข้าสู่ พระ
ปริ นิพพาน
น.ส.ญาตาวี สละสาลี ห้ อง 156 เลขที่ 7

ต้นประดู่ลาย (ต้นอสนะ

ในพระไตรปิ ฎกเล่มที่ 33 พระสุ ตตันตปิ ฎก เล 25 ขุททกนิ กาย พุทธวงศ์ ติสสพุทธวงศ์ กล่าวไว้ว่า


พระพุทธเจ้าองค์ที่ 20 พระนามว่า พระติสสพุทธเจ้า ทรงบาเพ็ญเพียรอยู่ครึ่ งเดือนเต็ม จึงได้ประทับตรัสรู ้ ณ
ควงไม้ประดู่ลาย ต้นประดู่ลายหรื ตน้ ประดูแขก ในภาษาบาลีเรี ยกว่ "ต้นอสนะ" ชาวอินเดียเรี ยกว่า "ลิส โช"
และชาวฮินดูเรี ยกว่า "สิสสู "ตามพระพุทธประวัติกล่าวว่า เมื่อพระพุทธเจ้ากลับจากเทศนาโปรดพระเจ้าสุ ท
โทรนะ พระราชบิดา แล้วก็เสด็จพาพระอานนท์ พระราหุ ล พร้อมทั้งพระภิกษุสาวกบริ วาร สู่ กรุ งราชคฤห์
ประทับยังสี สปาวัน คือ ป่ าประดู่แขกหรื อประดู่ลายต้นประดู่ลายหรื อต้นประคู่แขก เป็ นพันธุ์ไม้อยู่ใ นกลุ่ม
พวกไม้พยุง ไม้ชิงชันของไทย มีชื่อทางวิทยาศาสตร์ว่า Dalbergia sissoo Roxb. จัดอยู่ในวงศ์ Leguminosae
(วงศ์พืชในตระกูลฝักถัว่ ซึ่งมีมากมายหลายร้อยชนิด)
ประดู่ลาย มีชื่อทางวิทยาศาสตร์ว่า Dalbergia errans Craib ดอกสี ม่วงอ่อนประดู่ลายหรื ประดู่แขก
เป็ นไม้ยืนต้นขนาดใหญ่ ผลัดใบ สูงราว 10-25 เมตร ลาต้นเปลาตรง เปลือกสี เทา แก่นสี น้ าตาล และมีริ้วสี คา
แชม เรื อนยอดเป็ นพุ่มใหญ่โปร่ ง ใบออกเป็ นช่อหนึ่ ๆ มีใบย่อย 3-5 ใบ ใบย่อยรู ปมน-ป้อม หรื อมนแกมรู ป
ไข่ ปลายใบแหลมใบอ่อนมีขนนุ่ม แต่พอแก่ขนจะหลุดร่ วงไป ดอกสี เหลืองอ่อนๆ ปนขาว ออกรวมกันเป็ น
ช่อสั้นๆ ตามง่มใบตามกิ่ง เมื่อออกดอกใบจะร่ วงหมด เกสรผูม้ ี 9 อัน รังไข่รูปยาวรี ๆ และจะยาวกว่าหลอด
ท่อรังไข่ ฝักรู ปบันทัดแคบๆ ปลายฝักแหลม แต่ละฝักมีเมล็ด 1-3 เมล็ด ประดู่ลายหรื อประดูแขกนี้ เป็ นพันธุ์
ไม้ด้ งั เดิมของประเทศอินเดียและกลุ่มประเทศแถบหิ มาลัย นิยมปลูกกันแพร่ หลายทัว่ ไป ในประเทศไทยเท่ที่
ทราบได้มีการนาเข้ามาปลูกไว้ที่บริ เวณที่ทาการสานักงานปไม้เขตลาปาง อ.เมือง จ.ลาปาง, ที่สวนรุ กขชาติ
มวกเหล็ก อ.มวกเหล็ก จ.สระบุรี ทั้งสองแห่ งทราบว่าสามารถให้เมล็ดพันธุ์สาหรับที่จะนาไปเพาะขยายได้
แล้ว สาหรับที่สวนพฤกษศาสตร์พุทธมณฑล จ.ครปฐม ทราบว่ได้เตรี ยมกล้ไม้ประดูไว้ปลูกบริ เวณองค์พระ
น.ส.ญาตาวี สละสาลี ห้ อง 156 เลขที่ 7

ในพุทธมณฑลเช่ นกัน เกี่ยวกับไม้ประดูน้ ี ในบนเราที่รู้จักกันแพร่ ห ลายกัน คื "ต้นประดู่ป้า" ที่มีชื่อทาง


วิทยาศาสตร์ว่า Pterocarpus macrocarpus Kurz กับ "ต้นประดู่บ้าน, ต้นประดูอินเดีย หรื อต้นประดู่องั สนา"
ที่มีชื่อทางวิทยาศาสตร์ว่า Pterocarpus indicus Willd. ซึ่ งอยู่คนละสกุลกับ "ต้นประดู่ลายหรื ตน้ ประดู่แขก"
อันเป็ นโพธิ ญาณพฤกษาของพระติสสพุทธเจ้าบางท่านให้ความเห็นว่า พระพุทธเจ้าน่ าจะเสด็ประทับในป
ประดูบ้านหรื ประดูอินเดียมากกว่า เพราะมีร่มเงาดีและชื่ อก็บอกว่า India อยู่แล้ว แต่ปรากฏว่า ประดูบ้าน,
ประดูอินเดีย หรื ประอังสนานี้ กลับเป็ นไม้พ้นื เดิมของมาเลเซี ย และอินโดนี เชีย ชาวมาเลเชียเรี ยกว่า ไม้สะ
โน แต่อินเดียไปรากฎว่ามีชื่อพื้นเมืองเรี ยกไม้ชนิดนี้
ณัฏฐณิ ชา ช้างเขียว ห้อง 156 เลขที 9

ต้ นไม้ ในพระพุทธศาสนา

ชื อต้นไม้ ต้นมะขามป้ อม

สถานทีปลูก สวนสมุนไพร หลังตึ ก 60 ปี

ต้นมะขามป้อม ในภาษาบาลีเรี ยกว่า “ต้นอามัณฑะ” หรื อ “ต้นอามลกะ” มีถินกําเนิดอยูใ่ นเอเชียตะวันออก


เฉียงใต้ ชาวฮินดูเรี ยกกันว่า “อะมะลา (AMLA)” แต่บา้ นเรารู ้จกั กันทัวไปในชือ “มะขามป้ อม” แต่ก็ยงั มีชืออืนๆ ทีเรี ยก
กันในแต่ละท้องที ได้แก่ กันโตด, กําทวด, มังลู่ สันยาส่า

ลักษณะทัวไปของต้น มะขามป้ อมคื อ เป็ นไม้ยืนต้น สู งประมาณ 8-20 เมตร เปลื อกค่อนข้า งเรี ยบเกลี ยง
สี นาตาลปนเทา
ํ เรื อนยอดรู ปร่ ม ใบเป็ นใบประกอบแบบขนนก ดอกมีขนาดเล็กสี เหลืองนวล ผลค่อนข้างกลมเกลียง มี
รอยแยกแบ่ งออกเป็ น 6 กลี บ ผลอ่อนสี เขี ยวออกเหลื อง ผลแก่สี นาตาล
ํ มีเมล็ด สี น ําตาล เป็ นพันธุ์ไม้ทีทนแล้งได้ดี
ขยายพันธุ์โดยการเพาะเมล็ด
ต้นมะขามป้ อมมีความเกียวข้องกับพระพุทธศาสนาอย่างมาก โดยมะขามป้อมปรากฏในพุทธชาดก ในส่ วน
ของประวัติของหมอชี วกโกมารภัจจ์ กล่าวคื อครังหนึ งหมอชี วกฯ ได้ถวายการรักษาแก่พระเจ้าแผ่นดิ นพระองค์หนึ ง
ด้วยการให้เนยใสซึ งพระองค์ทรงเกลียดชังนักโดยการปรุ งแต่งกลินรสกลบเสี ย เมือถวายเสร็ จก็กลัวพระเจ้าแผ่นดินจะ
พิโรธหากจับได้ว่าสิ งที เสวยเข้าไปคื อเนยใส จึงรี บเดินทางออกจากเมือ ฝ่ ายพระเจ้าแผ่นดินเมือจับได้ว่าโอสถนันเป็ น
ณัฏฐณิ ชา ช้างเขียว ห้อง 156 เลขที 9

เนยใส ก็สงให้ั มหาดเล็กไปตามหมอชี วกฯ กลับมารั บโทษฐานหลอกลวง เมือมหาดเล็กเดิ นทางมาพบ หมอชีวกฯ ก็ทาํ
อุบายเชือเชิญให้กินมะขามป้ อม โดยตนกิ นให้ดูก่อนเพือให้เห็นว่าไม่มีพิษใด ๆ แต่ซีกทีหมอชีวกฯ กินนันได้แทรกยา
ต้านฤทธิ ลงไปก่อน เมือนายมหาดเล็กกินมะขามป้ อมซี ดที ไม่ได้แทรกยาลงไปก็เกิ ดการถ่ายท้องลง ณ ตรงนันจนไร้
เรี ยวแรง สุ ดทีจะจับตัวหมอชี วกฯ กลับไปได้ หมอชี วกฯ จึ งเดิ นทางกลับโดยสวัส ดิภาพดังนีแล นอกจากในพุทธกาล
ปั จจุบนั นี แล้ว มะขามป้ อมยังจัดเป็ นต้นโพธิ ทีพระพุทธเจ้าในกาลก่อน นามว่าพระปุ ส สพุทธเจ้า ได้ตรัสรู ้สําเร็ จพระ
โพธิ ญาณอี กด้วย มะขามป้ อมยังเป็ นสมุน ไพรที มีมาตังแต่ส มัยพุท ธกาล เป็ นผลไม้ทีจัด เป็ นโอสถในตัว พระภิ ก ษุ
สามารถเก็บไว้ฉนั ได้แม้ในยามวิกาล อีกทังยังกล่าวกันว่าเป็ นสิ งที พระเจ้าอโศกมหาราชได้ถวายแก่เหล่าภิ กษุสงฆ์เป็ น
สิ งสุ ดท้ายในพระชนม์ชีพของพระองค์ท่าน มะขามป้ อมจึ งถูกนํามาใช้เป็ นแบบในการสร้างสถาปั ตยกรรมทางพุท ธ
ศาสนาหลายอย่าง อาทิเช่น เจดียท์ รงมะขามป้ อมครึ งซีกทีอินเดีย หรื อเจดียท์ ี ยอดปรางค์ทาํ เป็ นทรงมะขามป้ อมในพม่า
เป็ นต้น
น.ส.ณัฐณิชา วัฏฏสันติ เลขที่10 ห้อง156 ม.6

ต้นสาละลังกา

ข้อมูลทั่วไปของต้นสาละ
สาละลังกา หรือ ต้นลูกปืนใหญ่ (Cannonball Tree) เป็นพืชในวงศ์จิก วงศ์ Lecythidaceae (ปัจจุบันจิกอยู่ในวงศ์
Barringtoniaceae) มืชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Couroupita guianensis Aubl. ลักษณะเป็นไม้ต้นขนาดกลางถึงขนาด
ใหญ่ ไม่ผลัดใบ ลำต้นเปลาตรง เปลือกสีเทาแตกเป็นร่อง เรือนยอดเป็นพุ่มทึบ ปลายใบเป็นติ่งแหลมสั้นๆ ผิวใบเป็น
มัน ขอบใบเป็นคลื่น ดอกออกเป็นช่อสั้น ๆ ตามปลายกิ่งและง่ามใบ
ประวัติและถิ่นกำเนิด
ต้นสาละลังกา มีถิ่นกำเนิดอยู่ในแถบอเมริกาใต้ในประเทศเปรู, โคลัมเบีย, บราซิลและประเทศใกล้เคียงในปีพ.ศ.
2424สวนพฤกษศาสตร์ศรีลังกาได้นำเข้าต้นลูกปืนใหญ่จากตรินิแดดและโตเบโกต่อมาได้ขยายพันธุ์ไปทั่วศรีลังกาแต่
ชาวศรีลังกากลับเรียกต้นลูกปืนใหญ่นี้ว่า ซาล (Sal) โดยไม่ปรากฏเหตุผลและไม่ทราบความเป็นมาของต้นลูกปืนใหญ่
ส่วนมากอ้างว่านำมาจากอินเดียและที่เรียกเพราะซาลเพราะเชื่อว่าก้านชูอับเรณูที่เชื่อมกันเป็นรูปผืนผ้าตัวงอเป็นตัว U
นอนปุ่มตรงกลางเปรียบเสมือนพระแท่นที่พระพุทธเจ้าเสด็จปรินิพพานมีเกสรสีเหลืองรายล้อมเปรียบเสมือนพระสงฆ์
สาวกห้อมล้อมอยู่ส่วนด้านบนเป็นที่บังแดดและน้ำค้างประดับด้วยดอกไม้เนื่องจากมีดอกตลอดปีประกอบกับกลิ่น
หอมที่ทนนานชาวศรีลังกาจึงนิยมใช้บูชาพระเช่นดอกไม้อื่นๆ
สาละ เป็นคำสันสกฤต อินเดียเรียกต้นสาละว่า "Sal" เป็นไม้ที่มีความสำคัญเกี่ยวข้องกับพระพุทธเจ้า
โดยตรงทั้งตอนประสูติ ตรัสรู้ และปรินิพพาน จึงจะยกตัวอย่างเหตุการณ์สำคัญดังนี้
ตอนก่อนที่เจ้าชายสิทธัตถะจะตรัสรู้
เมื่อพระองค์เสวยข้าวมธุปายาสที่บรรจะอยู่ในถาดทองคำของนางสุชาดาแล้ว ได้ทรงอธิษฐานว่า ถ้าพระองค์ได้สำเร็จ
พระโพธิญาณ ขอให้การลอยถาดทองคำนี้สามารถทวนกระแสน้ำแห่งแม่น้ำเนรัญชลาได้ เมื่อทรงอธิษฐานแล้วได้ทรง
ลอยถาด ปรากฎว่าถาดทองคำนั้นได้ลอยทวนกระแสน้ำ จากนั้นพระองค์เสด็จไปประทับยังควงไม้สาละ ตลอดเวลา
กลางวัน ครั้นเวลาเย็นก็เสด็จไปยังต้นพระศรีมหาโพธิ ประทับนั่งบนบัลลังก์ภายใต้ต้นโพธิ และได้ตรัสรู้เป็นพระสัมมา
สัมพุทธเจ้าในเวลารุ่งอรุณ ณ วันเพ็ญเดือน 6
ต้นสาละลังกา หรือตันลูกปืนใหญ่มิใช่พืชพื้นเมืองของศรีลังกาและอินเดียและต่างจากต้นสาละอย่างสิ้นเชิงทั้ง
ถิ่นกำเนิดและพฤกษศาสตร์จึงได้มีการจำแนกชื่อที่พ้องกันเพื่อเรียกให้ถูกต้องว่าต้นสาละ (Sal Tree) หรือสาละอินเดีย
(Sal of India) และต้นลูกปืนใหญ่ (Cannonball Tree) หรือสาละลังกา (เรียกเฉพาะในไทย) แต่ด้วยความไม่รู้ความ
เป็นมาและชื่อเดิมชาวไทยจึงนิยมเรียกสาละอินเดียกับสาละลังกา โดยต้นสาละลังกานี้พบได้ที่บริเวณหน้าตึก 9 ของ
โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
นางสาวณัฐพร โวหาร ห้อง 156 เลขที่ 11

ต้นไม้ในพระพุทธศาสนาภายในสวนพฤกษศาสตร์ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา

ชื่อพรรณไม้ : พิกุล
สถานที่ปลูก : ลานสีบานเย็น หน้าตึกคุณหญิงบุญเลื่อน
เกี่ยวข้องกับพระพุทธศาสนา : ด้านพุทธประวัติ
ดอกพิกุล มาจากคาภาษาสันสกฤตว่า พกุล (Bakula) เป็นดอกไม้สีขาวนวล ขนาดเล็ก เมื่อบานริม
ดอกมีลักษณะเป็นจักรรูปดาว กึ่งกลางดอกมงกุฎ มีกลิ่นหอมเย็น เป็นไม้ยืนต้นขนาดใหญ่ พบทั่วไปในแถบ
เอเชีย เป็นหนึ่งในบรรดาพืชสมุนไพรที่กล่าวถึงในคัมภีร์อายุรเวท มักกล่าวถึงในคัมภี ร์ปุราณะและวรรณคดี
ของอินเดียในบริบทความรักความงาม กล่าวถึงหลายครั้งในมหากาพย์รามายณะ และมหากาพย์มหาภารตะ
ถือว่าว่าเป็นต้นไม้ที่พบในป่าคันธมัทนะ (ป่าไม้หอม) ในคัมภีร์พุทธศาสนากล่าวว่าเป็นไม้ในป่าหิมพานต์ ถือ
เป็นมงคลศักดิ์สิทธิ์
ตามคติศาสนาพุทธ และศาสนาพราหมณ์ – ฮินดู นักปราชญ์ชาวอินเดียโบราณถือว่าพิกุลเป็นต้นไม้แห่งสรวง
สวรรค์ เป็นของขวัญจากพระเป็นเจ้า ตามความในคัมภีร์พฤหัตสัมหิตา (Brihat Samhita) กล่าวว่าพิกุลเป็นไม้
ศักดิ์สิทธ์ที่ต้องปลุกไว้ใกล้บ้านหรือศาสนสถาน มักพบปลูกอยู่ตามทางเข้าวัด โดยถือว่าต้นพิกุลเป็นเพศชาย
จะปลูกไว้ที่ด้านขวาของทางเข้าวัด ขณะที่ต้นมะตาดถือว่าเป็นเพศหญิงจะปลูกไว้ทางด้านซ้าย ใบพิกุลใช้ใน
พิธีกรรมอันบริสุทธิ์ของวัด ดอกพิกุลใช้เป็นเครื่องสักการบูชาเทพเจ้ า ตามคติของคนไทยพิกุลเป็นไม้มงคล
นิยมปลูกไว้ในบ้านและวัด ดอกมักร้อยเป็นมาลัยใช้บูชาพระ ในพระไตรปิฎก เล่มที่ ๓๒ พระสุตตันตปิฎก เล่ม
ที่ ๒๔ ขุททกนิกาย อปทาน ภาค ๑ กล่าวถึงผลของการบูชาพระพุทธเจ้าด้วยดอกพิกุลว่า
นางสาวณัฐพร โวหาร ห้อง 156 เลขที่ 11

ชนทั้งหลายรู้จักชื่อเราว่านารทะ รู้จักเราว่ากัสสปะ เราได้เห็นพระพุทธ-


เจ้านามว่าวิปัสสี ผู้เลิศกว่าบรรดาสมณะ อันเทวดาสักการะ ทรงไว้ซึ่ง
อนุพยัญชนะ สมควรรับเครื่องบูชา เราถือเอาดอกพิกุลไปบูชาแด่พระ-
พุทธเจ้า ในกัลปที่ ๙๑ แต่กัลปนี้ เราได้บูชาพระพุทธเจ้าด้วยดอกไม้ใด
ด้วยการบูชานั้น เราไม่รู้จักทุคติเลย นี้เป็นผลแห่งพุทธบูชา ในกัลปที่ ๗๔
แต่กัลปนี้ ได้มีพระมหากษัตริย์พระนามว่าโรมสะ ทรงสวมพวง
ดอกไม้เป็นอาภรณ์ มียาน พล และพาหนะพรั่งพร้อม คุณวิเศษเหล่านี้
คือ ปฏิสัมภิทา ๔ วิโมกข์ ๘ และอภิญญา ๖ เราทาให้แจ้งชัดแล้ว
พระพุทธศาสนาเราได้ทาเสร็จแล้ว ดังนี้.
ทราบว่า ท่านพระวกุลปุปผิยเถระได้กล่าวคาถาเหล่านี้ ด้วยประการฉะนี้แล.

ตามความเชื่อว่าพิกุลเป็นดอกไม้แห่งสรวงสวรรค์ในอุทยานของพระอมรินทราธิราช ในพระราชพิธีอัน
เป็นมงคล เช่น พระราชพิธีบรมราชาภิเษก พระราชพิธีโสกันต์ พระราชพิธีลงสรงพระเจ้าแผ่นดินผู้ดารงอยู่ใน
ฐานะเทวราชา ทรงโปรยดอกพิกุลประดิษฐ์ด้วยทองและเงินเหมือนจริงพระราชทานแด่พราหมณ์ พระบรม
วงศานุวงศ์ และข้าทูลละอองธุลีพระบาทเป็นที่ระลึกในการพระราชพิธี เปรียบเสมือนเทพยดาทรงโปรยดอกไม้
สวรรค์ลงมาให้มนุษย์ได้ชื่นชมและเป็นสิริมงคล
นางสาวณัฐพร โวหาร ห้อง ๑๕๖ เลขที่ ๑๑
ใบงานตนไมในพระพุทธศาสนาภายในสวนพฤกษศาสตรโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา 

 
ชื่อพรรณไม  :  ตนปาริฉัตตก,  ปาริฉัตร,  ปาริชาต,  ตนทองหลาง  ชื่อสามัญ  Indian  Coral  Tree,  Variegated  coral  tree, 
Variegated Tiger’s Claw ชื่อวิทยาศาสตร Erythrina variegate Linn. จัดเปนพืชอยูในวงศ LEGUMINOSAE 
 
สถานที่ปลูก : หองสมุด 
 
ลักษณะ  :  ไมตนขนาดกลาง  สูง  10-25  เมตร  ผลัดใบ  เรือนยอดทรงกลมทึบ  เปลือกสีน้ำตาลอมเทามีลายสีขาวคลายรองแตก
ตามแนวยาว  ลำตนและกิ่งมีหนามสั้นสีดำ  ดอกสีแสดแดงหรือสีขาว  ดอกรูปถั่ว  กลีบดอกสีแดงหรือสมมี  5  กลีบ  เรียงซอนทับ
กัน มีกลิ่นหอมออนๆ 
 
ปาริฉัตตกเปนตนไมที่เปนสัญลักษณของสวรรคชั้นดาวดึงส ในพระไตรปฎกบอกไววา เมื่อตนปาริชาตในดาวดึงสบานเต็มที่แลว 
เทวดาชั้นดาวดึงสตางพากันดีใจ  เอิบอิ่มพรั่งพรอมดวยกามคุณ  ๕  บำรุงบำเรออยูตลอดระยะ  ๕  เดือนทิพย  ณ  ใตตนปาริชาต 
ซึ่งเมื่อบานเต็มที่แลว  แผรัศมีไปได  ๕๐  โยชน  ในบริเวณรอบๆ  และจะสงกลิ่นไปได  ๑๐๐  โยชนตามลม  และในพรรษาที ่ ๗ 
ภายหลังตรัสรู  พระพุทธเจาทรงเสด็จประทับภายใตรมไมปาริฉัตตก  ณ  ดาวดึงสเทวโลก  ทรงแสดงธรรมโปรดพระพุทธมารดา
ตลอดสามเดือนพระพุทธมารดาไดทรงบรรลุพระโสดาปตติผล  สวนเทพยดาในโลกธาตุที่มาประชุมฟงธรรมบรรลุผลสุดที่จะ
ประมาณ 
 
 

ณัฐยา อินทนะนก ม.6 หอง 156 เลขที่ 12 


น.ส. ณิชาภา สาสุนทรา ห้อง 156 เลขที่ 13

ใบงานการศึกษาต้นไม้ในพระพุทธศาสนาภายในโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
“ต้นกรรณิการ์”

ต้นกรรณิการ์ มีชื่อทางวิทยาศาสตร์ว่า Nyctanthes Arbortristis Linn. อยู่ในวงศ์ OLEACEAE มีชื่อสามัญอีกชื่อหนึ่ง


เรียกว่า มะลิบานราตรี ถิ่นกาเนิดของพืชชนิดนี้อยู่ที่ประเทศอินเดีย ลังกา พม่า และไทย ต้นกรรณิการ์จัดอยู่ในกลุม่ ไม้พุ่มยืนต้น
ขนาดกลาง ลักษณะทั่วไปของต้นไม้ชนิดนี้ มีลักษณะลาต้นสูงประมาณ 2 - 4 เมตร เปลือกของลาต้นนัน้ มีสีขาว เป็นไม้ใบเดีย่ วแต่
ออกเป็นคู่ ๆ สลับกันไปตามข้อของต้น ต้นกรรณิการ์เป็นพืชดอก มีดอกสีขาว ออกเป็นช่อดอกเล็ก ๆ กระจายที่ปลายกิ่ง ประมาณ
ช่อละ 5 - 8 ดอก ดอกมี 6 กลีบ ดอกของกรรณิการ์มีกลิ่นหอมแรง บานกลางคืน แต่พอถึงตอนเช้าก็จะร่วงและก็ตูมขึ้นมาใหม่อีก
จนกว่าดอกจะหมดในทุก ๆ กรวย เป็นพืชทีอ่ อกดอกตลอดปีและจะออกมากในช่วงย่างเข้าหน้าหนาว ประมาณเดือนพฤศจิกายน
ถึงต้นเดือนมกราคม ภายในโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษามีต้นกรรณนิการ์ปลูกอยู่บริเวณตึก 9

ความเกี่ยวข้องของระหว่างต้นกรรณิการ์และพระพุทธศาสนา

มีปรากฏอยู่ในพระไตรปิฎกเล่มที่ 33 พระสุตตันตปิฎก เล่ม 25 ขุททกนิกาย พุทธวงศ์ สิทธัตถพุทธวงศ์ กล่าวไว้ว่า


พระพุทธเจ้าองค์ที่ 19 พระนามว่า พระสิทธัตถพุทธเจ้า (มิใช่พระพุทธเจ้าองค์ปัจจุบัน) ทรงบาเพ็ญเพียรอยู่ 10 เดือนเต็ม จึงได้
ประทับตรัสรู้ ณ ควงไม้กรรณิการ์ แต่เมื่อพิจารณาจากต้นไม้ตรัสรู้ของพระพุทธเจ้าทุกพระองค์ จะพบว่าเป็นต้นไม้ที่มีขนาดใหญ่
ให้ร่มเงาแผ่กว้าง ดังนั้น “ต้นกรรณิการ์อินเดีย” น่าจะเป็นโพธิญาณพฤกษาของพระสิทธัตถพุทธเจ้ามากกว่า แต่อย่างไรก็ตาม
พรรณพืชต่าง ๆ ก็มีการเปลี่ยนแปลงสายพันธุ์ไปตามการเวลา จึงไม่สามารถสรุปได้แน่ชัด แต่ก็ยังมีการกล่าวถึงต้นกรรณิการ์ใน
พระไตรปิฎกของพระพุทธศาสนา

นอกจากนี้ดอกกรรณิการ์ยังมีปรากฏในพระสุตันตปิฎก อรรถกถา ขุททกนิกาย เถรคาถา ทสกนิบาต อรรถกถาอุปเสนวัง


คันตปุตตเถรคาถาที่ ๖ กล่าวว่าในยุคของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าพระนามว่า ปทุมุตตระ ดอกกรรณิการ์ได้เคยถวายโดยกุลบุตรผู้มี
บุญทานหนึ่งให้แด่พระผู้มีพระภาค ทาให้พระผู้มีพระภาคทรงเห็นความตั้งใจตั้งใจบารุงพระองค์ทไี่ ด้เอาดอกกรรณิการ์มาประดับ
ฉัตรถวาย และทรงมองเห็นมหานิสงส์ที่บังเกิดขึ้น ส่งผลให้ในชาติสดุ ท้าย กุลบุตรผู้นไี้ ด้มาเกิดในสมัยพุทธกาลเป็น พระอุปเสนเถระ
น.ส.ตีระจิต ชุม่ ภิรมย์ ม.6 ห้ อง 156 เลขที่14

งานพฤกษศาสตร์ ต้ นไม้ กบั พระพุทธศาสนา

ต้ นอ้ อยช้ าง

ต้ นอ้ อยช้ าง มีชื่อวิทยาศาสตร์ วา่ Lannea coromandelica มีชื่ออื่น ๆ เช่น กอกกัน หวีด กุ๊ก ต้ น
อ้ อยช้ างเป็ นไม้ ยืนต้ น สูง 8-15 เมตร เปลือกต้ นเรี ยบ หรื อแตกเป็ นสะเก็ดสี่เหลี่ยม มียางเหนียวใส ไม่ออก
กิ่งก้ านมาก กิ่งก้ านค่อนข้ างจะเรี ยวเล็ก ใบประกอบแบบขนนก ปลายคี่ ออกเป็ นเรี ยงเวียน ลักษณะใบย่อย
เป็ นรูปไข่หรื อรูปไข่แกมรูปหอก ปลายแหลม ต้ นอ้ อยช้ างจะสลัดใบเมื่อออกดอก ดอกอ้ อยช้ างออกเป็ นช่อสี
เหลืองอ่อน เป็ นช่อดอกเชิงลด ห้ อยลงมาจากกิ่งที่ไม่มีใบ ผลอ้ อยช้ างมีลกั ษณะของผลเป็ นรูปถัว่ ผลเป็ นสี
เขียวแต้ มสีมว่ งแดง ผลแก่เป็ นสีมว่ งอมแดง ภายในผลจะมีเมล็ดเพียง 1 เมล็ด ขยายพันธุ์ด้วยเมล็ดและ
ตอนกิ่ง ต้ นอ้ อยช้ างมีสรรพคุณสมานแผล แก้ ปวดฟั น แก้ กระหายนํ ้า

ต้ นอ้ อยช้ างมีความเกี่ยวข้ องกับพระพุทธศาสนา เนื่องจากต้ นอ้ อยช้ างปรากฎอยูใ่ นพระไตรปิ ฎก


เล่มที่ 33 พระสุตตันตปิ ฎกเล่มที่ 25 ขุททกนิกาย ในเรื่ องพุทธวงศ์ ที่กล่าวว่า พระพุทธเจ้ า 3 พระองค์ได้
ตรัสรู้ที่ต้นอ้ อยช้ างใหญ่ หรื อต้ นมหาโสณกะ ซึง่ พระพุทธเจ้ า 3 พระองค์นนั ้ ได้ แก่ พระพุทธเจ้ าองค์ที่ 11
พระปทุมพุทธเจ้ า ผู้ทรงบําเพ็ญเพียร 8 เดือนเต็ม พระพุทธเจ้ าองค์ที่ 12 พระนารถพุทธเจ้ า ผู้ทรงบําเพ็ญ
เพียร 7 วัน และพระพุทธเจ้ าองค์ 21 พระเวสสภูพทุ ธเจ้ า ผู้ทรงบําเพ็ญเพียร 7 เดือนเต็ม แต่บางตําราก็
บอกว่าพระเวสสภูพทุ ธเจ้ าตรัสรู้ใต้ ต้นสาละ ซึง่ ในการค้ นคว้ าทางพฤกษศาสตร์ ไม่มีพบต้ นอ้ อยช้ างใหญ่ มี
เพียงแต่ต้นอ้ อยช้ างเท่านัน้ จึงสันนิษฐานว่าน่าจะเป็ นต้ นอ้ อยช้ างขนาดใหญ่ ตามคําว่ามหาที่แปลว่าใหญ่

ต้ นอ้ อยช้ างในโรงเรี ยนเตรี ยมอุดมศึกษาพบได้ ที่บริเวณตึก60ปี


น.ส. ธัญพิชชาฌ์ โลหิ ตหาญ ม.6 ห้อง 156 เลขที่ 16

ทองกวาว
มีถิ่นกำเนิดในแถบเอเชียใต้ จำกประเทศไทย ลำว กัมพูชำ เวียดนำม มำเลเซีย ศรีลังกำ เนปำล บังกลำเทศ ปำกีสถำน
อินเดีย และในแถบทำงภำคตะวันตกของอินโดนีเซีย
ลำต้น ไม้ยืนต้น สูง 12-18 เมตร เปลือกต้นเป็นปุม่ ปม สีนำตำลอ่อน กำรแตกกิ่งก้ำนทิศทำงไม่เป็นระเบียบ กิ่งอ่อนมีขน
ละเอียดหนำ ใบประกอบแบบขนนก มีใบย่อย 3 ใบเรียงสลับ ใบย่อยที่ปลำยเป็นรูปไข่แกมสีเ่ หลีย่ มขนมเปียกปูน ขนำดใหญ่สดุ
ส่วนใบย่อยด้ำนข้ำงจะเป็นรูปไม่เบียว มีขอบใบเรียบ โคนเบียว ปลำยมน ออกดอกเป็นช่อ ตำมกิ่งเหนือรอยแผลใบและตำมปลำย
กิ่ง ดอกสีแสด ฐำนรองดอกเชื่อมติดกันเป็นรูปถ้วย ลักษณะเป็นดอกถั่วขนำดใหญ่มี 5 กลีบ แบ่งเป็นกลีบกลำง 1 กลีบ กลีบคู่ข้ำง
2 กลีบแยกออกทัง 2 ข้ำง และกลีบคู่ล่ำง ที่เชื่อมติดกัน 2 กลีบ เกสรผู้ 10 เกสร แยกเป็นอิสระ 1 เกสร อีก 9 เกสร โคนก้ำนเชื่อม
ติดกันเป็นหลอด
บริเวณที่ปลูก : ตึกวิทยำศำสตร์
เนือหำที่เกี่ยวกับพระพุทธศำสนำ :
อรรถกถา กิงสุโกปมชาดก
ว่ำด้วยคนไม่รู้ธรรมด้วยญำณย่อมสงสัยในธรรม
พระศำสดำเมื่อประทับอยู่ ณ พระเชตวันมหำวิหำร ทรงปรำรภกิงสุโกปมสูตร ตรัสพระธรรมเทศนำนี มีคำเริม่ ต้นว่ำ สพฺ
เพหิ กึสุโก ทิฏฺโฐ ดังนี
ได้ยินว่ำ ภิกษุ ๔ รูปเข้ำไปเฝ้ำพระตถำคตทูลขอกรรมฐำน พระศำสดำทรงบอกกรรมฐำนแก่ภิกษุเหล่ำนัน ภิกษุเหล่ำนัน
เรียนกรรมฐำนไปสู่ที่พักกลำงคืนที่พักกลำงวัน ในภิกษุเหล่ำนัน ภิกษุรูปหนึ่งกำหนดผัสสำยตนะ ๖ บรรลุพระอรหัตแล้ว รูปหนึ่ง
กำหนดขันธ์ ๕ รูปหนึ่งกำหนดมหำภูต ๔ รูปหนึ่งกำหนดธำตุ ๑๘ ภิกษุเหล่ำนันกรำบทูลคุณวิเศษที่ตนบรรลุแด่พระศำสดำ
ในบรรดำภิกษุเหล่ำนันมีรูปหนึ่งเกิดควำมปริวติ กว่ำ กรรมฐำนเหล่ำนันมีข้อแตกต่ำงกัน แต่นิพพำนเป็นอย่ำงเดียวกัน
ภิกษุทังหมดบรรลุอรหัตได้อย่ำงไร จึงทูลถำมพระศำสดำ
พระศำสดำตรัสว่ำ ดูก่อนภิกษุ เธอก็ไม่ต่ำงกันกับพี่น้อง ๔ คนที่เห็นต้นทองกวำว ภิกษุทังหลำยกรำบทูลอำรำธนำว่ำ ข้ำ
แต่พระองค์ผเู้ จริญ ขอพระองค์ทรงแสดงเหตุนีแก่ข้ำพระองค์เถิด ทรงนำเรื่องอดีตมำตรัสเล่ำ
ในอดีตกำล ครังพระเจ้ำพรหมทัตเสวยรำชสมบัติอยู่ในกรุงพำรำณสี พระองค์มีพระโอรส ๔ พระองค์วนั หนึ่งโอรสทัง ๔
ตรัสเรียกสำรถีมำตรัสว่ำ ดูก่อนสหำย พวกเรำอยำกเห็นต้นทองกวำว ท่ำนจงแสดงต้นทองกวำวมำให้พวกเรำดูเถิด
สำรถีรบั ว่ำ ดีละ พระเจ้ำข้ำ ข้ำพระองค์จักแสดง แต่ไม่แสดงแก่รำชบุตรทัง ๔ พร้อมกัน ให้รำชบุตรองค์หนึ่งประทับนัง่
บนรถไปก่อน พำไปในป่ำแล้วชีให้ดูต้นทองกวำวในเวลำสลัดใบว่ำนีคือต้นทองกวำว อีกองค์หนึ่งให้ดูในเวลำออกใบอ่อน อีกองค์
หนึ่งให้ดูเวลำออกดอก อีกองค์หนึ่งให้ดูในเวลำออกผล
ต่อมำ รำชบุตรทัง ๔ พี่น้องประทับนั่งพร้อมหน้ำกัน จึงไต่ถำมกันขึนว่ำ ชื่อว่ำต้นทองกวำวเป็นเช่นไร องค์ที่หนึ่งตรัสว่ำ เหมือนตอ
ไหม้ไฟ องค์ที่สองตรัสว่ำ เหมือนต้นไทร องค์ที่สำมตรัสว่ำ เหมือนชินเนือ องค์ที่สี่ตรัสว่ำ เหมือนต้นซึก ทัง ๔ พระองค์ไม่ตกลงตำม
คำของกันและกัน จึงไปเฝ้ำพระบิดำ ทูลถำมว่ำ
น.ส. ธัญพิชชาฌ์ โลหิ ตหาญ ม.6 ห้อง 156 เลขที่ 16

“ข้ำแต่พระบิดำ ชื่อว่ำต้นทองกวำวเป็นอย่ำงไร” เมื่อพระรำชำตรัสว่ำ “พวกเจ้ำว่ำกันอย่ำงไรเล่ำ” จึงกรำบทูลพระรำชำ


ตำมที่ถกเถียงกัน พระรำชำตรัสว่ำ “พวกเจ้ำแม้ทังสี่ได้เห็นต้นทองกวำวแล้ว เป็นแต่สำรถีผู้แสดงต้นทองกวำว พวกเจ้ำมิได้ไต่ถำม
จำระไนออกไปว่ำ ในกำลนีต้นทองกวำวเป็นเช่นไร ด้วยเหตุนัน ควำมสงสัยจึงเกิดขึนแก่พวกเจ้ำ” ตรัสคำถำแรกว่ำ
ท่านทุกคนเห็นต้นทองกวาวแล้ว ยังจะสงสัยในต้นทองกวาวนั้น เพราะเหตุไรหนอ ท่านทั้งหลายหาได้ถามสารถีให้ถี่ถ้วน
ในที่ทั้งปวงไม่
พระศำสดำทรงแสดงเหตุนีแล้วตรัสว่ำ ภิกษุเหมือนอย่ำงพี่น้องทัง ๔ เกิดควำมสงสัยในต้นทองกวำว เพรำะมิได้ไต่ถำมให้ถ้วนถี่ฉัน
ใด แม้เธอสงสัยเกิดขึนในธรรมนี ก็ฉันนันเหมือนกัน
พระองค์ตรัสรู้แล้ว ได้ตรัสคำถำที่ ๒ ว่ำ
บุคคลเหล่าใด ยังไม่รู้ธรรมทั้งหลาย ด้วยญาณทั้งปวง บุคคลเหล่านัน้ แล ย่อมสงสัยในธรรมทั้งปวง เหมือนพระราชบุตร ๔
พระองค์ทรงสงสัยในต้นทองกวาวฉะนั้น
เนือควำมแห่งคำถำนันว่ำ เหมือนอย่ำงพี่น้องเหล่ำนันสงสัยแล้ว เพรำะไม่เห็นต้นทองกวำวทุกฐำนะ ฉันใด ธรรมทังปวง
แยกประเภทเป็นผัสสะ ๖ อำยตนะ ขันธ์ ภูตและธำตุ ชนเหล่ำใดไม่ได้ให้เกิดด้วยวิปัสสนำญำณทังปวง คือมิได้แทงตลอด เพรำะยัง
ไม่ได้บรรลุโสดำปัตติมรรค ชนเหล่ำนันย่อมสงสัยในธรรมมีผสั สะ ๖ และอำยตนะเป็นต้น เหมือนพี่น้องทังสี่สงสัยในต้นทองกวำวต้น
เดียวกันฉันนัน
พระศำสดำทรงนำพระธรรมเทศนำนีมำแล้ว ทรงประชุมชำดก
พระเจ้ำกรุงพำรำณสีในครังนัน คือ เรำตถำคต นีแล
นางสาว ธิตยา อิสสระ เลข

สวนพฤกษศาสตร์ ที่17 ห้อง156

ต้นโมก
จากเรื่อง อันตชาดก ว่าด้วย ที่สุด ๓ ประเภท คนชั่วสรรเสริญกันเอง

พระศาสดา เมื่อประทับอยู่ ณ พระเชตวันวิหาร ทรงปรารภ
คนทั้งสองคือพระเทวทัตกับพระโกกาลิกะนั้นนั่นแหละ จึง
ตรัสเรื่องนี้

ในอดีตกาล เมื่อพระเจ้าพรหมทัตครองราชสมบัติใน
พระนครพาราณสี พระโพธิสัตว์บังเกิดเป็นรุกขเทวดาอยู่ที่
ต้นโมก ในบริเวณบ้านแห่งหนึ่ง
 
ในกาลนั้น ชาวบ้านลากโคแก่ซึ่งตายในบ้านนั้น ไปทิ้งที่ป่า
ใกล้ประตูบ้าน มีสุนัขจิ้งจอกตัวหนึ่งมากินเนื้อของโคแก่ตัว
นั้น. มีกาตัวหนึ่งบินมาจับอยู่ที่ต้นโมกเห็นดังนั้นจึงคิดว่า ถ้า
กระไร เรากล่าวคุณกถาอันไม่มีจริงของสุนัขจิ้งจอกตัวนี้แล้ว
จะได้กินเนื้อ
ทหลังจากกล่าวคาถา รุกขเทวดาเห็นกิริยาของสัตว์ทั้งสอง
นั้นจึงกล่าวว่า
" บรรดามฤคชาติทั้งหลาย สุนัขจิ้งจอกเป็นเลวที่สุด บรรดา
ปักษีทั้งหลาย กาเป็นเลวที่สุด บรรดารุกขชาติทั้งหลาย ต้น
ละหุ่งเป็นเลวที่สุด ที่สุดทั้ง ๓ ประเภทมาสมาคมกันแล้ว."

โมกเป็นพรรณไม้ยืนต้นขนาดกลาง
ลำต้นมีความสูงประมาณ 5-12 เมตร
ผิวเปลือกสีน้ำตาลดำ ลำต้นกลมเรียบมี
โมกเป็นพรรณไม้ยืนต้นขนาดกลาง ลำต้นมีความ
จุดเล็ก ๆสีขาวประทั่วต้น แตกกิ่งก้าน
สูงประมาณ 5-12 เมตร ผิวเปลือกสีน้ำตาลดำ
สาขาออกรอบลำต้นไม่เป็นระเบียบใบ
ลำต้นกลมเรียบมีจุดเล็ก ๆสีขาวประทั่วต้น แตกกิ่ง
เป็นใบเดียวออกเรียงกันเป็นคู่ตามก้าน
ก้านสาขาออกรอบลำต้นไม่เป็นระเบียบใบเป็นใบ
ใบ
เดียวออกเรียงกันเป็นคู่ตามก้านใบ

คนไทยโบราณเชื่อว่าบ้านใดปลูกต้นโมก
คนไทยโบราณเชื่อว่าบ้านใดปลูกต้นโมกไว้ประจำ
ไว้ประจำบ้านจะทำให้เกิดความสุขความ โมก
บ้านจะทำให้เกิดความสุขความบริสุทธิ์เพราะ
บริสุทธิ์เพราะ
หรือ โมก หรือ โมกข หมายถึง
โมกข หมายถึงผู้ที่หลุดพ้นด้วยทุกข์ทั้งปวง 
สำหรับส่วนของดอกก็มีลักษณะ
ผู้ที่หลุดพ้นด้วยทุกข์ทั้งปวง สีขาว สะอาด มี
กลิ่นหอมสดชื่นตลอดวัน นอกจากนี้ ยังช่วย
สำหรับส่วนของดอกก็มีลักษณะ สีขาว
คุ้มครองปกป้องภัยอันตรายเพราะต้นโมกบางคน
สะอาด มีกลิ่นหอมสดชื่นตลอดวัน
เรียกว่าต้นพุทธรักษา
นอกจากนี้ ยังช่วยคุ้มครองปกป้องภัย
อันตรายเพราะต้นโมกบางคนเรียกว่าต้น
พุทธรักษา
น้ ำทิพยรัตน์ กูลพำนัก ห้อง 156 เลขที่ 18

ความเกีย่ วข้ องระหว่างต้นข่ อยกับพระพุทธศาสนา


เปลือกของต้นข่อยเป็ นวัตถุดิบสำคัญที่ใช้ทำกระดำษในสมัยก่อน มีควำมทนทำนสู ง เรี ยกสมุดข่อย
สมุดข่อยนี้ไม่เสื่ อมสลำยได้ง่ำยในภูมิอำกำศร้อนชื้นอย่ำงในประเทศไทย นอกจำกนี้ยงั มีสรรพคุณอื่น ๆ อีก นั้น
คือ ติดไฟได้ยำกและต้ำนทำนแมลงกัดกินกระดำษได้ดี จึงถือได้วำ่ ต้นข่อยนั้นมีควำมสำคัญต่อกำรเก็บรักษำ
เอกสำรต่ำง ๆ เช่น พระไตรปิ ฎกและตำรำพุทธศำสนำ ทำให้หลักคำสอนของพระพุทธศำสนำตกทอดมำจนถึง
ปัจจุบนั
นอกจำกจะมีประโยชน์ในด้ำนกำรจดบันทึกแล้ว ต้นข่อยยังมีประโยชน์อีกมำกมำย เช่น ในด้ำนกำรทำ
ควำมสะอำดฟัน คนสมัยก่อนจะใช้กิ่งข่อยกับเกลือสะตุในกำรแปรงฟัน ในพระพุทธศำสนำยังกล่ำวถึง
ประโยชน์ของต้นข่อยในพระสูตรที่เรี ยกว่ำ ทันตกัฏฐสูตร (พระไตรปิ ฎกเล่มที่ 22 พระสุตนั ตปิ ฏกเล่มที่ 14 อัง
คุตตรนิกำย ปัญจก-ฉักกนิบำต) กล่ำวถึงประโยชน์ของกำรใช้ไม้ข่อย (ไม้สีฟัน) ดังนี้
“ดูกรภิกษุท้ งั หลำย โทษเพรำะไม่เคี้ยว ไม้สีฟัน 5 ประกำรนี้ 5 ประกำร เป็ นไฉน คือ ตำฟำง 1 ปำก
เหม็น 1ประสำทที่นำรสอำหำรไม่หมดจดดี 1 เสมหะย่อมห่อหุม้ อำหำร 1 อำหำรย่อมไม่อร่ อยแก่เขำ 1 ดูกรภิกษ
ทั้งหลำย โทษเพรำะไม่เคี้ยวไม้สีฟัน 5 ประกำรแล ฯ”
นางสาวปณิดา มกรากร ห้ อง156 เลขที่19

ใบงานสวนพฤกศาสตร์

บัวสวรรค์

บัวสวรรค์ หรื อ กัตตาเวีย เป็ นพืชดอก มีถิ่นกาเนิดมาจากเขตร้ อนในทวีปอเมริ กากลาง และอเมริกาใต้ บริ เวณประเทศโคลัมเบีย คอสตาริ กา และปานามา ดังนันจึ
้ งสามารถปลูกและ
ให้ ดอกในประเทศไทย

เป็ นไม้ ต้น สูงได้ ถึง 15 ม. ใบเรี ยงเวียนหนาแน่นที่ปลายกิ่ง รู ปใบหอกแกมรู ปไข่กลับ อาจยาวได้ ถงึ 1 ม. ขอบจักฟั นเลื่อย ก้ านใบยาวได้ ถึง 11 ซม. ช่อดอกแบบช่อเชิงหลัน่ สัน้ ๆ ออก
ตามซอกใบ ก้ านดอกยาวได้ ถงึ 8 ซม. กลีบเลี ้ยงรู ปถ้ วยแบนขอบเรี ยบ กว้ างประมาณ 2.5 ซม. กลีบดอกสีขาวอมม่วงอ่อน มี 6-8 กลีบ รูปใบพาย ยาวไม่เท่ากัน ยาวได้ ถึง 7 ซม.
เกสรเพศผู้จานวนมาก โคนเชื่อมติดกันประมาณหนึง่ ในสาม โค้ งเข้ า ยาวประมาณ 4 ซม. รังไข่ใต้ วงกลีบ ก้ านเกสรเพศเมียสัน้ ผลแห้ งแตกแบบมีฝาปิ ด (pyxidia) กลม ปลายแบน
กว้ าง 7-10 ซม. ยาวได้ ถึง 8 ซม. ผิวมีช่องอากาศกระจาย เมล็ดรู ปร่ างไม่แน่นอน ยาวประมาณ 6 ซม.

จากเรื่ อง อารามทูสกชาดก

ในอดีตกาล เมื่อพระเจ้ าวิสสเสนะครองราชย์สมบัตอิ ยู่ในพระนครพาราณสี เมื่อเขาป่ าวประกาศการเล่นมหรสพ นายอุทยานบาลคิดว่าจักเล่นมหรสพ จึงบอกลิงทังหลายที


้ ่อยู่ในสวน
ว่า สวนนี ้มีอปุ การะมากแก่พวกเจ้ า เราจักเล่นมหรสพ ๗ วัน พวกเจ้ าจงรดน ้าต้ นบัวสวรรค์ที่ปลูกใหม่ตลอด ๗ วัน พวกลิงรับคาว่าได้ นายอุทยานบาล จึงมอบกระออมหนังให้ แก่ลงิ
เหล่านันแล้
้ วก็จากไป ลิงทังหลายเมื
้ ่อจะรดน ้า จึงรดน ้าที่ต้นบัวสวรรค์ซงึ่ ปลูกใหม่ๆ ลาดับนัน้ ลิงจ่าฝูงได้ กล่าวกะลิงเหล่านันว่
้ า พวกท่านจงรอก่อน ธรรมดาว่าน ้ามิใช่จะหาได้ ง่าย
ตลอดทุกเวลา น ้านันควรจะรั
้ กษา ควรที่พวกเราจะถอนต้ นบัวสวรรค์ที่ปลูกใหม่ รู้ขนาดประมาณของรากแล้ ว ต้ นที่มีรากยาวรดให้ มาก ต้ นที่มีรากสัน้ รดแต่น้อย ลิงเหล่านันพากั
้ น
รับคาว่าดีละ บางพวกเดินถอนต้ นบัวสวรรค์ที่ปลูกใหม่ บางพวกปลูกแล้ วรดน ้า ในกาลนัน้ พระโพธิสตั ว์ได้ เป็ นบุตรของตระกูลหนึง่ ในนครพาราณสี พระโพธิสตั ว์ได้ ไปสวน ด้ วย
กรณียกิจบางอย่าง เห็นลิงเหล่านันกระท
้ าอยู่อย่างนัน้ จึงถามว่า ใครให้ พวกเจ้ ากระทาอย่างนี ้ เมื่อพวกลิงตอบว่า หัวหน้ าวานร จึง กล่าวว่า ปั ญญาแห่งหัวหน้ าของพวกเจ้ ายังเท่านี ้
แล้ วปั ญญาของพวกเจ้ าจักเป็ นเช่นไร เมื่อจะประกาศเนื ้อความนัน้ จึงกล่าว คาถาที่ ๑ ว่า :

ลิ งตัวใด สมมุติกนั ว่า เป็ นใหญ่กว่าฝูงลิ งเหล่านี ้ ปัญญาของลิ งตัวนัน้ มี อยู่เพี ยงอย่างนีเ้ ท่านัน้ ฝูงลิ งทีเ่ ป็ นบริ วารนอกนี ้ จะมี ปญ
ั ญาอะไร

วานรทังหลายได้
้ ฟังถ้ อยคาของพระโพธิสตั ว์นนแล้
ั ้ ว จึงกล่าว คาถาที่ ๒ ว่า :

ข้าแต่ทา่ นผูป้ ระเสริ ฐ ท่านยังไม่รู้อะไร ไฉนมาด่วนติ เตี ยนเราต่างๆ อย่างนีเ้ ล่า เรายังไม่เห็นรากไม้แล้ว จะพึงรู้ตน้ ไม้ว่า รากหยัง่ ลงไปลึกได้อย่างไรเล่า?

พระโพธิสตั ว์ได้ ฟังดังนันจึ


้ งกล่าวคาถาที่ ๓ ว่า :

เราไม่ติเตี ยนท่านทัง้ หลาย พวกท่านเป็ นลิ งไพร อาศัยอยู่ในป่ า แต่ว่า นายอุยยานบาลทัง้ หลาย ผูป้ ลูกต้นไม้ เพื ่อประโยชน์แก่พระราชาพระองค์ใด พระราชาพระองค์นนั้ คื อ พระ
เจ้าวิ สสเสนะ จะพึงถูกติ เตียนได้

พระศาสดาครัน้ ทรงนาพระธรรมเทศนานี ้มาแสดงแล้ ว ทรงประชุมชาดกว่า หัวหน้ าวานร ในกาลนัน้ ได้ เป็ นกุมารผู้ทาลายต้ นไม้ ในสวน ในบัดนี ้ ส่วนบุรุษผู้เป็ นบัณฑิ ตในกาลนัน้ ได้
เป็ นเราตถาคต ฉะนี ้แล
น.ส.ปาละตา ขาํ เจริ ญ ห้อง 156 เลขที่ 20

ใบงานตน
้ ไมใ้ นพระพุทธศาสนาภายในสวนพฤกษศาสตร์
ึ ษา
โรงเรี ยนเตรี ยมอุดมศก

ชื่อพรรณไม้ : ลีลาวดี, ดอกลั่นทม, จาํ ปา มีช่ือเรี ยกทางวิทยาศาสตร์วา่ Plumeria ssp. ในวงศ ์ APOCYNACEAE ชื่อ
สามัญ Frangipani

สถานที่ปลูก : หน้าศาลาปิ่ นหทัย, ขา้ งห้องนํา้ ตึกคุณหญิงหรั่งกันตารัตน์

เกี่ยวขอ
้ งกับพุทธศาสนาดา้ น : พระพุทธศาสนานิ กายมหายาน

ดอกลีลาวดีมีลักษณะเป็ นไมพ ้ ุม ่ ขนาดกลาง เปลือกลาํ ตน ้ หนา กิ่งออ่ นดูอมนํา้ มียางสีขาวเหมือนนม ใบรี ใหญส ่ เี ขียว
ออกดอกทีละหลายดอก หนึ่ งดอกมี 4-5 กลีบ มีหลายสีซ่ึงขึ้นอยูก ่ ั บชนิ ดและสายพันธุ ์
ความเชื่อเรื่ องดอกไมช้ นิ ดนี้ ในพระพุทธศาสนานิ กายมหายาน โดย Alice Getty สั นนิ ษฐานวา่ เป็ นสว่ นประกอบของ
ลักษณะของพระพุทธเจา้ ที่จะลงมาตรัสรู้ เป็ นสั มมาสั มพุทธเจา้ องคต ์ อ่ ไป ตอ่ จากพระโคตมพุทธเจา้ นัน ้ คือพระศรี อารยเมต
ไตรย ลักษณะนัน ้ คือ จะตอ ้ งมีรูปสถูปปรากฎบนชฎามงกุฎ หรื อดา้ นหน้าของมวยผม และแผน ่ ผา้ กุฎสิ ูตรพันอยูร่ อบเอว ผูก

เป็ นปมอยูข่ า้ งใดขา้ งหนึ ง สว่ นมากจะเป็ นขา้ งซา้ ย มีชายห้อยลงมา
อยา่ งไรก็ตาม สั ญลักษณ์ท่ีปรากฏบนมวยผมอาจจะไมใ่ ชส ่ ถูปเสมอไป เพราะบางครัง้ เครื่ องประดับบนศรี ษะจะเป็ นลักษณะของ
ผา้ โพกศรี ษะ และมีดอกไมป ่ ่ีผา้ โพกศรี ษะดว้ ย โดยเฉพาะดอกไมน
้ ระดับอยูท ้ จะอยูข่ า้ งหน้าของผา้ โพกศรี ษะเสมอ ดอกไมท
้ ัน ้ ่ี
ปรากฏอยูบ ่ นผา้ โพกศรี ษะหรื อบนเครื่ องประดับบนศรี ษะของพระศรี อารยเมตไตรยนัน ้ หมายถึงดอก “นาคเกษร” หรื อ “ดอก
จาํ ปา” ซึ่งเป็ นสั ญลักษณ์ของพระศรี อารยเมตไตรย และยังหมายถึงตน ้ ่ีพระศรี อารยเมตไตรยจะลงมาตรัสรู้ กไ็ ด้
้ ไมท
นอกจากนี้ ชื่อที่เรี ยกดอกจาํ ปา หรื อ ลั่นทม ไดม ้ ีการเปลี่ยนชื่อเป็ นลีลาวดีเนื่ องจากคาํ วา่ ลั่นทม มีความเชื่อในทาง
อัปมงคลเนื่ องจากไปพอ่ งเสียงกับคาํ วา่ ระทม ซึ่งแปลวา่ เศร้าโศกทุกขใ์ จ นอกจากนี้ ลีลาวดียังมีความหมายทางพระพุทธศาสนา
โดยเป็ นการอิงเรื่ องราวความรักตา่ งชนชั นของหญิ ้ งที่ช่ือลีลาวดีกับเรวตะที่เกิดขึ้นในสมัยพุทธกาลอีกดว้ ย
น.ส.พัชรชวัล พิธานพร ห้อง 156 เลขที่ 21
ต้นปาริ ชาต (ทองหลาง)

สถานที่ : หน้าห้องสมุดโรงเรี ยนเตรี ยมอุดมศึกษา


ปาริ ชาต หรื อปาริ ฉัตร เป็ นต้นไม้ที่เป็ นสัญลักษณ์ของสวรรค์ช้ นั ดาวดึงส์ ในพระไตรปิ ฎกบอกไว้ว่า
เมื่อต้นปาริ ชาติในดาวดึงส์บานเต็มที่แล้ว เทวดาชั้นดาวดึงส์ต่างพากันดีใจ เอิบอิ่มพรั่งพร้อมด้วย
กามคุณ ๕ บารุ งบาเรออยูต่ ลอดระยะ ๕ เดือนทิพย์ ณ ใต้ตน้ ปาริ ชาต ซึ่งเมื่อบานเต็มที่แล้ว แผ่รัศมี
ไปได้ ๕๐ โยชน์ ในบริ เวณรอบๆ และจะส่งกลิ่นไปได้ ๑๐๐ โยชน์ตามลม
พระพุทธองค์ได้ตรัสสอนว่า “...สมัยใด อริ ยสาวกคิดจะออกบวชเป็ นบรรพชิต สมัยนั้น อริ ยสาวก
เปรี ยบเหมือนปาริ ฉัตตกพฤกษ์ของเทวดาชั้นดาวดึงส์มีใบเหลือง สมัยใด อริ ยสาวกปลงผมและ
หนวด นุ่งห่มผ้ากาสาวพัสตร์ ออกบวชเป็ นบรรพชิต สมัยนั้น อริ ยสาวกเปรี ยบเหมือนปาริ ฉัตตก
พฤกษ์ของเทวดาชั้นดาวดึงส์ผลัดใบใหม่
น.ส.พัชรชวัล พิธานพร ห้อง 156 เลขที่ 21
สมัยใด อริ ยสาวกสงัดจากกาม สงัดจากอกุศลธรรม บรรลุปฐมฌานมีวิตกวิจาร มีปีติและสุขเกิดแต่
วิเวกอยู่ สมัยนั้น อริ ยสาวกเปรี ยบเหมือนปาริ ฉัตตกพฤกษ์ของเทวดาชั้นดาวดึงส์ผลิดอกออกใบ
สมัยใด อริ ยสาวกบรรลุ ทุติยฌานมีความผ่องใสแห่งจิตในภายใน เป็ นธรรมเอกผุดขึ้น ไม่มีวิตก
ไม่มีวิจาร เพราะวิตกวิจารสงบไป มีปีติและสุขเกิดแต่สมาธิอยู่ สมัยนั้น อริ ยสาวกเปรี ยบเหมือนปา
ริ ฉัตตกพฤกษ์ของเทวดาชั้นดาวดึงส์เป็ นดอกเป็ นใบ
สมัยใดอริ ยสาวกมีอเุ บกขา มีสติสัมปชัญญะ เสวยสุขด้ว ยนามกาย เพราะปี ติสิ้นไป บรรลุตติยฌานที่
พระอริ ยเจ้าทั้งหลายสรรเสริ ญว่า ผูไ้ ด้ฌานนี้เป็ นผูม้ ีอุเบกขามีสติอยูเ่ ป็ นสุข สมัยนั้น อริ ยสาวก
เปรี ยบเหมือนปาริ ฉัตตกพฤกษ์ของเทวดาชั้นดาวดึงส์เป็ นดอกตูม สมัยใด อริ ยสาวกบรรลุจตุตถ
ฌาน ไม่มีทุกข์ ไม่มีสุข เพราะละสุขละทุกข์ และดับโสมนัสโทมนัสก่อนๆ ได้ มีอุเบกขา เป็ นเหตุ
ให้สติบริ สุทธิ์อยู่ สมัยนั้น อริ ยสาวกเปรี ยบเหมือนปาริ ฉัตตกพฤกษ์ของเทวดาชั้นดาวดึงส์เริ่ มแย้ม
สมัยใด อริ ยสาวกทาให้แจ้งซึ่งเจโตวิมุติ ปัญญาวิมุติ อันหาอาสวะมิได้ เพราะอาสวะทั้งหลายสิ้นไป
ด้วยปัญญาอันยิง่ เองในปัจจุบนั เข้าถึงอยู่ สมัยนั้น อริ ยสาวกเปรี ยบเหมือนปาริ ฉัตตกพฤกษ์ของ
เทวดาชั้นดาวดึงส์บานเต็มที่ สมัยนั้น ภุมมเทวดาย่อมประกาศให้ได้ยินว่า ท่านรู ปนี้มีชื่ออย่างนี้ เป็ น
สัทธิวิหาริ กของท่านชื่อนี้ ออกจากบ้านหรื อนิคมชื่อโน้น บวชเป็ นบรรพชิต กระทาให้แจ้งซึ่ง
เจโตวิมุติ ปัญญาวิมุติ อันหาอาสวะมิได้ เพราะอาสวะทั้งหลายสิ้นไป ด้วยปัญญาอันยิ่งเอง...”
และในพระไตรปิ ฎกอีกเช่นกัน ที่ได้บอกไว้ว่าพระพุทธองค์ได้ตรัสว่า พระปัจเจกสัมพุทธเจ้านั้น
ทรงบาตรและจีวรครบ เหมือนต้นปาริ ฉัตตกะ คือ ต้นทองหลาง มีใบหนา มีร่มเงาชิด
ดังนั้น ต้นปาริ ชาตหรื อปาริ ฉัตร ก็คือต้น ‘ทองหลาง’ นั่นเอง ทองหลางเป็ นพืชในสกุล Erythrina อยู่
ในวงศ์ Leguminosae เป็ นไม้ยืนต้น สูงประมาณ 10-20 เมตร เรื อนยอดเป็ นพุ่มกลม ตามกิ่งหรื อลา
ต้นอ่อนมีหนามแหลมคม แต่จะค่อยๆ หลุดไป เมื่อต้นมีอายุมากขึ้น ใบเป็ นใบประกอบแบบขนนก
มีใบย่อย 3 ใบ เรี ยงสลับ ใบหนา ดอกคล้ายดอกแคแต่มีสีแดงเข้มออกรวมกัน เป็ นช่อยาวประมาณ
น.ส.พัชรชวัล พิธานพร ห้อง 156 เลขที่ 21
30-40 ซม. จะออกดอกในเดือนมกราคม-กุมภาพันธ์ เวลาออกดอกจะทิ้งใบหมดต้น ส่วนผลเป็ น
ฝักยาวโค้งเล็กน้อย เมื่อผลแก่ฝักจะแตกทีป่ ลายอ้าออก ภายในมีเมล็ดสีแสด
สรรพคุณด้านพืชสมุนไพรของทองหลางนั้น ใบและเปลือก แก้เสมหะ ลมพิษ แก้ตาแดง ตาแฉะ ดับ
พิษร้อน แก้ขอ้ บวม, ราก ใช้แก้พยาธิในท้อง ตาฟาง ไข้หวัด พอกบาดแผล แก้ปวดแสบปวดร้อน
นอกจากนี้คนไทยยังนิยมนาใบอ่อนของทองหลางมารับประทานร่ วมกับเมี่ยงคา หรื อเป็ นผักจิม้
น้ าพริ ก เพราะใบทองหลางเป็ นผักที่มีธาตุอาหารคือโปรตีน แคลเซียม ฟอสฟอรัส วิตามินเอ และ
วิตามินซีสูงมาก จึงเป็ นอาหารที่ช่วยบารุ งสุขภาพ บารุ งตา และบารุ งกระดูก
นางสาวพัทธมน วิชชุรัตติกร เลขที่ 22 ห้ อง 156

ใบงานสวนพฤกษศาสตร์

สถานที่พบในโรงเรียน : สวนด้านหลังตึก 60 ปี
ครั้นพระพุทธองค์เสด็จประทับเสวยวิมุตติสุข ณ ร่ มไม้อชปาลนิโครธสิ้น ๗ วัน แล้วพระองค์ก็เสด็จไปประทับนัง่
เสวยวิมุตติสุขยังร่ มไม้จิก อันมีชื่อว่า มุจจลินท์ ซึ่งตั้งอยู่ดา้ นทิศอาคเนย์ของต้นพระศรี มหาโพธิ์ วันนั้นเกิดฝนตกพราอยู่ไม่ขาด
สายตลอด ๗ วัน พญานาคมุจจลินท์ ผูเ้ ป็ นราชาแห่งนาค ได้ออกจากนาคพิภพ ทาขนดล้อมพระวรกาย ๗ ชั้น แล้วแผ่พงั พาน
ใหญ่ปกคลุมเบื้องบน เหมือนกั้นเศวตฉัตรถวายพระผูม้ ีพระภาคเจ้า ด้วยความประสงค์มิให้ฝนและลมหนาวสาดต้องพระวรกาย
ทั้งป้องกันเหลือบ ยุง บุง้ ร่ าน ริ้ น และสัตว์เลื้อยคลานทั้งมวลด้วย ครั้งฝนหายแล้ว พญามุจจลินท์นาคราชจึงคลายขนดจากที่ลอ้ ม
พระวรกายพระพุทธเจ้า จาแลงเพศเป็ นมาณพน้อยยืนทาอัญชลีถวายนมัสการพระพุทธองค์ในที่เฉพาะพระพักตร์ ลาดับนั้นพระ
ผูม้ ีพระภาคเจ้าได้ทรงเปล่งอุทานว่า "สุโข วิเวโก ตุฏฺฐสั สะ สุตะธัมมัสสะ ปัสสะโต อัพยาปัชชัง สุขงั โลเก ปาณะภูเตสู สัญญะ
โม สุขา วิราคะตา โลเก กามานัง สะมะติกฺกะโม อัสมิมานัสสะ วิน ะโย เอตัง เว ปะระมัง สุขงั ฯ" ความว่า "ความสงัดเป็ นสุขของ
บุคคลผูม้ ีธรรมอันได้สดับแล้ว รู ้เห็นสังขารทั้งปวงตามเป็ นจริ งอย่างไร ความเป็ นคนไม่เบียดเบียน คือความสารวมในสัตว์
ทั้งหลาย และความเป็ นคนปราศจากความกาหนัด คือความก้าวล่วงกามทั้งปวงเสี ยได้ เป็ นสุขในโลกความนาออกเสี ยซึ่งอัส
มินมานะ คือความถือตัวตนให้หมดได้น้ ีเป็ นสุขอย่างยิ่ง"

จิกน้ า, จิกอินเดีย, จิกนา หรื อ จิกมุจริ นทร์ มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Barringtonia acutangula เป็ นไม้ยืนต้นอยู่ใน
วงศ์ Lecythidaceae มีถนิ่ กาเนิดที่ภูมิภาคเอเชียใต้และอัฟกานิสถาน, ฟิ ลิปปิ นส์ ไปจนถึงตอนเหนือของออสเตรเลียแถบรัฐควีนส์
แลนด์โดยมักขึ้นใกล้ริมแหล่งน้ า เป็ นไม้ประเภทผลัดใบ สูง 5-15 เมตร ลาต้นเป็ นปุ่ มปม ปลายกิ่งลู่ลง ใบอ่อนเป็ นสี น้ าตาล แดง
เข้ม ใบเป็ นใบเดี่ยว ออกเวียนสลับถี่บริ เวณปลายยอด เป็ นรู ปใบหอก หรื อรู ปไข่กลับ ปลายและโคนใบแหลม
น.ส.พิชามญชุ์ นิมานะ ม.. ห้อง 34. เลขที: ;<

ใบงานการศึกษาต้ นไม้ ในพระพุทธศาสนาภายในสวนพฤกษศาสตร์ โรงเรี ยนเตรี ยมอุดมศึกษา

พิกลุ เป็ นไม้ ยืนต้ น ใบเดีEยว เรี ยงเวียนสบับ รูปรี รูปไข่กว้ าง J-L เซนติเมตร ยาว N-OP เซนติเมตร ปลายใบ
แหลมเป็ นติงE ขอบใบเป็ นคลืนE ดอกเดีEยว อยูร่ วมเป็ นกระจุกทีEปลายกิEงหรื อทีEซอกใบ กลีบเลี Uยง V กลีบ เรี ยงซ้ อน
กันเป็ น J ชันU กลีบดอกประมาณ JY กลีบ เรี ยงซ้ อนกันเป็ นโคนกลีบดอกเชืEอมติดกันเล็กน้ อย ดอกสีขาว เมืEอ
ใกล้ โรยสีเหลืองอมนํ Uาตาล ดอกบานวันเดียวแล้ วร่วง มีกลินE หอม ออกดอกตลอดปี ผลสีเหลือง รสหวานอมฝาด

มีความเชื:อตามคติของพระพุทธศาสนา และศาสนาฮินดู ว่า ต้นพิกลุ เป็ นต้นไม้ในสวนของพระอินทร์บน


สวรรค์ชP นั ดาวดึงส์ มี R แห่งคือ ได้แก่ สวนนันทวัน สวนปารุ สกวัน สวนจิตรลดาวัน และสวนมิสกวัน ดอก
พิกลุ จึงเปรี ยบเสมือนดอกไม้จากสวรรค์ โดยในการการประกอบพระราชพิธีในราชสํานักไทยสําคัญต่างๆ จึง
นิยมใช้ดอกพิกลุ ที:เสมือนจริ ง ประดิษฐ์จากเงิน ทองคํา และทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวายพระมหากษัตริ ยเ์ พื:อทรง
โปรยระหว่างการประกอบพระราชพิธี ตามความเชื:อที:วา่ พระมหากษัตริ ยท์ รงเป็ นสมมติเทพ ทรงโปรยดอก
พิกลุ เงิน ดอกพิกลุ ทอง ที:เปรี ยบเสมือนการโปรยดอกไม้จากสวรรค์และเป็ นมงคลยิง:

ความเชื:อเกี:ยวกับต้นพิกลุ ในประเทศไทย คนไทยในสมัยก่อนมีความเชื:อว่า หากปลูกต้นพิกลุ ไว้ในบริ เวณ


บ้าน จะทําให้คนที:อาศัยอยูม่ ีอายุยนื เนื:องจากต้นพิกลุ เป็ นไม้ที:แข็งแรงทนทาน และมีอายุยาวนาน ดังนัPนจึงนิยม
ปลูกต้นพิกลุ กันมาก และมีการนํามาใช้ประโยชน์ในงานพิธีมงคล อาทิ เสาบ้าน พวงมาลัยเรื อ ด้ามหอก ดังนัPน
ตัPงแต่โบราณ จึงมีความเชื:อว่า ดอกพิกลุ เป็ นดอกไม้มงคล
'
www own oinnrnno
N, 6 Not 156 torn 24

run wmsnthuioiwni www.noorwmmv9wobwwgnu-ntntmsrsoisuwlmsuno another ,

minim on wi's
t

zoiwmswiisniin-nlwlokom-5woonlhuonina-wuynh.hn
riwmwhnwss idiot oiuwniwvwinywjwnsiwofoch .
-
mm iz -

www.mmnulht-IOwmwmivr-ohtoyindw.nsnhns

criminal www.ynsahdhhaimsnoionisooiwmwidnlwigsoinn mansion g


Wn Nariman minnows fwsiomiiwohsurioi www.5gsu-rrm-moimmrotwntninwr-ioiimsw
-
-

soivinnwoiwisoonioiiainonnioiniivoowidu
vi.
ipruhsm-moinowmiwnamowos-ornumiwiinlmsww.TO
windows 5NMrvvivoswrymnsirbiwnsoosnonoomwoosrwomigsu.rs
Wmu room
-

min Tornado vokiwiu59ovovigsuism-mwishuiywrrnohu-tnhiio.ms n'my ships


Jasmin Winnie's 9ohm't whims is suismmriyoiriuuryninnoiwoirioomswsosswoo him
,

yveioiwnnmoiwonnossrrw wrymnna-moinovininnwo-wnusmrhtinjyryiwwnyrt.no 4590


vosiwm-moiwm-tnsnunnylwonurrnunsmnw-nwooh.inorroiiwonwinyrau
uoniius-yrminhufrnnswein.no
www.sgiunr-iuoonovvowir-sih-wmioylhwnisnohatyoio
in Wuhan
"
nw-nwwiwniywhr.ws
Iwm , movie www.iywieinmiriwion
"

aiwaimonnsw
ntswwihrnsiwonoiwmsmsmivoshnawnwa: u

wononnwiniwmmonoswohrionown.io'm nusrrrhhikiwononinwynuniuwugn
two towns Nono oriuwovoshiw Runnion wains into oh union Uf Mio hi
-

n;
-

mon
-
-

nwlwuiwwhiosm-iownilmswhiunono-yoiiumrunu.nomannish
นางสาวพิมพ์ณภัส บุนนาค ม.6 ห้อง 156 เลขที่ 25

พฤกษศาสตร์กับพุทธศาสนา

ดอกบัวสาย
ทางพุทธศาสนา ถือได้ว่าบัวเป็นสัญลักษณ์ของพุทธศาสนา ใช้เป็นดอกไม้บูชาพระรัตนตรัย เป็นการผูกพัน
จิตใจให้ระลึกถึงพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์สำหรับชาวพุทธ นอกจากนั้นชาวพุทธต้องคุ้นเคยกับคำว่าดอกบัว 4
เหล่าอย่างแน่นอน
พระพุทธเจ้าทรงตรัสเปรียบบุคคล 4 ประเภทที่มีสติปัญญาแตกต่างกันไปกับดอกบัว 4 เหล่า ดังนี้
1. อุคคติตัญญู หมายถึงบุคคลที่มีอุปนิสัย สติปัญญาแก่กล้า พอฟังธรรมก็สามารถรู้แจ้งในธรรมวิเศษ โดยทันที
เปรียบเหมือนดอกบัวโผล่พ้นเหนือน้ำ พอได้รับแสงแดดก็จะบานทันที
2. วิปัจจิตัญญู หมายถึงบุคคลที่มีอุปนิสัย สติปัญญามาก ขนาดได้ฟังธรรมคำสั่งสอนอย่างละเอียด แจกแจงให้
เข้าใจแล้วสามารถรู้แจ้งเห็นธรรมวิเศษได้ เปรียบเหมือนดอกบัวที่เติบโตขึ้นมาพอดีกับพื้นน้ำ จะบานในวันรุ่งขึ้น
นางสาวพิมพ์ณภัส บุนนาค ม.6 ห้อง 156 เลขที่ 25

3. เนยยบุคคล หมายถึงบุคคลที่มีอุปนิสัย สติปัญญาขนาดที่ต้องพากเพียรค้นคว้า ไต่ถาม หมั่นศึกษาเล่าเรียน และ


คบกัลยาณมิตร จึงจะสามารถรู้เห็นแจ้งในธรรมได้ เปรียบเหมือนดอกบัวที่เติบโตอยู่ใต้น้ำ จะผุดขึ้นมาเหนือน้ำและ
จะบานในวันต่อไป
4. ปทปรมบุคคล หมายถึงบุคคลที่มีอุปนิสัย สติปัญญาไม่สามารถรู้แจ้งในธรรมได้เลย แม้จะอธิบายอย่างละเอียด
อย่างไรก็ตาม เปรียบเหมือนดอกบัวที่เติบโตอยู่ใต้น้ำ ไม่สามารถจะโผล่ขึ้นมาเหนือน้ำ อยู่เพียงใต้น้ำ เป็นอาหาร
ของปลาและเต่า
ดอกบัวนั้นเป็นสัญลักษณ์ทางพุทธศาสนา ตัวอย่างเช่น พระพุทธเจ้าเวลาประทับนั่ง ยืน เดิน มีดอกบัว
มารองรับเสมอ และในเรื่องพระมาลัยก็กล่าวว่ามีชายคนหนึ่งฐานะยากจน ได้เก็บดอกบัว 8 ดอก ฝากพระมาลัย
ขึ้นไปบูชาพระธาตุจุฬามณีบนสวรรค์ชั้นดาวดึงส์ จึงได้เกิดเป็นเทพบุตร ดังนั้นในสมัยโบราณคนจึงนิยมถวาย
ดอกบัวแด่พระในวันออกพรรษา ถือว่าได้บุญกุศลมาก
สามารถพบดอกบัวสายได้ที่สระคูบัวหน้าตึกศิลปะ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
ข้อมูล
https://www.doctor.or.th/article/detail/5714#:~:text=%E0%B8%94%E0%B8%AD%E0%B8%81%E0
%B8%9A%E0%B8%B1%E0%B8%A7%E0%B8%99%E0%B8%B1%E0%B9%89%E0%B8%99%E0%B9
%80%E0%B8%9B%E0%B9%87%E0%B8%99%E0%B8%AA%E0%B8%B1%E0%B8%8D%E0%B8%A5
%E0%B8%B1%E0%B8%81%E0%B8%A9%E0%B8%93%E0%B9%8C%E0%B8%97%E0%B8%B2%E0
%B8%87,%E0%B9%83%E0%B8%99%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%99%E0%B8%AD%E0%B8
%AD%E0%B8%81%E0%B8%9E%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%A9%E0%B8%B2%20%E0%B8
%96%E0%B8%B7%E0%B8%AD%E0%B8%A7%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B9%84%E0%B8%94
%E0%B9%89
ต้ นตะคร้ อ ผันทนชาดก : หมีกบั ไม้ตะคร้อ
ในสมัยหนึ่ ง พระพุทธเจ้าประทับอยู่ ณ ฝั่งแม่น้ าโรหิณี เมืองราชคฤห์
• ชื่ออื่น ๆ ทรงปรารภการทะเลาะกันของพระประยูรญาติ ได้ตรัสอดีตนิ ทานมาสธก ว่า…
กาซ้อ กาซ้อง ค้อ คอส้ม คุย้ เคาะ เคาะจ้ก ซะอู่ กาลครั้งหนึ่ งนานมาแล้ว ในเมืองพาราณสี มีบา้ นช่างไม้ประกอบรถ ณ
เสก ตะคร้อไข่ ปั้นโรง มะเคาะ มะโจ้ก ป่ าหิมพานต์ มีหมีตัวหนึ่ งมักจะมานอนที่ใต้ตน้ ตะคร้อใหญ่ตน้ หนึ่ งเป็ นประจา
Ceylon oak
อยู่มาวันหนึ่ ง ได้มีลมพัดกิ่งไม้แห่งกิ่งหนึ่ งหักตกลงไปถูกคอมัน มันโกรธ
• สรรพคุณ/ประโยชน์
ขึ้ นมาทันทีจึงใช้เล็บตะกุยต้นตะคร้อใหญ่น้ัน พร้อมตะคอกรุกขเทวดาประจา
แก่น : ต้มน้ าดื่ม แก้ฝีหนอง
ต้นไม้ ต่อมาวันหนึ่ งนายช่างไม้ได้ขบั เกวียนเพื่อไปตัดต้นไม้ไปถึงที่น้ัน เจ้าหมีจึง
เปลือก : ต้มน้ าดื่มเป็ นยาสมานท้อง แก้ทอ้ งร่ วง
ได้แนะนาให้ตัดต้นตะคร้อ พร้อมกับบอกว่าเป็ นไม้ที่เหมาะทารถเป็ นอย่างดี นาย
น้ ามันจากเมล็ด : บารุ งผมแก้ผมร่ วง
ช่างไม้เห็นดีดว้ ย ตกลงใจตัดต้นตะคร้อนั้น รุกขเทวดาประจาต้นตะคร้อเห็นวิมาน
ใบและกิ่ง : ใบอ่อนกินสดหรื อนามาลวกกินเป็ น
ของตนถูกทาลายโกรธแค้นหมีมาก จึงจาแลงกายเป็ นนายพรานป่ าเดินเข้าไปหา
ผักเคียง ใบและกิ่งรวมถึงกากเมล็ดนามาทาเป็ น
นายช่างไม้น้ันแล้วแนะนาว่ารถไม้จะให้งามต้องหุม้ ด้วยหนังหมี นายช่างไม้เห็นดี
อาหารสัตว์
ตามนั้นจึงได้ตามไปฆ่าหมีเอาหนังแล้วค่อยมาตัดเอาต้นตะคร้อที่หลัง
ลาต้น : ในประเทศอินเดียใช้ตม้ ตะคร้อเป็ น
แหล่งเพาะพันธุ์ครั่ง พระพุทธเจ้า จึงตรัสคาถาว่า ไม้ตะคร้อฆ่าหมี และหมีก็ฆ่าไม้ตะคร้อ
เนื้อไม้ : นามาทาฟี น แก่นไม้ซ่ ึงมีความแข็งและ ต่างก็ฆ่ากันและกันด้วยการวิวาทกัน ด้วยประการฉะนี้ ขอบพิตรทั้งหลายจงร่วม
ทนทานสามารถนามาทาเป็ นเครื่ องมือ เครื่ องใช้ บันเทิงใจ อย่าวิวาทกัน อย่าเป็ นดังหมีและไม้ตะคร้อเลย ขอบพิตรทั้งหลายจง
เปลือกไม้ : เปลือกใช้เป็ นยารักษาผิวหนังอักเสบ ศึกษาความสามัคคี ความสามัคคีน้ันแหละ บุคคลผูย้ ินดีในสามัคคีธรรมตัง้ อยู่ใน
และแผลเปื่ อยได้ดี ธรรม ย่อมไม่คลาดจากธรรมอันเป็ นแดนเกษมจากโยคะ

น.ส. แพรเพชร ต่อไพบูลย์ เลขที่ 26 ห้อง 156


น.ส.แพรวทอง กลิ่นบุบผา ห้อง 156 เลขที่ 27
ต้นไม้ในพระพุทธศาสนาภายในสวนพฤกษศาสตร์ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา

ชื่อพรรณไม้ : ประดู่บ้าน

สถานที่ปลูก : ลานสีอเนกประสงค์ หน้าตึก 60 ปี


เกี่ยวข้องกับพระพุทธศาสนา : ด้านพุทธประวัติ
ประดู่บ้านเป็นพรรณไม้ยืนต้นขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ ลักษณะทั่วไปคล้ายประดู่ แต่แตกกิ่งก้านเป็นทรงพุ่มกว้างกว่าและมีปลายกิ่ง

ยาวห้อยระย้า มีความสูงประมาณ 10–25 เมตร ผิวเปลือกลําต้นมีสีดําหรือเทา ลําต้นเป็นพูไม่กลม แตกเป็นสะเก็ดร่องตื้น ๆ มีนํ้ายางน้อยกว่า


ประดู่ ใบเป็นช่อแตกออกจากปลายกิ่ง มีใบย่อยประกอบอยู่ประมาณ 6–12 ใบ ลักษณะของใบเป็นรูปมนรี ปลายใบแหลม โคนใบมน ขอบใบ
เรียบเป็นมันสีเขียว ใบมีขนาดยาวประมาณ 2–3 นิ้ว กว้างประมาณ 1–2 นิ้ว ดอกมีขนาดเล็กสีเหลือง ออกเป็นช่อตามปลายกิ่ง โดยช่อดอกจะ

แตกแขนงเป็นช่อใหญ่กว่าประดู่ ผลมีขนเล็ก ๆ ปกคลุม ขนาดผลโตประมาณ 4–6 เซนติเมตร


ประดู่เป็นไม้โบราณมีกล่าวถึงอยู่ในพุทธประวัติว่า เมื่อพระพุทธเจ้าเสด็จฯกลับจากเทศนาโปรดพระเจ้าสุทโธทนะแล้ว ได้เสด็จฯพร้อม
พระอานนท์ พระราหุล และพระสาวกสู่กรุงราชคฤห์ ประทับ ณ สีสปาวัน ซึ่งมีความหมายว่าป่าประดู่ลายนั่นเอง ประดู่จึงถือเป็นต้นไม้มงคลต้น

หนึ่งในศาสนาพุทธ อีกทั้งในพระไตรปิฎกเล่มที่ 33 พระสุตตันตปิฎก เล่ม 25 ขุททกนิกาย พุทธวงศ์ ติสสพุทธวงศ์ กล่าวไว้ว่า พระพุทธเจ้าองค์ที่


20 พระนามว่า พระติสสพุทธเจ้า ทรงบําเพ็ญเพียรอยู่ครึ่งเดือนเต็ม จึงได้ประทับตรัสรู้ ณ ควงไม้ประดู่ลาย
หากถามว่าต้นไม้กับศาสนาพุทธนอกจากจะเกี่ยวข้องอย่างตรงตัวตามพุทธประวัติแล้ว ต้นไม้และศาสนายังสามารถเปรียบเทียบกันได้
ในอีกมุมหนึ่งดังนี้
น.ส.แพรวทอง กลิ่นบุบผา ห้อง 156 เลขที่ 27

ศาสนพิธี เปรียบเสมือนทรงพุ่มรวมถึงกิ่งก้านและใบของต้นไม้ซึ่งมีอยู่เยอะแยะมากมายที่คนรุ่นหลังๆ คิดและปฏิบัติต่อๆ กันมา เช่น


อาบนํ้ามนต์ สะเดาะเคราะห์ พิธีแก้กรรม บนบานศาลกล่าว สวดอ้อนวอน ฯลฯ สารพัดซึ่งสิ่งเหล่านี้พระพุทธเจ้าไม่ได้ทรงสอนให้ทํา
ศาสนวัตถุ เปรียบเสมือน ลําต้นของต้นไม้ที่ชูทรงพุ่มขึ้นไปให้ปรากฏแก่ผู้คน ก็มีกลุ่มหนึ่งต่างก็พากันหลงสร้างถาวรวัตถุและวัตถุปลุก

เสกกันยกใหญ่จนบางแห่งก็เกินความจําเป็น เพราะหลงคิดเข้าใจเอาว่าการสร้างถาวรวัตถุจะได้บุญเยอะส่งให้ได้ขึ้นสวรรค์ อยู่ในวิมาน ฯลฯ แล้ว


แต่จินตนาการกัน
ศาสนบุคคล เปรียบเสมือนเปลือกหรือกระพี้ที่ห่อหุ้มลําต้นของต้นไม้ ผู้ที่ได้ชื่อว่าเป็นชาวพุทธที่แท้จริง สมควรที่จะแยกแยะ

ระหว่าง สมมุติสงฆ์และอริยสงฆ์ ออกได้ ไม่หลงงมงายเชื่อคําสอนที่ผิดไปจากข้อธรรมและไม่หลงยึดกับตัวบุคคลว่าเพราะมีฤทธิ์ มีเวทมนต์ ควร


นับถือกราบไหว้ในศีลและวัตรปฏิบัติที่บริสุทธิ์งดงาม
เยาวลักษณ์ ทองปรี ชา 156 เลขที่ 28

ใบงานพฤกษศาสตร์
วิชา พระพุทธศาสนา

ตน ้ แคฝอย
บริ เวณที่พบ: ขา้ งสนามบอลฝั่งตึก 55 ปี

พระพุทธเจา้ พระนามวา่ “พระวิปัสสีพุทธเจา้ ” ทรงบาํ เพ็ญเพียรใตต


้ น
้ แคฝอยอยู ่ 8 เดือน
้ รงตรัสรู้ ใตต
เต็ม และไดท ้ น
้ แคฝอย

้ แคฝอยเป็ นพันธุ ไ์ มช้ นิ ดหนึ่ งจัดอยูใ่ นวง BIGNONIACEAE มีช่ือเรี ยกในภาษาบาลีวา่ “


ตน
ตน้ ปาตลี หรื อ ตน้ ปาฏลี” มีถิน ่ กาํ เนิ ดในประเทศบราซิล นิ ยมปลูกกันทั่วไปในเขตร้อนแถบ
เอเชีย ตน ้ แคฝอยมีอยู ่ 2 ชนิ ด คือ ชนิ ดที่มีชอ่ ดอกเกิดที่ซอกใบ,ตามกิ่ง และปลายยอด และ
ชนิ ดที่มีชอ่ ดอกเกิดที่ปลายยอดตน ้

้ แคฝอยถูกนําเขา้ มาปลูกในประเทศไทยครัง้ แรกเมื่อสมัยรัชกาลที่ 5 โดยนําเขา้ มาปลูกที่


ตน
เมืองตรังเป็ นที่แรก จึงทาํ ให้ตน ้ แคฝอยเป็ นที่รู้จักอีกชื่อวา่ “ตน
้ ศรี ตรัง” เป็ นไมย้ ืนตน
้ ผลัดใบ
สูง 4-10 เมตร ลาํ ตน ้ มีเสน้ ผา่ ศูนยก์ ลาง20 ถึง 30 เซนติเมตร เปลือกสีนํา้ ตาลออ่ นปนเทา
เรื อนยอดโปร่งใบประกอบแบบขนนกสองชั น้ ใบยอ่ ยขนาดเล็ก ปลายใบแหลม โคนใบมน
ดอกมีสม ่ หอมออ่ นๆ เจริ ญเติบโตไดด
ี ว่ งปนนํา้ เงิน มีกลิน ้ ีในดินทุกชนิ ด ตอ ้ งการนํา้ และ
ความชื้นปานกลาง มีสรรพคุณทางสมุนไพรคือ ใบแห้งใชใ้ นการรักษาบาดแผล เปลือกไมใ้ ช้
ทาลา้ งแผลเปื่ อยแผลพุพอง เนื้ อไมม
้ ีรสเฝื่ อนฝาดแกท ้ งบวม ขับพยาธิ ตกเลือด และเนื้ อไมม
้ อ ้ ี
ลายสวยงาม มีกลิน ่ หอม จึงมักนํามาใชท ้ าํ เป็ นโครงของเฟอร์นิเจอร์เครื่ องใชต
้ า่ งๆ
ตนโพธิ์: สัญลักษณทางพระพุทธศาสนากับการเปลี่ยนแปลง
ตนโพธิ์ เปนสถานที่ที่พระพุทธเจาประทับนั่งกอนตรัสรู กอนหนานั้นมีชื่อเรียกวาอัสสัตถะเเตหลังจากที่
พระพุทธเจาไดตรัสรูแ ลวชนิดนี้จึงไดนามใหมวา “โพธิ”หรือ “โพธิพฤกษ” (โพธิรุกฺข แปลวา ตนโพธิ์)และอาสนะ
ที่พระพุทธเจาประทับตรัสรูก็ไดนามวา “โพธิบัลลังก” ซึ่งวันที่พระพุทธเจาตรัสรูนั้นตรงกับวันพฤหัสบดี ขึ้น 15
คํ่า เดือน 6 ตอมาไดเรียกวันนี้วา “วันวิสาขบูชา”

ตนโพธิ์เปนสัญลักษณแหงปญญา การตรัสรู เเละตนไมประจําพระพุทธศาสนา จึงไดกลายเปนสัญลักษณ


ของพระพุทธศาสนาในชวงเเรก เเตหลังจากนั้นมีการสรางรอยพระพุทธบาทขึ้น เเตกอนรอยพระพุทธบาทใช
เปนตัวแทนพระพุทธเจาเนื่องจากยังไมมีพระพุทธรูปเเตเมื่อมีพระพุทธรูปเเลวรอยเทาใชเปนการเเสดง
สัญลักษณการเดินทางของพระพุทธเจาไปยังสถานที่ตางๆ วากันวามี ๕สถานที่ที่พระพุทธเจาไปถึงและประทับ
รอยเทาไว ไดแก เขาสุวรรณมาลิก, เขาสุวรรณบรรพต, เขาสุมนกูฏ, เมืองโยนกบุรี และที่หาดทรายในลํานํ้า
นัมมทานที

ในการสรางพระพุทธรูปในชวงเเรกนิยมสรางเเบบสลักลงบนหินหรือไม พระพุทธรูปรูปแรกถือกําเนิดขึ้นในสมัยพระเจามิลินท
หรือ เมนันเดอรที่ ๑ เปนชาวกรีกที่เขามาครอบครองแควนคันธารรษฎร รูปแบบพระพุทธรูปนี้เรียกวา “ คันธารราษฎร “
โดยนําเทวรูปที่พวกกรีกโบราณนับถือมาเปนตนแบบ พระพุทธรูปคันธารราษฎรจีงมีใบหนาเหมือนฝรั่งชาวกรีก จีวรเปนริ้ว
เหมือนเครื่องนุงหมของเทวรูปกรีก ภายหลัง จึงมีคตินิยมสรางพระพุทธรูปขนาดเล็ก ๆ หรือที่เรียกวา "พระเครื่อง "

วริศรา อุน พิกุล 156/29


หทัย ภัทร ห้อง 156 #]0

ราย ฑู๊แ ษื๊

บริเวณที่พบในโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาคือ บริเวณ
หน้าศาลพระปริวรรติเทพ บริเวณหลังตึก1 และบริเวณ
หน้าตึก 60 ปี

เลน
บัว ถือเป็นสัญลักษณ์ของคุณงามความดี ถือว่าดอกบัวเป็น ดอกไม้ประจำศาสนาพุทธตาม
พุทธประวัติพบว่า บัวมีส่วนเกี่ยวข้องตั้งแต่ เมื่อพระพุทธเจ้าประสูติ คือเมื่อประสูติก็มีดอกบัวผุด
ออกมารองรับการก้าวทั้ง 7ก้าวของพระองค์ เเละเมื่อตรัสรู้ เมื่อครั้งได้ทรงตรัสรู้แล้ว แต่
เนื่องจากพระธรรมที่พระองค์ทรงบรรลุนั้นมีความละเอียดอ่อน ยากต่อบุคคลจะรู้ เข้าใจและปฏิบัติ
ได้ ทรงพิจารณาอย่างลึกซึ้ง ทรงเห็นว่าบุคคลในโลกนี้มีหลายจำพวก บางพวกสอนได้ บางพวก
สอนไม่ได้ เปรียบเสมือนบัวสี่เหล่า

บัว 4 เหล่า ได้แก่

1.ดอกบัวที่อยู่พ้นน้ำ พวกที่มีสติปัญญาฉลาด 3.ดอกบัวที่อยู่ปริ่มน้ำ  พวกที่มีสติปัญญาปานกลาง


เฉลียว เป็นสัมมาทิฏฐิ เมื่อได้ฟังธรรมก็สามารถ เป็นสัมมาทิฏฐิ เมื่อได้ฟังธรรมแล้วพิจารณาตามและได้
รู้ และเข้าใจในเวลาอันรวดเร็ว เมื่อต้องแสง รับการอบรมฝึกฝนเพิ่มเติม จะสามารถรู้และเข้าใจได้
อาทิตย์ก็เบ่งบานทันที (อุคฆฏิตัญญู) ในเวลาอันไม่ช้า ซึ่งจะบานในวันถัดไป (วิปัจจิตัญญู)

4.ดอกบัวที่จมอยู่กับโคลนตม พวกที่ไร้สติปัญญา และยัง


2.ดอกบัวที่อยู่พ้นน้ำ  พวกที่มีสติปัญญา
เป็นมิจฉาทิฏฐิ แม้ได้ฟังธรรมก็ไม่อาจเข้าใจความหมายหรือ
ฉลาดเฉลียว เป็นสัมมาทิฏฐิ เมื่อได้ฟังธรรม
รู้ตามได้ ทั้งยังขาดศรัทธา ไร้ซึ่งความเพียร ยังแต่จะตกเป็น
ก็สามารถรู้ และเข้าใจในเวลาอันรวดเร็ว
อาหารของเต่าปลา ไม่มีโอกาสโผล่ขึ้นพ้นน้ำเพื่อเบ่งบาน
เมื่อต้องแสงอาทิตย์ก็เบ่งบานทันที
(ปทปรมะ)
(อุคฆฏิตัญญู)
น.ส.อาคิรา ภิรมย เลขที่ 31 หอง 156

ใบงานสวนพฤกษศาสตร
ตนลั่นทมดอกแดง

ลั่นทมแดง หรือลีลาวดี เปนไมพุมขนาดกลาง ใบบาง ทรงพุม


กลมเมื่ออยูกลางแจง ออกดอกตลอดป ดอกหอมตลอดทั้ง
กลางวันและกลางคืน เปนพันธุไมหอมที่เหมาะสําหรับการบุกเบิก
พื้นที่ พบไดตั้งแตชายทะเลถึงบนเขา
ถิ่นกําเนิดมาจาก เม็กซิโก อเมริกากลาง และอเมริกาใต
มีความเชื่อมาแตโบราณวาไมควรปลูกตนลั่นทมไวในบริเวณบาน
เนื่องจากมีชื่ออัปมงคล เพราะไปพองกับคําวา "ระทม" ซึ่งแปลวา
ความทุกขใจ เศราโศกนั่นเอง แตไดมีการเปลี่ยนมาเรียกชื่อใหม
แทนซึ่งก็คือ “ลีลาวดี”
สามารถพบไดในบริเวณหนาตึกศิลปะและหนาตึก 1

เรื่อง วินีลกชาดก (กาเทียมหงส)


ครั้งหนึ่งเมื่อพระโพธิสัตวเกิดเปนพระราชา ครองเมืองมิถิลา มีพญาหงสตัวหนึ่ง มีเมียงเปนนางนกกา
ทํารังอยูที่ตนลั่นทมแดง มีลูกดวยกันชื่อวา วินีลกะ พญาหงสนั้นมีลูกหงสอยูกอนแลว ๒ ตัว ลูกหงสเห็น
พญาหงสไปถิ่นมนุษย บอยนักจึงถามพอวาไปทําไม พญาหงสจึงบอกลูกวาพอไปเยี่ยมนองของพวกเขาชื่อ
วินีลกะ ลูกพูดวาจะไปพาเขามา พอจึงหามวา อยาไปเลยลูก ถิ่นมนุษยมันมีภัยอันตรายรอบดาน พอจะพา
เขามาเอง แตลกู หงสทั้งสองไมเชื่อคําพอ จึงพากันไปที่ตนลั่นทมนั้น ใหนกวินีลกะจับคอนไมอันหนึ่งแลว
ชวยกันคาบปลายไมคนละขาง บินผานเมืองมิถิลามา
ขณะนั้น พระราชากําลังประทับบนราชรถเทียมมา นกวินีลกะเห็นเชนนั้นแลวก็นึกในใจวา "เราก็ไม
ตางจากพระราชาเลยนะ ไดนั่งบนรถเทียมหงสเลียบพระนคร" จึงพูดเปรย ๆ ขึ้นวา "มาอาชาไนยพาพระเจา
วิเทหะผูครองเมืองมิถิลาใหเสด็จไป เหมือนหงสสองตัวพาเราผูชื่อวาวินีลกะไปจริง ๆ"
ลูกหงสพอไดฟงคํานั้นแลวโกรธ ตั้งใจวาจะปลอยใหมันตกลงไปเสียก็กลัวพอจะตําหนิเอา จึงอดทนไว
พามันไปจนถึงรังแลวเลาใหพอฟง พญาหงสโกรธจัดตวาดวา "เจาวิเศษกวาลูกเราหรือ เจาชางไมรูจัก
ประมาณตนเอง ที่นี่ไมใชที่อยูของเจา เจาจงกลับไปหาแมเจาเถิด"
แลวกลาวเปนคาถาวา "เจาวินีลกะ เจามาอยูอาศัยซอกเขาอันมิใชพื้นเพเดิมของเจา เจาจงไปอยูอาศัย
สถานที่ใกลหมูบานเถิด นั้นเปนที่อยูอาศัยของแมเจา" แลวสั่งใหลูกหงสนํากลับไปปลอยไวที่เดิม
อาทิชา ฉันทพิริยกุล ม.6 ห้อง156 เลขที่32
ตน
้ ไมใ้ นพระพุทธศาสนา
“ตน
้ บุนนาค”

สถานที่ปลูก : บริ เวณหน้าตึก60ปี

พระไตรปิ ฎก ฉบับธรรมทาน หัวขอ ้ “ปุนนาคปุปผิยเถราปทาน” ไดก ้ ลา่ วถึงผลแหง่ การถวาย


ดอกบุนนาคของพระปุนนาคปุปผิยเถระวา่ “เราเป็ นพรานเขา้ ไปยังป่าใหญ่ เราไดพ ้ บตน้
บุนนาค มีดอกบาน จึงระลึกถึงพระพุทธเจา้ ผูป ้ ระเสริ ฐสุด ไดเ้ ลือกเก็บดอกบุนนาคนัน ้ เอาแต่
ที่มีกลิน
่ หอมสวยงาม แลว้ กอ ่ สถูปบนเนิ นทราย บูชาแดพระพุทธเจา้ ในกัปป์ที่ ๙๒ แตก ่ ั ปป์นี้
เราไดบ ้ ูชา พระพุทธเจา้ ดว้ ยดอกไมใ้ ด ดว้ ยการบูชานัน ้ เราไมร่ ู้ จักทุคติเลย นี้ เป็ นผลแหง่ พุทธ
บูชาในกัปป์ ที่ ๙๑ แตก ่ ั ปป์นี้ ไดม้ ีพระเจา้ จักรพรรดิพ์ ระองคห ์ นึ่ งทรงพระนามวา่ “ตโมนทะ”
ทรงสมบูรณ์ ดว้ ยแกว้ ๗ ประการ มีพละมาก คุณวิเศษเหลา่ นี้ คือปฏิสัมภิทา ๔ วิโมกข๘ ์ และ
อภิญญา ๖ เราทาํ ให้แจง้ ชั ดแลว้ พระพุทธศาสนาเราไดท ้ าํ เสร็จแลว้ ดังนี้

ในพระไตรปิ ฎก ฉบับเดียวกัน หัวขอ ้ “คิริปุนนาคิย เถระปทาน” กลา่ วถึงผลแหง่ การ


ถวายดอกบุนนาคของ พระคิริปุนาคิยเถระวา่ “ครัง้ นัน ้ พระสั มมาสั มพุทธเจา้ พระนามวา่ โสภิ
ตะ ประทับอยูท ่ ่ีภูเขาจิตตกูฏ เราได้ ถือเอาดอกบุนนาค เขา้ มาบูชาในพระสยัมภูในกัปป์ที่ ๙๔
แตก่ ั ปป์นี้ เราไดบ ้ เราไมร่ ู้ จักทุคติเลย นี้ เป็ นผล แหง่
้ ูชาพระสั มมาสั มพุทธเจา้ ดว้ ยการบูชานัน
พุทธบูชา เราเผากิเลสทังหลายแล ้ ว้ พระพุทธศาสนาเราไดท ้ าํ เสร็จแลว้ ดังนี้

อนึ่ งชาวลา้ นนาถือวา่ ตน


้ บุนนาค เป็ นตน้ ไมโ้ พธิฤกษ์ คือเป็ นตน ้ ่ีเป็ นที่ตรัสร้ของ
้ ไมท
พระพุทธเจา้ ที่มีพระนามวา่ “สุมังคลพุทธเจา้ ” จึงนิ ยมปลูกตน ้ บุนนาคไวใ้ นวัดวาอารามโดย
ทั่วไป นอกจากนี้ ยังพบวา่ มีการนําเอายอดออ่ นของบุนนาคไปเป็ นเครื่ องสั กการะคูก ่ ั บยอด
ออ่ นของตน ้ หวา้ ถวายเป็ น พุทธบูชาอีกดว้ ย

จากเรื่ องราวที่เชื่อมโยงกันดังกลา่ ว ถือไดว้ า่ ตน


้ บุนนาคเป็ นตน
้ ไมท้ ่ีมีประวัติความเป็ น
มา และมีความหมายตอ่ พระพุทธศาสนา โดยเฉพาะพระพุทธศาสนาที่ตังม ้ ั ่นอยูใ่ นดินแดนลา้ น
นาแหง่ นี้
นายกิตติกวิน ชาชุมวงศ์ ม.6 ห้อง 156 เลขที่ 33

ใบงานต้นไม้ในพระพุทธศาสนาภายในสวนพฤกษศาสตร์ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา

ต้นไม้ที่เลือก: ต้นไทร
สถานที่ปลูก: บริเวณตึกศิลปะ ริมสระน้ำคูบัว

ต้นไทร หรือ ต้นอปชาลนิโครธ รู้จักกันดีในภาษาสันสกฤตว่า “บันยัน” ตามพุทธประวัติกล่าวว่า เป็น


ที่ที่พระพุทธเจ้าทรงประทับนั่งเสวยวิมุตติสุขในสัปดาห์ที่ ๕ ภายหลังทรงตรัสรู้ พระพุทธองค์ประทับนั่งภายใต้
ร่มเงาของอปชาลนิโครธเป็นเวลา ๗ วัน ต้นอปชาลนิโครธอยู่ทางทิศตะวันออกของต้นศรีมหาโพธิ์
ต้นไทร หรือ ต้นนิโครธมีถิ่นกำเนิดอยู่ในประเทศอินเดีย ศรีลังกา และปากีสถาน และแพร่กระจาย
ทั่วไปในแถบเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เป็นไม้ยืนต้นขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ สูงประมาณ 10-30 เมตร ลำต้น
ตรงเป็นพูพอน แตกกิ่งก้านแน่นทึบ เรือนยอดแผ่กว้าง มีรากอากาศห้อยลงมาตามกิ่งก้านและลำต้น ซึ่งราก
อากาศนี้สามารถเจริญเติบโต เป็นลำต้นต่อไปได้ด้วย
ต้นนิโครธเป็นไม้มงคลอย่างหนึ่งของฮินดูและพุทธ ดังนั้น จึงมักนิยมปลูกไว้ตามศาสนสถาน วัดวา
อารามต่างๆ และสวนสาธารณะที่มีเนื้อที่กว้างๆ เพื่อให้ร่มเงาและเพิ่มความร่มเย็น เพื่อใช้เป็นที่พักของ
พุทธศาสนิกชน ตลอดจนเป็นที่อยู่อาศัยและแหล่งอาหารของนกกาต่างๆ
ชื่อ นายชนาธิป แสงเดือน ห้อง 156 เลขที่ 34

โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
สาระการเรียนรู้พระพุทธศาสนา 3 (ส 30203) ภาคเรียนที่ 1

︎ ︎ ︎ ︎ ︎ ︎ใบงานโครงงานต้นไม้ในพระพุทธศาสนาภายในสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา (รายบุคคล)

คำสั่ง ให้นักเรียนศึกษาพรรณไม้ในสวนพฤกษศาสตร์ของโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา แล้วนำพรรณไม้ 1 ชนิด ที่มีการ


กล่าวถึงในพระพุทธศาสนา ทั้งด้านพุทธประวัติ พุทธสาวก พุทธสาวิกาชาวพุทธตัวอย่าง หลักธรรมคำสอน พระสูตร
ชาดก ฯลฯ มาเรียบเรียงในรูปแบบเรียงความ บทสารคดี นิทาน คำกลอน บทละครสั้น ๆ การ์ตูน ฯลฯ อย่างใดอย่าง
หนึ่ง คนละ 1 เรื่อง 1 พรรณไม้ โดยไม่ซ้ำกันภายในห้องเรียนของนักเรียน พร้อมแสดงภาพถ่ายพรรณไม้และสถานที่
ปลูกในสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา

ชื่อภาพ ต้นอโศกเซนต์คาเบรียล
สถานที่ปลูก บริเวณแนวรั้วสนามบาสก์ตึก 2
วันที่ถ่ายภาพ 5 สิงหาคม 2563
ชื่อพรรณไม้ อโศกเซนต์คาเบรียล
︎︎︎︎
ชื่อ นายชนาธิป แสงเดือน ห้อง 156 เลขที่ 34
ชื่อพรรณไม้ : อโศกเซนต์คาเบรียล
เกี่ยวข้องกับพุทธศาสนา : ด้านวรรณกรรมอิงพุทธประวัติ
เป็นข้อเขียนประเภท : เรียงความ
ชื่อเรื่องข้อเขียน : ต้นอโศกในโลกพุทธประวัติ
อโศกเซนต์คาเบรียล หรือ อโศกอินเดีย เป็นไม้ยืนต้นสูง มีลักษณะเป็นไม้ไม่ผลัดใบ ทรงพุ่มเป็นรูปปิรามิด
แคบ ๆ สูงเต็มที่ได้ถึง 25 เมตร กิ่งโน้มลู่ลงทั้งต้น ทำให้แลดูต้นสูงชลูดมาก เปลือกต้นเกลี้ยงสีเทาเข้ม หรือเทาปน
น้ำตาล ใบเดี่ยวรูปใบหอกแคบ ๆ ปลายแหลมยาว 15 - 20 เซนติเมตร สีเขียวเป็นมันเงางาม ขอบใบเป็นคลื่น
ออกดอกในระหว่างเดือนมีนาคม - เมษายน จะออกดอกสีเขียวอ่อนเป็นกระจุกตามข้างๆ กิ่ง แต่ละดอกเป็นรูปดาว 6
แฉก กลีบดอกเป็นคลื่นน้อย ๆ ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 1.5 - 2 เซนติเมตร ดอกบานอยู่นาน 3 สัปดาห์ ผลรูปไข่ ยาว
2 เซนติเมตร เมื่อสุกมีสีดำ เป็นไม้ต้นทรงสูงชะลูด สามารถสูงได้เกินกว่า 30 ฟุต เป็นแท่งกลมปลายแหลม ทรงพุ่ม
แผ่นทึบ ใบรูปหอก แนว ยาวสีเขียวเข้ม ขอบใบเป็นคลื่น ดอกออกเป็นช่อสีเขียวอ่อน รูปดาว 6 แฉก ดอกมีกลิ่นอ่อน
นิยมปลูกเป็นไม้ประดับและเป็นร่มเงา มีถิ่นกำเนิดอยู่ที่ประเทศอินเดียและศรีลังกา
ในวรรณกรรมอิงพุทธประวัติเรื่อง “กามนิต” โดย เสฐียรโกเศศ-นาคะประทีป นั้น ต้นอโศกได้เข้ามาเกี่ยวพัน
กับความรักของกามนิต เพราะบริเวณที่กามนิตได้พบกับวาสิฏฐีทุกค่ำคืน ก็คือลานอโศกนั่นเอง ดังที่กามนิตได้
พรรณนาถึงเรื่องราวบนลานอโศกไว้ว่า
“ข้าพเจ้ากับโสมทัตต์ได้ไปหาคู่รักทุกคืน ยิ่งคืนข้าพเจ้ากับวาสิฏฐีผู้ประสบขุมทรัพย์ใหม่ๆ อันเกิดต่อความ
ร่วมรักของเรา ยิ่งทวีความที่อยากพบกันมากขึ้นทุกที ดวงจันทร์ฉายแสงดูยิ่งสว่าง หินอ่อนรู้สึกว่ายิ่งเย็นชื่นใจ กลิ่น
ดอกมะลิซ้อนหอมเย็นยิ่งขึ้น เสียงนกโกกิลายิ่งโหยหวน เสียงลมพัดถูกกิ่งปาล์ม ทำให้วังเวงมากขึ้น ตลอดจนกิ่งอโศก
ที่แกว่งไกวก็มีเสียงดูดั่งจะกระซิบกระซาบกัน สิ่งเหล่านี้เห็นจะไม่มีเหมือนแล้วตลอดโลก !
เฮอ ! ถึงเดี๋ยวนี้ ข้าพเจ้ายังระลึกและจำต้นอโศกเหล่านั้นได้แม่นยำ ว่ามีอยู่เรียงกันเป็นแถวตลอดไปตามยาว
ของลานนั้น และใต้ต้นอโศกเหล่านี้ เราทั้งสองเคยประคองพากันเดินเล่น จนเราให้สมญาลานนั้นว่า “ลานอโศก”
เพราะต้นไม้ชนิดนั้นกวีให้ชื่อว่า “อโศก” หรือบางทีเรียกว่า “สุขหฤทัย” ข้าพเจ้ายังไม่เคยเห็นต้นอโศกที่ไหน ใหญ่โต
งามเหมือนกับที่มีอยู่บนลานนั้น ใบ ซึ่งคอยสั่นไหวอยู่เสมอ เห็นเป็นเลื่อมพรายเงินเมื่อต้องแสงจันทร์ เมื่อลมโชยมาก็มี
เสียงปานว่า หนุ่มสาวกระซิบกัน เวลานั้นแม้จะย่างเข้าสู่วสันตฤดู คงยังแตกดอกออกช่อเป็นสีแดงบ้างเหลืองบ้าง แก่
อ่อนสลับกันไป”

︎︎︎︎︎︎︎︎︎︎︎︎︎︎︎︎︎︎︎︎︎︎︎︎︎︎︎︎︎︎︎︎︎︎︎︎︎︎︎︎︎︎︎︎︎︎︎︎︎
เลขที่ 35 ส่งงานสายกว่ากาหนด และจะตามส่งที่หลังเอง
นายปณต พงษ์พัฒนพันธุ์ ห้อง 156 เลขที่ 36

g: www.fgiwsgmaihswro.w.nonnam
8N%W88M%
figs g
°
:
7- 10330 002-205
of
- -

oilbbgeisgsaoosgbsogsbaoogo@greener
.

• :
,
✓ gegsignbbag


gvisioggeiosrugsiosge

f.
'

✓ sensation a
re

. ¥
it::÷÷÷
Sabarmati
รถเสนชาดก เป็นหนึ่งในปัญญาสชาดกหรือชาดกนอกนิบาตห้าสิบเรื่อง ชาวไทยนิยมนา เค้าโครง
ปัญญาสชาดกเหล่านี้มาทาเป็นวรรณคดีที่แฝงไปด้วยคติธรรมและทรรศนะทางศาสนา โดยรถเสนชาดกนั้น ได้
นำเรื่องมาแต่งเป็นวรรณคดีคือพระรถเมรี ซึ่งมีการกล่าวถึงต้นมะนาวไม่รู้โห่ไว้ ด้วย เว็บไซต์สวนมะนาวโห่ลุง
ศิริได้อธิบายเนื้อหาโดยย่อเอาไว้ว่า

“เรื่องนางสิบสองและพระรถเมรี เป็นเรื่องราวของหญิงสาว 12 คน ที่ถูกพ่อนาไปปล่อยใน ป่าเพราะคิดว่า


เป็นกาลกิณีที่ทาให้ครอบครัวที่เคยเป็นเศรษฐีกลับยากจนลง นางทั้งสิบสองต้อง เร่ร่อนจนไปถึงเมืองยักษ์ นาง
ยักษ์เกิดเอ็นดูจึงรับเลี้ยงไว้ ภายหลังนางทั้งสิบสองได้รับรู้ว่าพวกตนได้อาศัยอยู่กับยักษ์จึงพยายามหลบหนีไป
ยังเมืองกุตารนครและได้เป็นพระมเหสีของพระเจ้ารถสิทธิ์ เมื่อนางยักษ์ได้รับรู้เรื่องข่าวดังกล่าว จึงเกิดความ
โกรธแค้นมาก จึงได้ทำอุบายจนได้เป็นพระมเหสีเอกของพระเจ้ารถสิทธิ์ จากนั้นจึงดาเนินการควักลูกตาของ
นางทั้งสิบสองแล้วส่งไปขังไว้ในถ้ำ จนกระทั่งน้องคนสุดท้องในบรรดานางทั้งสิบสองได้คลอดบุตรออกมา ชื่อ
ว่า รถเสน หรือ พระรถ นั่นเอง ครั้นต่อมาพระเจ้ารถสิทธิ์รู้ว่าพระรถนั้นเป็นลูกของตน และเมื่อนางยักษ์ได้ทราบ
เรื่องเข้า จึงพยายามคิดแผนการที่จพกาจัดพระรถออกไปเสีย จึงแกล้งป่วยและต้องกินผลไม้ที่มีชื่อว่า มะม่วง
ไม่รู้หาว มะนาวไมรู้โห่ เพื่อรักษาอาการป่วยดังกล่าว ซึ่งต้นไม้ต้นนี้มีอยู่ที่เมืองยักษ์ ซึ่งมีลูกสาวของนางชื่อเมรี
อาศัยอยู่ จากนั้นนางยักษ์จึงไหว้วานให้พระรถเดินทางไปนำผลไม้ดังกล่าวมาให้ ซึ่งนางยักษ์ได้ฝากสารไปถึง
นางเมรีด้วยว่า เมื่อพระรถเดินทางไปถึงเมืองเมื่อใดให้ฆ่าเมื่อนั้น แต่ในระหว่างการเดินทางพระรถบังเอิญได้
พบกับพระฤาษี ท่านฤาษีจึงได้ทำ การแปลงสารกลายเป็นว่า เมื่อพระรถเดินทางไปถึงเมื่อใดให้จัดงานแต่งงาน
เมื่อนั้น จึงทาให้พระรถและนางเมรี ได้แต่งงานกัน”

ถือเป็นเกร็ดความรู้ที่น่าสนใจอย่างยิ่ง ว่าต้นไม้สูงโปร่งที่ซ่อนเร้นอยู่หลังตึก 60 ปี ของเรา จะมีความเป็น


มาที่ยิ่งใหญ่เช่นนี้ ก่อนที่คนเราจะมองข้ามความสาคัญของเหล่าพรรณไม้ไปนั้น เรื่องราวเหล่านี้จะยังคงตรา
ตรึงอยู่กับนักพฤกษศาสตร์รุ่นเยาว์ของโรงเรียนนี้ตลอดไป

option , :
"
gqsigggewggmofsiiwsompfnedn.ld.IN ] .
.
COONAN ] bahamian
.
:
https://www.oaogsargsiofgipgna.com Ewoks 68gal AN 2563 .
พชรพล ลิขสิทธิ์วัฒนกุล เลขที่ 37 ห้อง 156

ต้นโพ ต้นโพธิ์ พระศรีมหาโพธิ์ และศาสนาพุทธ


คำว่ำ “โพธิ” แต่เดิมแล้วมิได้เป็นชื่อต้นไม้ชนิดใดชนิดหนึ่ง หำกแต่เป็นชื่อเรียกของต้นไม้ที่พระสัมมำสัม
พุทธเจ้ำแต่ละพระองค์ทรงประทับใต้ต้นไม้ต้นนั้น ๆ และได้ตรัสรู้ ต้นโพธิ์ จึงมีควำมหมำยว่ำ ต้นไม้แห่งกำรตรัสรู้
(โพธิ แปลว่ำ เป็นที่รู้หรือเป็นที่ตรัสรู้) และยังเป็นต้นไม้ที่ชำวพุทธ พรำหมณ์ และฮินดูให้ควำมเคำรพนับถือกัน
อย่ำงสูงอีกด้วย สรุปสำระสำคัญได้ว่ำ …
๑. พระพุทธเจ้ำทุกพระองค์ตรัสรู้เมื่อประทับนั่งใต้ต้นไม้ชนิดใดชนิดหนึ่ง ต้นไม้นั้นก็ได้นำมเรียกว่ำ โพธิรุกฺข
โพธิพฤกษ์ ต้นโพธิ์ เช่น ประทับนั่งใต้ต้นกำกะทิงแล้วตรัสรู้ ต้นกำกะทิงก็เป็น “ต้นโพธิ์”
๒. พระพุทธเจ้ำของเรำพระองค์นี้ประทับนั่ง ใต้ต้น “อัสสัตถะ” (ชื่อบำลี) ต้นอัสสัตถะนี้ภำษำไทยเรีย กว่ำ
“โพ” หรือต้นโพ ดังนั้น ต้นโพจึงเป็น “ต้นโพธิ์” ดังที่พจนำนุกรมบอกไว้ว่ำ “บัดนี้หมำยถึงต้นไม้จำพวก
โพ”
๓. สรุปว่ำ “ต้นโพธิ์” เป็นคำแสดงฐำนะของ “ต้นโพ” บอกให้รู้ว่ำ ต้นโพเป็นต้นไม้ตรัสรู้ของพระพุทธเจ้ำ
(เฉพำะพระองค์นี้) เมื่อจะเรียกชื่อต้นไม้ชนิดนี้ในภำษำไทย จึงต้องเขียนว่ำ “ต้นโพ” ไม่ใช่ “ต้นโพธิ์” แต่
อำจพูดเล่นสำนวนได้ว่ำ “ต้นโพเป็นต้นโพธิ์”
ต้นโพธิ์ มีถิ่นกำเนิดในประเทศอินเดีย จัดเป็นไม้ยืนต้นขนำดใหญ่ผลัดใบ แตกกิ่งก้ำนสำขำออกเป็นพุ่ม
ตรงส่วนยอดของลำต้น ปลำยกิ่งลู่ลง กิ่งอ่อนเกลี้ยง ตำมกิ่งมีรำกอำกำศห้อยลงมำบ้ำง ในไทยพบในธรรมชำติน้อย
มำก เข้ำใจว่ำกระจำยพันธุ์มำจำกต้นที่มีกำรนำมำปลูกเอง และพบขึ้นมำกตำมซำกอำคำร และนิยมปลูกกันทั่วไป
ในวัดทุกภำคของประเทศไท
ต้นโพธิ์ เป็นไม้ที่มีอำยุยืนยำวมำกชนิดหนึ่ง แต่เนื่องจำกมีกิ่งก้ำนแยกสำขำออกจำกลำต้นมำก จึงทำให้
เกิดเชื้อรำที่อำศัยควำมชุ่มชื้นจำกน้ำฝนที่ขังอยู่ตำมง่ำมไม้ แผ่ขยำยเข้ำทำลำยเนื้อไม้จนเป็นโพรง ซึ่งเรำมักจะพบ
เห็นได้ในต้นโพธิ์ที่มีขนำดใหญ่และมีอำยุมำก แต่ถ้ำเป็นโพรงอย่ำงรุนแรงก็อำจทำให้ต้นโพธิ์ตำยได้เหมือนกัน
ใบโพธิ์ ใบเป็นใบเดี่ยว ออกเรียงสลับ ลักษณะของใบเป็นรูปใจ ปลำยใบแหลมและมีติ่งหรือหำงยำว โคน
ใบมนเว้ ำ เข้ ำ หำก้ ำ นใบเป็ น รู ป หั ว ใจ ใบมี ข นำดกว้ ำ งประมำณ 8-15 เซนติ เ มตร และยำวประมำณ 12-24
เซนติเมตร ผิวใบเกลี้ยงเป็น
พชรพล ลิขสิทธิ์วัฒนกุล เลขที่ 37 ห้อง 156

ต้นพระศรีมหำโพธิ์ (บำลี: โพธิรุกฺข) เป็นต้นโพที่พระโคตมพุทธเจ้ำเคยประทับและตรัสรู้ ดังปรำกฏใน


คัมภีร์ทำงพระพุทธศำสนำว่ำต้นโพธิ์เปรียบได้กับพุทธอุเทสิกเจดีย์อย่ำงหนึ่ง ทำให้พันธ์ต้นโพกลำยเป็นพันธ์ไม้ที่
เป็นที่เคำรพนับถือของชำวพุทธเสมอมำนับแต่สมัยพุทธกำล ต้นโพธิ์ในพระพุทธประวัติสองต้นคือ ต้นพระศรีมหำ
โพธิ์ ณ พุทธคยำ สถำนที่ตรัสรู้ และต้นอำนันทโพธิ์ ณ วัดเชตวันมหำวิหำร ซึ่งอำนันทโพธิ์ยังคงยืนต้นมำจนถึง
ปัจจุบัน โดยคำว่ำ "ต้นพระศรีมหำโพธิ์" นั้น อำจหมำยถึงต้นที่อยู่ที่พุทธคยำ ต้นโพธิ์ที่สืบมำจำกหน่อโพธิ์ตรัสรู้ที่
พุทธคยำ หรือต้นโพธิ์ที่เป็นอุเทสิกเจดีย์อื่น ๆ ก็ได้ เช่น ต้นโพตำมวัดต่ำง ๆ
ในปัจจุบันต้นพระศรีโพธิ์สำคัญที่ยังคงยืนต้นอยู่ในปัจจุบันมี 3 ต้นด้วยกัน คือ ต้นพระศรีมหำโพธิ์ตรัสรู้ที่
พุทธคยำ, ต้นพระชัยศรีมหำโพธิ์เมืองอนุรำธปุระ, และต้นอำนันทโพธิ์วัดพระเชตวันมหำวิหำร แต่ต้นโพธิ์พระเจ้ำ
อโศกแห่งเมืองอนุรำธปุระ ที่นำหน่อพันธ์มำจำกพุทธคยำ
อย่ำงไรก็ตำมต้นพระศรีมหำโพธิ์ที่สืบหน่อมำจำกต้นพระศรีมหำโพธิ์ตรัสรู้ในประเทศไทยยังคงมีอยู่หลำย
ต้น เช่น ต้นพระศรีมหำโพธิ์ที่วัดต้นศรีมหำโพธิ์ (ที่เชื่อว่ำนำเข้ำมำปลูกสมัยทวำรำวดี) , วัดพระศรีรัตนมหำธำตุ
วรมหำวิหำร, วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนำรำมรำชวรวิหำร (ปลูกในสมัยพระบำทสมเด็จพระจุลจอมเกล้ำเจ้ำอยู่หัว)
เป็นต้น
แม้กำรทำลำยต้นโพธิ์ตำมคัมภีร์ทำงพระพุทธศำสนำจะระบุว่ำเป็นกำรทำบำปและหลบหลู่พระรัตนตรัย
แต่ในมหำสมณวินิจฉัย ของสมเด็จพระมหำสมณเจ้ำ กรมพระยำวชิรญำณวโรรส กล่ำวว่ำเฉพำะต้นพระศรีมหำโพธิ์
ที่เป็นอุทเทสิกเจดีย์เท่ำนั้น ต้นโพที่งอกทั่วไปและไม่ได้เป็นอุเทสิกำเจดี ย์ คือไม่มีผู้เคำรพบูชำในฐำนะตัวแทนของ
พระพุทธเจ้ำ (เช่นเดียวกับพระพุทธรูป)
ใบงานต'นไม'ในพระพุทธศาสนาภายในสวนพฤกษศาสตร8 โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา

ต#นไม#ที่เลือก ต"นมะม&วง
สถานที่ปลูก หน"าตึกศิลปะ ริมสระน้ำคูบัว

มะม&วง หรือที่ชาวฮินดูเรียกว&า “อะมะ” หรือ “อะมะริ” นี้ ตามพุทธประวัตกิ ล&าวว&า พระพุทธเจ"าได"


เสด็จไปประทับอยู&ในสวนอัมพวารามของหมอชีวกโกมาลพัตร ซึ่งเปPนปQามะม&วง มีต"นมะม&วงมากมาย และอีก
ตอนหนึ่ง ในขณะที่พระพุทธเจ"าได"ไปพำนักอยู&กับกัสสปฎิลดาบส พระUษีตนนั้นก็กราบทูลนิมันตWภัตกิจ
พระองคWก็ตรัสให"พระUษีไปก&อน ส&วนพระองคWได"เสด็จไปสวรรคWชั้นดาวดึงสW นำเอาปริฉัตรพฤกษชาติกลับมา
แต&เสด็จไปถึงก&อนUษีตนนั้นเสียอีก

มะม&วง เปPนพันธุWไม"ดั้งเดิมในแถบเอเชียเขตร"อนทั่วไป เดิมต"นพันธุWคือมะม&วงปQา ต&อมาได"มีการผสม


พันธุWและปรับปรุงพันธุใW ห"มะม&วงมีรสชาติต&าง ๆ กันออกไปอีกมากมายหลายชนิด การขยายพันธุสW ามารถใช"
เมล็ด ติดตา หรือทาบกิ่งก็ได"

จากพุทธประวัติเห็นได"ว&า ถ"าพระพุทธเจ"าไม&อาจเหาะเหินได"แล"ว พระองคWท&านจะต"องเปPนพหูสูตใน


การดำรงชีพในปQาเปPนอย&างยิ่ง โดยพระองคWทรงทราบว&าที่ใดมีผลไม"ใดที่รับประทานได" และรู"จักทางลัดต&าง ๆ
นำมาใช"เดินทางได"ดีมาก

นายภูริทัต ชูชัยยะ ม.6 ห2อง 156 เลขที่ 38


ต้นกล้วย

สมัยหนึ่ง พระผูม้ ีพระภาคประทับอยู่ ณ ภูเขาคิชฌกูฏ เขตกรุ ง ราชคฤห์ ณ ที่น้ นั เมื่อพระเทวทัตหลีกไป


ไม่นานนัก พระผูม้ ีพระภาครับสั่งเรี ยก ภิกษุท้ งั หลายมาตรัสปรารภพระเทวทัตว่า “ภิกษุท้ งั หลาย ลาภ
สักการะและชื่อเสี ยง เกิดขึ้นแก่พระเทวทัตเพื่อฆ่าตน เพื่อความเสื่ อม
ลาภสักการะและชื่อเสี ยงเกิดขึ้นแก่พระเทวทัตเพื่อฆ่าตน เพื่อความเสื่ อม เหมือนต้นกล้วยเผล็ดผลเพื่อฆ่า
ตน เพื่อความพินาศ ลาภสักการะและชื่อเสี ยงเกิดขึ้นแก่พระเทวทัตเพื่อฆ่าตน เพื่อความเสื่ อม เหมือนต้น
ไผ่ตกขุยเพื่อฆ่าตน เพื่อความพินาศ ลาภสักการะและชื่อเสี ยงเกิดขึ้นแก่พระเทวทัตเพื่อฆ่าตน เพื่อความ
เสื่ อม เหมือนไม้ออ้ ออกดอกเพื่อฆ่าตนเอง เพื่อความพินาศ
ลาภสักการะและชื่อเสี ยงเกิดขึ้นแก่พระเทวทัตเพื่อฆ่าตน เพื่อความเสื่ อม เหมือนแม่มา้ อัสดร
ตั้งครรภ์เพื่อฆ่าตน เพื่อความพินาศ” สักการะย่อมฆ่าบุรุษชัว่ เหมือนผลกล้วยฆ่าต้นกล้วย ขุยไผ่ฆ่าต้นไผ่
ดอกอ้อฆ่าต้นอ้อ ลูกม้าอัสดรฆ่าแม่มา้ ฉะนั้น
สาหรับนกลัวยนั้น พบนนบริ เวณสวนหย่อมบริ เวณตึกหนึ่ง ข้างสระน้ าคูบวั เป็ นต้นกล้วยขนาดเล็ก
ยังไม่ออกผล มีประโยชน์นนการสร้างความร่ มรื่ นและเพื่อความสวยงาม
ภูวะ เจนหัตถการกิจ 39/156
นายวิชยุตม์ อร่ามฤทธิกุล เลขที่ 40 ห้อง 156

ไมก
้ ฤษณาและศาสนาพุทธ
้ ฤษณา มีถิน
​ ไมก ้ ละเอเชียใต้ พบมากโดยเฉพาะในบริ เวณป่าดิบชื้น
่ กาํ เนิ ดในเอเชียตะวันออกเฉี ยงใตแ
ของประเทศอินโดนี เซีย, ไทย, กัมพูชา, ลาว, เวียดนาม, มาเลเซีย, อินเดียตอนเหนื อ, ฟิ ลิปปิ นส ์ และนิ วกินี
้ ขี าว เมื่อเกิดบาดแผล ตน
โดยทั่วไปจะมีเนื้ อไมส ้ ไมจ้ ะหลั่งสารเคมีออกมาเพื่อรักษาบาดแผลนัน
้ แตส
่ ารเคมี
จะขยายวงกวา้ งออกไปอีก กอ ้ ่
้ ึงมีสด
่ ให้เกิดเนื อไมซ ่ หอม เรี ยกวา่ "กฤษณา"
ี าํ กลิน

มีตาํ นานเกี่ยวกับไมก้ ฤษณาที่เลา่ ขานสืบตอ่ กันมาทางพุทธศาสนาวา่ เมื่อแรกประสูติ พระหัตถข์ ององค์


้ ฤษณา” ทาํ ให้เชื่อกันมาแตค
ศาสดาขา้ งหนึ่ งถือ “ดอกบัว” อีกขา้ งหนึ่ งถือ “ไมก ่ รัง้ โบราณกาลวา่ ดอกบัวเป็ น
ดอกไมม ้ งคล หากนําไปถวายพระสงฆห ์ รื อกราบไหวส้ ั กการบูชาพระพุทธเจา้ จะเป็ นสิริมงคลแกช่ ีวต ิ สว่ นไม้
กฤษณาก็ถือเป็ นไมม ้ งคลป้องกันภูตผีปีศาจไมใ่ ห้กลาํ ้ กลายได้ ผูเ้ ขา้ ไปหาของป่าหากไปนอนคา้ งแรมอยูใ่ ต้
ตน
้ กฤษณา สิงสาราสั ตวจ์ ะไมเ่ ขา้ มารบกวนให้ไดร้ ั บอันตราย บางคนนําไมก ้ ฤษณาปลูกไวใ้ นบา้ นหรื อใน

สวนเพือให้เป็ นสิริมงคล ป้องกันผีสางนางไมเ้ ขา้ มาในบา้ น และทาํ เป็ นธู ปจุดบูชาพระและประกอบพิธีตา่ งๆ
ทางศาสนา รวมถึงการนําไปเป็ น “ยาสมุนไพร” รักษาโรค

ยอ้ นไปสมัยพุทธกาลมีหลักฐานปรากฏชั ดวา่ ในพิธีสาํ คัญตา่ งๆ มักมีการใช้ “จตุชาติสุคนธ”์ คือ ของ


หอมธรรมชาติ 4 อยา่ ง ไดแ ่ ของกฤษณา กะลาํ พัก จันทน์ และดอกไม้ เพื่อประพรมระหวา่ งการ
้ ก่ กลิน
ประกอบพิธี เชน ่ พระราชพิธีมงคลถวายพระนามเจา้ ชายสิทธัตถะชว่ งปฐมวัย ตอนเหลา่ กษัตริ ยม ์ ั ลลราชโปรด
ให้ตกแตง่ และประพรมพื้นโรงราชสั ณฐาคารดว้ ยจตุชาติสุคนธ์ เพื่ออัญเชิญพระหีบทองน้อยที่บรรจุพระบรม
สารี ริกธาตุเขา้ ประดิษฐาน หรื อในตอนมหาภิเนษกรมน์ กลา่ วถึงการประดับพระแทน ่ บรรทมพระพุทธองค์
ดว้ ยพูพ่ วงสุคนธ กฤษณา อีกดว้ ย

ระหวา่ งพุทธศั กราช 942-957 พระภิกษุ ฟาเหียน ออกเดินทางจากเมืองจีนไปแสวงหาพระคัมภีร์


ไตรปิ ฎกในประเทศอินเดียและสิงหล มีการบันทึกในจดหมายเหตุ กลา่ วถึงการฌาปนกิจศพพระอรหันตอ์ งค์
หนึ่ งโดยถูกตอ ้ งตามแบบธรรมเนี ยมในพระวินัย มีการสร้างกองฟื นขนาดใหญม ่ ีสว่ นกวา้ งและสว่ นสูงเป็ นรู ป
สี่เหลี่ยมกวา่ 30 ศอก บริ เวณใกลย้ อดมีการวางลาํ ดับดว้ ยไมจ้ ั นทน์หอม ไมก
้ ฤษณา และไมช้ นิ ดที่มีกลิน ่
หอมชนิ ดอื่นๆ
นายวีรภัทร ชั ยสวัสดิ์ เลขที่ 41 ม.6 ห้อง 156

มะฮอกกานีใบใหญ่ 
Swietenia macrophylla  
พบที : ลานหน้าตึก 60 ป 
 
ต้นสูง 30-40 เมตร ลําต้นมีเส้นผ่านศูนย์กลางกว่า 3-4 เมตร ในสภาวะทีเหมาะสม สูงได้ถึง 60 
เมตร และมีเส้นผ่านศูนย์กลาง 9 เมตร ต้องการแสง ต้นตรง 
ทรงกระบอก มีรากพู พอนทีโคน เปลือกไม้ขรุขระ และหลุด
ล่อนเปนชินเล็ก ใบประกอบแบบขนนกปลายคู่ ยาว 60 
เซนติเมตร ใบย่อย 6-16 ใบ รูปไข่ รูปหอก ปลายใบค่อนข้าง
เรียวแหลม สีเขียวอ่อนหรือออกแดงเมือยังอ่อน เขียวเข้ม
และเปนมันเมือโตเต็มที ดอกมีเส้นผ่านศูนย์กลาง 8 
มิลลิเมตร ช่อดอกแยกแขนงปลายแคบ ยาว 8-13 
เซนติเมตร มีกลินหอม กลีบดอกขาวอมเหลือง รูปวงรี ยาว 
4 มิลลิเมตร มีทังดอกเพศผู้และดอกเพศเมีย ดอกเพศเมีย
ส่วนใหญ่อยู่กลางช่อ ออกดอกกลางถึงปลายฤดูแล้ง ผล
แตก แข็งเหมือนไม้ ยาว 10-20 เซนติเมตร ผลิตผลได้ 800 
ผลต่อต้น ภายในมีราว 50 เมล็ด เมล็ดปลิวไปตามลมช่วง
กลางฤดูแล้ง ปกติไปได้ห่างจากต้น 32-36 เมตรแต่อาจไป
ได้ถึง150 เมตร เมล็ดเริมงอกในฤดูฝน  
 
การใช้ประโยชน์ 
 
เนือไม้มะฮอกกานีเปนทีรู้จักไปทัวโลกเพราะความแข็งแรง ทนทาน ใช้ประโยชน์ได้หลากหลายและมีความ
สวยงาม ใช้ในการผลิตเครืองเรือน และของประดับตกแต่ง เปลือกและเมล็ดของมะฮอกกานีใช้บรรเทาอาการ
ท้องร่วง และแก้ปวดฟนของชาวพื นเมือง นํามันทีสกัดจากเปลือกใช้ในอุตสาหกรรมเครืองสําอาง 
 
 
พระสร้อย "บิณฑบาตกับต้นมะฮอกกานี" 
 
อัชฌาสัยของท่านผู้มีความต้องการในความรู้พิเศษ ทีมีความรู้รอบตัวยิงกว่าท่านผู้ทรงอภิญญา ๖ 
เรียกว่าอัชฌาสัยของท่านผู้ทรงปฏิสัมภิทัปปตโต 
 
ท่านผู้ทรงปฏิสัมภิทัปปตโตนี แปลว่ามีความรู้พร้อม คือท่านทรงคุณธรรมพิ เศษกว่า ท่านเตวิชโช 
ฉฬภิญโญหลายประการ เคยพบพระองค์หนึงในสมัยปจจุบันนี คือ พ.ศ. ๒๕๐๔ - ๒๕๐๕ ต่อกัน พระรูปนัน
มีชือว่า "พระสร้อย"  
เมือ พ.ศ. ๒๕๐๓ - ๒๕๐๔ ท่านปวย ได้เดินธุดงค์มาปกกลดอยู่ที บางกะป พระนคร ใครจะนิมนต์
ท่านเข้าไปในชายคาบ้านท่านไม่ยอมเข้า ต่อมาพลเรือตรีสนิทจํานามสกุลไม่ได้ เจ้ากรมแพทย์ทหารเรือไปพบเข้า
มีความเลือมใส นิมนต์ให้มารักษาตัวทีกรมแพทย์ทหารเรือ 
 
ปฏิปทาของท่านอาจารย์สร้อยทีมาอยู่ทีกรมแพทย์ทหารเรือก็คือ ตอนเช้าท่านจะต้องออก
บิณฑบาตทุกวัน ท่านไม่ได้ไปไกล ออกจากตึก ๑ ไปทีประตูกรมแพทย์ฯ ทีตรงนันมีต้นมะฮอกกานีอยู่ต้นหนึง 
เปนต้นไม้ มีพุ่มไสว สาขาใหญ่มาก ท่านเอาบาตรของท่านไปแขวนทีกิงมะฮอกกานี แล้วท่านก็ยืนหลับตาอยู่
สักครู่ ไม่เกิน ๑๕ นาที ท่านก็ลืมตาขึนแล้ว เอาบาตมา เดินกลับเข้าห้องพั กคนปวย 
 
ทีท่านไปยืนอยู่นันเปนทางผ่านเข้าออกของคนไปมาเปนปกติ ไม่มีขาดระยะคนเดินผ่าน ทุกคนเห็นท่าน
ยืนเฉยๆ ไม่เห็นใครเอาอะไรมาใส่ให้ แต่ทุกครังทีท่านเอาบาตกลับมา จะต้องมีข้าวสุกสีเหลืองน้อยๆ และดอก
ไม้แปลกๆ ทีไม่เคยเห็นในภพนีติดมาด้วย๒ - ๓ ดอกทุกครัง สร้างความแปลกใจแก่ผู้พบเห็นเปนประจํา 
 
นายวีรภัทร ชั ยสวัสดิ์ เลขที่ 41 ม.6 ห้อง 156

บาตรทีท่านจะเอาไปแขวนนัน นายทหารเปนคนจัดให้ นายทหารผู้นันยืนยันว่า ผมตรวจและ


ทําความสะอาดทุกวัน ผมรับรองว่า บาตรว่างไม่มีอะไรจริงๆ เมือท่านเอาบาตรไปแขวนก็อยู่ในสายตาของ
พวกผมเพราะไปไม่ไกลห่างจากตึก ๑ ประมาณไม่ถึง ๑๐ เมตร และติดกับยามประตูกรมแพทย์ หมายถึงที
ท่านไปยืนเอาบาตรแขวนต้นไม้ 
 
แต่แปลกทีพวกเราไม่เห็นว่าใครเอาของมาใส่เลย ทุกครังทีท่านเอาบาตรมาส่งให้กลับมีข้าวและ
ดอกไม้ทุกวัน ปกติท่านสอนเตือนให้คณะนายทหารละชัวประพฤติดีทุกวัน ทําเอานายทหารเลิกสุรายาเมาไป
หลายคน 
 
 
 
นายศักดิธัช เตมานุวัตร์ ม.6 ห้อง 156 เลขที่42

ใบงานต้นไม้ในพระพุทธศาสนาภายในสวนพฤกษศาสตร์ โรงเรี ยนเตรี ยมอุดมศึกษา

ต้นไม้ท่ีเลือก ต้นโพธิ์

สถานที่ปลูก หลังตึก 9

ในแต่ละปี พระพุทธองค์จะทรงประทับเพียง 8 เดือน ส่วน 4 เดือนที่เหลือของปี นอกฤดูฝน พระองค์จะเสด็จไปจารึ กแสดง


ธรรมในชนบทและหัวเมืองอื่น ชาวนครสารัตถีจะทูลเฝ้าพระพุทธเจ้าอยู่เป็ นนิจ ไม่ปรารถนาให้พระองค์เสด็จไปประทับที่อื่น จึง
ปรึ กษากันว่าจะทาอย่างไรเพื่อให้พระองค์ประทับอยู่ได้ตลอดทั้งปี เมื่อพระองค์ต้องเสด็จไปยังสถานที่อื่น จะหาสิ่ งใดแทนพระองค์
เพื่อเป็ นสัญลักษณ์ เครื่ องระลึกแทนได้ เมื่อความทราบไปถึงพระอานนท์เถระ จึงนาความกราบทูลให้พระพุทธเจ้าทราบ พระพุทธเจ้า
จึงรับสั่งให้มีการปลูกโพธิ์ที่ตาบลพุทธคยาหน้าวัดเชตวันเพื่อเป็ นเครื่ องหมายแทนพระองค์ จนเป็ นที่เคารพบูชาของคนทั้งปวง
พระโมคัลลานะ อัครสาวกฝ่ ายซ้ายทราบความประสงค์ของพระองค์จึงเหาะไปยังตาบลพุทธคยาเพื่อนาผลสุขแห่งโพธิ์กลับมา
ยังวิหารพระเชตวัน แล้วจึงปรึ กษากันว่าผูใ้ ดควรเป็ นผูป้ ลูก เบื้องต้นชาวเมืองและพระสงฆ์พร้อมใจถวายแด่พระเจ้าปเสนโกศลเป็ นผู ้
ทรงปลูก แต่พระองค์ได้ปฏิเสธ จนกระทัง่ ท้ายที่สุด อนาถบิณฑิกเศรษฐีได้เป็ นผูป้ ลูก จากนั้นชาวเมืองก็ได้นิยมไปสักการบูชาต้น
โพธิ์แทนพระพุทธเจ้า จึงเรี ยกชื่อกันว่าพระอานันทโพธิ์ เนื่องจากพระอานนท์เป็ นผูจ้ ดั การดูแลเรื่ องการปลูกทั้งสิ้น ต้นโพธิ์ตน้ นี้ยงั มี
อายุยืนอยู่ภายในวัดเชตวันวิหาร นครสาวัตถี ประเทศอินเดีย
นายสมิทธิ์โชติวิสิทธ์ ห้อง 156 เลขที่ 43

ต้นเสลาขาว
ชื่อวิทยาศาสตร์: LYTHRACEAE
ชื่ออื่น ๆ: ตะเกรียบ, ตะแบกขน, เสลาใบใหญ่, อินทชิต
ลักษณะ: ไม้ต้นผลัดใบ สูงถึง 35 ม. ใบเดี่ยว เรียงตรงข้าม รูปใบ
หอก รูปรี หรือรูปไข่ กว้าง 2.5-5 ซม. ยาว 8-13 ซม. มีขนรูปดาวนุ่ม
คล้ายขนสัตว์หนาแน่น หลุดร่วงง่าย ช่อดอกออกที่ปลายกิ่งหรือบางครั้ง
ออกที่ซอกใบ ยาวถึง 40 ซม. ดอกสีขาว หรือสีฟ้าอ่อน รังไข่มีขน ผลแห้ง
แล้วแตกเป็น 6 แฉก ผลอ่อนมีขน เมื่อแก่มีขนเฉพาะบริเวณปลายผล
ออกดอกเดือน มี.ค.-มิ.ย.

จุดที่พบในเตรียมอุดมศึกษา : บริเวณหน้าตึกศิลปะ และ หน้าตึก 60


ประโยชน์: ไม้ทำแกะสลัก ด้ามเครื่องมือ ทำพื้น รอด ตง
คาน ปลูกเป็นไม้ประดับ
ดอก: สีม่วงเวลาดอกบานช่อ
เปลือก: สีเทาดำ มีรอย ดอกจะแน่นเป็นรูปทรงกระบอก
แตกเป็นทางยาวตลอด กลีบดอกมักมี 6-8 กลีบผิวนอก
ลำต้น ของกลีบรองกลีบดอก เมื่อ บาน มี
ขนาดกว้าง 6.8-8.2 ซ.ม.

ใบ: ใบเดี่ยว ออกตรงกันข้าม ผล: กลมผิวแข็ง ยาว


แผ่นใบยาวรูปขอบขนานกว้าง ประมาณ 1.5 - 2.1 ซ.ม. ผล
6-10 ซ.ม. ยาว 16-24 ซ.ม. แห้งแตก 5 - 6 พูเมล็ดมีปีก
ปลายใบแหลมเป็นติ่งยาวเล็ก  
น้อย โคนมน

การทำไม่ถูกขั้นตอน (วรุณชาดก)
ในสมัยหนึ่ง พระพุทธเจ้า ประทับอยู่วัดเชตวัน เมืองสาวัตถี ทรง
ปรารภพระติสสเถระ บุตรพ่อค้าเมืองสาวัตถี ผู้เกียจคร้าน ได้ตรัส
อดีตนิทานมาสาธกว่า...

กาลครั้งหนึ่งนานมาแล้ว ในเมืองตักกศิลา แคว้นคันธาระ มีอาจารย์


ทิศาปาโมกข์ท่านหนึ่ง มีลูกศิษย์อยู่ประมาณ ๕๐๐ คน วันหนึ่งพวก
ลูกศิษย์พากันเข้าป่าไปหาฟืน ในจำนวนนั้นมีมานพผู้เกียจคร้าน อยู่
คนหนึ่ง ถือโอกาสที่เพื่อนเขาหักฟืน ไปปูผ้านอนหลับใต้ต้นกุ่ม

พอเพื่อนเขามัดฟืนได้แล้ว ก็หาบฟืนเดินผ่านไปใช้เท้าเตะปลุกเขาให้
ตื่นขึ้น เขารีบขยี่ตา ปีนขึ้นต้นกุ่มจับได้กิ่งไม้เสลากิ่งหนึ่งก็เหนี่ยวลง
มาหักเพราะนึกว่าเป็นกิ่งไม้แห้ง กิ่งไม้เสลานั้นก็ดีดตาข้างหนึ่งของ
เขาบอด เขารีบรวบรวมได้ฟืนหน่อยหนึ่งแล้วก็ตามเพื่อนกลับสำนัก

เย็นวันนั้น ชาวบ้านนอกมาเชิญพราหมณ์ไปประกอบพิธีในวันพรุ่งนี้
ขอให้พราหมณ์รับประทานข้าวเช้าก่อนไปเพราะบ้านอยู่ไกล อาจารย์
จึงกำชับให้หญิงรับใช้ตื่นต้มข้าวต้มตั้งแต่เช้าตรู่ พอถึงเวลาใกล้รุ่ง
หญิงรับใช้ ไปนำฟืนไม้เสลาที่มานพนั้นนำมาเป็นฟืนก่อไฟ จนตะวัน
ขึ้นไฟก็ไม่ติด ทำให้พวกมานพไม่ได้ทานข้าวต้ม จึงไปเล่าเรื่องต่างๆ
ให้อาจารย์ฟัง อาจารย์จึงกล่าวคาถาว่า
" งานซึ่งควรทำก่อน เขาทำทีหลัง เขาจะเดือดร้อนในภายหลัง
เหมือนมานพหักไม้เสลาเดือดร้อนอยู่ "

You might also like