You are on page 1of 27

พิ มพ์ ครั้งที่ 2 : ธันวาคม 2561

ตามพระราชบัญญัติการชุมนุมสาธารณะ พ.ศ.2558 3

คู่มือประชาชนว่าด้วยการใช้เสรีภาพการชุมนุมตาม
พระราชบัญญัติการชุมนุมสาธารณะ พ.ศ. 2558

เสรีภาพการชุมนุมโดยสงบและปราศจากอาวุธ
(Freedom of Peaceful Assembly) เป็นเสรีภาพที่ได้
รับการรับรองคุม้ ครองตามรัฐธรรมนูญและกติการะหว่าง
ประเทศว่ า ด้ ว ยสิ ท ธิ พ ลเมื อ งและสิ ท ธิ ท างการเมื อ ง
(ICCPR) และถือเป็นเรือ่ งปกติในสังคมประชาธิปไตยที่
ประชาชนจะออกมารวมตัวกันเพื่อส่งเสียงเรียกร้องให้
รัฐบาลหน่วยงานทีม่ อี ำ� นาจหน้าทีไ่ ด้รบั รูแ้ ละตอบสนอง
ต่อปัญหาความเดือดร้อน หรือเพือ่ แสดงออกและรณรงค์
ต่อสาธารณะในจุดยืนความคิดเห็นเรื่องหนึ่งเรื่องใด
เพื่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลง
แต่ ก ารรวมตั ว กั น เพื่ อ ใช้ เ สรี ภ าพการชุ ม นุ ม
ในปัจจุบันมีเงื่อนไขขั้นตอนและกฎเกณฑ์ที่เคร่งครัด
เพิ่มมากขึ้นนับตั้งแต่มีการประกาศใช้พระราชบัญญัติ
การชุมนุมสาธารณะ พ.ศ.2558 ประชาชนที่ต้องการ
ใช้เสรีภาพการชุมนุมทั้งผู้จัดและผู้เข้าร่วมชุมนุมจึงควร
ได้ศึกษาท�ำความเข้าใจทั้งข้อกฎหมายและแนวทาง
ปฏิบตั ิ เพือ่ ให้การชุมนุมสาธารณะสามารถด�ำเนินไปได้
โดยไม่มอี ปุ สรรคและเพือ่ ปกป้องรักษาสิทธิเสรีภาพของ
ตนเองไม่ให้ถกู ละเมิดจากการตีความบังคับใช้กฎหมาย
ที่ไม่ถูกต้องของเจ้าหน้าที่รัฐ
สารบัญคู่มือ

องค์ประกอบของการชุมนุมสาธารณะ 6 ขั้นตอนการด�ำเนินการของเจ้าหน้าที่ต�ำรวจ 33
เพื่อให้เลิกการชุมนุมสาธารณะที่ไม่ชอบด้วยกฎหมาย
การชุมนุมหรือกิจกรรมที่ไม่อยู่ในบังคับ 9
พ.ร.บ.การชุมนุมสาธารณะฯ กรณีตัวอย่างการใช้สิทธิทางศาล 40
เพื่อคุ้มครองเสรีภาพการชุมนุม
เงื่อนไขข้อจ�ำกัดเรื่องสถานที่ 11
และลักษณะการชุมนุม อุปสรรคการใช้เสรีภาพการชุมนุมของประชาชน 44

การแจ้งการชุมนุมสาธารณะ 14

ขั้นตอนการปฏิบัติของต�ำรวจ 22
กรณีเห็นว่าการชุมนุมที่รับแจ้ง
ขัดต่อเงื่อนไขเรื่องสถานที่และลักษณะการชุมนุม

หน้าที่ของเจ้าพนักงานดูแลการชุมนุมสาธารณะ 28
ผู้จัดการชุมนุม และผู้ชุมนุม
6 คู่มือประชาชนว่าด้วยการใช้เสรีภาพในการชุมนุม ตามพระราชบัญญัติการชุมนุมสาธารณะ พ.ศ.2558 7

นิยาม “การชุมนุมสาธารณะ” - ที่ดินหรือสิ่งปลูกสร้างที่หน่วยงานของรัฐไม่ได้


เป็นเจ้าของ แต่เป็น ผู้ครอบครองหรือใช้ประโยชน์ ซึ่ง
ก่ อ นที่ จ ะอธิ บ ายถึ ง เงื่ อ นไขขั้ น ตอนต่ า งๆ ตาม ประชาชนมีความชอบธรรมที่จะเข้าไปได้ เช่น สถานที่
พระราชบัญญัติการชุมนุมสาธารณะ พ.ศ.2558 คู่มือนี้ ที่หน่วยงานราชการไปเช่าเป็นที่ท�ำการ
จะท�ำความเข้าใจก่อนว่า การชุมนุมแบบใดบ้างที่เข้าข่าย - ทางหลวงตามกฎหมายว่าด้วยทางหลวง
เป็นการชุมนุมสาธารณะและอยูภ่ ายใต้บงั คับของกฎหมาย - ทางสาธารณะ คือทางบกหรือทางน�้ำส�ำหรับ
ฉบับนี้ ประชาชนใช้ในการจราจร และให้หมายความรวมถึงทาง
รถระบบรางทีม่ รี ถเดินส�ำหรับประชาชนโดยสารด้วย (ถนน
• องค์ประกอบของการชุมนุมสาธารณะ ทางเดินเท้า แม่น�้ำล�ำคลอง ทางรถไฟ)
(ต้องเข้าองค์ประกอบทุกข้อจึงจะถือเป็นการชุมนุมสาธารณะ
ที่อยู่ในบังคับของกฎหมาย)
1. เป็นการชุมนุมของบุคคลหลายคน : มีลักษณะ
ของการมารวมตัวกันของกลุ่มบุคคล ไม่ว่าจะ
มีจ�ำนวนกี่คน และไม่ว่าจะชุมนุมอยู่กับที่ หรือ ข้อสังเกตเรื่องที่สาธารณะ: กรณีเป็นที่เอกชน
มีการเดินขบวนหรือเคลื่อนย้ายการชุมนุมด้วย เช่น ในบริเวณบ้านและที่ดินส่วนบุคคล โรงแรม
หรือไม่ก็ตาม หอประชุม โรงงานอุตสาหกรรม และสวนไร่นา
2. เป็นการชุมนุมในที่สาธารณะ : “ที่สาธารณะ” ของเอกชน ไม่ถือเป็นที่สาธารณะ เว้นแต่ เป็นที่
หมายถึง ของเอกชนที่หน่วยงานรัฐเป็น ผู้ครอบครองหรือ
- ที่ดินหรือสิ่งปลูกสร้างที่เป็นทรัพย์สินของแผ่น ใช้ประโยชน์ และประชาชนมีความชอบธรรมที่จะ
ดินทีใ่ ช้เพือ่ สาธารณะประโยชน์หรือสงวนไว้เพือ่ ประโยชน์ เข้าไปได้ เช่น สถานที่ที่หน่วยงานรัฐเช่าเอกชน
ร่วมกัน หรือ ใช้เป็นส�ำนักงานที่ท�ำการ
8 คู่มือประชาชนว่าด้วยการใช้เสรีภาพในการชุมนุม ตามพระราชบัญญัติการชุมนุมสาธารณะ พ.ศ.2558 9

3. เป็นการชุมนุมที่มีวัตถุประสงค์เพื่อเรียกร้อง • การชุมนุมหรือกิจกรรมที่ไม่อยู่ในบังคับ พ.ร.บ.การชุมนุม


สนั บ สนุ น คั ด ค้ า น หรื อ แสดงความคิ ด เห็ น สาธารณะฯ
ในเรื่ อ งใดเรื่ อ งหนึ่ ง โดยการแสดงออกต่ อ การชุ ม นุ ม หรื อ กิ จ กรรมที่ มี ก ารรวมตั ว รวมกลุ ่ ม
ประชาชนทั่วไป เช่น มีการประกาศปราศรัย ในกรณีดังต่อไปนี้ ได้รับยกเว้นตามมาตรา 3 ไม่อยู่
ชูป้ายแสดงข้อความหรือสัญลักษณ์ สื่อสารให้ ในบั ง คั บ ต้ อ งปฏิ บั ติ ต ามพระราชบั ญ ญั ติ ก ารชุ ม นุ ม
คนทั่วไปรับรู้รับทราบ สาธารณะ พ.ศ.2558
4. บุคคลอื่นสามารถเข้าร่วมการชุมนุมนั้นได้ คือ 1. การชุมนุมเนือ่ งในงานพระราชพิธแี ละงานรัฐพิธี
มีการเชิญชวนให้บุคคลทั่วไปมาเข้าร่วมการ 2. การชุมนุมเพื่อประกอบพิธีกรรมทางศาสนา
ชุ ม นุ ม หรื อ เปิ ด ให้ ผู ้ ที่ ท ราบข่ า วการชุ ม นุ ม หรือกิจกรรมตามประเพณีหรือตามวัฒนธรรม
สามารถเข้าร่วมได้ แห่งท้องถิ่น
3. การจัดแสดงมหรสพ กีฬา ส่งเสริมการท่องเทีย่ ว
หรื อ กิ จ กรรมอื่ น เพื่ อ ประโยชน์ ท างการค้ า
ปกติของผู้จัดการชุมนุมนั้น เช่น คอนเสิร์ต
การฉายภาพยนตร์ ตลาดนัด
4. การชุมนุมภายในสถานศึกษา เช่น ในโรงเรียน
การประชุมพูดคุยหรือท�ำกิจกรรมกันภายในกลุ่ม มหาวิทยาลัย (แม้ครบองค์ประกอบการชุมนุม
ไม่ใช่การชุมนุมสาธารณะ สาธารณะ ก็ถือว่าได้รับการยกเว้น แต่อาจต้อง
ได้รับอนุญาตจากหัวหน้าสถานศึกษาเจ้าของ
สถานที่ก่อน)
5. การชุมนุมหรือการประชุมตามบทบัญญัติแห่ง
เช่น การรวมตัวกันเข้าร่วมแสดงออกในเวที
รับฟังความคิดเห็นประกอบการพิจารณาอนุมตั ิ
อนุญาตโครงการที่มีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
10 คู่มือประชาชนว่าด้วยการใช้เสรีภาพในการชุมนุม ตามพระราชบัญญัติการชุมนุมสาธารณะ พ.ศ.2558 11

6. การประชุมสัมมนาทางวิชาการของสถานศึกษา เงื่อนไขข้อจ�ำกัดเรื่องสถานที่และลักษณะการชุมนุม
หรือหน่วยงานที่มีวัตถุประสงค์ทางวิชาการ
7. การชุมนุมหาเสียงในช่วงที่มีการเลือกตั้ง (แต่ เมือ่ ผูท้ จี่ ะท�ำการชุมนุมได้ตรวจสอบแล้วเห็นว่าการ
ต้องปฏิบัติตามกฎหมายว่าด้วยการเลือกตั้ง) ชุมนุมของกลุ่มตนเข้าข่ายเป็นการชุมนุมสาธารณะ สิ่งที่
ต้องท�ำความเข้าใจต่อไปก็คือ สถานที่ใดบ้างที่มีข้อจ�ำกัด
หรือเงือ่ นไขในการใช้เป็นสถานทีช่ มุ นุมสาธารณะหรือเป็น
ข้อสังเกต: การชุมนุมทางศาสนาความเชื่อ ประเพณี ลักษณะต้องห้าม
วัฒนธรรมแห่งท้องถิ่นเพื่อสนับสนุนการเคลื่อนไหว
รณรงค์ของภาคประชาชนก็เข้าข้อยกเว้นนี้ด้วย เช่น • สถานที่ที่ห้ามไม่ให้มีการชุมนุมสาธารณะโดยเด็ดขาด
ทอดผ้าป่า ท�ำบุญสืบชะตา บวชป่า ลงแขกท�ำนา (มาตรา 7)
เป็นต้น 1. ภายในระยะรัศมี 150 เมตร จากเขตพระบรม
มหาราชวัง พระราชวัง วัง หรือสถานที่ประทับ
2. ภายในพื้นที่ของรัฐสภา ท�ำเนียบรัฐบาล และ
ศาลทุกศาล (ตั้งแต่นอกแนวรั้วออกมาสามารถ
ชุมนุมได้)
3. ภายในรั ศ มี ไ ม่ เ กิ น 50 เมตร รอบรั ฐ สภา
ท� ำ เนี ย บรั ฐ บาล และศาล เฉพาะกรณี ที่ มี
ประกาศของผู้บัญชาการต�ำรวจแห่งชาติหรือ
ผู ้ ที่ ไ ด้ รั บ มอบหมาย ที่ อ อกเป็ น การเฉพาะ
ในกรณีจ�ำเป็น เพื่อประโยชน์แห่งการรักษา
ความปลอดภัยสาธารณะและ
12 คู่มือประชาชนว่าด้วยการใช้เสรีภาพในการชุมนุม ตามพระราชบัญญัติการชุมนุมสาธารณะ พ.ศ.2558 13

เมื่อเจ้าหน้าที่กล่าวอ้างข้อห้ามตามข้อ 3) ผู้จัดการชุมนุม ข้อสังเกต:


ต้องขอดูหลักฐานประกาศและเหตุผลในการออกประกาศ • การชุมนุมที่จะถือว่ามีลักษณะรบกวนการปฏิบัติ
ดังกล่าว หากเห็นว่าไม่ถูกต้องหรือไม่มีเหตุผลเพียงพอ งานหรือการใช้บริการสถานที่ ต้องมีข้อเท็จจริง
มีสิทธิอุทธรณ์และยื่นฟ้องเพิกถอนประกาศดังกล่าวต่อ เพียงพอ และต้องพิจารณาประกอบกับมาตรา 15
ศาลปกครองได้ โดยปรึกษานักกฎหมายก่อนด�ำเนินการ (1) และ 16 (1) คือต้องถึงขนาดเป็นการขัดขวาง
และก่อให้เกิดความไม่สะดวกแก่ประชาชนที่จะ
ใช้ที่สาธารณะนั้นจนเกินสมควร หรือท�ำให้ผู้อื่น
• สถานที่ที่ ไม่ ได้ห้ามจัดการชุมนุมแต่มีเงื่อนไขลักษณะ เดือดร้อนเกินกว่าที่พึงคาดหมายได้ว่าอาจเกิดขึ้น
การชุมนุม (มาตรา 8) จากการชุมนุมสาธารณะ
สถานที่ดังต่อไปนี้ สามารถจัดการชุมนุมได้ แต่มี • พ.ร.บ.การชุมนุมสาธารณะฯ ไม่มขี อ้ ก�ำหนดห้ามการ
เงื่อนไขห้ามชุมนุมในลักษณะกีดขวางปิดทางเข้าออก ใช้อุปกรณ์สื่อสัญลักษณ์ใดๆ เช่น ธง ป้ายผ้า ป้าย
หรือ รบกวนการปฏิบัติงานหรือการใช้บริการสถานที่ ไวนิล หุ่นจ�ำลอง เสื้อรณรงค์ และไม่ได้ห้ามการใช้
1. สถานที่ท�ำการหน่วยงานของรัฐ เช่น ที่ท�ำการ เครือ่ งขยายเสียง แต่ตอ้ งมีคา่ ระดับเสียงสูงสุดไม่เกิน
กระทรวงหรื อ กรมต่ า งๆ ศู น ย์ ร าชการ 115 เดซิเบลเอ (ประกาศส�ำนักงานต�ำรวจแห่งชาติ
ศาลากลางจังหวัด ที่ว่าการอ�ำเภอ ที่ท�ำการ เรื่องก�ำหนดระดับเสียงฯ พ.ศ.2558)
เทศบาล/อบต.
2. สนามบิน ท่าเรือ สถานีรถไฟ หรือสถานีขนส่ง
สาธารณะ (รถทัวร์)
3. โรงพยาบาล สถานศึกษา และศาสนสถาน (วัด
โบสถ์ มัสยิด ฯลฯ)
4. สถานทูต สถานกงสุล ทีท่ ำ� การองค์การระหว่าง
ประเทศ
5. สถานที่อื่นตามที่รัฐมนตรีประกาศก�ำหนด
14 คู่มือประชาชนว่าด้วยการใช้เสรีภาพในการชุมนุม ตามพระราชบัญญัติการชุมนุมสาธารณะ พ.ศ.2558 15

การแจ้งการชุมนุมสาธารณะ ต่ อ ผู ้ บั ง คั บ การต� ำ รวจผู ้ รั บ ผิ ด ชอบพื้ น ที่ โ ดยตรง


ส�ำหรับพื้นที่กรุงเทพมหานครให้ยื่นต่อผู้บังคับการ
ผู้ประสงค์จะจัดการชุมนุมสาธารณะต้องแจ้งการ ต�ำรวจนครบาลผู้รับผิดชอบพื้นที่ ในจังหวัดอื่นให้ยื่น
ชุมนุมสาธารณะต่อหัวหน้าสถานีต�ำรวจแห่งท้องที่ที่จะ แจ้งการชุมนุมพร้อมค�ำขอผ่อนผันต่อผูบ้ งั คับการต�ำรวจ
จัดการชุมนุมสาธารณะ ก่อนเริ่มการชุมนุมไม่น้อยกว่า ภูธรจังหวัด
24 ชั่วโมง
• กรณีประสงค์จะจัดการชุมนุมสาธารณะในท้องที่ของ
สถานีตำ� รวจต่างๆ เกินกว่าหนึง่ ท้องทีซ่ งึ่ มีเขตต่อเนือ่ ง
กัน สามารถแจ้งการชุมนุมสาธารณะต่อหัวหน้าสถานี
ต�ำรวจเพียงแห่งเดียวในท้องที่หนึ่งที่ใดก็ได้ (ประกาศ ค�ำแนะน�ำ:
ส�ำนักนายกรัฐมนตรี เรือ่ ง ก�ำหนดวิธกี ารแจ้งการชุมนุม • กรณีทผี่ จู้ ดั การชุมนุมเดินทางไปยืน่ แจ้งการชุมนุม
สาธารณะ ข้อ 2) ทีส่ ถานีตำ� รวจ ให้ทำ� ส�ำเนาหนังสือแจ้งการชุมนุม
• การแจ้ ง การชุ ม นุ ม ต้ อ งท� ำ เป็ น หนั ง สื อ โดยระบุ 1 ฉบับให้เจ้าหน้าทีต่ ำ� รวจลงวันที-่ เวลารับแจ้ง และ
รายละเอียดตามแบบหนังสือแจ้งการชุมนุมสาธารณะ ลงลายมือชือ่ ก�ำกับไว้ในส�ำเนาเพือ่ เก็บไว้เป็นหลัก
(ขอรับได้ที่สถานีต�ำรวจทุกแห่งหรือดาวน์โหลดได้ที่ ฐานยืนยัน และขอทราบชื่อต�ำรวจผู้รับผิดชอบ
http://demonstration.police.go.th) แล้วยื่นแจ้งต่อ พร้อมเบอร์โทรศัพท์เพื่อติดตามผลการรับแจ้ง
หัวหน้าสถานีตำ� รวจในท้องทีจ่ ดั การชุมนุมโดยตรง หรือ • กรณีไม่สะดวกเดินทางไปยืน่ แจ้งทีส่ ถานีตำ� รวจใน
ส่งทางโทรสาร (แฟกซ์) หรือจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ ท้องทีจ่ ดั การชุมนุม ให้ใช้วธิ ยี นื่ แจ้งการชุมนุมทาง
(อีเมล) แล้วโทรศัพท์แจ้งการส่งหนังสือเพื่อยืนยันการ อีเมล โดยการตรวจสอบเขตพื้นที่รับผิดชอบและ
ได้รับแจ้ง โทรสอบถามขอทราบอีเมลส�ำหรับแจ้งการชุมนุม
• กรณี ไ ม่ ส ามารถแจ้ ง การชุ ม นุ ม ได้ ทั น ก่ อ นเริ่ ม การ จากสถานีตำ� รวจนัน้ และก�ำชับให้เจ้าหน้าทีต่ ำ� รวจ
ชุมนุมไม่น้อยกว่า 24 ชั่วโมง ให้ผู้ประสงค์จะจัดการ ตอบกลับเพือ่ ยืนยันการได้รบั อีเมลแจ้งการชุมนุม
ชุมนุมสาธารณะยืน่ แจ้งการชุมนุมพร้อมค�ำขอผ่อนผัน
16 คู่มือประชาชนว่าด้วยการใช้เสรีภาพในการชุมนุม ตามพระราชบัญญัติการชุมนุมสาธารณะ พ.ศ.2558 17

• เมื่ อ หั ว หน้ า สถานี ต� ำ รวจแห่ ง ท้ อ งที่ ที่ มี ก ารชุ ม นุ ม ข้อสังเกตและค�ำแนะน�ำ


สาธารณะได้รับหนังสือแจ้งการชุมนุมสาธารณะแล้ว
ต้องตรวจสอบความถูกต้องแล้วส่งหนังสือสรุปสาระ • ควรแจ้งการชุมนุมล่วงหน้าอย่างน้อย 3-7 วัน เพื่อให้
ส�ำคัญการชุมนุมสาธารณะให้แก่ผู้แจ้งการชุมนุมฯ มีเวลาแก้ไขเปลีย่ นแปลงสถานทีห่ รือรูปแบบการชุมนุม
ทราบภายใน 24 ชั่วโมงนับแต่เวลาที่ได้รับแจ้ง และ หรืออุทธรณ์โต้แย้งความเห็นของต�ำรวจผู้รับแจ้งการ
อาจมีค�ำแนะน�ำเพิ่มเติมเกี่ยวกับการดูแลการชุมนุม ชุมนุมสาธารณะ
สาธารณะเพือ่ ให้ผแู้ จ้งการชุมนุมสาธารณะปฏิบตั ิ หรือ • กรณีเจ้าหน้าทีต่ ำ� รวจมีคำ� สัง่ หรือก�ำหนดเงือ่ นไขใดๆ ให้
มีค�ำสั่งให้แก้ไขการชุมนุมภายในเวลาที่ก�ำหนด ผูช้ มุ นุมปฏิบตั ิ หากผูช้ มุ นุมเห็นว่าค�ำสัง่ หรือเงือ่ นไขของ
• การจั ด การชุ ม นุ ม สาธารณะโดยไม่ แ จ้ ง การชุ ม นุ ม ต�ำรวจนั้นไม่ถูกต้องหรือเกินกว่าที่กฎหมายให้อ�ำนาจ
ล่วงหน้าหรือไม่ได้รับอนุญาตให้ผ่อนผันการแจ้งถือ เช่น ห้ามชุมนุมในพืน้ ทีท่ กี่ ฎหมายไม่ได้หา้ มไว้ ห้ามถือ
เป็นการชุมนุมโดยไม่ชอบด้วยกฎหมาย มีโทษปรับ ป้ายแสดงข้อความ ห้ามใช้เครือ่ งขยายเสียง สามารถยืน่
ไม่เกินหนึ่งหมื่นบาท และเป็นเหตุให้ต�ำรวจสามารถ อุทธรณ์เป็นหนังสือระบุรายละเอียดเหตุผลการโต้แย้ง
ประกาศและร้องขอให้ศาลมีค�ำสั่งให้เลิกการชุมนุมได้ พร้อมลงลายมือชื่อผู้แจ้งการชุมนุม ยื่นต่อเจ้าหน้าที่
ต�ำรวจผู้ออกค�ำสั่งโดยเร็ว และต�ำรวจต้องแจ้งผลการ
วินิจฉัยอุทธรณ์ภายใน 24 ชั่วโมง
• กรณี ที่ ต ้ อ งการแก้ ไ ขเปลี่ ย นแปลงรายละเอี ย ดการ
ชุมนุมจากที่แจ้งไว้เดิม เช่น เพิ่มเรื่องการเดินขบวน
เคลื่ อ นย้ า ย หรื อ ขยายระยะเวลาการชุ ม นุ ม จาก
ก�ำหนดเดิม ให้ผจู้ ดั การชุมนุมท�ำหนังสือแจ้งต่อหัวหน้า
สถานีต�ำรวจผู้รับผิดชอบเพิ่มเติม ก่อนการเคลื่อนย้าย
หรือก่อนสิ้นสุดระยะเวลาเดิม
18 คู่มือประชาชนว่าด้วยการใช้เสรีภาพในการชุมนุม ตามพระราชบัญญัติการชุมนุมสาธารณะ พ.ศ.2558 19

• การแจ้ ง การชุ ม นุ ม รวมถึ ง หนั ง สื อ ขอผ่ อ นผั น หรื อ ตัวอย่างการส่งอีเมลแจ้งการชุมนุม


อุทธรณ์ค�ำสั่ง ต้องท�ำส�ำเนาเก็บไว้อย่างน้อย 1 ชุด หัวเรื่อง: แจ้งการชุมนุมสาธารณะ (กลุ่ม...................)
พร้อมหลักฐานการลงรับหรือใบตอบรับไปรษณีย์ เรียน หัวหน้าสถานีต�ำรวจ.................
• หากต�ำรวจมีหนังสือแจ้งยืนยันไม่เปลี่ยนแปลงค�ำสั่ง ด้วยประชาชนกลุ่ม........................... จะจัดการชุมนุม
ตามที่ยื่นอุทธรณ์ ผู้จัดการชุมนุมมีสิทธิฟ้องร้องต่อ สาธารณะในวันที่.................. ณ บริเวณ....................... จึงขอน�ำส่ง
ศาลเพื่อเพิกถอนค�ำสั่งเกี่ยวกับการชุมนุม โดยปรึกษา หนังสือแจ้งการชุมนุมสาธารณะมายังท่าน โดยมีรายละเอียด
นักกฎหมายทนายความเพิ่มเติม ตามไฟล์แนบ เพื่อแจ้งการชุมนุมสาธารณะตามที่กฎหมาย
ก�ำหนด
จึงเรียนมาเพือ่ โปรดทราบและช่วยอ�ำนวยความสะดวก
ในการชุมนุมด้วย และหากท่านได้รับอีเมลพร้อมหนังสือแจ้ง
การชุมนุมแล้ว โปรดตอบกลับยืนยันทางอีเมลนี้ด้วย

ขอแสดงความนับถือ
นาย/นาง/นางสาว ..........................................
ตัวแทนกลุ่ม....................
วันที่.................................
เบอร์โทรติดต่อ: ……………………..

อย่าลืม:
แนบไฟล์หนังสือแจ้งการชุมนุมที่กรอกรายละเอียดและ
ลงลายมือชื่อผู้แจ้งแล้วและโทรแจ้งต�ำรวจให้ตรวจเช็ค
อีเมลหลังจากส่งไปแล้วว่าได้รับหรือไม่
20 คู่มือประชาชนว่าด้วยการใช้เสรีภาพในการชุมนุม ตามพระราชบัญญัติการชุมนุมสาธารณะ พ.ศ.2558 21
22 คู่มือประชาชนว่าด้วยการใช้เสรีภาพในการชุมนุม ตามพระราชบัญญัติการชุมนุมสาธารณะ พ.ศ.2558 23

ขั้นตอนการปฏิบัติของต�ำรวจ 5. ในระหว่างมีค�ำสั่งห้ามชุมนุม หรือระหว่างการ


กรณีเห็นว่าการชุมนุมที่รับแจ้งขัดต่อเงื่อนไข อุทธรณ์และพิจารณาวินจิ ฉัยอุทธรณ์ ให้งดการ
ตามมาตรา 7 และ 8 เรื่องสถานที่และลักษณะการชุมนุม จัดชุมนุมสาธารณะ ฝ่าฝืนมีโทษปรับและจ�ำคุก

1. หัวหน้าสถานีตำ� รวจทีร่ บั แจ้งการชุมนุม สามารถ


มีคำ� สัง่ ให้ผแู้ จ้งการชุมนุมแก้ไขเรือ่ งสถานทีแ่ ละ
ลักษณะการชุมนุมภายในเวลาทีก่ ำ� หนดได้ (ต้อง หากเป็นไปได้ควรยื่นแจ้งการชุมนุมล่วงหน้าไม่น้อยกว่า
สั่งให้แก้ไขก่อน ไม่สามารถห้ามชุมนุมได้ทันที) 3 วัน เพื่อให้มีเวลาเพียงพอส�ำหรับการอุทธรณ์โต้แย้ง
2. ในกรณีที่ผู้แจ้งการชุมนุมไม่ปฏิบัติตามค�ำสั่ง หรือปรับเปลี่ยนแผนก่อนถึงวันชุมนุม
ดังกล่าว หัวหน้าสถานีตำ� รวจทีร่ บั แจ้ง สามารถ
ออกค�ำสั่งห้ามชุมนุมเป็นหนังสือไปยังผู้แจ้ง
3. หากผูแ้ จ้งการชุมนุมไม่เห็นด้วยกับค�ำสัง่ ให้แก้ไข
หรือห้ามชุมนุมของต�ำรวจ สามารถยื่นอุทธรณ์
เป็นหนังสือต่อผูบ้ งั คับการต�ำรวจนครบาล หรือ
ผู้บังคับการต�ำรวจภูธรจังหวัด โดยสามารถยื่น
ผ่านหัวหน้าสถานีต�ำรวจที่ออกค�ำสั่งเพื่อส่งต่อ
ผู้บังคับบัญชา
4. เมื่ อ มี ก ารยื่ น อุ ท ธรณ์ แ ล้ ว ผู ้ บั ง คั บ บั ญ ชาที่
รับอุทธรณ์จะต้องวินิจฉัยและแจ้งค�ำวินิจฉัย
อุทธรณ์ภายในเวลา 24 ชั่วโมง ค�ำวินิจฉัย
อุทธรณ์นั้นให้เป็นที่สุด (แต่ไม่ตัดสิทธิผู้แจ้ง
การชุมนุมทีจ่ ะยืน่ ฟ้องโต้แย้งค�ำวินจิ ฉัยต่อศาล)
24 คู่มือประชาชนว่าด้วยการใช้เสรีภาพในการชุมนุม

ข้อควรปฏิบัติเมื่อต�ำรวจมีค�ำสั่งเรื่องสถานที่และลักษณะ
การชุมนุม
- ตรวจสอบว่าเจ้าหน้าที่ต�ำรวจออกค�ำสั่งเกินกว่า
เงื่อนไขที่กฎหมายก�ำหนดหรือไม่
- ตรวจสอบว่ า สถานที่ จั ด การชุ ม นุ ม สาธารณะ
เป็นสถานที่ต้องห้ามชุมนุมตามกฎหมายหรือไม่
- กฎหมายก�ำหนดให้เจ้าหน้าทีต่ ำ� รวจมีอำ� นาจเพียง
การสั่งให้ผู้ชุมนุมแก้ไข แต่ไม่ได้ให้อ�ำนาจก�ำหนดเลือก
สถานที่ชุมนุมให้แก่ผู้ชุมนุม หากมีการออกค�ำสั่งก�ำหนด
ให้ไปใช้สถานทีใ่ ดโดยเฉพาะเจาะจง ย่อมถือเป็นการออก
ค�ำสั่งเกินกว่าที่กฎหมายให้อ�ำนาจ
- กรณีทเี่ จ้าหน้าทีต่ ำ� รวจสัง่ ห้ามชุมนุมในรัศมีไม่เกิน
50 เมตรรอบพื้นที่รัฐสภา ท�ำเนียบรัฐบาล และศาล ต้อง
ขอตรวจสอบดูว่าได้มีการออกประกาศของผู้บัญชาการ
ต�ำรวจแห่งชาติหรือผู้ที่ได้รับมอบหมายเป็นการเฉพาะ
หรือไม่ และเหตุผลในการออกประกาศชอบด้วยกฎหมาย
หรือไม่
รมต.= รัฐมนตรี
ดําเนินการใหมีการเลิกการชุมนุม และมีอํานาจดังนี้ (ม.24) ผบช.น.= ผูบัญชาการนครบาล
1. จับผูอยูในพื้นที่ควบคุมหรือเขาไปโดยไมไดอนุญาต ผจว.= ผูวาราชการจังหวัด
2. คน ยืด อายัด หรือรื้อถอนทรัพยสินที่ใชหรือมีไวเพื่อใชในการชุมนุม
3. กระทําการที่จําเปนตามแผนหรือแนวทางดูแลการชุมสาธารณะ
แผนผังขั้นตอนการแจŒงและรับแจŒงการชุมนุมสาธารณะ 4. มีคําสั่งหามกระทําการใดๆ เพื่อประโยชนในการดําเนินการใหมีการเลิกการ
ขั้นตอนการปฏิชุบมนุัตมิขสาธารณะ
องเจาหนาที่ในกรณีมีการชุมนุมทีไ่ มชอบดวยกฎหมาย
ผบก.น/ผบก.ภ.จว.
ยื่นขอผ‹อนผันต‹อ พ�จารณา/ แจŒงคําสั่ง มีการชุมนุมทีไ่ มชอบดวยกฎหมาย
ชุมนุมชอบ
ผบก.น/ผบก.ภ.จว. ภายใน 24 ชม. ใหŒผ‹อนผัน ดŒวยกฎหมาย
(ม.12 วรรคหนึ่ง) (ม.12 วรรคสาม)
ประกาศใหแกไขการชุมนุม (ม.21(2)) ประกาศใหเลิกการชุมนุม (ม.21(1)) การชุมนุมที่มีลกั ษณะรุนแรงและอาจ
*** หมายเหตุ *** เปนอันตราย จนเกิดความวุนวาย
ไม‹ใหŒผ‹อนผัน หน.สน. = หัวหนŒาสถานีตํารวจแห‹งทŒจพณ.สั
องที่ที่ม่งีกใหารชุ
ผูชมุมนุนุมมสาธารณะ
ยุติการกระทํานั้น
แกไข ไมแกไข เลิกการชุมนุม ผบก.น.ไมเ=ลิกผูการชุ
Œบังคับมการตํ
นุม ารวจนครบาล (ม.25 วรรคหนึ่ง)
ผบก.ภ.จว. = ผูŒบังคับการตํารวจภูธรจังหวัด
แจŒงล‹วงหนŒา
ไม‹ทันใน 24 ชม. ผูŒแจŒงการชุมนุม ใหŒผ‹อนผัน
(ม.12 วรรคหนึ่ง) อ�ทธรณต‹อผูŒบังคับบัญชา ชุมนุมตอไดโดยชอบดวยกฎหมาย ผูชุมนุมมีสิทธิยนื่ คํารอง
(พ.ร.บ. ว�ธีปฏิบัติราชการ คัดคานตอศาล
ทางปกครองฯ)
ไม‹ใหŒในระหว
ผ‹อนผันางรอสั่งศาล จพณ. มีอํานาจ จพณ. รองขอตอศาลแพงหรือศาล
จังหวัดใหมีคําสั่งใหเลิกการชุมนุม ผูชุมนุมมีสิทธิเขารวมการ
กระทําการที่จําเปนตามแผนหรือ
แนวทางการดูแลการชุมนุมสาธารณะ (ม.21 วรรคสอง) ไตสวนเพื่อคัดคานคํารอง
ผูŒประสงคจัดการชุมนุม ไม‹แกŒ ไข มีคําสั่งหŒามชุมนุม หากฝ†าฝ„นชุมนุม
ภายในกําหนด โดยแจŒงเปšนหนังสือ ถืหากศาลสั
อเปšนการชุ มนุม
(ม.11 วรรคสาม)ผูชุมนุมมีสิทธิอุทธรณคําสั่งศาล ไปยังผูŒแจŒงหากศาลสั ่งใหเลิกการชุมนุม
(ม.11 วรรคสาม) ่งยกคํารอง
ตอศาลอุทธรณ/ศาลอุทธรณภาค เจาพนักงานบังคับคดีปดประกาศคําสั่งศาล/ ที่ ไม‹ชอบดŒชุวมยกฎหมาย
นุมตอได (ม.14)
ถŒาเห็นว‹าไม‹ขัดใหŒแจŒง
แกŒ ไขภายในกําหนด (ม.22 วรรคสาม) ประกาศใหผูชุมนุมทราบ (ม.22 ว.4) โดยชอบดวยกฎหมาย
(ม.11 วรรคสอง)
แจŒงล‹วงหนŒา
ไม‹นŒอยกว‹า 24 ชม. แกŒ ไข ผูŒแจŒงการชุมนุมอ�ทธรณ ไดŒ
(ม.10 วรรคหนึ่ง) ภายในกําหนด ต‹อผูŒบังคับบัญชา
เหนือผูข�ช้นุมไปหนึ
นุมไม่งขัเลิ้นก(ม.11
ภายในระยะเวลาที
วรรคสี่) ก่ ําหนด
จพณ.ประกาศพื้นที่ควบคุม ใหผูชุมนุมออก
จากพื้นที่/หามบุคคลเขาไปในพืน้ ที่
พ�จารณาว‹า มีคําสั่งหŒามชุมนุม
เปšนการชุมนุม รายงานให รมต.ทราบ (ม.23 วรรคหนึ่ง)
หน.สน. สรุป ผูŒรับอ�ทธรณแจŒงการว�นิจฉัย
สาระสําคัญใน 24 ชม. ขัดต‹อการใชŒ
สถานที่ชุมนุมหร�อไม‹ ภายใน 24 ชม. นับแต‹ไดŒรับอ�ทธรณ
นับแต‹ไดŒรับแจŒง (ม.11 วรรคหŒา)
(ม.11 วรรคหนึ่ง) ม. 11 วรรคสอง เมื่อพนระยะเวลาที่กําหนด หากผูชุมนุมยังอยูใน
ประกอบ ม.7,8) มีคําสั่งใหŒชุมนุม
พื้นที่ควบคุม หรือเขาไปในพื้นที่ควบคุมโดยไมไดรับ
อนุญาต (ม.24 วรรคหนึ่ง)

ชุมนุมชอบ
ถŒาเห็นว‹าไม‹ขัด ดŒวยกฎหมาย
ผบช.น./ผจว./ผูซึ่ง รมต.มอบหมาย
เปนผูควบคุมสถานการณ ***หมายเหตุ***
(ม.23 วรรคสอง+ม.24) จพณ.= เจาพนักงานดูแลการ
ชุมนุมสาธารณะ
รมต.= รัฐมนตรี
28 คู่มือประชาชนว่าด้วยการใช้เสรีภาพในการชุมนุม ตามพระราชบัญญัติการชุมนุมสาธารณะ พ.ศ.2558 29

หน้าที่ของเจ้าพนักงานดูแลการชุมนุมสาธารณะ หมายเหตุ: เจ้าพนักงานฯ และต�ำรวจที่มีหน้าที่ดูแล


การชุ ม นุ ม สาธารณะต้ อ งผ่ า นการฝึ ก อบรมทั ก ษะ
*เจ้าพนักงานดูแลการชุมนุมสาธารณะ หมายถึง ความเข้าใจและอดทนต่อสถานการณ์การชุมนุม และต้อง
หัวหน้าสถานีต�ำรวจแห่งท้องที่ที่มีการชุมนุมสาธารณะ แต่งเครื่องแบบแสดงตนให้ชัดเจน
ผู้บังคับการหรือผู้บัญชาการต�ำรวจ (กรณีชุมนุมต่อเนื่อง
หลายพื้นที่) หรือต�ำรวจที่ ผบ.ตร. แต่งตั้งเพิ่มเติม

• หน้าที่ของเจ้าพนักงานดูแลการชุมนุมสาธารณะในการ ข้อควรปฏิบัติเมื่อเจ้าหน้าที่ต�ำรวจก�ำหนดเงื่อนไขหรือออก
คุ้มครองความสะดวกของประชาชนและการดูแลการชุมนุม ค�ำสั่งเกี่ยวกับการชุมนุมสาธารณะ
สาธารณะ (มาตรา 19) • ตรวจสอบว่าค�ำสั่งที่ก�ำหนดเงื่อนไขนั้น มีวัตถุประสงค์
(1) อ� ำ นวยความสะดวกแก่ ป ระชาชนที่ จ ะใช้ เพื่อการอ�ำนวยความสะดวกแก่ประชาชน การรักษา
ที่สาธารณะอันเป็นสถานที่ชุมนุม ความปลอดภัย หรือบรรเทาเหตุเดือดร้อนร�ำคาญ
(2) รักษาความปลอดภัย อ�ำนวยความสะดวก หรืออ�ำนวยความสะดวกในการจราจรและการขนส่ง
หรือบรรเทาเหตุเดือดร้อนร�ำคาญแก่ผู้อื่นซึ่งอยู่ในบริเวณ สาธารณะในบริเวณทีม่ กี ารชุมนุมและบริเวณใกล้เคียง
ใกล้เคียงกับสถานที่ชุมนุม หรือไม่ หากไม่ใช่ แต่เป็นการก�ำหนดเงื่อนไขหรือออก
(3) รักษาความปลอดภัยหรืออ�ำนวยความสะดวก ค�ำสั่งเพื่อการอื่นนอกเหนือกฎหมาย เช่น ก�ำหนด
แก่ผู้ชุมนุมในสถานที่ชุมนุม เงื่อนไขหรือค�ำสั่งที่เกี่ยวกับเนื้อหา ถ้อยค�ำ หรือสื่อ
(4) อ�ำนวยความสะดวกในการจราจรและการขนส่ง สัญลักษณ์ทใี่ ช้ในการชุมนุมสาธารณะ ย่อมถือเป็นการ
สาธารณะในบริเวณที่มีการชุมนุมและบริเวณใกล้เคียง ออกค�ำสั่งที่ไม่ชอบด้วยกฎหมาย
เพื่อให้ประชาชนได้รับผลกระทบจากการชุมนุมน้อยที่สุด • หากผู้ชุมนุมเห็นว่าเป็นการออกค�ำสั่งที่ไม่ชอบด้วย
(5) ก�ำหนดเงื่อนไขหรือมีค�ำสั่งให้ผู้จัดการชุมนุม กฎหมาย ควรท�ำหนังสือโต้แย้งค�ำสั่งไปที่สถานีต�ำรวจ
ผูช้ มุ นุม หรือผูอ้ ยูภ่ ายในสถานทีช่ มุ นุมต้องปฏิบตั ติ ามเพือ่ ทีอ่ อกค�ำสัง่ เพือ่ เป็นหลักฐานยืนยันสิทธิและความชอบ
ประโยชน์ในการปฏิบัติหน้าที่ตามข้อ (1) (2) (3) หรือ (4) ธรรมในการใช้เสรีภาพการชุมนุมโดยชอบด้วยกฎหมาย
30 คู่มือประชาชนว่าด้วยการใช้เสรีภาพในการชุมนุม ตามพระราชบัญญัติการชุมนุมสาธารณะ พ.ศ.2558 31

• หน้าที่ของผู้จัดการชุมนุม (มาตรา 15) • หน้าที่ของผู้ชุมนุม (มาตรา 16)


(1) ดูแลและรับผิดชอบการชุมนุมสาธารณะให้เป็น (1) ไม่ก่อให้เกิดความไม่สะดวกแก่ประชาชนที่จะ
ไปโดยสงบและปราศจากอาวุธภายใต้ขอบเขตการใช้สทิ ธิ ใช้ที่สาธารณะอันเป็นที่ชุมนุมหรือท�ำให้ผู้อื่นได้รับความ
และเสรีภาพตามบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญ เดือดร้อนเกินที่พึงคาดหมายได้ว่าเป็นไปตามเหตุอันควร
(2) ดูแลและรับผิดชอบการชุมนุมสาธารณะไม่ให้ (2) ไม่ปิดบังหรืออ�ำพรางตนโดยจงใจมิให้มีการ
เกิดการขัดขวางเกินสมควรต่อประชาชนทีจ่ ะใช้ทสี่ าธารณะ ระบุตัวบุคคลได้ถูกต้อง เว้นแต่เป็นการแต่งกายตามปกติ
ตลอดจนดูแลและรับผิดชอบให้ผชู้ มุ นุมปฏิบตั ติ ามมาตรา ประเพณี
16 (3) ไม่พาอาวุธ ดอกไม้เพลิง สิง่ เทียมอาวุธปืน หรือ
(3) แจ้งให้ผู้ชุมนุมทราบถึงหน้าที่ของผู้ชุมนุมตาม สิ่งที่อาจน�ำมาใช้ได้อย่างอาวุธ เข้าไปในที่ชุมนุมไม่ว่าจะ
มาตรา 16 และเงื่อนไขหรือค�ำสั่งของเจ้าพนักงานดูแล ได้รับอนุญาตให้มีสิ่งนั้นติดตัวหรือไม่
การชุมนุมสาธารณะ (4) ไม่บกุ รุกหรือท�ำให้เสียหาย ท�ำลาย หรือท�ำด้วย
(4) ให้ความร่วมมือแก่เจ้าพนักงานดูแลการชุมนุม ประการใดๆ ให้ใช้การไม่ได้ตามปกติซงึ่ ทรัพย์สนิ ของผูอ้ นื่
สาธารณะในการดูแลการชุมนุมสาธารณะให้เป็นไปตาม (5) ไม่ท�ำให้ผู้อื่นกลัวว่าจะเกิดอันตรายต่อชีวิต
(1) และ (2) ร่างกาย ทรัพย์สิน หรือเสรีภาพ
(5) ไม่ยยุ งส่งเสริมหรือชักจูงผูช้ มุ นุมเพือ่ ให้ผชู้ มุ นุม (6) ไม่ใช้ก�ำลังประทุษร้ายหรือขู่เข็ญว่าจะใช้ก�ำลัง
ไม่ปฏิบัติตามมาตรา 16 ประทุษร้ายผู้เข้าร่วมชุมนุมหรือผู้อื่น
(6) ไม่ปราศรัยหรือจัดกิจกรรมในการชุมนุมโดยใช้ (7) ไม่ขดั ขวางหรือกระท�ำการใด ๆ อันเป็นอุปสรรค
เครื่องขยายเสียงในระหว่างเวลา 24.00 นาฬิกา ถึงเวลา ต่ อ การปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ ข องเจ้ า พนั ก งานดู แ ลการชุ ม นุ ม
06.00 นาฬิกาของวันรุ่งขึ้น สาธารณะในการคุ้มครองความสะดวกของประชาชน
(7) ไม่ใช้เครือ่ งขยายเสียงด้วยก�ำลังไฟฟ้าทีม่ ขี นาด ในการใช้ทสี่ าธารณะ และการดูแลการชุมนุมสาธารณะนัน้
หรือระดับเสียงตามทีผ่ บู้ ญั ชาการต�ำรวจแห่งชาติประกาศ (8) ไม่เดินขบวนหรือเคลือ่ นย้ายการชุมนุมระหว่าง
ก�ำหนด (เกิน 115 เดซิเบลเอ) เวลา 18.00 นาฬิกา ถึงเวลา 06.00 นาฬิกา ของ
วันรุ่งขึ้น เว้นแต่ได้รับอนุญาตจากเจ้าพนักงานดูแลการ
32 คู่มือประชาชนว่าด้วยการใช้เสรีภาพในการชุมนุม ตามพระราชบัญญัติการชุมนุมสาธารณะ พ.ศ.2558 33

ชุมนุมสาธารณะ ขั้นตอนการด�ำเนินการของเจ้าหน้าที่ต�ำรวจ
(9) ปฏิบัติตามเงื่อนไขหรือค�ำสั่งของเจ้าพนักงาน
ดูแลการชุมนุมสาธารณะ • กรณีที่เจ้าพนักงานฯ สามารถด�ำเนินการเพื่อให้เลิก
การชุมนุมได้ ได้แก่
• กรณีการชุมนุมสาธารณะโดยไม่ชอบด้วยกฎหมาย
หมายเหตุ: เนื่องจากไม่ใช่การชุมนุมสาธารณะโดยสงบและ
• กรณีผู้จัดการชุมนุมหรือผู้ชุมนุมไม่ปฏิบัติตามหน้าที่ ปราศจากอาวุธ หรื อ เป็ น การชุ ม นุ ม สาธารณะที่
ดังกล่าว หรือชุมนุมฝ่าฝืนเงื่อนไขมาตรา 7 และ 8 ไม่ได้แจ้งการชุมนุมล่วงหน้าอย่างน้อย 24 ชั่วโมง
เรื่องสถานที่และลักษณะการชุมนุม หรือเดินขบวน ก่อนเริม่ ชุมนุม หรือไม่ได้รบั อนุญาตให้ผอ่ นผันระยะ
เคลื่ อ นย้ า ยการชุ ม นุ ม โดยไม่ ไ ด้ แ จ้ ง ล่ ว งหน้ า เวลาการแจ้งการชุมนุม
เจ้าพนักงานฯ มีอำ�นาจสั่งให้แก้ไขการชุมนุมภายใน • กรณีที่ไม่เลิกการชุมนุมภายในระยะเวลาตามที่ได้
ระยะเวลาที่กำ�หนด หากไม่แก้ไขตามคำ�สั่ง ถือว่ามี แจ้งไว้ และไม่ได้แจ้งขอขยายระยะเวลาการชุมนุม
ความผิด มีโทษทางอาญา และเจ้าพนักงานฯ มีอำ�นาจ ภายในเวลา 24 ชั่วโมงก่อนสิ้นสุดระยะเวลา
ร้องขอต่อศาลให้มีคำ�สั่งให้เลิกการชุมนุมได้ แต่หากผู้
จัดการชุมนุมไม่เห็นด้วยกับคำ�สั่งของเจ้าพนักงานฯ ก็
สามารถยื่นอุทธรณ์โต้แย้งคำ�สั่งได้
• ถ้าผู้จัดการชุมนุมหรือผู้ชุมนุมฝ่าฝืนหน้าที่ดังกล่าว
และเป็นการท�ำให้ระบบการขนส่งสาธารณะ ระบบการ เมือ่ มีการชุมนุมทีเ่ ข้าเงือ่ นไขตามกรณีขา้ งต้น เจ้าพนักงานฯ
สือ่ สารหรือโทรคมนาคม ระบบผลิตหรือส่งกระแสไฟฟ้า จะต้องประกาศให้ผู้ชุมนุมเลิกการชุมนุม ภายในระยะ
หรือประปา หรือระบบสาธารณูปโภคอืน่ ใดใช้การไม่ได้ เวลาที่ก�ำหนดก่อน
ไม่ว่าจะเป็นการชั่วคราวหรือถาวร ผู้จัดการชุมนุม
ต้ อ งระวางโทษจ� ำ คุ ก ไม่ เ กิ น สิ บ ปี หรื อ ปรั บ ไม่ เ กิ น
สองแสนบาท หรือทั้งจ�ำทั้งปรับ
34 คู่มือประชาชนว่าด้วยการใช้เสรีภาพในการชุมนุม ตามพระราชบัญญัติการชุมนุมสาธารณะ พ.ศ.2558 35

• กรณีไม่แก้ไขการชุมนุมตามค�ำสั่งของเจ้าพนักงานฯ • กรณีเจ้าพนักงานดูแลการชุมนุมสาธารณะยื่นค�ำร้อง
ภายในระยะเวลาที่ ก� ำ หนด ส� ำ หรั บ การชุ ม นุ ม ที่ ขอให้ศาลมีค�ำสั่งให้เลิกการชุมนุม จะต้องมีการด�ำเนินการ
ฝ่าฝืนข้อห้ามเรื่องสถานที่ห้ามชุมนุม การไม่ปฏิบัติ ตามขั้นตอนดังต่อไปนี้
ตามหน้าที่ของผู้จัดการชุมนุมหรือผู้ชุมนุม การเดิน
ขบวนหรือเคลื่อนย้ายการชุมนุมโดยไม่ได้แจ้งล่วง • ศาลจะนัดไต่สวนเจ้าพนักงานฯ ผู้ร้อง และศาลจะ
หน้าต่อหัวหน้าสถานีต�ำรวจที่รับผิดชอบดูแลการ ต้องมีหมายนัดไต่สวนส่งถึงผู้จัดการชุมนุมซึ่งโดย
ชุมนุมสาธารณะ ทั่วไปคือผู้ที่แจ้งการชุมนุมสาธารณะด้วย เพื่อให้
สามารถใช้สิทธิโต้แย้งในกระบวนการไต่สวน
• หากผู้ชุมนุมไม่ปฏิบัติตามประกาศให้เลิกการชุมนุมหรือแก้ ไข • หมายนัดไต่สวนดังกล่าวต้องท�ำเป็นเอกสาร และมี
การชุมนุม เจ้าพนักงานดูแลการชุมนุมสาธารณะต้องร้องขอ เจ้าหน้าทีศ่ าลเป็นผูน้ ำ� ส่ง มิใช่เพียงการโทรศัพท์แจ้ง
ต่อศาลแพ่งหรือศาลจังหวัด เพื่อให้ศาลพิจารณามีค�ำสั่งให้ กรณีไม่มผี รู้ บั หมาย เจ้าหน้าทีอ่ าจใช้วธิ ปี ดิ ประกาศ
ผู้ชุมนุมเลิกการชุมนุมสาธารณะนั้น หมายนัดไต่สวนไว้ในบริเวณสถานทีช่ มุ นุม ผูจ้ ดั การ
ชุมนุมจึงควรสังเกตหรือสอบถามเจ้าหน้าที่ต�ำรวจ
ข้อสังเกต: การชุมนุมสาธารณะโดยไม่ชอบด้วยกฎหมาย ให้ชัดเจนเพื่อรักษาสิทธิของตน
ไม่ถือเป็นการกระท�ำความผิดซึ่งหน้า ต�ำรวจไม่สามารถ • เมื่ อ ศาลมี ห มายนั ด ไต่ ส วน หากผู ้ จั ด การชุ ม นุ ม
จับกุมได้ทันที แต่ต้องปฏิบัติตามขั้นตอนที่ พ.ร.บ.การ เห็นว่าการชุมนุมมิได้ขดั ต่อกฎหมาย ควรเข้าไปร่วม
ชุมนุมสาธารณะฯ ก�ำหนดก่อน โดยต้องรอให้มีค�ำสั่ง ในกระบวนการไต่สวน เพื่อน�ำเสนอข้อเท็จจริงและ
ศาลให้เลิกการชุมนุม และมีการประกาศให้ออกจากพืน้ ที่ โต้แย้งคัดค้านค�ำร้องของเจ้าพนักงานฯ ทีข่ อให้ศาล
ควบคุมก่อน สั่งเลิกการชุมนุม
ข้อพึงระวัง: ผูช้ มุ นุมควรระมัดระวังการฝ่าฝืนกฎหมายอืน่ • กรณี ที่ ศ าลมี ค� ำ สั่ ง ให้ เ ลิ ก การชุ ม นุ ม สาธารณะ
เช่น กฎหมายจราจร กฎหมายทางหลวง หรือกฎหมาย เจ้ า พนั ก งานบั ง คั บ คดี ต ้ อ งน� ำ ค� ำ สั่ ง ศาลไปปิ ด
อาญาข้อหาอื่นๆ อันอาจเป็นเหตุความผิดซึ่งหน้าท�ำให้ ประกาศ ณ ที่ชุมนุม และประกาศให้ผู้ชุมนุมทราบ
เจ้าหน้าที่ต�ำรวจสามารถด�ำเนินการจับกุมได้
36 คู่มือประชาชนว่าด้วยการใช้เสรีภาพในการชุมนุม

• หากไม่เห็นด้วยกับค�ำสั่งศาลที่ให้เลิกการชุมนุม
สาธารณะ ผู ้ ชุ ม นุ ม มี สิ ท ธิ อุ ท ธรณ์ ค� ำ สั่ ง ต่ อ ศาล
อุทธรณ์ ภายใน 1 เดือนนับแต่ได้รับแจ้งค�ำสั่งศาล

ข้อยกเว้น: ถ้าเป็นกรณีท่ีผู้ชุมนุมกระท�ำการใดๆ ที่มี


ลักษณะรุนแรงและอาจเป็นอันตรายแก่ชีวิต ร่างกาย
จิตใจ หรือทรัพย์สินของผู้อื่นจนเกิดความวุ่นวายขึ้นใน
บ้านเมือง เจ้าพนักงานดูแลการชุมนุมสาธารณะมีอำ� นาจ
สัง่ ให้ยตุ กิ ารกระท�ำนัน้ และสามารถประกาศพืน้ ทีค่ วบคุม
เพือ่ ด�ำเนินการตามกฎหมายได้ โดยไม่ตอ้ งร้องขอต่อศาล
ให้มีค�ำสั่งให้เลิกการชุมนุมก่อน (มาตรา 25)

ค�ำแนะน�ำเพิ่มเติม:
• ในการปฏิบตั กิ ารต่างๆ ของเจ้าหน้าทีท่ งั้ ต�ำรวจและ
ฝ่ายอื่นๆ ผู้ชุมนุมควรเก็บรวบรวมหนังสือเอกสาร
ค�ำสั่งที่เกี่ยวข้องทุกฉบับ และท�ำการบันทึกวิดีโอ
และภาพเหตุการณ์ไว้ด้วยทุกครั้งเพื่อเป็นหลักฐาน
การด�ำเนินการทางกฎหมายหรือต่อสู้คดี
• หากผู้ ชุ ม นุ ม ถู ก ปิ ด กั้ น หรื อ สลายการชุ ม นุ ม โดย
ไม่ชอบด้วยกฎหมายและก่อให้เกิดความเสียหาย
ผู้ชุมนุมอาจฟ้องขอให้ศาลสั่งคุ้มครองการชุมนุม
และให้ เ จ้ า หน้ า ที่ ตำ�รวจรั บ ผิ ด ชดใช้ เ ยี ย วยา
ความเสียหายได้
รมต.= รัฐมนตรี
ดําเนินการใหมีการเลิกการชุมนุม และมีอํานาจดังนี้ (ม.24) ผบช.น.= ผูบัญชาการนครบาล
1. จับผูอยูในพื้นที่ควบคุมหรือเขาไปโดยไมไดอนุญาต ผจว.= ผูวาราชการจังหวัด
2. คน ยืด อายัด หรือรื้อถอนทรัพยสินที่ใชหรือมีไวเพื่อใชในการชุมนุม
3. กระทําการที่จําเปนตามแผนหรือแนวทางดูแลการชุมสาธารณะ
ขั้นตอนการปฏิบัติของเจŒาหนŒาที่ 4. มีคําสั่งหามกระทําการใดๆ เพื่อประโยชนในการดําเนินการใหมีการเลิกการ
ในกรณีมีการชุมนุมที่ ไม‹ชอบดŒวยกฎหมาย ชุมนุมสาธารณะ
หากศาลสั่งยกคํารŒอง
ชุมนุมต‹อไดŒโดยชอบ
ดŒวยกฎหมาย
ชุมนุมต‹อไดŒ
โดยชอบดŒวยกฎหมาย

ผูŒชุมนุมมีสิทธิเขŒาร‹วมการ ผูŒชุมนุมมีสิทธิอ�ทธรณคําสั่งศาล
ไต‹สวนเพ�่อคัดคŒานคํารŒอง ต‹อศาลอ�ทธรณ/ศาลอ�ทธรณภาค
แกŒ ไข (ม.22 วรรคสาม)
ประกาศใหŒแกŒ ไข
การชุมนุม (ม.21(2))
ไม‹แกŒ ไข จพณ. รŒองขอต‹อศาลแพ‹งหร�อศาล หากศาลสั่งใหŒเลิกการชุมนุม
จังหวัดใหŒมีคําสั่งใหŒเลิกการชุมนุม เจŒาพนักงานบังคับคดีปดประกาศคําสั่งศาล/
(ม.21 วรรคสอง) ประกาศใหŒผูŒชุมนุมทราบ (ม.22 ว.4)
ไม‹เลิกการชุมนุม
มีการชุมนุมที่ ประกาศใหŒเลิก
ในระหว‹างรอสั่งศาล จพณ. มีอํานาจ
ไม‹ชอบดŒวยกฎหมาย การชุมนุม (ม.21(1))
กระทําการที่จําเปšนตามแผนหร�อ
เลิกการชุมนุม ไม‹แกŒ ไขเลิกการชุมนุม
ไม‹เลิกการชุมนุม ผูŒชุมนุมไม‹เลิกภายในระยะเวลาที่กําหนด
จพณ.ประกาศพ�้นที่ควบคุม ใหŒผูŒชุมนุม
ออกจากพ�้นที่/หŒามบุคคลเขŒาไปในพ�้นที่
การชุมนุมที่มีลักษณะรุนแรงและอาจ รายงานใหŒ รมต.ทราบ (ม.23 วรรคหนึ่ง)
เปšนอันตราย จนเกิดความว�‹นวาย
จพณ.สั่งใหŒผูŒชุมนุมยุติการกระทํานั้น
(ม.25 วรรคหนึ่ง)
เมื่อพŒนระยะเวลาที่กําหนด
หากผูŒชุมนุมยังอยู‹ใน
พ�้นที่ควบคุม หร�อเขŒาไปในพ�้นที่ควบคุมโดยไม‹ไดŒรับ
ผูŒชุมนุมมีสิทธิยื่นคํารŒอง อนุญาต (ม.24 วรรคหนึ่ง)
คัดคŒานต‹อศาล

ผบช.น./ผจว./ผูŒซึ่ง รมต.มอบหมาย
เปšนผูŒควบคุมสถานการณ
(ม.23 วรรคสอง+ม.24)

***หมายเหตุ***
จพณ. = เจŒาพนักงานดูแลการชุมนุมสาธารณะ ดําเนินการใหŒมีการเลิกการชุมนุม และมีอํานาจดังนี้ (ม.24)
รมต. = รัฐมนตร� 1. จับผูŒอยู‹ในพ�้นที่ควบคุมหร�อเขŒาไปโดยไม‹ไดŒอนุญาต
ผบช.น. = ผูŒบัญชาการนครบาล 2. คŒน ยึด อายัด หร�อร�้อถอนทรัพยสินที่ใชŒหร�อมีไวŒเพ�่อใชŒ ในการชุมนุม
ผจว. = ผูŒว‹าราชการจังหวัด 3. กระทําการที่จําเปšนตามแผนหร�อแนวทางดูแลการชุมสาธารณะ
4. มีคําสั่งหŒามกระทําการใดๆ เพ�่อประโยชน ในการดําเนินการ
ใหŒมีการเลิกการชุมนุมสาธารณะ
40 คู่มือประชาชนว่าด้วยการใช้เสรีภาพในการชุมนุม ตามพระราชบัญญัติการชุมนุมสาธารณะ พ.ศ.2558 41

กรณีตัวอย่างการใช้สิทธิทางศาล มีเหตุอันควรเชื่อได้ว่าการปฏิบัติหน้าที่ของเจ้าหน้าที่
เพื่อคุ้มครองเสรีภาพการชุมนุม ต�ำรวจมีการปิดกั้น ขัดขวาง และท�ำให้ผู้ฟ้องคดีและ
ผูเ้ ข้าร่วมชุมนุมรูส้ กึ หวาดกลัว ซึง่ อาจมีการกระท�ำซ�ำ้ หรือ
1) เครือข่าย People Go Network ยื่นฟ้องศาลปกครอง กระท�ำต่อไปในเหตุทถี่ กู ฟ้องร้องอันกระทบต่อสาระส�ำคัญ
กรณีถูกต�ำรวจปิดกั้นขัดขวางการชุมนุม และขอให้ศาล ของสิทธิเสรีภาพในการชุมนุม และการมีค�ำสั่งก�ำหนด
ก�ำหนดมาตรการคุ้มครองชั่วคราวกิจกรรม We walk… มาตรการหรือวิธกี ารคุม้ ครองเพือ่ บรรเทาทุกข์ชวั่ คราวของ
เดินมิตรภาพ (มกราคม-กุมภาพันธ์ 2561) ศาลไม่ทำ� ให้เกิดปัญหาและอุปสรรคแก่การบริหารงานของ
คดี น้ี ศาลปกครองกลางมี ค� ำ สั่ ง ก� ำ หนดวิ ธี ก าร ส�ำนักงานต�ำรวจแห่งชาติแต่อย่างใด ศาลปกครองสูงสุดจึง
ชัว่ คราวก่อนการพิพากษา ห้ามมิให้เจ้าพนักงานดูแลการ มีค�ำสั่งยืนตามค�ำสั่งของศาลปกครองกลาง
ชุมนุมสาธารณะและเจ้าหน้าที่ต�ำรวจกระท�ำการใด ๆ (ค�ำสัง่ ศาลปกครองสูงสุด ที่ คร.33/2561 ลงวันที่
ที่มีลักษณะเป็นการปิดกั้น ขัดขวางในการใช้เสรีภาพ 14 กุมภาพันธ์ 2561)
ในการชุมนุมของผูฟ้ อ้ งคดีและผูร้ ว่ มชุมนุมภายใต้ขอบเขต
ของกฎหมาย และให้ ใ ช้ อ�ำ นาจหน้ า ที่ ดู แ ลการชุ ม นุ ม
สาธารณะและรักษาความสงบเรียบร้อยหรือศีลธรรม
อันดีของประชาชนโดยเคร่งครัด
และต่อมาศาลปกครองสูงสุดวินิจฉัยยืนตามค�ำสั่ง
ดังกล่าวโดยเห็นว่า เสรีภาพในการชุมนุมสาธารณะเป็น
สิทธิและเสรีภาพที่ส�ำคัญประการหนึ่งของประเทศที่มี
การปกครองระบอบประชาธิปไตยซึง่ รัฐธรรมนูญรับรองไว้
ข้อเท็จจริงปรากฏว่าผู้ฟ้องคดีได้มีหนังสือแจ้งการชุมนุม
ต่อผูก้ ำ� กับการสถานีตำ� รวจภูธรคลองหลวงแล้ว ซึง่ ผูก้ ำ� กับ
การสถานีตำ� รวจภูธรคลองหลวงไม่ได้มคี ำ� สัง่ ให้แก้ไขหรือ
ค�ำสั่งห้ามการชุมนุมแต่อย่างใด และจากพยานหลักฐาน
42 คู่มือประชาชนว่าด้วยการใช้เสรีภาพในการชุมนุม ตามพระราชบัญญัติการชุมนุมสาธารณะ พ.ศ.2558 43

2) ศาลแพ่งยกค�ำร้องของต�ำรวจที่ขอให้ศาลมีค�ำสั่งให้เลิก หรือกระท�ำการใดๆ อันเป็นอุปสรรคต่อการปฏิบัติหน้าที่


การชุมนุมคัดค้านโรงไฟฟ้าถ่านหินกระบี่-เทพา บริเวณถนน ของเจ้าพนักงานดูแลการชุมนุมสาธารณะในการคุม้ ครอง
ราชด�ำเนินนอก (กุมภาพันธ์ 2561) ความสะดวกของประชาชนในการใช้ที่สาธารณะและการ
คดีนี้ สืบเนือ่ งจากผูก้ ำ� กับการสถานีตำ� รวจนครบาล ดูแลการชุมนุมสาธารณะนั้น ประกอบกับผู้จัดการชุมนุม
นางเลิง้ มีประกาศอ้างว่าการชุมนุมกีดขวางก่อให้เกิดความ ดูแลและรับผิดชอบการชุมนุมสาธารณะให้เป็นไปโดย
ไม่สะดวกแก่ประชาชนที่ใช้ทางเท้าและผู้ที่ใช้รถใช้ถนน สงบและปราศจากอาวุธภายใต้ขอบเขตการใช้สิทธิและ
ท�ำให้ได้รับความเดือดร้อนเกินที่พึงคาดหมาย โดยสั่งให้ เสรีภาพตามบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญ กรณีเป็นการ
ผู้ชุมนุมเคลื่อนย้ายที่ชุมนุมจากทางเดินเท้าเกาะกลาง ชุมนุมสาธารณะที่ชอบด้วยกฎหมาย จึงให้ยกค�ำร้อง
ถนนหน้าตึกองค์การสหประชาชาติ ถนนราชด�ำเนินนอก (ค�ำสัง่ ศาลแพ่ง ท้ายรายงานกระบวนพิจารณาคดี
ออกไปอยู ่ ที่ บ ริ เ วณทางเท้ า ริ ม คลองผดุ ง กรุ ง เกษม หมายเลขแดงที่ ชส 2/2561 ลงวันที่ 20 กุมภาพันธ์
ฝั่งหน้าวัดโสมนัส แต่ผู้ชุมนุมยืนยันว่าไม่ได้ชุมนุมฝ่าฝืน 2561)
ต่ อ กฎหมาย ต� ำ รวจจึ ง ยื่ น ค� ำ ร้ อ งต่ อ ศาลแพ่ ง ขอให้ มี
ค�ำสัง่ ให้เลิกการชุมนุม แต่ภายหลังศาลไต่สวนต�ำรวจและ
ผู้จัดการชุมนุมแล้วจึงมีค�ำสั่งว่า
“พิเคราะห์พยานหลักฐานตามทางไต่สวนผูร้ อ้ งและ
ผู้คัดค้านแล้ว เห็นว่า การชุมนุมของผู้ชุมนุมบริเวณทาง
เดินเท้า เกาะกลางถนนราชด�ำเนินนอกหน้าตึกองค์การ
สหประชาชาติ (UN) เป็นไปตามที่เจ้าพนักงานดูแลการ
ชุมนุมสาธารณะจัดและก�ำหนดเงื่อนไขในการชุมนุมตาม
หนังสือเรื่องสรุปสาระส�ำคัญการชุมนุมสาธารณะและ
แผนที่ ประชาชนที่ใช้ทางเดินเท้าอาจไม่สะดวกบ้าง แต่
ไม่ถงึ กับท�ำให้ได้รบั ความเดือดร้อนเกินทีพ่ งึ คาดหมายได้
ว่าเป็นไปตามเหตุอนั ควร ทัง้ ไม่ปรากฏว่าผูช้ มุ นุมขัดขวาง
44 คู่มือประชาชนว่าด้วยการใช้เสรีภาพในการชุมนุม ตามพระราชบัญญัติการชุมนุมสาธารณะ พ.ศ.2558 45

อุปสรรคการใช้เสรีภาพการชุมนุมของประชาชน
ภายใต้พระราชบัญญัติการชุมนุมสาธารณะ พ.ศ.2558

• นิยาม “การชุมนุมสาธารณะ” ตามกฎหมาย • กฎหมายเปิดโอกาสให้เจ้าหน้าทีต่ ำ� รวจใช้ดลุ พินจิ


ถูกตีความได้อย่างกว้างขวาง ท�ำให้เกิดความสับสนทัง้ ต่อ ได้อย่างกว้างขวาง ในการออกค�ำสั่งหรือก�ำหนดเงื่อนไข
ผู้บังคับใช้กฎหมายและประชาชน ท�ำให้ไม่อาจทราบได้ การชุมนุม เช่น การตีความเรื่องการชุมนุมรบกวนการ
อย่างแน่ชัดว่ากิจกรรมใดของภาคประชาชนเข้าข่ายต้อง ปฏิบัติงานหรือการใช้บริการสถานที่สาธารณะ โดยมีแนว
แจ้งการชุมนุมและปฏิบตั ติ าม พ.ร.บ.การชุมนุมสาธารณะฯ โน้มไปในทางทีเ่ ป็นอุปสรรคต่อการชุมนุม และสร้างภาระ
หรือไม่ หรือในบางกรณีเป็นการชุมนุมขนาดเล็ก ไม่กอ่ ให้ ให้แก่ผชู้ มุ นุมอย่างยิง่ เพราะหากผูช้ มุ นุมไม่เห็นด้วยก็ตอ้ ง
เกิดผลกระทบในการใช้พื้นที่สาธารณะ แต่ก็ต้องตกอยู่ ยื่นอุทธรณ์ โดยในระหว่างอุทธรณ์ กฎหมายก�ำหนดให้
ในบังคับของ พ.ร.บ.การชุมนุมสาธารณะฯ ไปด้วยอย่าง ต้องยุตกิ ารชุมนุมไว้กอ่ น ถ้าไม่ยตุ กิ จ็ ะส่งผลให้การชุมนุม
ไม่มีข้อยกเว้น ซึ่งเป็นการสร้างภาระเกินสมควร นั้นกลายเป็นการชุมนุมที่ไม่ชอบด้วยกฎหมาย และท�ำให้
• การชุมนุมโดยไม่แจ้งการชุมนุมหรือแจ้งล่วงหน้า ผู้ชุมนุมนั้นกลายเป็นผู้กระท�ำความผิดทางอาญา แม้จะ
ไม่ถึง 24 ชั่วโมงก่อนการชุมนุมถูกก�ำหนดให้มีโทษทาง เป็นการชุมนุมโดยสงบและปราศจากอาวุธซึ่งได้รับความ
อาญาและกฎหมายให้ถือว่าเป็นการชุมนุมโดยไม่ชอบ คุ้มครองตามรัฐธรรมนูญก็ตาม
ด้วยกฎหมายทีเ่ จ้าหน้าทีต่ ำ� รวจสามารถด�ำเนินการให้เลิก • ในหลายกรณี เ จ้ า หน้ า ที่ ต� ำ รวจได้ ใ ช้ อ� ำ นาจ
การชุมนุมได้ แม้ว่าโดยสภาพการชุมนุมนั้นจะเป็นไปโดย ก้าวล่วงไปถึงการสัง่ ก�ำหนดเงือ่ นไขเกีย่ วกับสถานทีช่ มุ นุม
สงบปราศจากอาวุธ และไม่ได้ก่อให้เกิดผลกระทบความ รายละเอียดเนื้อหา รูปแบบวิธีการ และสื่ออุปกรณ์ที่ใช้
เดือดร้อนต่อสาธารณะก็ตาม และแม้กฎหมายจะก�ำหนด ประกอบชุมนุม เช่น การห้ามใช้ป้ายผ้าสื่อสัญลักษณ์
เรือ่ งการขอผ่อนผันการแจ้งไว้ แต่มลี กั ษณะเป็นระบบการ หรือห้ามใช้เครื่องขยายเสียง ซึ่งถือเป็นการกระท�ำเกิน
ขออนุญาตทีข่ นึ้ อยูก่ บั ดุลพินจิ ของเจ้าหน้าทีว่ า่ จะอนุญาต กว่าอ�ำนาจตามกฎหมายและละเมิดต่อเสรีภาพการชุมนุม
หรือไม่ ซึง่ การชุมนุมในหลายกรณีอาจเกิดขึน้ แบบฉับพลัน จากสภาพปัญหาอุปสรรคต่อการใช้เสรีภาพในการ
และมีเวลาเตรียมการล่วงหน้าไม่ถึง 24 ชั่วโมง ชุมนุมที่เกิดจากทั้งตัวบทกฎหมายและการตีความบังคับ
46 คู่มือประชาชนว่าด้วยการใช้เสรีภาพในการชุมนุม ตามพระราชบัญญัติการชุมนุมสาธารณะ พ.ศ.2558 47

ใช้ของเจ้าหน้าที่ จึงจ�ำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องมีการศึกษา องค์กรร่วมจัดท�ำคู่มือ


ทบทวนและปรับแก้ไขกฎหมาย พร้อมทั้งวางแนวทาง
ปฏิบตั ใิ ห้มคี วามชัดเจนและไปเป็นในทางรับรองคุ้มครอง
มูลนิธินิติธรรมสิ่งแวดล้อม (EnLAW)
เสรีภาพการชุมนุมตามรัฐธรรมนูญและกติการะหว่าง โทรศัพท์: 02-5393534
ประเทศโดยเร่งด่วน Facebook: มูลนิธินิติธรรมสิ่งแวดล้อม – EnLAW
Email: enlawthai@gmail.com
Website: www.enlawfoundation.org
"...เสรี ภ าพในการชุ ม นุ ม เป็ น เสรี ภ าพที่ มี ค วาม
ศูนย์ทนายความเพื่อสิทธิมนุษยชน (TLHR)
ส� ำ คั ญ เพราะมี ที่ ม าจากเสรี ภ าพในการแสดงความ โทรศัพท์: 096-7893172-3
คิดเห็นซึ่งเป็นสิ่งที่จะขาดเสียมิได้ในสังคมที่ปกครอง Facebook: ศูนย์ทนายความเพื่อสิทธิมนุษยชน
Email: tlhr2014@gmail.com
ด้วยระบอบเสรีประชาธิปไตย เพราะการแสดงความ Website: www.tlhr2014.com
คิดเห็นทีห่ ลากหลายเป็นการถกเถียงกันด้วยสติปญ ั ญา
สมาคมนักกฎหมายสิทธิมนุษยชน (HRLA)
เพื่ อ น� ำ มาซึ่ ง วิ ธี ก ารแก้ ป ั ญ หาหรื อ ยุ ติ ข ้ อ ขั ด แย้ ง ของ โทรศัพท์: 02-2753954
สังคมในระบอบเสรีประชาธิปไตย การชุมนุมเป็นกลไก Facebook: Human Rights Lawyers Association
Email: hrla2008@gmail.com
ในการเปิดโอกาสให้มกี ารแสดงออกซึง่ ความคิดเห็นและ Website: www.naksit.net
การวิพากษ์วิจารณ์อย่างเปิดเผย แสดงออกซึ่งปัญหา
และข้อเรียกร้องของประชาชนหรือกลุ่มผลประโยชน์ โครงการอินเตอร์เน็ตเพื่อกฎหมายประชาชน (iLaw)
โทรศัพท์ : 02-0027878
ในสังคม ทั้งยังช่วยให้รัฐมองเห็นความขัดแย้งที่เกิดขึ้น Facebook : iLaw
ในสังคมได้ชัดเจนขึ้นด้วย...” Email : ilaw@ilaw.or.th
Website: www.ilaw.or.th

(ค�ำพิพากษาศาลปกครองสูงสุด คดีหมายเลขแดงที่
อ.711/2555 หน้า 44 กรณีต�ำรวจสลายการชุมนุม
คัดค้านโครงการท่อส่งก๊าซไทย-มาเลเซีย ละเมิดเสรีภาพ
การชุมนุมตามรัฐธรรมนูญ)

You might also like