You are on page 1of 34

กฎหมายพาณิชย 2

1. ตัวแทนชวงคืออะไร แตกตางจากการตั้งตัวแทนหลายคนอยางไร จงอธิบายและยกตัวอยางประกอบใหชัดเจน

แนวตอบ
ตัวแทนชวง คือ บุคคลที่ไดรับแตงตั้งจากตัวแทนใหกระทําการในหนาที่ตัวแทนใหกับตัวการ ตัวแทนชวงจึงเปรียบเสมือน
ตัวแทนคนหนึ่งของตัวการ แตกตางจากการตั้งตัวแทนหลายคนตรงที่ ในกรณีตั้งตัวแทนหลายคนนั้น ตัวการเองเปนผูแตงตั้ง แตใน
กรณีตัวแทนชวง ตัวแทนเองเปนผูแตงตั้ง อาจแตงตั้งโดยความยินยอมชัดแจงจากตัวการหรือโดยการยินยอมโดยปริยายจากตัวการ
ก็ได

2.สมชายทําสัญญาเบิกเงินเกินบัญชีกับธนาคารเปนเงินจํานวน 500,000 บาท เปนระยะเวลา 1 ป ธนาคารคิดดอกเบี้ยในอัตรารอย


ละ 15 ตอป ตอมาอีก 6 เดือน สมชายถึงแกกรรม ธนาคารจึงฟองทายาทใหรับผิดในดอกเบี้ยที่คางชําระกอนสมชายถึงแกกรรม ใน
อัตรารอยละ 15 ตอป โดยคิดทบตนจํานวนหนึ่ง และคิดดอกเบี้ยทบตนในจํานวนเงินที่คางชําระหลังสมชายถึงแกกรรมอีกจํานวน
หนึ่ง ดังนี้ ธนาคารจะทําไดหรือไม เพียงใด

แนวตอบ
หลักกฎหมายตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย
มาตรา 655 บัญญัติวา”ทานหามมิใหคิดดอกเบี้ยในดอกเบี้ยที่คางชําระ แตทวาเมื่อดอกเบี้ยคางชําระไมนอยกวาปหนึ่ง
คูสัญญากูยืม จะตกลงกันใหเอาดอกเบี้ยนั้นทบเขากับตนเงินแลวใหคิดดอกเบี้ยในจํานวนเงินที่ทบเขากับนั้นก็ได แตการตกลงเชน
นั้นตองทําเปนหนังสือ
สวนประเพณีการคาขายที่คํานวณดอกทบตนในบัญชีเดินสะพัดก็ดี ในการคาขายอยางอื่นทํานองเชนวานี้ก็ดี หาอยูใน
บังคับแหงบทบัญญัติซึ่งกลาวมาในวรรคกอนนั้นไม”

วินิจฉัย
ตามปญหา จํานวนเงิน 500,000 บาท พรอมดอกเบี้ยกอนสมชายถึงแกกรรมนั้น ธนาคารสามารถคิดดอกเบี้ยทบตนได
ตาม ปพพ. มาตรา 655 วรรค 2 เนื่องจากการกูเบิกเงินเกินบัญชีประกอบดวยสัญญาบัญชีเดินสะพัด และสัญญากูยืมเงิน จึงไมอยู
ในบังคับของมาตรา 655 วรรคแรก ที่หามคิดดอกเบี้ยทบตน
สวนจํานวนเงิน 500,000 บาท พรอมดอกเบี้ยหลังสมชายถึงแกกรรมแลวนั้น ธนาคารจะคิดดอกเบี้ยทบตนไมได เนื่อง
จากการกูยืมเงินโดยวิธีบัญชีเดินสะพัดจากธนาคาร เบิกและใชคืนในวงเงินและกําหนดเวลา ตามขอตกลงเปนเรื่องเฉพาะตัว เมื่อผู
กูตายสัญญาบัญชีเดินสะพัดระงับ จึงคิดดอกเบี้ยทบตนตอไปไมได(ฎ.1862/2518) คงเรียกรองหนี้รายนี้จากทายาทของผูตายได
เฉพาะตามสัญญากูยืมตามจํานวนเงินที่คางชําระเทานั้น

3.นายธงชัยเอาประกันภัยรถยนตกับบริษัทไทยประกันจํากัด วงเงิน 600,000 บาท ตอมานางอาภรณและเด็กหญิงธนาภรณ ภรรยา


และบุตรสาวนายธงชัยไดขับรถคันดังกลาวไปธุระนอกบาน ไดถูกรถยนตบรรทุก 6 ลอของนายวิรัตน ซึ่งมีนายดําลูกจางนายวิรัตน
เปนคนขับชนโดยประมาท เปนเหตุใหรถยนตพังยับเยินทั้งคันและเด็กหญิงธนาภรณเสียชีวิต สวนนางอาภรณบาดเจ็บสาหัส บริษัท
รุงเรืองประกันภัยเปนผูรับประกันภัยค้ําจุนจากนายวิรัตน ไดตกลงจายคาเสียหายแกผูตายและผูบาดเจ็บแกนางอาภรณโดยนาง
อาภรณไมติดใจฟองรองตอไป บริษัทไทยประกันจํากัดไดชดใชคาเสียหายตามสัญญาประกันภัยแกนายธงชัยเปนเงิน 600,000
บาท แลวรับชวงสิทธิจากนายธงชัยฟองนายดํา นายวิรัตน และบริษัทรุงเรืองประกันภัยใหชดใชคาเสียหาย บริษัทรุงเรืองประกันภัย
ไดโตแยงวา ตนไดชดใชคาเสียหายไปเรียบรอยแลวจึงเปนการชําระหนี้มูลละเมิดแลว บริษัทไทยประกันจํากัดไมมีสิทธิมาฟองอีก
ดังนี้ ขอตอสูของบริษัทรุงเรืองประกันภัยฟงขึ้นหรือไม เพราะเหตุใด จงอธิบายพรอมยกหลักกฎหมายประกอบ

แนวตอบ
หลักกฎหมายตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย
มาตรา 861 บัญญัติวา”อันวาสัญญาประกันภัยนั้นคือสัญญาซึ่งบุคคลคนหนึ่งจะใชคาสินไหมทดแทนหรือใชเงินจํานวน
หนึ่งใหในกรณีวินาศภัยหากมีขึ้นหรือในเหตุอยางอื่นในอนาคตดังไดระบุไวในสัญญา…”
มาตรา 877 บัญญัติวา”ผูรับประกันภัยจําตองใชคาสินไหมทดแทนดั่งจะกลาวตอไปนี้คือ
(1)เพื่อจํานวนวินาศภัยอันแทจริง
…”
มาตรา 880 วรรคแรก บัญญัติวา”ถาความวินาศภัยนั้นไดเกิดขึ้นเพราะการกระทําของบุคคลภายนอกไซร ผูรับประ
กันภัยไดใชคาสินไหมทดแทนไปเปนจํานวนเพียงใด ผูรับประกันภัยยอมเขารับชวงสิทธิของผูเอาประกันภัยและของผูรับประโยชน
ซึ่งมีตอบุคคลภายนอกเพียงนั้น"
มาตรา 887 บัญญัติวา”อันวาประกันภัยค้ําจุนนั้นคือสัญญาประกันภัยซึ่งผูรับประกันภัยตกลงวาจะใชคาสินไหมทด
แทนในนามของผูเอาประกันภัยเพื่อความวินาศภัยอันเกิดขึ้นแกบุคคลอีกคนหนึ่งและซึ่งผูเอาประกันภัยจะตองรับผิดชอบ
บุคคลผูตองเสียหายชอบที่จะไดรับคาสินไหมทดแทนตามที่ตนควรจะไดนั้นจากผูรับประกันภัยโดยตรง แตคาสินไหมทด
แทนเชนวานี้ หาอาจจะคิดเกินไปกวาจํานวนอันผูรับประกันภัยจะพึงตองใชตามสัญญานั้นไดไม ในคดีระหวางบุคคลผูตองเสียหาย
กับผูรับประกันภัยนั้น ทานใหผูตองเสียหายเรียกตัวผูเอาประกันภัยเขามาในคดีดวย
อนึ่ง ผูรับประกันภัยนั้นแมจะไดสงคาสินไหมทดแทนใหแกผูเอาประกันภัยแลว ก็ยังหาหลุดพนจากความรับผิดตอบุคคล
ผูตองเสียหายนั้นไม เวนแตตนจะพิสูจนไดวาสินไหมทดแทนนั้น ผูเอาประกันภัยไดใชใหแกผูตองเสียหายแลว”

วินิจฉัย
การรับชวงสิทธิเปนหลักเกณฑอันสําคัญของสัญญาประกันวินาศภัยเพราะมีความสัมพันธเกี่ยวของกับการจายคาสิน
ไหมทดแทนตามความเสียหายที่แทจริง เมื่อผูรับประกันภัยไดจายคาสินไหมทดแทนไปจํานวนเทาใดยอมเขารับชวงสิทธิของผูเอา
ประกันภัยเพียงเทานั้น การรับชวงสิทธิเกิดขึ้นโดยอํานาจของกฎหมายเมื่อลูกหนี้ตองชําระคาสินไหมทดแทนตามความเสียหายเต็ม
ราคาทรัพยซึ่งเปนวัตถุแหงมูลหนี้ ผูรับชวงสิทธิสามารถเขาใชสิทธิของผูเอาประกันภัยทั้งหมดที่มีอยูในนามของตนเองโดยไมตองได
รับความยินยอมจากผูเอาประกันภัยและกฎหมายมิไดกําหนดแบบหรือหลักเกณฑกฎหมายเปนหนังสือในการรับชวงสิทธิแตอยาง
ใด
ปญหาตามอุทาหรณ เมื่อรถยนตที่เอาประกันภัยของนายธงชัยถูกรถบรรทุก 6 ลอของนายวิรัตนชนเสียหายทั้งคัน บริษัท
ไทยประกันจํากัดผูรับประกันภัยจึงตองชดใชคาสินไหมทดแทนตามสัญญาประกันภัย (มาตรา 861 และ 877) เมื่อบริษัทไทย
ประกันจํากัดไดชดใชคาสินไหมทดแทนตามสัญญาประกันภัยเต็มจํานวนแลว ยอมรับชวงสิทธิของผูเอาประกันภัยคือนายธงชัยไป
เรียกรองคาสินไหมทดแทนจากผูกอวินาศภัยได (มาตรา 880) ในกรณีนี้ผูกอวินาศภัยคือนายดําลูกจางของนายวิรัตน ซึ่งกระทํา
ละเมิดในขณะทํางานในทางการที่จางนายดําตองรับผิด และนายวิรัตนตองรับผิดในฐานะนายจางดวย สวนบริษัทรุงเรืองประกันภัย
ในฐานะผูรับประกันภัยค้ําจุนตองชดใชคาสินไหมทดแทนแกนายธงชัยผูเสียหายในนามนายวิรัตน ผูเอาประกันภัยค้ําจุน (มาตรา
887 วรรคแรก) ดังนั้น บริษัทไทยประกันจํากัดผูรับชวงสิทธินายธงชัย สามารถเรียกรองคาสินไหมทดแทนจากบริษัทรุงเรืองประ
กันภัยได
กรณีที่บริษัทรุงเรืองประกันภัยไดชดใชคาเสียหายใหแกนางอาภรณเปนคารักษาพยาบาลและคาเสียหายที่เด็กหญิงธนา
ภรณเสียชีวิตนั้นไมเปนการชดใชคาเสียหายในกรณีที่รถยนตของนายธงชัยถูกชนเสียหายทั้งคันดวย ดังนั้นนายธงชัยยิ่งมีสิทธิไดรับ
ชดใชคาเสียหายเต็มจํานวนจากนายดํา นายวิรัตน ซึ่งบริษัทรุงเรืองประกันภัยตองรับผิดในฐานะผูรับประกันภัยค้ําจุน (มาตรา 887
วรรค2) ขอตอสูของบริษัทรุงเรืองประกันภัยจํากัด ฟงไมขึ้น
สรุป 1.บริษัทไทยประกันจํากัดตองชดใชคาสินไหมทดแทนแกนายธงชัยตามสัญญาประกันวินาศภัย
2.บริษัทไทยประกันจํากัดสามารถรับชวงสิทธิของนายธงชัยเรียกรองคาสินไหมทดแทนจากนายดํา นายวิ
รัตนได และในกรณีนี้บริษัทรุงเรืองประกันภัยจํากัดมีความผูกพันตองชดใชคาสินไหมทดแทนแกผูเสียหายในนามนายวิรัตน ซึ่งตอง
รับผิดตามสัญญาประกันภัยค้ําจุน
3.บริษัทไทยประกันจํากัดจึงสามารถเรียกรองคาสินไหมทดแทนจากบริษัทรุงเรืองประกันภัยจํากัดได ขออาง
ของบริษัทรุงเรืองประกันภัยจํากัดฟงไมขึ้น

4.บริษัทสุโข จํากัด จดทะเบียนจัดตั้งบริษัทเปนนิติบุคคล เมื่อวันที่ 1 กรกฎาคม 2530 แตบริษัทดังกลาวไดมอบอํานาจใหนายธรรม


ราช เปนตัวแทนไปซื้อที่ดินแทนบริษัทในวันที่ 15 มิถุนายน 2530 เมื่อบริษัทจัดตั้งเรียบรอยแลว ผูถือหุนไดทวงติงวานายธรรมราช
เปนตัวแทนที่ไมถูกตองของบริษัทสุโข จํากัด ในการซื้อขายที่ดินรายดังกลาวนี้ บริษัทสุโข จํากัด จึงใหสัตยาบันแกการกระทําของ
นายธรรมราช ทั้งนี้เพื่อใหนายธรรมราชเปนตัวแทนที่ถูกตองในการทําสัญญาซื้อที่ดิน เมื่อวันที่ 15 มิถุนายน 2530 ที่ผานมา
ขอใหวินิจฉัยวาบริษัทสุโข จํากัด สามารถใหสัตยาบันแกการกระทําของนายธรรมราช ในกรณีดังกลาวไดหรือไม

แนวตอบ
หลักกฎหมายตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย
มาตรา 823 บัญญัติวา”ถาตัวแทนกระทําการอันใดอันหนึ่งโดยปราศจากอํานาจก็ดี หรือทํานอกทํา
เหนือขอบอํานาจก็ดี ทานวายอมไมผูกพันตัวการ เวนแตตัวการจะไดใหสัตยาบันแกการนั้นของตัวแทน"

วินิจฉัย
กรณีนี้เมื่อตัวการใหสัตยาบันยอนหลังใหกับตัวแทน ตัวแทนยอมมีอํานาจสมบูรณ ในการกระทําการแทนตัวการ
ดังนั้นบริษัทสุโข จํากัด จึงสามารถใหสัตยาบันได เพราะไดจดทะเบียนเปนนิติบุคคลโดยชอบดวยกฎหมายแลว

5.สมทําสัญญากูยืมเงินแสดจํานวน 30,000 บาท โดยระบุลงในสัญญาขอหนึ่งวา”อัตราดอกเบี้ยตามกฎหมาย” สมคางชําระดอก


เบี้ย ดังนี้เมื่อสมผิดสัญญาดังกลาว แสดจะเรียกใหสมชําระดอกเบี้ยที่คางชําระในอัตรารอยละ 15 ตอป ไดหรือไม อยางไร และแสด
จะนําตนเงิน 30,000 บาท กับดอกเบี้ยที่คางชําระมารวมเปนตนเงินใหม และคิดดอกเบี้ยจากเงินจํานวนใหมนี้ตามสัญญาที่ทําไวได
อีกหรือไม

แนวตอบ
หลักกฎหมายตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย
มาตรา 7 บัญญัติวา”ถาจะตองเสียดอกเบี้ยแกกันและมิไดกําหนดอัตราไวโดยนิติกรรม หรือโดยบทกฎหมายชัดแจง ให
ใชอัตรารอยละเจ็ดครึ่งตอป”
มาตรา 655 วรรคแรก บัญญัติวา”ทานหามมิใหคิดดอกเบี้ยในดอกเบี้ยที่คางชําระ แตทวาเมื่อดอกเบี้ยคางชําระไมนอย
กวาปหนึ่ง คูสัญญากูยืมจะตกลงกันใหเอาดอกเบี้ยนั้นทบเขากับตนเงิน แลวใหคิดดอกเบี้ยในจํานวนเงินที่ทบเขากันนั้นก็ได แตการ
ตกลงเชนนั้นตองทําเปนหนังสือ”

วินิจฉัย
ตามปญหา การที่สมทําสัญญากูยืมเงินแสดจํานวน 30,000 บาท โดยระบุลงในสัญญาขอหนึ่งวา”อัตราดอกเบี้ยตาม
กฎหมาย” นั้น ยอมถือไดวากรณีนี้มิไดกําหนดอัตราดอกเบี้ยไวโดยนิติกรรมอันใดอันหนึ่งโดยชัดแจง ก็ตองถืออัตรารอยละเจ็ดครึ่ง
ตอป เพราะตองดวยกรณีตาม ปพพ. มาตรา 7 (ฎ.487/2526) แสดสามารถเรียกใหสมชําระตนเงิน จํานวน 30,000 บาท และดอก
เบี้ยในอัตราดอกเบี้ยรอยละเจ็ดครึ่งตอปได แตจะเรียกใหสมชําระดอกเบี้ยที่คางชําระในอัตรารอยละ 15 ตอป ไมได
แตในกรณีแสดจะนําตนเงินจํานวน 30,000 บาท รวมกับดอกเบี้ยที่คางชําระ และคิดดอกเบี้ยจากยอดเงินใหมนั้น แสด
ทําไมได เพราะขัดกับบทบัญญัติของกฎหมายเรื่องไมใหคิดดอกเบี้ยทบตนตามมาตรา 655 ดังกลาวมาแลว แตแสดมิสิทธิคิดอัตรา
ดอกเบี้ยอัตรารอยละเจ็ดครึ่งตอปจากตนเงิน 30,000 บาท
6.นายแดงนํารถยนตของตนไปประกันภัยค้ําจุนไวกับบริษัทดีเดนประกันภัยจํากัด ในวงเงิน 200,000 บาท แตมิไดแจงใหผูประ
กันภัยทราบวารถยนตของตนเคยถูกชนมาแลวหลายครั้ง ตอมานายแดงขับรถยนตคันที่เอาประกันภัยไปชนรถของนายดําเสียหาย
เปนเงิน 100,000 บาท บริษัทดีเดนประกันภัย จํากัด ปฏิเสธความรับผิด โดยอางวานายแดงไมเปดเผยขอความจริง สัญญาประ
กันภัยค้ําจุนเปนโมฆียะ และไดบอกลางโมฆียะกรรมนั้นแลว ดังนี้ขอตอสูของบริษัทดีเดนประกันภัย ชอบดวยกฎหมายหรือไม
เพราะเหตุใด

แนวตอบ
หลักกฎหมายตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย
มาตรา 865 วรรคแรก บัญญัติวา”ถาในเวลาทําสัญญาประกันภัย ผูเอาประกันภัยก็ดี หรือในกรณีประกันชีวิต บุคคลอัน
การใชเงินยอมอาศัยความทรงชีพหรือมรณะของเขานั้นก็ดี รูอยูแลวละเวนเสียเพื่อไมเปดเผยขอความจริงซึ่งอาจจะไดจูงใจผูรับประ
กันภัยใหเรียกเบี้ยประกันภัยสูงขึ้นอีกหรือใหบอกปดไมยอมทําสัญญา หรือรูอยูแลวแถลงขอความนั้นเปนความเท็จไซร ทานวา
สัญญานั้นเปนโมฆียะ”

วินิจฉัย
การที่นายแดงนํารถยนตของตนไปทําประกันภัยค้ําจุนไวกับบริษัทดีเดนประกันภัย แมนายแดงจะไดละเวนไมเปดเผยขอ
ความจริงแกบริษัทดีเดนประกันภัยวา รถยนตของนายแดงเคยถูกชนมากอนก็ตาม แตขอความจริงดังกลาวก็มิใชขอสําคัญอันจะมี
ผลเปนการจูงใจบริษัทดีเดนประกันภัยเรียกเบี้ยประกันภัยสูงขึ้นกวาที่เรียกไว หรือเปนเหตุบอกปดไมยอมทําสัญญาดวย กรณีจึงไม
ตองดวย ปพพ. มาตรา 865 อันจะทําใหสัญญาประกันภัยเปนโมฆียะ
ดังนี้ ขอตอสูของบริษัทดีเดนประกันภัยจึงไมชอบดวยกฎหมาย

7. นายธานีแตงตั้งนายจินดาเปนตัวแทนดูแลกิจการคาไมแปรรูป โดยทําสัญญาตัวแทนกันมีอายุสัญญา 2 ป นายจินดาดูแลกิจการ


ใหนายธานีไปไดเพียง 8 เดือน นายธานีก็แจงถอนนายจินดาออกจากการเปนตัวแทนของตน นายจินดาอางวานายธานีไมมีสิทธิที่
จะถอนตัวแทนกอนกําหนดเวลา 2 ป เพราะไดทําสัญญากันไวแลว สวนนายธานีก็อางวาตนมีสิทธิที่จะถอนตัวแทนไดทุกเวลา กรณี
เชนนี้ใหวินิจฉัยวาขออางของฝายใดถูกตอง เพราะเหตุใด

แนวตอบ
หลักกฎหมายตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย
มาตรา 827 วรรคแรก บัญญัติวา”ตัวการจะถอนตัวแทน และตัวแทนจะบอกเลิกเปนตัวแทนเสียในเวลาใด ๆ ก็ไดทุก
เมื่อ”

วินิจฉัย
ดังนั้น เมื่อนายธานีถอนนายจินดาออกจากการเปนตัวแทนกอนเวลาที่ตกลงกันไว นายธานียอมกระทําได ตาม ปพพ.
มาตรา 827 วรรคแรก อยางไรก็ตามหากกรณีนี้เกิดความเสียหายขึ้นแกนายจินดา นายจินดาสามารถเรียกรองเอาจากนายธานีได
เชนกัน

8. ฟาทําสัญญากูยืมเงินน้ําเงิน จํานวน 40,000 บาท คิดอัตราดอกเบี้ยรอยละ 15 ตอป กําหนดชําระเงินคืนภายใน 3 ป ฟาคาง


ชําระดอกเบี้ยน้ําเงินเปนเวลา 2 ป วันหนึ่งน้ําเงินไปพบฟาที่ตลาด จึงไดทวงถามฟาใหชําระดอกเบี้ยดังกลาว ฟาตอบวาไมมีชําระ
แตตกลงยินยอมใหน้ําเงินคิดดอกเบี้ยทบตนจากตนเงิน 40,000 บาท ได ดังนี้ น้ําเงินจะมีสิทธิคิดดอกเบี้ยทบตนไดหรือไม เพียงใด

แนวตอบ
หลักกฎหมายตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย
มาตรา 655 วรรคแรก บัญญัติวา”ทานหามมิใหคิดดอกเบี้ยในดอกเบี้ยที่คางชําระ แตทวาเมื่อดอกเบี้ยคางชําระไมนอย
กวาปหนึ่ง คูสัญญากูยืมจะตกลงกันใหเอาดอกเบี้ยนั้นทบเขากับตนเงิน แลวใหคิดดอกเบี้ยในจํานวนเงินที่ทบเขากันนั้นก็ได แตการ
ตกลงเชนนั้นตองทําเปนหนังสือ”

วินิจฉัย
ตามปญหา การที่น้ําเงินจะนําดอกเบี้ยที่คางชําระมารวมกับตนเงิน 40,000 บาท และคิดดอกเบี้ยทบตนจากจํานวนเงิน
ดังกลาวนั้น ตองหามตาม ปพพ. มาตรา 655 แตถามีดอกเบี้ยคางชําระไมนอยกวาปหนึ่งแลว ใหคิดดอกเบี้ยทบตนกันได ในกรณีนี้
ฟาคางชําระดอกเบี้ยมากวา 1 ปแลว คือ 2 ป น้ําเงินกับฟาจะตกลงกันใหเอาดอกเบี้ยนั้นทบเขากับตนเงินแลวใหคิดดอกเบี้ยใน
จํานวนเงินที่ทบเขากันนั้นก็ได แตการตกลงกันเชนนั้นตองทําเปนหนังสือ เมื่อฟาตกลงกับน้ําเงินโดยไมไดทําเปนหนังสือ ดังนั้น น้ํา
เงินจะคิดดอกเบี้ยทบตนไมได ไดแตคิดดอกเบี้ยในอัตรารอยละ 15 ตอป ที่ตกลงกันไวในสัญญาเทานั้น

9.นายสีนํารถยนตไปประกันภัยค้ําจุนไวกับบริษัทรุงเรืองประกันภัย ตอมานายสีไดขับรถยนตคันดังกลาวไปชนรถยนตของนายแสง
โดยประมาทเลินเลอ เปนคาเสียหายจํานวน 50,000 บาท เวลาผานพนไป 1 ป 6 เดือน นายแสงไดเปนโจทกยื่นฟองบริษัทรุงเรือง
ประกันภัยใหชดใชคาสินไหมทดแทนตามกรมธรรมประกันภัยค้ําจุน บริษัทรุงเรืองประกันภัยตอสูวาไมตองรับผิด เนื่องจากนายแสง
ไมไดฟองคดีภายในกําหนด 1 ป นับแตวันกระทําละเมิด คดีจึงขาดอายุความดังนี้ ขอตอสูของบริษัทรุงเรืองประกันภัยรับฟงไดหรือ
ไม เพียงใด

แนวตอบ
หลักกฎหมายตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย
มาตรา 882 วรรคแรก บัญญัติวา”ในการเรียกใหใชคาสินไหมทดแทน ทานหามมิใหฟองคดีเมื่อพนกําหนดสองปนับแต
วันวินาศภัย”

วินิจฉัย
จากหลักกฎหมายดังกลาว บุคคลภายนอกผูไดรับความเสียหายจะตองฟองใหผูรับประกันภัยค้ําจุนภายในกําหนดอายุ
ความ 2 ป นับแตวันวินาศภัย การที่นายแสงไดยื่นฟองบริษัทรุงเรืองประกันภัยใหใชคาสินไหมทดแทน ไมใชฟองในมูลหนี้ละเมิด
แตนายแสงไดฟองโดยอาศัยมูลหนี้ตามสัญญาประกันภัยจึงมีอายุความ 2 ปนับแตวันเกิดวินาศภัย ตาม ปพพ. มาตรา 882 วรรค
แรก จะนําอายุความละเมิดมาบังคับไมได เมื่อนายแสงไดยื่นฟองคดีภายในกําหนด 2 ปนับแตวันเกิดวินาศภัย คดีจึงยังไมขาดอายุ
ความ
ดังนั้น ขอตอสูของบริษัทรุงเรืองประกันภัยจึงรับฟงไมได

10.นายสําราญตั้งนายพรเปนตัวแทนดูแลปมน้ํามันแหงหนึ่ง ซึ่งนายสําราญเปนเจาของ ตอมานายสําราญทราบวานายพรมักชอบ


ยักยอกรายไดจากการขายน้ํามันอยูเสมอ นายสําราญจึงถอนนายพรจากการเปนตัวแทนและติดประกาศแจงไวที่บริเวณปมน้ํามัน
นายเสถียรซึ่งเปนลูกจางเติมน้ํามันประจําไมไดสังเกตเห็นประกาศดังกลาว จึงไดนําเงินคาน้ํามันจํานวน 3,000 บาทไปชําระใหกับ
นายพรที่ตลาดเพราะบังเอิญพบนายพรพอดี ตอมานายสําราญไดไปทวงเงินคาน้ํามันจํานวน 3,000 บาทจากนายเสถียร กรณีเชนนี้
นายเสถียรจะตองชําระเงินคาน้ํามันใหกับนายสําราญอีกหรือไม เพราะเหตุใด

แนวตอบ
หลักกฎหมายตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย
มาตรา 831 บัญญัติวา”อันความระงับสิ้นไปแหงสัญญาตัวแทนนั้น ทานหามมิใหยกขึ้นเปนขอตอสูบุคคลภายนอกผูทํา
การโดยสุจริต เวนแตบุคคลภายนอกหากไมทราบความนั้น เพราะความประมาทเลินเลอของตนเอง”
วินิจฉัย
กรณีตามอุทาหรณ การที่นายสําราญบอกเลิกการเปนตัวแทนของนายพร และติดประกาศไวในบริเวณปมน้ํามัน ซึ่ง
บุคคลโดยทั่วไปอาจไมสนใจอานประกาศนั้น เมื่อนายเสถียรนําเงินคาน้ํามันไปชําระใหนายพรโดยไมทราบความจริงวานายพรหา
ไดเปนตัวแทนนายสําราญแตอยางใด จึงถือไดวานายเสถียรไดกระทําการโดยสุจริต นายเสถียรจึงสามารถอางความสุจริตตอสูกับ
นายสําราญและไมจําตองชําระเงินคาน้ํามันใหกับนายสําราญอีกแตอยางใด

11.ผูรับประกันภัยเอารถยนตที่รับประกันภัยไวถูกชนเสียหายไปใหอูซอมเสร็จเรียบรอยและสงมอบใหผูเอาประกันภัยรับไปแลว
ผูรับประกันภัยจึงไปฟองเรียกรองเอาคาเสียหายจากผูที่ขับรถมาชนคันที่เอาประกันภัยเสียหายนั้นตามจํานวนคาซอมที่อูเรียกเก็บ
ผูที่ขับรถมาชนใหการตอสูวา ผูรับประกันภัยยังไมไดชําระเงินคาซอมใหอูซอมไมมีอํานาจฟองเรียกรองคาเสียหายจากตนได ขอเท็จ
จริงปรากฏวาผูรับประกันภัยยังไมไดชําระคาซอมรถยนตใหอูจริง หากทานเปนศาลจะตัดสินคดีนี้วาอยางไร

แนวตอบ
ตามเฉลย อางอิง ฎ.1006/2503 แตมิไดกลาวถึงรายละเอียดใด ๆ และมิไดสรุปธงคําตอบไวให จึงขอคัดลอกฎีกามาให
อานดังนี้

. คําพิพากษาฎีกาที่ 1006/2503
เจาของรถยนตที่ถูกรถจําเลยชน ไดเอารถประกันภัยไวกับบริษัทโจทกซึ่งมีวัตถุประสงคเพื่อรับประกันวินาศภัย บริษัทโจทกไดเอารถ
ยนตที่ถูกรถจําเลยชนเสียหายไปใหอูซอมเสร็จ และมอบรถใหเจาของรับไปเรียบรอยแลว บริษัทโจทกก็ตองมีความผูกพันที่จะตอง
ใชราคาคาซอมใหแกอูผูทําการซอมตามจํานวนเงินที่ตกลงกันไว เชนนี้ นับวาบริษัท โจทกไดใชคาสินไหมทดแทนไปแลวตามจํานวน
เงินราคาคาจางที่ไดตกลงไวกับอูผูทําการซอม บริษัทโจทกยอมเขารับชวงสิทธิของเจาของรถที่ถูกชนซึ่งมีตอจําเลย บริษัทโจทกจึงมี
อํานาจฟองเรียกคาเสียหายจากจําเลยไดตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยมาตรา 880 วรรค 1

หมายเหตุ หลักกฎหมายตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย
มาตรา 880 วรรคแรก บัญญัติวา"ถาความวินาศภัยนั้นไดเกิดขึ้นเพราะการกระทําของบุคคลภายนอกไซร ผูรับประ
กันภัยไดใชคาสินไหมทดแทนไปเปนจํานวนเพียงใด ผูรับประกันภัยยอมเขารับชวงสิทธิของผูเอาประกันภัยและของผูรับประโยชน
ซึ่งมีตอบุคคลภายนอกเพียงนั้น"

12.กฎหมายกําหนดใหทํา”หลักฐานเปนหนังสือ” กรณีทําสัญญากูยืมเงินกันกวาหาสิบบาทขึ้นไปนั้น ทานเขาใจวาอยางไร จง


อธิบาย

แนวตอบ
การที่กฎหมายกําหนดใหทํา”หลักฐานเปนหนังสือ” กรณีทําสัญญากูยืมเงินกันเกินกวาหาสิบบาทขึ้นไปนั้น ขาพเจาเขา
ใจวาการกูยืมกันเปนจํานวนตามที่กฎหมายกําหนดคือกวาหาสิบบาทขึ้นไปเทานั้นที่ตองทําหลักฐานการกูยืมเงินเปนเกณฑหรือลง
ลายมือชื่อผูยืมเปนสําคัญจึงจะฟองบังคับคดีกันไดตามมาตรา 653 กฎหมายกําหนดเพียงใหมีหลักฐานเปนหนังสือลงลายมือชื่อผู
ยืมเปนสําคัญเทานั้น สวนการกูยืมเงินกันจํานวนหาสิบบาทหรือต่ํากวาหาสิบบาทเทานั้นไมตองมีหลักฐานเปนหนังสือ ก็ฟองรอง
บังคับคดีกันได หลักฐานเปนหนังสือไมใชแบบของสัญญา แมไมไดทํากันไวสัญญากูยืมก็มีขึ้น เพียงแตถาไมไดทําเปนหนังสือลง
ลายมือชื่อผูยืมกรณีผูยืมกวาหาสิบบาทขึ้นไปก็จะรองบังคับคดีไมไดเทานั้น
หลักฐานเปนหนังสือไมไดกําหนดรูปลักษณะวาจะตองทําในรูปหนังสือสัญญากูยืมเงินเทานั้น เพราะหลักฐานเปน
หนังสือไมใชแบบของนิติกรรม หลักฐานการกูยืมเงินจะมีลักษณะรูปรางอยางใด ๆ ก็ได เพียงแตมีลายมือชื่อผูยืมเปนสําคัญ มีขอ
ความแสดงวาเปนหนังสือจริงตามสัญญากูยืมก็ใชได ตัวอยางหลักฐานแหงการกูยืมเงินไดแกจดหมายโตตอบแสดงความเปนหนี้
กัน รายงานการประชุม บันทึกเปรียบเทียบปรับของอําเภอเปนตน
13.นายกรอบกูเงินนายเกียรติจํานวน 1,000 บาท โดยไมไดทําสัญญากูยืมกันไว เนื่องจากนายเกียรติเห็นวานายกรอบเปนเพื่อน
เมื่อครบกําหนดคืนเงินนายกรอบก็ยังไมชําระหนี้เงินกู นายเกียรติไปทวงเงินนายกรอบที่สํานักงานตอหนาคนอื่น นายกรอบโมโหจึง
พูดวาไมคืนอยากไดคืนก็ไปฟองเอา ดังนี้นายเกียรติปรึกษาทนายความโดยแจงวาการกูเงินรายนี้ไมไดทําหนังสือสัญญากูกันไว
ทนายความจึงมีจดหมายถามไปยังนายกรอบวา กูเงินนายเกียรติไปจํานวน 1,000 บาท จริงหรือไมขอใหตอบดวย เงินเปนจํานวน
เล็กนอยไมอยากใหฟองรองกัน นายกรอบตอบจดหมายทนายความวากูจริงและเลาพฤติการณของนายเกียรติใหฟง และลงชื่อทาย
จดหมายวากรอบ ตอมานายกรอบก็ยังไมชําระหนี้ ดังนี้ นายเกียรติจะฟองเรียกเงินกูคืนไดหรือไม เพราะเหตุใด

แนวตอบ
หลักกฎหมายตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย
มาตรา 653 วรรคแรก บัญญัติวา"การกูยืมเงินกวาหาสิบบาทขึ้นไปนั้น ถามิไดมีหลักฐานแหงการกูยืมเงินเปนหนังสือ
อยางหนึ่งอยางใดลงลายมือชื่อผูยืมเปนสําคัญ ทานวาจะฟองรองบังคับคดีหาไดไม"

วินิจฉัย
ตามปญหา แมนายกรอบกูเงินนายเกียรติ จํานวน 1,000 บาท โดยไมไดทําสัญญากูยืมเงินอันเปนหลักฐานในการฟอง
รองใหบังคับคดีกันไวก็ตาม แตตอมานายเกียรติไดไปติดตอทนายความทําจดหมายถามนายกรอบไปวาไดกูเงินนายเกียรติจริงหรือ
ไมและนายกรอบไดตอบจดหมายมาวากูเงินนายเกียรติไปตามที่ถามมาจริง จดหมายตอบดังกลาวก็เปนหลักฐานในการใหกูยืมเงิน
แลว หลักฐานในการกูยืมเงินกันนั้นไมจําตองทําเปนหนังสือสัญญากูยืมกัน หลักฐานอื่น ๆ เชนจดหมายโตตอบแสดงความเปนหนี้
บันทึกประจําวันของสถานีตํารวจ หรือรายงายการประชุม ก็ถือเปนหลักฐานในการกูยืมไดแลวเชนกัน กรณีนี้นายเกียรติสามารถนํา
จดหมายที่นายกรอบเขียนตอบทนายความมาเปนหลักฐานในการฟองรองบังคับคดีใหนายกรอบใชหนี้เงินกูได

14.นายสุนัยมอบอํานาจใหนางจินตนาเปนตัวแทนไปติดตอธุรกิจการคาในตางจังหวัด และเพื่อความสะดวกในการปฏิบัติงานของ
นางจินตนา นายสุนัยไดอนุญาตใหนางจินตนาใชรถยนตของนายสุนัยขับไปตางจังหวัดได นายสุนัยยังไดตกลงใหบําเหน็จแกนาง
จินตนาเปนเงินจํานวน 10,000 บาทดวย ตอมานางจินตนาทําหนาที่ตัวแทนใหนายสุนัยเสร็จสิ้นแลวก็ทวงถามเงินคาบําเหน็จจาก
นายสุนัย ซึ่งนายสุนัยก็ผัดผอนเปนประจํา นางจินตนาจึงยึดรถยนตคันดังกลาวของนายสุนัยไว แลวแจงแกนายสุนัยวาหากไมชําระ
คาบําเหน็จก็จะไมคืนรถยนตให นายสุนัยอางวานางจินตนาไมมีสิทธิที่จะยึดหนวงรถยนตไวได เพราะราคารถยนตเกินกวาคา
บําเหน็จมาก และไมไดมีขอตกลงกันใหยึดหนวงรถยนตไวได เชนนี้ทานเห็นวานางจินตนาจะสามารถยึดหนวงรถยนตไวจนกวานาย
สุนัยจะชําระคาบําเหน็จไดหรือไม เพราะเหตุใด

แนวตอบ
หลักกฎหมายตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย
มาตรา 819 บัญญัติวา"ตัวแทนชอบที่จะยึดหนวงทรัพยสินอยางใด ๆ ของตัวการ อันตกอยูในความครอบครองของตน
เพราะการเปนตัวแทนนั้นเอาไวจนกวาจะไดรับเงินบรรดาคางชําระแกตนเพราะการเปนตัวแทน"

วินิจฉัย
ดังนั้นการที่สุนัยมอบใหนางจินตนาครอบครองรถยนตของนายสุนัย และนางจินตนายังมิไดคืนรถยนตคันดังกลาวใหแก
นายสุนัยไป จึงทําใหนางจินตนาสามารถใชสิทธิยึดหนวงรถยนตไวจนกวานายสุนัยจะชําระคาบําเหน็จ ขออางของนายสุนัยฟงไม
ขึ้น เพราะการใชสิทธิยึดหนวงในกรณีนี้เปนการใชสิทธิที่กฎหมายบัญญัติไว แมไมมีขอตกลงเรื่องนี้ไวระหวางตัวการกับตัวแทน ตัว
แทนก็สามารถใชสิทธิยึดหนวงได
15.นายแดงขอเอาประกันภัยรถยนตกับบริษัท รุงเรืองประกันภัย จํากัด นายแดงไดกรอกใบคําขอเอาประกันภัยใหนายขาวเจาหนา
ที่รับประกันภัยของบริษัทไดพิจารณาแลว นายขาวตกลงรับประกันภัยโดยกําหนดเบี้ยประกันภัยใหนายแดงชําระ 6,000 บาท ตอ
มาบริษัทรุงเรืองประกันภัย จํากัด ไดออกกรมธรรมประกันภัยใหนายแดงแลว แตนายแดงยังไมไดชําระเบี้ยประกันภัย บริษัทรุงเรือง
ประกันภัย จํากัด ไดมีหนังสือทวงถามกําหนดเงื่อนไขไปวา ถาไมนําเบี้ยประกันภัยไปชําระภายในกําหนดเวลา บริษัทรุงเรืองประ
กันภัย จํากัด จะไมรับผิดชอบใด ๆ ตามกรมธรรมประกันภัย ตอมารถยนตคันที่เอาประกันภัยประสบอุบัติเหตุ บริษัทรุงเรืองประ
กันภัย จํากัด จะปฏิเสธความรับผิดตามสัญญาประกันภัยไดหรือไม เพราะเหตุใด จงอธิบาย

แนวตอบ
สัญญาประกันภัยเกิดขึ้นตามกฎหมายแลว ผูรับประกันภัยจะปฏิเสธความรับผิดไมได ผูรับประกันภัยตองชดใชความ
เสียหาย
เทียบเคียงฎีกาที่ 1306/2514

คําพิพากษาฎีกาที่ 1306/2514
โจทกเสนอขอเอาประกันภัยรถยนตบรรทุกของโจทกตอบริษัทรับประกันภัยจําเลยนอกจากบริษัทจําเลยจะใหโจทกกรอกแบบคํา
เสนอขอเอาประกันภัยแลว พนักงานบริษัทยังไดจดแจงจํานวนเงินเบี้ยประกันภัยไวบนใบเสนอขอเอาประกันภัยนี้ เพื่อโจทกได
ทราบดวยแลวตอมาบริษัทจําเลยไดออกกรมธรรมประกันภัยใหแกโจทก พรอมทั้งมีหนังสือเตือนใหโจทกสงเงินเบี้ยประกันภัยไปยัง
บริษัททันทีเมื่อไดรับกรมธรรมประกันภัย เชนนี้ยอมถือวาสัญญาประกันภัยไดเกิดขึ้นและมีผลผูกมัดคูกรณีแลว ขอความในหนังสือ
บริษัทจําเลยซึ่งขอใหโจทกรีบสงเบี้ยประกันภัยไปยังบริษัททันที รวมทั้งที่มีระบุไวในคําขอเอาประกันภัยวา "ยังไมมีความรับผิดใด ๆ
จนกวาบริษัทจะยอมรับคําขอเอาประกันนี้และไดชําระเบี้ยประกันเต็มจํานวนแลว" ไมพอฟงเปนเงื่อนไขวา สัญญาจะมีผลผูกพันตอ
เมื่อมีการชําระเบี้ยประกันภัยครบถวนแลว

16.นายกลาตองการขายที่ดินแปลงหนึ่งใหกับนายแกว แตเนื่องจากนายกลากับนายแกวไมคอยจะถูกกัน นายกลาจึงมอบใหนายไก


ไปดําเนินการแทนให นายไกก็เขาดําเนินการแทนใหนายกลาจนการซื้อขายที่ดินแปลงดังกลาวสําเร็จลุลวงดวยดี และเนื่องจากนาย
กลาสัญญาวาจะใหบําเหน็จแกนายไกจํานวนหนึ่งหากงานสําเร็จ นายไกจึงทวงถามใหนายกลาชําระเงินคาบําเหน็จ แตนายกลา
ปฏิเสธโดยอางวา การซื้อขายที่ดินกฎหมายกําหนดวาตองทําเปนหนังสือ การตั้งตัวแทนก็ตองทําเปนหนังสือดวย เมื่อนายกลากับ
นายไกไมไดตกลงการเปนตัวแทนกันเปนหนังสือ สัญญาตัวแทนจึงใชไมไดและไมผูกพันกัน ขอใหทานวินิจฉัยดังนี้
1) นายไกเปนตัวแทนนายกลาหรือไม ในการเขาทําการแทนนายกลาเรื่องการขายที่ดินดังกลาว
2) ขออางนายกลารับฟงไดหรือไม เพราะเหตุใด

ธงคําตอบ
หลักกฎหมายตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย
มาตรา 797 บัญญัติวา “อันวาสัญญาตัวแทนนั้น คือ สัญญาซึ่งใหบุคคลหนึ่ง เรียกวา ตัวแทน มีอํานาจทําการแทน
บุคคลอีกคนหนึ่งเรียกวาตัวการ และตกลงจะทําการดั่งนั้น
อันความเปนตัวแทนนั้นจะเปนโดยแตงตั้งแสดงออกชัดหรือเปนโดยปริยายก็ยอมได”
มาตรา 798 บัญญัติวา “ กิจการอันใดทานบังคับไวโดยกฎหมายวาตองทําเปนหนังสือ การตั้งตัวแทนเพื่อกิจการอันนั้นก็
ตองทําเปนหนังสือดวย…”

วินิจฉัย
ตามปญหา
1.นายกลาไดมอบหมายใหนายไกไปดําเนินการขายที่ดินของตน และนายไกก็เขาทําการแทนนายกลาจนการซื้อขายที่
ดินแปลงดังกลาวสําเร็จลุลวง เชนนี้เปนการที่นายไกตกลงรับทําการแทนนายกลาตัวการ นายไกจึงเปนตัวแทนนายกลา ตามมาตรา
797 แหง ปพพ.
2.การที่นายกลาอางวาการซื้อขายที่ดิน กฎหมายกําหนดวาตองทําเปนหนังสือ การตั้งตัวแทนก็ตองทําเปนหนังสือตาม
มาตรา 798 วรรคแรก ปพพ.นั้น เมื่อนายกลากับนายไกไมไดตกลงทําการเปนตัวแทนเปนหนังสือ สัญญาตัวแทนจึงใชไมไดนั้น
มาตรา 798 มิใชแบบของสัญญาตัวแทน สัญญาตัวแทนไมมีแบบแตอยางใด เมื่อคูสัญญาตกลงกันแมดวยวาจาสัญญาตัวแทนก็
เกิดขึ้น ผูกพันนายไกตัวแทน กับนายกลาตัวการ ตามมาตรา 797 ปพพ.แลว ขออางของนายกลาจึงฟงไมขึ้น

17.นายชมทําหนังสือสัญญากูยืมเงินนางชอยเมื่อวันที่ 20 มกราคม 2540 จํานวน 50,000 บาท อัตราดอกเบี้ยตามกฎหมาย


กําหนดชําระภายใน 3 ป นายชมมีปญหาเรื่องเงินเนื่องจากเศรษฐกิจไมดีจึงไมไดชําระดอกเบี้ยใหนางชอยติดตอมาตั้งแตเริ่มกูยืม
เงินนางชอย นางชอยทวงถามใหนายชมชําระมาโดยตลอด แตนายชมก็ไมเคยชําระดอกเบี้ยเลย วันที่ 21 มกราคม 2541 นางชอย
จึงไปพบนายชมที่บานแลวทําหนังสือสัญญาตกลงกันวา นายชมยินยอมใหนางชอยคิดดอกเบี้ยทบตนในหนี้ที่คางชําระทั้งหมด ตอ
มานายชมไมชําระเงินตนและดอกเบี้ยจนถึงวันที่ 20 มกราคม 2543 ดังนี้นางชอยจะทวงถามใหนายชมชําระดอกเบี้ยทบตนในหนี้
จํานวนดังกลาวไดหรือไม เพียงใด เพราะเหตุใด

ธงคําตอบ
หลักกฎหมายตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย
มาตรา 655 วรรคแรก “หามทานมิใหคิดดอกเบี้ยในดอกเบี้ยที่คางชําระ แตทวาเมื่อดอกเบี้ยคางชําระไมนอยกวา 1 ป คู
สัญญากูยืมจะตกลงกันใหเอาดอกเบี้ยนั้นทบเขากับตนเงินแลวใหคิดดอกเบี้ยในจํานวนเงินที่ทบเขากันนั้นได แตการตกลงเชนนั้น
ตองทําเปนหนังสือ”

ตามปญหาการที่นางชอยจะคิดดอกเบี้ยทบตนในหนี้ที่นายชมคางชําระมาตั้งแตเริ่มกูยืมกันนั้นตองหามตามกฎหมาย
เพราะตาม ปพพ.มาตรา 655 นั้นมีหลักเกณฑวาดอกเบี้ยตองคางชําระไมนอยกวาปหนึ่ง คูสัญญาจึงจะตกลงใหคิดดอกเบี้ยทบตน
ได แสดงวาดอกเบี้ยที่คางชําระตั้งแตกูยืมกันในปแรกนั้นนางชอยจะคิดดอกเบี้ยทบตนไมได คูสัญญาจะตกลงกันใหดอกเบี้ยทบตน
ไดตอเมื่อนายชมคางชําระไมนอยกวาปหนึ่ง ดังนั้นนางชอยจะคิดดอกเบี้ยทบตนไดในปที่สอง คือ ตั้งแตวันที่ 21 มกราคม 2541
เปนตนไป สวนในปแรกตองคิดดอกเบี้ยตามกฎหมายคือรอยละเจ็ดครึ่ง ตอปโดยไมทบตน
สรุป 1. นางชอยคิดดอกเบี้ยทบตนในปแรกไมได คงคิดอัตราดอกเบี้ยไดรอยละ 7.5 ตอป
2. นางชอยคิดดอกเบี้ยทบตนในปที่สองเปนตนไปได

18.นายสมทําสัญญาประกันภัยสินคาในคลังสินคาของตนกับบริษัท ทําดีประกันภัย จํากัด จํานวน 5 ลานบาท โดยระบุในกรมธรรม


ประกันภัยยกประโยชนใหนายสงบุตรชายของตนโดยใหนายสงเปนผูเก็บกรมธรรมประกันภัยไว ปรากฏวาหลังทําประกันภัยแลว 20
วัน น้ําไดทวมสินคาในคลังสินคาดังกลาวเสียหายทั้งหมด นายสงจึงไดแจงตอบริษัท ทําดีประกันภัย จํากัดวา ตนจะเขาถือ
ประโยชนตามสัญญาประกันภัย เพื่อเรียกคาสินไหมทดแทนจํานวน 5 ลานบาท จากบริษัทฯ บริษัท ทําดีประกันภัย จํากัด ได
ปฏิเสธสิทธิของนายสงโดยอางวา
1) นายสงไมไดเปนผูทําสัญญาประกันภัยฉบับดังกลาว
2) นายสงไมไดแสดงเจตนาตอบริษัทฯ วาจะถือเอาประโยชนจากสัญญาฉบับนี้ตั้งแตแรกที่ทําสัญญากัน
ดังนี้ทานเห็นวาขออางของบริษัท ทําดีประกันภัย จํากัด ฟงขึ้นหรือไม เพราะเหตุใด

ธงคําตอบ
หลักกฎหมายตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย
มาตรา 862 วรรคสาม บัญญัติวา "คําวา“ผูรับประโยชน” ทานหมายความวา บุคคลผูจะพึงจะไดรับคาสินไหมทดแทน หรือ
รับจํานวนใชให
วรรคสี่ อนึ่ง ผูเอาประกันภัยและผูรับประโยชนนั้น จะเปนบุคคลคนหนึ่งคนเดียวกันก็ได"
มาตรา 374 บัญญัติวา"ถาคูสัญญาฝายหนึ่งทําสัญญาตกลงวาจะชําระหนี้แกบุคคลภายนอกไซร ทานวาบุคคลภายนอกมี
สิทธิที่จะเรียกชําระหนี้จากเจาหนี้โดยตรงได
ในกรณีดังกลาวมาในวรรคตนนั้น สิทธิของบุคคลภายนอกยอมเกิดมีขึ้นตั้งแตเวลาที่แสดงเจตนาแกลูกหนี้วาจะถือเอา
ประโยชนจากสัญญานั้น"

1. ตามปญหาการที่นายสมทําสัญญาประกันภัยสินคาในคลังสินคาของตนกับบริษัท ทําดีประกันภัย จํากัด โดยยก


ประโยชนใหแกนายสงนั้น นายสงยอมเปนผูรับประโยชน ตามมาตรา 862 วรรคสาม และในกรณีดังกลาวผูเอาประกันภัยและผูรับ
ประโยชน มิใชบุคคลเดียวกันตามมาตรา 862วรรคสี่
การที่บริษัท ทําดีประกันภัย จํากัด ปฏิเสธสิทธิของนายสงวานายสงไมไดเปนผูทําสัญญาฉบับดังกลาว จึงไมสามารถ
เรียกคาสินไหมทดแทนได ฟงไมขึ้น เพราะกรณีตามปญหาของนายสง เรียกคาสินไหมทดแทนในฐานะผูรับประโยชน
2. การที่นายสมทําสัญญาประกันภัยยกประโยชนใหแกนายสงบุตรชาย เปนสัญญาเพื่อประโยชนของบุคคลภายนอก
บุคคลภายนอกคือนายสง มีสิทธิที่จะเรียกชําระหนี้จากลูกหนี้ คือ บริษัท ทําดีประกันภัย จํากัดโดยตรงได ตามมาตรา 374 วรรค
แรก ปพพ. และการที่นายสงไดแจงตอบริษัทฯวา จะเขาถือประโยชนตามสัญญาประกันภัย เมื่อน้ําไดทวมคลังสินคาดังกลาวเสีย
หายนั้น ถือวาสิทธิของนายสงไดเกิดขึ้นตั้งแตเวลาที่แสดงเจตนาแกลูกหนี้คือบริษัท ทําดีประกันภัย จํากัดวาจะถือเอาประโยชนจาก
สัญญานั้น แลวตามมาตรา 374 วรรคสอง ปพพ. บริษัทจะปฏิเสธสิทธิของนายสงวาไมไดแสดงเจตนาแกบริษัทฯ วาจะถือเอา
ประโยชนจากสัญญาฉบับนี้ตั้งแตแรกที่ทําสัญญากัน ขออางของบริษัทฯ ดังกลาวฟงไมขึ้น

19. นายทอง เปนตัวแทนขายประกันใหกับบริษัท จงดี จํากัด ประกันภัย โดยมีขอตกลงเรื่องบําเหน็จตัวแทนตามธรรมเนียมของ


ธุรกิจประเภทนี้ เนื่องจากบริษัท จงดีจํากัดประกันภัยมีปญหาดานการเงิน จึงติดคางคาบําเหน็จแกนายทองเปนเงิน 30,000 บาท
นายดําไดทําสัญญาประกันชีวิตผานนายทองตัวแทนของบริษัท จงดีจํากัดประกันภัย และเมื่อครบกําหนดการชําระเบี้ยประกัน นาย
ดําไดนําเงินจํานวน 25,000 บาท มาชําระใหกับนายทอง นายทองไดแจงบริษัทฯ วา ตนจําเปนตองยึดเงินจํานวนนี้ไว เพราะทาง
บริษัทฯไมยอมชําระคาบําเหน็จที่คางอยู บริษัทฯก็ไมวากลาวอะไรกับนายทอง แตไดมีหนังสือทวงถามนายดําใหชําระเบี้ยประกัน
ซึ่งนายดําก็ไดแจงบริษัทฯวา ตนชําระแลวผานทางตัวแทนคือนายทอง และไดไปทวงเงิน 25,000 บาท ดังกลาวจากนายทอง โดยโต
แยงวา นายทองไมมีสิทธิยึดหนวงไว เพราะเปนเงินของนายดํามิใชเงินของบริษัทฯ เชนนี้
1) ทานเห็นวา เงินจํานวน 25,000 บาทนี้ เปนทรัพยสินของบริษัท จงดี จํากัดประกันภัยที่นางทองสามารถยึดหนวงไวได
หรือไม
2) นายดําตองชําระเบี้ยประกันใหบริษัท จงดีจํากัดประกันภัยใหมอีกหรือไม หากไมสามารถจะเรียกคืนจากนายทองได

แนวตอบ
หลักกฎหมายตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย
มาตรา 819 บัญญัติวา “ ตัวแทนชอบที่จะยึดหนวงทรัพยสินอยางใด ๆ ของตัวการอันตกอยูในความครอบครองของตน
เพราะการเปนตัวแทนนั้นเอาไวไดจนกวาจะไดรับเงินบรรดาคางชําระแกตนเพราะการเปนตัวแทน”
มาตรา 820 บัญญัติวา “ ตัวการยอมมีความผูกพันตอบุคคลภายนอก ในกิจการทั้งหลายอันตัวแทนหรือตัวแทนชวงได
ทําไปภายในขอบเขตอํานาจแหงฐานตัวแทน”

วินิจฉัย
กรณีตามอุทาหรณ เมื่อนายดําชําระเบี้ยประกันใหกับนายทอง กรรมสิทธิ์ในเงินจํานวนนี้ไดตกเปนของบริษัท จงดีจํากัด
ประกันภัยแลว ดังนั้นนายทองจึงสามารถยึดหนวงไวได เพราะเหตุที่บริษัทฯ ซึ่งเปนตัวการไดคางชําระบําเหน็จตัวแทนแกนายทอง
และเมื่อนายดําไดชําระเบี้ยประกันใหกับตัวแทนของบริษัทฯ โดยถูกตองครบถวนแลว บริษัทฯ ในฐานะตัวการก็ตองรับ
ผิดชอบในการกระทําของตัวแทนของตน กลาวคือ ตองถือวานายดําชําระเบี้ยประกันใหบริษัทฯไปแลว จึงไมมีหนาที่ตองชําระเบี้ย
ประกันใหมแตอยางใด
สรุป 1. เงินจํานวน 25,000 บาท เปนทรัพยสินของทางบริษัทฯที่นายทองสามารถยึดเหนี่ยวไวได
2. นายดําไมตองชําระเบี้ยประกันใหกับบริษัทฯอีก

20. นายขาวกูยืมเงินนายเขียว 50,000 บาท โดยทําสัญญากูยืมเงินกันเปนหนังสือมีกําหนดชําระภายใน 3 ป ตอมานายขาวไดยาย


ภูมิลําเนาไปอยูตางจังหวัด เมื่อถึงกําหนดชําระหนี้เงินกู นายขาวไมสะดวกจะเดินทางมาชําระหนี้เงินกูดวยตนเอง จึงโอนเงินเขา
บัญชีเงินฝากของนายเขียวที่ธนาคาร ไทยนคร โดยทางโทรเลข นายเขียวไดรับชําระหนี้ครบถวน แตเห็นชองวางทางกฎหมายวา
นายขาวไมมีหลักฐานการใชเงินแตอยางใด จึงฟองใหนายขาวใชหนี้เงินกูจํานวน 50,000 บาทอีก ดังนั้นนายขาวจะมีขอตอสูนาย
เขียวเพื่อจะไดไมตองชําระหนี้ดังกลาวอีกไดหรือไม เพียงใด

แนวตอบ
หลักกฎหมายตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย
มาตรา 653 วรรค 2 “ในการกูยืมเงินมีหลักฐานเปนหนังสือนั้น ทานวาจะนําสืบการใชเงินไดก็ตอเมื่อมีหลักฐานเปน
หนังสืออยางใดอยางหนึ่ง ลงลายมือชื่อผูใหยืมมาแสดง หรือเอกสารอันเปนหลักฐานแหงการกูยืมนั้นไดเวนคืนแลว หรือไดแทงเพิก
ถอนลงในเอกสารนั้นแลว”
มาตรา 321 “ถาเจาหนี้ยอมรับการชําระหนี้อยางอื่นแทนการชําระหนี้ที่ไดตกลงกันไว ทานวาหนี้นั้นก็เปนอันระงับสิ้นไป”

วินิจฉัย
ตามปญหาการกูยืมเงินระหวางนายขาวและนายเขียวเปนการกูยืมเงินที่มีหลักฐานเปนหนังสือ การนําสืบการใชเงินก็
ตองมีหลักฐานเปนหนังสือลงลายมือชื่อผูใหยืมมาแสดง หรือไดมีการเวนคืนหลักฐานการกูยืมเงิน หรือไดแทงเพิกถอนลงในเอกสาร
นั้นตาม ปพพ. มาตรา 653 วรรค 2 จึงจะตอสูนายเขียวผูใหยืมได แตการที่นายขาวไดโอนเงินทางโทรเลขเขาบัญชีเงินฝากของนาย
เขียวที่ธนาคาร ไทยนครนั้นถือเปนการชําระหนี้อยางอื่นตาม ปพพ. มาตรา 321 ไมอยูในบังคับของมาตรา 653 วรรค 2 เมื่อนาย
เขียวในฐานะเจาหนี้ไดยอมรับแลว ถือวานายขาวไดชําระหนี้เงินกูใหนายเขียวแลว นายขาวจึงไมตองปฏิบัติตาม มาตรา 653 วรรค
2 ดังนั้นนายขาวสามารถตอสูนายเขียวไดโดยไมตองชําระหนี้ดังกลาวอีก (ฎีกา 2965/2531)

21. นายไสวขับรถยนตชนรถของนายสนองเสียหาย บริษัท จักรินทรประกันภัย จํากัด ที่นายสนองทําประกันภัยรถยนตของตนไวได


ซอมแซมรถยนตของนายสนองเปนเงินทั้งสิ้น 100,000 บาท บริษัทฯจึงฟองเรียกเงินจากนายไสวในฐานะละเมิด ดังนี้ บริษัท
จักรินทรประกันภัย จํากัด มีสิทธิฟองไดหรือไม เมื่อขอเท็จจริงไดความวา นายสนองยังไมไดยื่นฟองนายไสวแตอยางใด

แนวตอบ
หลักกฎหมายตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย
มาตรา 880 “ ถาความวินาศภัยนั้นไดเกิดขึ้นเพราะการกระทําของบุคคลภายนอกไซร ผูรับประกันภัยไดใชคาสินไหมทด
แทนไปเปนจํานวนเพียงใด ผูรับประกันก็ยอมเขารับชวงสิทธิของผูเอาประกันภัยและของผูรับประโยชนซึ่งมีตอบุคคลภายนอกเพียง
นั้น”

วินิจฉัย
กรณีตามปญหา เมื่อบริษัท จักรินทรประกันภัย จํากัด ผูรับประกันไดซอมรถยนตใหแกนายสนองผูเสียหายแลว ยอมถือ
วาไดชดใชคาสินไหมทดแทนตามสัญญาประกันภัยตามกฎหมาย จึงฟองเรียกเงินจากนายไสวในฐานละเมิดไดเปนจํานวน
100,000 บาท แมขอเท็จจริงไดความวา นายสนองยังไมไดยื่นฟองนายไสวแตอยางใด (ฎีกา 1006/2503)
22.สมทรงเปนเจาของรานขายขาวสาร แตงตั้งสมหญิงเปนตัวแทนทําหนาที่ผูจัดการราน โดนมีคําสั่งใหสมหญิงขายขาวสารใหแก
ลูกคาเงินสดเทานั้น สมนึกเปนเพื่อนสนิทของสมหญิงไดมาขอซื้อขาวสารจากรานดวยเงินเขื่อจํานวน 5,000 บาท และสมหญิงก็ได
ขายใหสมนึกไป ตอมาถึงกําหนดชําระหนี้ สมทรงไดทําหนังสือทวงถามคาขาวสารจากสมนึก แตสมนึกก็ไมยอมชําระให สมทรงจึง
เรียกรองเอาจากสมหญิง ดังนี้ สมหญิงจะมีขอตอสูเพื่อขอไมรับผิดตอสมทรงอยางไรบางหรือไม เพราะเหตุใด

แนวตอบ
หลักกฎหมายตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย
มาตรา 812 บัญญัติวา “ ถามีความเสียหายเกิดขึ้นอยางใด ๆ เพราะความประมาทเลินเลอของตัวแทนก็ดี เพราะไมทํา
การเปนตัวแทนก็ดี หรือเพราะทําการโดยปราศจากอํานาจหรือนอกเหนืออํานาจก็ดี ทานวาตัวแทนจะตองรับผิด”
มาตรา 823 วรรคหนึ่ง บัญญัติวา “ถาตัวแทนกระทําการอันใดอันหนึ่งอันปราศจากอํานาจก็ดีหรือทํานอกเหนือขอบ
อํานาจก็ดี ทานวายอมไมผูกพันตัวการ เวนแตตัวการจะใหสัตยาบันแกการนั้น…”

วินิจฉัย
การที่สมหญิงขายขาวสารแกสมนึกดวยเงินเชื่อไปนั้น เปนการที่ตัวแทนกระทําการโดยนอกเหนือขอบอํานาจ เนื่องจาก
สมทรงตัวการไดใหขายขาวสารแกลูกคาดวยเงินสดเทานั้น ตอมาเมื่อสมทรงตัวการไดทําหนังสือทวงถามคาขาวสารจากสมนึกนั้น
ยอมเปนการใหสัตยาบันแกการที่สมหญิงตัวแทนทําการนอกเหนือขอบอํานาจ เปนผลใหการซื้อขายขาวสารดวยเงินเชื่อนั้นผูกพัน
สมทรงตัวการ ตาม ปพพ. มาตรา 823 วรรคหนึ่ง แตอยางไรก็ตามไมเปนผลใหสมหญิงตัวแทนหลุดพนจากความรับผิดที่มีตอสม
ทรงตัวการอันเนื่องมาจากการกระทําดังกลาวที่ทําใหสมทรงตัวการไดรับความเสียหายจากการที่ไมไดรับชําระหนี้จากสมนึกเปนเงิน
จํานวน 5,000 บาท ตาม ปพพ. มาตรา 812 ดังนั้นสมหญิงจึงตองรับผิดในหนี้ดังกลาวตอสมทรง (นัยคําพิพากษาศาลฎีกาที่
1611/2512,1394/2526)
สรุป สมหญิงไมมีขอตอสูใดเพื่อไมขอรับผิดตอสมทรง

23. สุนันททําหนังสือกูยืมเงินสุนัยไป 800,000 บาทโดยตกลงใหมีการคิดดอกเบี้ยรอยละ 18 ตอเดือน เมื่อสุนันทไมชําระหนี้เงินกู สุ


นัยจึงมีจดหมายทวงถามใหชําระหนี้ สุนันทตอบจดหมายวาไมเคยกูยืมเงินสุนัยไปและลงชื่อสุนันทในจดหมาย ดังนั้น สุนัยจะฟอง
เรียกหนี้เงินกูจํานวน 800,000 บาท และเรียกดอกเบี้ยจากสุนันทไดหรือไม เพียงใด

แนวตอบ
หลักกฎหมายตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย
มาตรา 653 วรรคหนึ่ง บัญญัติวา “การกูยืมเงินกวาหาสิบบาทขึ้นไปนั้น ถามิไดมีหลักฐานการกูยืมเปนหนังสืออยางใด
อยางหนึ่งลงลายมือชื่อผูยืมเปนสําคัญ ทานวาจะฟองรองใหบังคับคดีหาไดไม…”
มาตรา 654 บัญญัติวา”ทานหามมิใหคิดดอกเบี้ยเกินรอยละสิบหาตอป ถาในสัญญากําหนดดอกเบี้ยเกินกวานั้น ก็ให
ลดลงมาเปนรอยละสิบหาตอป”

วินิจฉัย
สุนัยฟองเรียกตนเงิน 800,000 บาทจากสุนันทได เนื่องจากการกูยืมรายนี้ไดทําหลักฐานการกูยืมเงิน คือ สัญญากูยืม
เงินเปนหนังสือไว สวนการที่สุนันทตอบจดหมายวาไมเคยกูเงินสุนัยไป ก็ไมมีผลใหสัญญากูยืมเงินที่ทําไวเสียหายไปแตอยางไร สุ
นัยจึงสามารถฟองรองเรียกตนเงินจากสุนันทได
สวนดอกเบี้ยที่คิดในอัตรารอยละ 18 ตอเดือนนั้น เกินอัตราที่กฎหมายกําหนด ตามมาตรา 654 ดอกเบี้ยตามสัญญาจึง
เปนโมฆะทั้งหมด ดังนั้น สวนที่เปนดอกเบี้ยจึงเรียกไมได แตสุนัยสามารถเรียกดอกเบี้ยไดรอยละ 7ครึ่งตอป นับตั้งแตผิดนัดเปนตน
ไปตามมาตรา 224
สรุป สุนัยฟองเรียกเงินกูจํานวน 800,000 บาทได และเรียกดอกเบี้ยจากสุนันทนับตั้งแตวันที่ผิดนัดไดรอยละ 7.5
ตอป

24. สายัณหเขาใจวาบานของตนมีราคา 5,000,000 บาท จึงไดทําสัญญาประกันวินาศภัยบานไวกับบริษัทยามเย็นประกันภัย เปน


จํานวน 5,000,000 บาท ตอมาบานถูกไฟไหม สายัณหเรียกรองใหบริษัทยามเย็นฯ ชดใชคาสินไหม จํานวน 5,000,000 บาท ใหแก
ตน ดังนี้ บริษัทฯ ตองจายเงินจํานวน 5,000 ,000 บาท ตามที่สายัณหไดทําสัญญาไวหรือไม ถาหากบริษัทฯ พิสูจนไดวาบานของ
สายัณหมีราคาเพียง 2,000,000 บาท เทานั้น และสายัณหมีสิทธิเรียกรองบริษัทอยางไรบาง

แนวตอบ
หลักกฎหมายตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย
มาตรา 863 บัญญัติวา “อันสัญญาประกันภัยนั้น ถาผูเอาประกันภัยมิไดมีสวนไดเสียในเหตุที่ประกันภัยไวนั้นไซร ทาน
วายอมไมผูกพันคูสัญญาแตอยางหนึ่งอยางใด”
มาตรา 874 บัญญัติวา “ถาคูสัญญาไดกําหนดราคาแหงมูลประกันภัยไว ผูรับประกันภัยชอบที่จะไดลดจํานวนคาสิน
ไหมทดแทน ก็แตเมื่อพิสูจนไดวาราคาแหงมูลประกันภัยตามที่ไดตกลงกันไวนั้นเปนจํานวนสูงเกินไปหนัก และคืนจํานวนเบี้ยประ
กันภัยใหตามสวนกับทั้งดอกเบี้ยดวย”

วินิจฉัย
การเอาประกันภัยมากกวาสวนไดเสียที่ผูเอาประกันภัยมีอยู ไมมีผลกระทบถึงความสมบูรณของสัญญาประกันแตอยาง
ใด ตราบที่ผูเอาประกันภัยมีสวนไดเสียในเหตุที่ประกันภัยแลวสัญญายอมผูกพันกันตามมาตรา 863
ตามที่สายัณหทําสัญญาประกันภัยบานไวจํานวน 5 ลานบาทโดยเขาใจวาบานของตนมีราคา 5 ลานบาท แตปรากฏวา
เมื่อบริษัทฯ พิสูจนไดวาราคาบานที่เอาประกันภัยเปนจํานวนสูงเกินไปหนักคือราคาเพียง 2 ลานบาท บริษัทก็สามารถลดจํานวนคา
สินไหมได และคืนจํานวนเบี้ยประกันภัยใหกับสายัณหตามสวนกับทั้งดอกเบี้ย
ดังนั้นสายัณหมีสิทธิใหบริษัทฯ คืนเบี้ยประกันใหตนตามสวนพรอมทั้งดอกเบี้ยตามาตรา 874

25. สําลีเปนเจาของรานขายอะไหลรถยนต มอบหมายใหสํารวยเปนผูจัดการรานและอนุญาตใหสํารวยตั้งสํานวนเปนตัวแทนชวง


ได หากขอเท็จจริงปรากฏวา ขณะที่สําลีไปทําธุรกิจตางจังหวัด สํารวยจึงตั้งสํานวนและสําคัญเปนตัวแทนชวง โดยที่สํารวยทราบดี
วาสํานวนเคยถูกศาลพิพากษาใหจําคุกในคดีความผิดที่เกี่ยวกับทรัพยมาหลายครั้งแลวไมแจงใหสําลีทราบ ปรากฏวาตอมาสํานวน
ไดยักยอกเงินของรานไปเปนจํานวน 5,000 บาท ดังนี้ การตั้งตัวแทนชวงของนายสํารวยชอบดวยกฎหมายหรือไม และสําลีจะฟอง
เรียกคาสินไหมทดแทนในความเสียหายดังกลาวจากสํารวยไดหรือไม อยางไร

แนวตอบ
หลักกฎหมายตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย
มาตรา 797 บัญญัติวา “อันวาสัญญาตัวแทนนั้น คือ สัญญาซึ่งใหบุคคลหนึ่ง เรียกวา ตัวแทน มีอํานาจทําการแทน
บุคคลอีกคนหนึ่งเรียกวาตัวการ และตกลงจะทําการดั่งนั้น
อันความเปนตัวแทนนั้นจะเปนโดยแตงตั้งแสดงออกชัดหรือเปนโดยปริยายก็ยอมได”
มาตรา 808 บัญญัติวา “ตัวแทนตองทําการดวยตนเอง เวนแตจะมีอํานาจใชตัวแทนชวงทําการได”
มาตรา 813 บัญญัติวา “ตัวแทนผูใดตั้งตัวแทนชวงตามที่ตัวการระบุใหตั้ง ทานวาตัวแทนผูนั้นจะตองรับผิดเพียงแตใน
กรณีที่ตนไดรูวาตัวแทนชวงนั้นเปนผูที่ไมเหมาะแกการหรือเปนผูที่ไมสมควรไววางใจแลวและมิไดแจงความนั้นใหตัวการทราบหรือ
มิไดเลิกถอนตัวแทนชวงนั้นเสียเอง”

วินิจฉัย
ตามปญหา สํารวยผูจัดการรานอะไหลรถยนตมีอํานาจกระทําการแทนสําลีจึงเปนตัวแทนของสําลีตาม ปพพ. มาตรา
797 สํารวยจะตั้งสํานวนและสําคัญเปนตัวแทนชวง ซึ่งตามขอเท็จจริงปรากฏวา สําลีตัวการอนุญาตใหตั้งสํานวนเปนตัวแทนชวงได
แตหาไดอนุญาตใหตั้งสําคัญเปนตัวแทนชวงดวยไม ดังนั้นสํารวยตัวแทนจึงตั้งสํานวนเปนตัวแทนชวงได แตจะตั้งสําคัญเปนตัว
แทนชวงไมได ตาม ปพพ. มาตรา 808
ขอเท็จจริงปรากฏวาสํารวยตัวแทนทราบวาสํานวนเคยถูกศาลพิพากษาใหจําคุกในคดีความผิดที่เกี่ยวกับทรัพยมาหลาย
ครั้งแลวและไมแจงใหสําลีตัวการทราบถึงการที่สํานวนตัวแทนชวงซึ่งสําลีตัวการอนุญาตใหตั้งนั้นเปนผูที่ไมสมควรไววางใจ แลวตอ
มาปรากฏวาสํานวนตัวแทนชวงไดยักยอกเงินของรานไปจํานวน 5,000 บาท เชนนี้สํารวยตัวแทนจึงตองรับผิดตอสําลีตัวการใน
กรณีดังกลาวตาม ปพพ. มาตรา 813
สรุป 1. การแตงตั้งสํานวนเปนตัวแทนชวงของสํารวยชอบดวยกฎหมาย แตการแตงตั้งสําคัญเปนตัวแทนชวงของ
สํารวยไมชอบดวยกฎหมายตาม ปพพ. มาตรา 808
2.สําลีตัวการฟองเรียกคาสินไหมทดแทนในความเสียหายดังกลาวไดจากสํารวยตัวแทนไดตามปพพ. มาตรา
813

26. ตาสอนกูเงินยายมา จํานวน 40 บาท โดยทําสัญญาเงินกูกันเปนหนังสือมอบใหยายมาเก็บรักษาไว ตอมาเมื่อหนี้ถึงกําหนด


ชําระ ตาสอนไดนําเงินจํานวนดังกลาวไปชําระหนี้ใหแกยายมา โดยมีตาสินเปนผูเห็นเหตุการณ แตไมไดขอสัญญากูคืน ไมไดแทง
เพิกถอนในสัญญากู และไมไดทําหลักฐานการชําระเงินกันเปนหนังสือแตอยางไร ตอมาตาสอนไดรับหนังสือทวงถามจากทนาย
ความของยายมาใหชําระหนี้เงินกูตามสัญญากูดังกลาว มิฉะนั้นจะฟองศาล ดังนี้ หากตาสอนมาปรึกษาทานในฐานะที่เปนนัก
กฎหมาย ทานจะใหคําปรึกษาอยางไร

แนวตอบ
หลักกฎหมายตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย
มาตรา 653 วรรค 2 “ในการกูยืมเงินมีหลักฐานเปนหนังสือนั้น ทานวาจะนําสืบการใชเงินไดก็ตอเมื่อมีหลักฐานเปน
หนังสืออยางใดอยางหนึ่ง ลงลายมือชื่อผูใหยืมมาแสดง หรือเอกสารอันเปนหลักฐานแหงการกูยืมนั้นไดเวนคืนแลว หรือไดแทงเพิก
ถอนลงในเอกสารนั้นแลว”

วินิจฉัย
การกูยืมเงินระหวางตาสอนกับยายมาไดทําสัญญากูยืมกันเปนหนังสือ ซึ่งสัญญากูยืมดังกลาวนั้นก็เปนหลักฐานเปน
หนังสือ ดังนั้นการนําสืบการใชเงินก็ตองมีหลักฐานเปนหนังสือลงลายมือชื่อผูใหยืมมาแสดง หรือไดเวนคืนสัญญากูยืมเงินนั้นแลว
หรือไดแทงเพิกถอนลงในสัญญากูยืมดังกลาวแลวนั้นตาม ปพพ. มาตรา 653 วรรคสอง แมวาจํานวนเงินที่กูยืมจะไมเกินกวา 50
บาทก็ตาม แตตามขอเท็จจริงปรากฏวาตาสอนไดไปชําระหนี้เงินกูดังกลาวใหแกยายมาโดยมิไดขอสัญญากูยืมคืน ไมไดแทงเพิก
ถอนในสัญญากูยืมนั้นและไมไดทําสัญญาการชําระเงินกันเปนหนังสือแตอยางใด คงมีตาสินเปนผูเห็นเหตุการณเทานั้น เชนนี้แลว
ตาสอนจะนําสืบการใชเงินดังกลาวไมได
สรุป ขาพเจาในฐานะนักกฎหมายจะใหคําปรึกษาแกตาสอนวาตาสอนจะนําตาสินซึ่งเปนพยานบุคคลมาสืบถึง
การใชเงินในจํานวนดังกลาวมิได ตาม ปพพ. มาตรา 653 วรรคสอง และจะตองชําระหนี้เงินกูดังกลาวใหแกยายมา มิฉะนั้นจะถูก
ฟองเปนคดีตอศาล

27.สันตเปนโรคถุงลมโปงพองรักษาไมหายขาด แตไดแจงกับแพทยของบริษัทสองแสงประกันชีวิตจํากัด วาไมเคยเปนโรคใด ๆ มา


กอน เมื่อแพทยตรวจรางกายสันตแลว เห็นวามีสุขภาพปกติ จึงรายงานตอบริษัทสองแสงวาควรรับประกันชีวิต บริษัทฯจึงตกลงรับ
ประกันชีวิตสันตโดยพิจารณาจากความเห็นแพทยกับคําขอเอาประกันชีวิต ตอมาบริษัทฯทราบวาสันตเปนโรคถุงลมโปงพอง จึง
บอกลางโมฆียะดังกลาว สันตอางวาบริษัทฯประมาทเลินเลอในการรับประกันภัยจะบอกลางโมฆียะกรรมไมได ดังนี้ ทานเห็นวาขอ
ตอสูของสันตชอบดวยกฎหมายหรือไม อยางไร
แนวตอบ
หลักกฎหมายตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย
มาตรา 865 วรรคแรก บัญญัติวา “ถาในเวลาทําสัญญาประกันภัย ผูเอาประกันภัยก็ดี หรือในกรณีประกันชีวิต บุคคลอัน
การใชเงินยอมอาศัยความทรงชีพหรือมรณะของเขานั้นก็ดี รูอยูแลวละเวนเสียไมเปดเผยขอความจริงซึ่งอาจจะไดจูงใจผูรับประ
กันภัยใหเรียกเบี้ยประกันภัยสูงขึ้นอีกหรือบอกปดไมยอมทําสัญญา หรือรูอยูแลววาแถลงขอความอันเปนเท็จไซร ทานวาสัญญานั้น
เปนโมฆียะ”
มาตรา 866 บัญญัติวา “ถาผูรับประกันภัยไดรูขอความจริงดั่งกลาวในมาตรา 865 นั้นก็ดี หรือรูอยูแลววาขอแถลงเปน
ความเท็จก็ดี หรือควรจะไดรูเชนนั้นหากใชความระมัดระวังดั่งพึงจะคาดหมายไดแตวิญูชนก็ดี ทานใหฟงวาสัญญานั้นเปนอัน
สมบูรณ”

วินิจฉัย
ตามปญหา การที่สันตเปนโรคถุงลมโปงพองเรื้อรังรักษาไมหาย แจงตอแพทยของบริษัทฯวาไมเคยเปนโรคใด ๆ มากอน
การตรวจรางกายในการขอเขาทําประกันภัย ถือวา สันตละเวนไมเปดเผยขอความจริงเกี่ยวกับโรคที่เปน ซึ่งเรื่องนี้มีความสําคัญที่
บริษัทตองทราบเพื่อจะนําไปประกอบการวินิจฉัยวาจะรับประกันชีวิตผูเอาประกันหรือไม สัญญาดังกลาวตกเปนโมฆียะตามาตรา
865
การที่สันตอางวาเปนการประมาทเลินเลอของแพทยผูตรวจที่ไมตรวจรางกายใหละเอียด สัญญาประกันชีวิตสมบูรณนั้น
ไมได มาตรา 866 เพราะการตรวจโรคถุงลมโปงพองโดยวิธีธรรมดาจะทําไดยากนอกจากฉายเอ็กซเรยหรือใชสีฉีดเขาไปในปอดแลว
ฉายเอ็กซเรย แตเมื่อสันตปกปดมิไดแจงเรื่องที่เจ็บปวยใหแพทยผูตรวจสุขภาพทราบ ก็ไมมีเหตุที่แพทยจะตองฉายเอ็กซเรยเพื่อ
ตรวจถุงลมของสันต การที่บริษัทประกันภัยโดยพิจารณาจากรายงานของแพทยประกอบกับคําขอเอาประกันชีวิต จะฟงวาบริษัท
ประมาทเลินเลอไมไดเพราะหนาที่เปดเผยความจริงเปนหนาที่ของผูเอาประกันชีวิต
สรุป ขอตอสูของสันตไมชอบดวยกฎหมาย

28. นายจันทรตั้งนายพุธเปนตัวแทนทําหนาที่จัดการผลประโยชนของนายจันทรโดยไมมีบําเหน็จ และใหมีอํานาจตั้งตัวแทนชวงได


นายพุธไดตั้งนายศุกรเปนตัวแทนชวงใหไปเก็บเงินคาเชาจากนางอังคารลูกหนี้ของนายจันทร ซึ่งโดยปกตินายพุธก็เคยใชนายศุกร
ไปเก็บเงินในกิจการสวนตัวของนายพุธเสมอมา ปรากฏวาเมื่อนายศุกรเก็บเงินจากนางอังคารไดแลวไมยอมสงมอบใหแกนายพุธ
และไดหลบหนาไป ดังนี้
ก.ใครมีอํานาจฟองเรียกเงินคืนจากนายศุกรไดบาง
ข. นายจันทรจะฟองเรียกเงินจากนายพุธโดยอางวานายพุธตั้งตัวแทนชวงโดยประมาทเลินเลอไดหรือไม เพราะเหตุใด

แนวตอบ
หลักกฎหมายตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย
มาตรา 807 บัญญัติวา “ตัวแทนตองทําการตามคําสั่งแสดงออกชัดแจงหรือโดยปริยายของตัวการ เมื่อไมมีคําสั่งเชนนั้น
ก็ตองดําเนินตามทางที่เคยทํากันมาในกิจการคาขายอันเขาใหตนทําอยูนั้น
อนึ่งบทบัญญัติมาตรา 659 วาดวยการฝากทรัพยนั้น ทานใหนํามาใชโดยอนุโลมตามควร”
มาตรา 814 บัญญัติวา “ตัวแทนชวงยอมรับผิดโดยตรงตอตัวการฉันใดกลับกันก็ฉันนั้น”

วินิจฉัย
ก. นายพุธมีอํานาจตั้งนายศุกรเปนตัวแทนไดตามที่นายจันทรไดใหอํานาจไว ดังนั้นนายจันทรตัวการเทานั้นที่มี
อํานาจฟองเรียกเงินคืนจากนายศุกรตัวแทนชวง เพราะตัวแทนชวงยอมตองรับผิดตอตังการโดยตรงตามปพพ.มาตรา 814
ข.นายพุธเปนตัวแทนไมมีบําเหน็จ ดังนั้นความระมัดระวังในการจัดทํากิจการยอมใชในระดับตนเองเหมือนเชนเคย
ประพฤติในกิจการของตัวเอง ตาม ปพพ. มาตรา 807 ที่ใหนําบทบัญญัติวาดวยเรื่องฝากทรัพยมาใชบังคับ ซึ่งโดยปกติแลวนายพุธ
ก็เคยใชนายศุกรใหไปเก็บเงินในกิจการของตนเองเสมอมา ดังนั้นการที่นายพุธตั้งนายศุกรเปนตัวแทนชวงไปเก็บเงินจากนางอังคาร
จึงเปนการปฏิบัติหนาที่ตัวแทนตามกฎหมายแลว ไมเปนการประมาทเลินเลอแตอยางใด ดังนั้นนายพุธไมตองชดใชคาเสียหายแก
นายจันทร
นายจันทรจึงฟองเรียกเงินจากนายพุธไมได

29. สมหมายกูยืมเงินนายสมบูรณจํานวน 400,000 บาท อัตราดอกเบี้ย 15 % ตอป โดยมีขอสัญญาเปนหนังสือวาใหผูกูสงดอก


เบี้ยเปนรายเดือน หากผูกูผิดนัดไมชําระเดือนใด ผูใหกูมีสิทธิคิดดอกเบี้ยทบตนไดทันที โดยไมตองรอใหดอกเบี้ยคางชําระถึง 1 ป
ดังนั้นเมื่อสมหมายไมไดผอนชําระหนี้เปนเวลา 6 เดือนนับตั้งแตวันทําสัญญากูยืมเงินกัน สมบูรณจะคิดดอกเบี้ยทบตนจากดอก
เบี้ยที่คางชําระในชวง 6 เดือน ดังกลาวไดหรือไม เพราะเหตุใด

แนวตอบ
หลักกฎหมายตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย
มาตรา 655 วรรคแรก “หามทานมิใหคิดดอกเบี้ยในดอกเบี้ยที่คางชําระ แตทวาเมื่อดอกเบี้ยคางชําระไมนอยกวาปหนึ่ง
คูสัญญากูยืมจะตกลงกันใหเอาดอกเบี้ยนั้นทบเขากับตนเงินแลวใหคิดดอกเบี้ยในจํานวนเงินที่ทบเขากันนั้นได แตการตกลงเชนนั้น
ตองทําเปนหนังสือ”

วินิจฉัย
สัญญากูที่ตกลงใหสงดอกเบี้ยเปนรายเดือน หากผูกูผิดนัดไมชําระเดือนใด ผูใหกูมีสิทธิคิดดอกเบี้ยทบตนไดทันที โดย
ไมตองรอใหดอกเบี้ยคางชําระไมนอยกวาปหนึ่งกอนนั้น ฝาฝนมาตรา 655 วรรคแรก จึงเปนโมฆะ ดังนั้นสมบูรณไมสามารถคิดดอก
เบี้ยทบตนในชวง 6 เดือน ที่สมหมายคางชําระได เนื่องจากดอกเบี้ยคางชําระนอยกวา 1 ป แมจะมีการตกลงใหคิดดอกเบี้ยทบตน
เปนหนังสือก็ตาม

30. เทพทําสัญญาประกันวินาศภัยรถยนตของตนไวกับบริษัทเพียงฟาจํากัดในวงเงิน 500,000 บาท ตอมาเซียนคนขับรถของเทพ


ขับรถยนตคันดังกลาวดวยความประมาทเลินเลอชนรถยนตของนางฟาเสียหายทั้งคัน นางฟาจึงเรียกรองใหบริษัทเพียงฟาจํากัด ชด
ใชคาสินไหมทดแทนใหแกตนจํานวน 800,000 บาท เชนนี้
1. บริษัทเพียงฟา จํากัด จะไมยอมชดใชคาเสียหายแกนางฟาโดยอางวานางฟาตองไปเรียกรองเอาจากเทพผูเอาประกันภัย
กอน
2. หากกรณีดังกลาว นางฟาฟองบริษัทเพียงฟา โดยเรียกเทพเขามาในคดีดวย และศาลไดพิพากษาใหบริษัทเพียงฟา
จํากัดชดใชคาเสียหายใหแกนางฟาเปนเงินจํานวน 500,000 บาท แลว สวนอีก 300,000 บาท บริษัทเพียงฟาจํากัด จะใหนางฟาไป
เรียกรองเอาจากเทพผูเอาประกันเอง
ดังนี้ ทานเห็นวาบริษัทเพียงฟา จํากัด จะกระทําไดเพียงใด เพราะเหตุใด

แนวตอบ
หลักกฎหมายตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย
มาตรา 887 บัญญัติวา “อันวาประกันภัยค้ําจุนนั้น คือสัญญาประกันภัยที่ผูรับประกันภัยตกลงวาจะใชคาสินไหมทด
แทนในนามของผูเอาประกันเพื่อความวินาศภัยอันเกิดแกบุคคลอีกคนหนึ่ง และซึ่งผูเอาประกันภัยตองรับผิดชอบ
บุคคลผูเสียหายชอบที่จะไดรับคาสินไหมทดแทนตามที่ตนควรจะไดนั้นจากผูรับประกันโดยตรงแตคาสินไหมทดแทนเชน
วานี้หาอาจจะคิดเกินไปกวาจํานวนอันผูรับประกันภัยจะพึงตองใชตามสัญญานั้นไดไม ในคดีระหวางบุคคลผูตองเสียหายกับผูรับ
ประกันภัยนั้น ทานใหผูตองเสียหายเรียกตัวผูเอาประกันภัยเขามาในคดีดวย
มาตรา 888 บัญญัติวา “ถาคาสินไหมทดแทนอันผูรับประกันภัยไดใชไปโดยคําพิพากษานั้นยังไมไดคุมคาวินาศภัยเต็ม
จํานวนไซร ทานวาผูเอาประกันภัยก็ยังคงตองรับใชตามจํานวนที่ยังขาด เวนไวแตบุคคลผูตองเสียหายจะไดละเลยเสียไมเรียกเอา
ตัวผูเอาประกันภัยเขามาสูคดีดวยดังกลาวไวในมาตรากอน”

วินิจฉัย (ผูพิมพวินิจฉัยเอง เพราะขอสอบชวงนี้ขาดหายไป ผูอานกรุณาตรวจสอบความถูกตองดวย)


1. ตามปญหา การที่บริษัทเพียงฟา จํากัด จะไมยอมชดใชคาสินไหมทดแทนใหแกนางฟาโดยอางวา ตองไปเรียกรอง
เอาเทพผูเอาประกันภัยกอนนั้นทําไมได เนื่องจากความรับผิดของผูรับประกันภัยตอบุคคลภายนอกมีความสัมพันธสืบเนื่องมาขาก
ความรับผิดของผูเอาประกัน และถือวาเปนวัตถุแหงหนี้ตามสัญญาประกันภัยค้ําจุน ซึ่งเปนสัญญาเพื่อบุคคลภายนอกโดยผลของ
กฎหมาย บุคคลภายนอกผูไดรับความเสียหายจึงสามารถเรียกรองคาสินไหมทดแทนจากบริษัทประกันภัยไดโดยตรง ตาม
ปพพ.มาตรา 887 วรรคสอง
สรุป บริษัทเพียงฟา จํากัดตองชดใชคาเสียหายใหนางฟาโดยไมตองใหนางฟาไปเรียกรองเอาจากดุสิตผูเอาประกันภัย
กอน
2. ตามปญหาการที่ ศาลพิพากษาใหบริษัทเพียงฟา จํากัด ชดใชคาสินไหมทดแทนใหแกนางฟาเปนจํานวนเงิน
500,000 บาท แลว สวนอีก 300,000 บาทบริษัทเพียงฟา จํากัด จะใหนางฟาไปเรียกรองเอาจากเทพผูเอาประกันภัยเอง นั้นชอบ
ดวยกฎหมาย ปพพ.มาตรา 888 เนื่องจากเทพทําสัญญาประกันภัยไวกับทางบริษัทฯในวงเงิน 500,000 บาท
ดังนั้น บริษัทเพียงฟา จํากัด จะตองชดใชคาสินไหมทดแทนใหกับนางฟาเปนจํานวนเงิน 500,000 บาท และเนื่องจาก
นางฟาเรียกเทพเขามาในคดีดวย จึงสามารถเรียกคาสินไหมที่ยังไมครบตามจํานวนที่เสียหายจริง คือ อีก 300,000 บาทไดจากเทพ
ตามปพพ.มาตรา 887 และ 888

31.ทับทิมกูเงินมรกตจํานวน 500,000 บาท โดยไมไดทําหนังสือสัญญากูยืมเงินไว แตมรกตตองการหลักฐานแหงการกูยืมเงิน จึงได


บันทึกวิดีโอเอาไวทุกขั้นตอนของการกูยืมเงิน และเมื่อถึงกําหนดชําระหนี้ ทับทิมไมยอมชําระหนี้ตามสัญญากูยืมเงินดังกลาว ดังนี้
มรกตจะฟองรองใหทับทิมชําระหนี้กูยืมแกตนไดหรือไม เพราะเหตุใด

แนวตอบ
หลักกฎหมายตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย
มาตรา 653 วรรคหนึ่ง บัญญัติวา “การกูยืมเงินกวาหาสิบบาทขึ้นไปนั้น ถามิไดมีหลักฐานการกูยืมเปนหนังสืออยางใด
อยางหนึ่งลงลายมือชื่อผูยืมเปนสําคัญ ทานวาจะฟองรองใหบังคับคดีหาไดไม”

วินิจฉัย
ตามปญหา ทับทิมกูเงินมรกตโดยไมไดทําหนังสือสัญญากูยืมเงินไว เพียงแตไดถายวิดีโอไวเทานั้น แมหลักฐานอื่น ๆ
เชน จดหมาย รายการการประชุมที่มีขอความบงถึงความเปนหนี้กูยืมเงินก็เปนหลักฐานแหงการกูยืมเงินเปนหนังสือได แตการ
บันทึกวิดีโอไวตามเหตุการณที่ไดมีการกูยืมเงินกันไมใชการทําหลักฐานกูยืมเงินเปนหนังสือ ดังนั้นมรกตจะฟองรองใหทับทิมชําระ
หนี้กูยืมเงินจํานวน 500,000 บาท แกตนไมได เนื่องจากเปนการกูยืมเกินกวา 50 บาท ไมมีหลักฐานการกูยืมเงินเปนหนังสือแต
อยางใด

32. จงอธิบายความหมายของตัวแทนชวงโดยละเอียด โดยใหครอบคลุมถึงความหมาย การแตงตั้งและผลทางกฎหมาย

แนวตอบ
ตัวแทนชวง คือ บุคคลที่ไดรับแตงตั้งจากตัวแทนใหกระทําการในหนาที่ตัวแทนใหกับตัวการ ตัวแทนชวงจึงเปรียบเสมือน
ตัวแทนคนหนึ่งของตัวการ การแตงตั้งชวงอาจแตงตั้งโดยความยินยอมชัดแจงจากตัวการ หรือโดยการยินยอมโดยปริยายก็ได
ตัวแทนชวงเกิดขึ้นได 2 กรณี คือ
กรณีแรก ไดแกกรณีที่ตัวการมอบอํานาจไวโดยชัดเจนใหแตงตั้งตัวแทนชวงได การมอบอํานาจนี้อาจมอบอํานาจโดย
ลายลักษณอักษรหรือโดยวาจาก็ได
กรณีที่สอง เปนกรณีเมื่อมีธรรมเนียมในทางการคาหรือกิจการนั้นยอมใหมีตัวแทนชวงกันได หรือ มีความจําเปนบังคับ
ใหจําตองมีตัวแทนชวง
โดยสรุป การตั้งตัวแทนชวงตัวการตองใหความยินยอมดวยเสมอ และเมื่อมีการแตงตั้งตัวแทนชวงโดยถูกตองแลว
ฐานะของตัวแทนชวงจะอยูในฐานะตัวแทนคนหนึ่งของตัวการ

33.นายปอรูตัวดีวาเปนโรคตอมไทรอยดเปนพิษ และเคยเขารับการตรวจรักษาตัวที่โรงพยาบาลมากอน ไดขอเอาประกันชีวิตตอ


บริษัทอิสระประกันภัยจํากัด ซึ่งบริษัทกําหนดใหโรคตอมไทรอยดเปนโรคอันตรายที่บริษัท ฯ อาจจะรับหรือไมรับประกันชีวิตผูขอเอา
ประกันที่มีประวัติเปนโรคนี้ดวย ตัวแทนผูหาประกันชีวิตของบริษัทอิสระประกันภัยจํากัด ไดจัดใหแพทยตรวจรางกายนายปอแลว
แตนายปอเองมิไดแจงใหบริษัท ฯ ไดทราบเกี่ยวกับประวัติการเปนโรคนี้ ตอมาอีก 2 ป นายปอถูกรถชนตาย นายปองบิดาผูรับผล
ประโยชนเรียกรองใหบริษัทอิสระประกันภัยจํากัด จายเงินตามสัญญาประกันชีวิต แตบริษัท ฯ กลับบอกลางสัญญาประกันชีวิตโดย
อางวานายปอปกปดขอความจริงอันเปนสาระสําคัญ สัญญาประกันชีวิตจึงเปนโมฆียะเมื่อบริษัท ฯ ใชสิทธิบอกลางแลวสัญญาเปน
โมฆะ บริษัท ฯ ไมตองจายเงินตามสัญญา แตนายปองอางวาตัวแทนของบริษัท ฯ ไดจัดใหแพทยตรวจรางกายแลวถือวาบริษัท ฯ
ทราบแลว และบริษัท ฯ ไดตกลงทําประกันชีวิตแลว สัญญายอมสมบูรณ และนายปอก็ตายดวยเหตุอื่น บริษัทอิสระประกันภัย
จํากัด จึงตองจายเงินตามสัญญาประกันชีวิต จงพิจารณาวาขออางของใครถูกตอง ใหอธิบายพรอมทั้งยกหลักกฎหมายประกอบ
ดวย

แนวตอบ
หลักกฎหมายตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย
มาตรา 865 วรรคแรก บัญญัติวา “ถาในเวลาทําสัญญาประกันภัย ผูเอาประกันภัยก็ดี หรือในกรณีประกันชีวิต บุคคลอัน
การใชเงินยอมอาศัยความทรงชีพหรือมรณะของเขานั้นก็ดี รูอยูแลวละเวนเสียไมเปดเผยขอความจริงซึ่งอาจจะไดจูงใจผูรับประ
กันภัยใหเรียกเบี้ยประกันภัยสูงขึ้นอีกหรือบอกปดไมยอมทําสัญญา หรือรูอยูแลววาแถลงขอความอันเปนเท็จไซร ทานวาสัญญานั้น
เปนโมฆียะ”

วินิจฉัย
บริษัทอิสระประกันภัยจํากัด กําหนดวาโรคตอมไทรอยดเปนพิษ เปนโรครายแรง ซึ่งผูเอาประกันภัยจะตองเปดเผยขอ
ความจริง หากผูเอาประกันภัยมีประวัติเปนโรคดังกลาว ดังนั้นการเปดเผยขอความจริงในเรื่องนี้ จึงถือเปนสาระสําคัญ หากผูเอา
ประกันภัยละเลยในการเปดเผยขอความจริง จึงเปนเหตุใหสัญญาประกันชีวิตเปนโมฆียะ ตามมาตรา 865 การที่ตัวแทนของบริษัท
อิสระประกันภัยจํากัดใหแพทยตรวจรางกายนายปอนั้นแพทยมิใชตัวแทนของบริษัท ฯ จะถือวา บริษัท ฯ ผูรับประกันภัยทราบการ
เปนโรคตอมไทรอยดเปนพิษไมได เมื่อนายปอปดบังขอเท็จจริงอันเปนสาระสําคัญ สัญญาประกันชีวิตระหวางนายปอกับบริษัท ฯ
จึงเปนโมฆียะ บริษัทอิสระประกันภัยจํากัดจึงบอกลางสัญญาได และไมตองชําระเงินตามสัญญา (ฎีกาที่ 771/2531) ขออางของ
นายปองฟงไมขึ้น

34.สมัยกูเงินสโมสรจํานวน 50,000 บาท โดยทําหนังสือสัญญากูยืมเงินกันไว อัตราดอกเบี้ย 14% ตอป กําหนดชําระคืนภายใน 3


ป ครบกําหนดชําระ สมัยนําตนเงินพรอมดอกเบี้ยไปชําระคืนสโมสร และสมัยใหสโมสรแทงเพิกถอนลงในสัญญากูยืม สโมสรจึงนํา
สัญญากูยืมฉบับนั้นมาใหสมัยแทงเพิกถอนเอง สมัยจึงแทงเพิกถอนลงในสัญญากูยืมพรอมลงลายมือชื่อตนไว แตสมัยเกรงวาจะไม
มีหลักฐานใดไปแสดงใหภริยาดูวาไดชําระหนี้แลวจริง จึงขอใหสโมสรออกใบเสร็จรับเงินให สโมสรเห็นวาหนังสือสัญญากูยืมยังอยู
ที่ตน จึงออกใบเสร็จรับเงินจํานวนดังกลาวใหสมัย ตอมาอีก 1 อาทิตย สโมสรนําหนังสือสัญญากูยืมฉบับนั้นมาฟองสมัยใหชําระ
หนี้แกตนอีก อางวาสมัยยังไมไดชําระหนี้เงินกูจํานวน 50,000 บาท สวนสมัยตอสูวาไดชําระหนี้แลว เนื่องจากตนไดแทงเพิกถอนลง
ในสัญญากูยืม สโมสรตอสูวาสมัยจะนําสืบเชนนั้นไดตอเมื่อสโมสรไดแทงเพิกถอนลงในสัญญากูยืมนั้นเอง สมัยจึงปรึกษาภริยา
ภริยาแนะนําใหสมัยนําใบเสร็จรับเงินไปตอสูสโมสรวาไดชําระหนี้กูยืมแลว ดังนี้ ทานเห็นวาขออางของสโมสรหรือขอตอสูของภริยา
สมัยถูกตองหรือไม เพราะเหตุใด และสมัยจะตองชําระหนี้จํานวนดังกลาวใหกับสโมสรอีกหรือไม

แนวตอบ
หลักกฎหมายตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย
มาตรา 653 วรรคสอง บัญญัติวา “ในการกูยืมเงินมีหลักฐานเปนหนังสือนั้น ทานวาจะนําสืบการใชเงินไดตอเมื่อมีหลัก
ฐานเปนหนังสืออยางใดอยางหนึ่งลงลายมือชื่อผูใหยืมมาแสดง หรือเอกสารอันเปนหลักฐานแหงการกูยืมนั้นไวเวนคืนแลว หรือได
แทงเพิกถอนลงในเอกสารนั้นแลว”

วินิจฉัย
ตามปญหา การที่สมัยไดชําระหนี้เงินกูยืมคืนสโมสรแลว และใหสโมสรแทงเพิกถอนลงในเอกสารสัญญากูยืม แตสโมสร
กลับใหสมัยแทงเพิกถอนเอง ซึ่งการนําสืบการใชเงินกรณีแทงเพิกถอนลงในเอกสารนั้น ผูใหกูยืมจะตองเปนคนแทงเพิกถอนเองและ
ลงลายชื่อผูใหกูยืมไว การแทงเพิกถอนครั้งนี้จึงใชไมได ขอตอสูขอนั้นของสโมสรถูกตอง แตการที่สมัยใหสโมสรออกใบเสร็จรับเงิน
นั้น ถือวาสมัยมีหลักฐานเปนหนังสืออยางใดอยางหนึ่งลงลายมือชื่อสโมสรผูใหยืมมาแสดงแลว สมัยนําสืบการใชเงินได การนําสืบ
การใชเงินตามมาตรา 653 วรรค 2 นั้น จะนําสืบอยางหนึ่งอยางใดก็ได สมัยไมตองชําระหนี้เงินกูคืนสโมสรอีก ขาพเจาเห็นวาขอตอ
สูของภริยาสมัยขอหลังนี้ถูกตอง

35. คาบําเหน็จในการเปนตัวแทน คืออะไร ตัวแทนจะรับคาบําเหน็จจากตัวการไดในเงื่อนไขอยางไรบาง จงอธิบาย และยกตัวอยาง


ประกอบ

แนวตอบ
บําเหน็จ คืออะไรนั้น กฎหมายมิไดใหความหมายไว จึงตองพิจารณาจากความหมายธรรมดาโดยทั่วไป ซึ่งหมายความ
ถึงทรัพยสิน หรือประโยชนอื่นใดที่ตัวการตกลงที่จะใหแกตัวแทน อาจเปนเงิน หรือทรัพยสินหรือประโยชนอื่นก็ได แตประโยชนที่จะ
เปนบําเหน็จไดนั้น จะตองเปนประโยชนในลักษณะที่เปนทรัพยสิน
ตาม ปพพ. มาตรา 803 ไดกําหนดเงื่อนไขของการที่ตัวแทนจะไดรับบําเหน็จจากตัวการไวดังนี้
1. จะตองมีขอตกลงกันไววาใหบําเหน็จหรือ
2. ตัวแทน และตัวการเคยประพฤติตอกันวามีบําเหน็จ หรือ
3. มีธรรมเนียมในเรื่องนั้นวามีบําเหน็จ

เมื่อเขาหลักเกณฑอยางใดอยางหนึ่งในสามประการนี้แลว ตัวแทนก็สามารถเรียกบําเหน็จ
จากตัวการได บําเหน็จนี้ ตัวการจะจายใหตัวแทนเมื่อการเปนตัวแทนสิ้นสุดลง เวนแตจะตกลงกันเปนประการอื่น

36. นายสุโขเอาประกันชีวิตตนเองกับบริษัททรงธรรมประกันภัย จํากัด โดยไมไดระบุตัวผูรับผลประโยชนไวตั้งแตแรก ตอมานายสุ


โขเกิดรักใครนางสาวนวลหวังจะสมรสดวย จึงสงมอบกรมธรรมใหนางสาวนวล และนางสาวนวลไดสลักหลังกรมธรรม ระบุตัวเอง
เปนผูรับประโยชนไวเรียบรอยแลวเปนลายลักษณอักษร ตอมานายสุโขเกิดทะเลาะกับนางสาวนวล และไปแตงงานกับนางสาวนิ่ม
โดยจดทะเบียนสมรสกันไว และใหนางนิ่มแจงบริษัททรงธรรมประกันภัยจํากัดวานางนิ่มแสดงเจตนาเปนผูรับผลประโยชนตาม
สัญญาประกันชีวิต โดยไดจดหมายไปบอกกลาวบริษัททรงธรรมประกันภัย จํากัด ทันที ตอมาอีก 6 เดือน นายสุโขถูกรถชนเสียชีวิต
นางสาวนวล นางนิ่มภริยานายสุโข และนางนอยมารดานายสุโขตางเรียกรองใหทางบริษัททรงธรรมประกันภัย จํากัด จายเงินตาม
สัญญาประกันชีวิตแกตน ถาทานเปนที่ปรึกษากฎหมายของบริษัททรงธรรมประกันภัย จํากัด จะแนะนําใหบริษัทจายเงินใหแกผูใด
เพราะเหตุใด จงยกหลักกฎหมายประกอบการอธิบายสัก 3 กรณี
แนวตอบ
หลักกฎหมายตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย
ตาม ปพพ. มาตรา 891 บัญญัติวา”แมในกรณีที่ผูเอาประกันภัยมิไดเปนผูรับประโยชนเองก็ดี ผูเอาประกันยอมที่จะมี
สิทธิที่จะโอนประโยชนแหงสัญญานั้นใหบุคคลอีกคนหนึ่งได เวนแตจะไดสงมอบกรมธรรมประกันภัยใหแกผูรับประโยชนไปแลว
และผูรับประโยชนไดบอกกลาวเปนหนังสือไปยังผูรับประกันภัยวาตนจํานงจะถือเอาประโยขนแหงสัญญานั้น
ถากรมธรรมประกันภัยไดทําเปนรูปใหใชเงินตามเขาสั่งแลว ทานใหนําบทบัญญัติมาตรา 309 มาใชบังคับ”
มาตรา 309 บัญญัติวา”การโอนหนี้อันพึงตองชําระตามเขาสั่งนั้น ทานวาจะยกขึ้นเปนขอตอสูลูกหนี้ หรือบุคคลภาย
นอกคนอื่นไดแตเฉพาะเมื่อการโอนนั้นไดสลักไวในตราสาร และตัวตราสารนั้นไดสงมอบใหแกผูรับโอนไปดวย”

วินิจฉัย
จากอุทาหรณ นายสุโขไดเอาประกันชีวิตตนเองโดยมิไดระบุตัวผูรับประโยชนไว แตไดสงมอบกรมธรรมใหแกนางสาว
นวลแลว แมตอมานายสุโขสมรสกับนางนิ่ม โดยใหนางนิ่มแจงบริษัทรับประกันชีวิตเพื่อแสดงตนเปนผูรับประโยชนก็ตาม แตเปน
การแจงโดยนางนิ่มเอง และกระทําหลังจากที่ไดสงมอบกรมธรรมแกนางสาวนวลไปแลว ผูเอาประกันจึงไมอาจจะโอนประโยชนให
กับบุคคลอื่นอีก ตามมาตรา 891 และในกรณีนี้ไมเขาลักษณะการโอนประโยชนใหบริษัทประกันภัยใชเงินตามเขาสั่ง ตามมาตรา
309 ดวย
ดังนั้น เมื่อนายสุโขถูกรถชนเสียชีวิต และนางสาวนวลไดเรียกรองใหบริษัทประกันชีวิตจายเงินตามสัญญาแกตนก็เปน
การแสดงเจตนาแกลูกหนี้ คือ บริษัทประกันชีวิตวาตนถือเอาประโยชนตามสัญญาประกันชีวิตแลว ทางบริษัททรงธรรมประกันภัย
จํากัด จําตองชําระเงินตามสัญญาประกันประกันชีวิตใหนางสาวนวลดังกลาว ตามหลักกฎหมายมาตรา 891
สวนนางนิ่ม แมจะเปนภริยาที่ชอบดวยกฎหมายของนายสุโข แตนายสุโขก็มิไดดําเนินการโอนประโยชนตามสัญญา
ประกันชีวิตแกนางนิ่ม โดยถูกตองและไดสงมอบกรมธรรมดังกลาวใหกับนางสาวนวลไปกอนหนาแลว นางนิ่มจึงมิใชผูรับประโยชน
ตามกรมธรรมประกันชีวิต จึงไมมีสิทธิไดรับเงินตามสัญญาประกันชีวิตดังกลาว
สําหรับนางนอยมารดานายสุโข ก็มิใชผูที่นายสุโขระบุใหเปนผูรับประโยชนตามกรมธรรมประกันชีวิต จึงไมมีสิทธิไดรับ
เงินตามสัญญาประกันชีวิตเชนกัน
สรุป หากขาพเจาเปนที่ปรึกษากฎหมายของบริษัททรงธรรมประกันภัย จํากัด จะแนะนําใหบริษัทจายเงินแกนาง
สาวนวล ซึ่งนายสุโขไดสงมอบกรมธรรมประกันชีวิตไวใหและนางสาวนวลไดบอกกลาวเปนหนังสือแสดงเจตนาจะถือเอาประโยชน
แหงสัญญาประกันชีวิตแลว

37. นายมิตรกูยืมเงินนายแมนจํานวน 10,000 บาท โดยทําหนังสือสัญญากูยืมเงินกันไว แตยังไมไดกําหนดเวลาในการชําระหนี้


เวลาลวงเลยมา 1 ป นายมิตรไดชําระหนี้เงินตนพรอมดอกเบี้ยใหนายแมนครบถวนแลว แตไมไดทําหลักฐานการใชเงินไวแตอยาง
ใด หลังจากชําระหนี้คืนแลว 5 ป นายแมนไดมาทวงถามหนี้เงินกูพรอมดอกเบี้ยคืนจากนายมิตรอีก นายมิตรไมยอมชําระหนี้ นาย
แทนฟองรองคดีตอศาล นายมิตรตอสูวา หนี้เงินกูระงับแ

แนวตอบ
หลักกฎหมายตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย
มาตรา 653 วรรคสอง บัญญัติวา “ในการกูยืมเงินมีหลักฐานเปนหนังสือนั้น ทานวาจะนําสืบการใชเงินไดตอเมื่อมีหลัก
ฐานเปนหนังสืออยางใดอยางหนึ่งลงลายมือชื่อผูใหยืมมาแสดง หรือเอกสารอันเปนหลักฐานแหงการกูยืมนั้นไวเวนคืนแลว หรือได
แทงเพิกถอนลงในเอกสารนั้นแลว”

วินิจฉัย
กรณีดังกลาว พิจารณาวาเปนเรื่องการนําสืบการใชเงิน กรณีมีหลักฐานการกูยืมเงินเปนหนังสือ ตาม ปพพ. มาตรา 653
วรรคสอง
ตามปญหาเปนเรื่องการกูยืมเงินที่มีหลักฐานการกูยืมเงินเปนหนังสือ การนําสืบการใชเงินตองปฏิบัติตามมาตรา 653
วรรคสอง การที่นายมิตรไดชําระหนี้เงินกูยืมใหนายแมนแลว แตไมไดทําหลักฐานการใชเงินเปนหนังสือลงลายชื่อนายแมนผูใหกูยืม
เปนสําคัญ และขอเท็จจริงไมไดหมายความวา นายแมนไดเวนคืนหนังสือสัญญากูใหนายมิตร หรือแทงเพิกถอนลงในสัญญากู นาย
มิตรจะนําสืบการใชตนเงินดังกลาวไมได สวนในเรื่องดอกเบี้ยนายมิตรนําสืบได
ขอตอสูเรื่องขาดอายุความนั้น กฎหมายไมไดกําหนดอายุความในการเรียกรองเงินกูไว จึงฟองคดีไดในกําหนดเวลา 10
ป นับแตทําสัญญากู ตามปญหาระยะเวลาตั้งแตทําสัญญากูยืมเงินมีกําหนด 6 ป จึงไมขาดอายุความฟองรอง ขอตอสูเรื่องอายุ
ความก็ตกไปเชนเดียวกัน
ถาขาพเจาเปนศาลจะไมรับฟงขอตอสูของนายมิตรทั้งสองกรณี

38. บริษัท สุโขทัย จํากัด ดําเนินกิจการขายพืชผลทางการเกษตร ไดแตงตั้งใหนายธรรมเปนผูจัดการดูแลกิจการทั้งหมด ตอมานาย


ธรรมขอลาออกแตเกษตรที่เคยติดตอคาขายกับบริษัทยังคงนําพืชผลมาสงบริษัทผานนายธรรมเพราะความคุนเคยกัน และนาย
ธรรมก็ชําระคาพืชผลแทนบริษัทไปกอนเปนจํานวน 1 ลานบาท แลวจะไปเบิกคืนจากบริษัท อีก 1 ปตอมานายธรรมไดไปกูเงินจาก
นายเที่ยง จํานวน 10 ลานบาท เพื่อซื้อที่ดินปลูกคอนโดมิเนียมไวขายเนื่องจากเปนที่นิยมและจะไดกําไรมาก โดยนายธรรมเจรจา
กับบริษัทวาตนประสงคจะทําเพื่อบริษัทเปนการตอบแทนที่เคยทํางานกันมานานและบริษัทไดใหสัตยาบันการกูเงินรายนี้และใชชื่อ
วา สุโขทัย คอนโดเทล ปรากฏวา คอนโดมิเนียมที่ปลูกนั้นไมมีผูจองซื้อเพราะกอสรางไมดี กิจการขาดทุน นายเที่ยงมาเรียกรองให
บริษัท สุโขทัย จํากัด ชําระหนี้ตามที่ไดใหสัตยาบันการกูเงินครั้งนี้ แตบริษัทไมยอมชําระ ขอใหทานวินิจฉัยวา
1.นายธรรมจะเรียกรองใหบริษัทสุโขทัย จํากัด ชดใชเงิน 1 ลานบาทที่นายธรรมชําระคาพืชผลแทนบริษัทไดหรือไม
2.นายเที่ยงจะฟองรองใหบริษัทสุโขทัย จํากัด รับผิดชําระเงินกู 10 ลานบาทได หรือไม
3.บริษัทสุโขทัย จํากัด จะเรียกรองใหนายธรรมชดใชคาเสียหายที่ทําใหบริษัทเสียหายเนื่องจากสรางคอนโดมิเนียมไมดี
ทําใหกิจการขาดทุนและเปนที่เสื่อมเสียชื่อเสียงของบริษัทไดหรือไม

แนวตอบ
หลักกฎหมายตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย
มาตรา 823 วรรคแรกบัญญัติวา”ถาตัวแทนทําการอันใดอันหนึ่งโดยปราศจากอํานาจก็ดี หรือทํานอกทําเหนือจาก
อํานาจก็ดี ทานวายอมไมผูกพันตัวการ เวนแตตัวการจะใหสัตยาบันแกการนั้น…”
มาตรา 821 บัญญัติวา”บุคคลใดเชิดบุคคลอีกคนหนึ่งออกแสดงเปนตัวแทนของตนก็ดี รูแลวยอมใหบุคคลอีกคนหนึ่ง
เชิดตัวของเขาเองออกแสดงเปนตัวแทนของตนก็ดี ทานวาบุคคลผูนั้นจะตองรับผิดตอบุคคลภายนอกผูสุจริตเสมือนวาบุคคลอีกคน
หนึ่งนั้นเปนตัวแทนของตน”
มาตรา 816 วรรคแรก บัญญัติวา”ถาในการจัดทํากิจการอันเขามอบหมายแกตนนั้น ตัวแทนไดออกเงินทดรองหรือออก
เงินคาใชจายไปซึ่งพิเคราะหตามเหตุควรนับวาเปนการจําเปนไดไซร ทานวาตัวแทนจะเรียกเอาเงินชดใชจากตัวการ รวมทั้งดอกเบี้ย
นับแตวันที่ไดออกเงินไปนั้นดวยก็ได”
มาตรา 820 บัญญัติวา”ตัวการยอมมีความผูกพันตอบุคคลภายนอกในกิจการทั้งหลายอันตัวแทนหรือตัวแทนชวงไดทํา
ไปในขอบอํานาจแหงฐานตัวแทน”

วินิจฉัย
กรณีจากอุทาหรณแมนายธรรมจะขอลาออกจากการเปนผูจัดการดูแลกิจการแลว แตบริษัทก็ยังยอมใหนายธรรมติดตอ
รับซื้อพืชผลจากเกษตกรและในบางครั้งก็ใหนายธรรมจายเงินคาสินคาไปกอนดวย ทําใหบุคคลภายนอกเชื่อวานายธรรมเปนตัว
แทนของบริษัทอยูตามมาตรา 821 และเมื่อนายธรรมไดจายเงินคาสินคาแกเกษตกรไปกอนในฐานะที่เปนตัวแทนเชิดดังกลาวตัว
การยอมตองรับผิดชดใชเงินที่ตัวแทนไดทดรองจายไปกอนรวมทั้งดอกเบี้ยดวย ตามมาตรา 816
สวนกรณีที่สองนายธรรมไปกูเงินจากนายเที่ยงจํานวน 10 ลานบาท เพื่อปลูกคอนโดมิเนียมขายนั้นเปนกิจการนอกวัตถุ
ประสงคของบริษัทสุโขทัย จํากัด แมบริษัทจะใหสัตยาบันการกูเงินดังกลาวตลอดจนใหใชชื่อ สุโขทัยคอนโดเทล ก็ตาม ก็ไมอาจเปน
การใหสัตยาบันแกนายธรรมได เนื่องจากตัวการเองก็ไมมีอํานาจที่จะกระทําได ตัวการจะใหสัตยาบันการกระทําใด ๆ แกตัวแทน ตัว
การเองตองมีความสามารถที่จะกระทําการดวยตัวเองได ดังนั้นในกรณีนี้จึงไมเขาหลักเกณฑตามกฎหมาย มาตรา 823 นายธรรม
จึงมิใชตัวแทนของบริษัทสุโขทัย จํากัด เมื่อนายธรรมมิใชตัวแทนของบริษัท กิจการใด ๆ ที่นายธรรมกระทําลงไปยอมผูกพันนาย
ธรรมแตเพียวผูเดียวและไมผูกพันตัวการ ตามมาตรา 820 เพราะนายธรรมมิใชตัวแทน
ดังนั้นนายเที่ยงจะฟองรองบริษัทสุโขทัย จํากัดใหรับผิดชําระหนี้เงินกู 10 ลานบาทไมได ตองไปเรียกรองเอาจากนาย
ธรรมโดยตรง
และเมื่อนายธรรมมิใชตัวแทนของบริษัทสุโขทัย จํากัด ๆ จึงไมมีสิทธิเรียกรองใหนายธรรมชดใชคาเสียหายที่ทําใหกิจ
การคอนโดมิเนียมขาดทุน เนื่องจากการกอสรางไมดี เพราะมิใชกิจการของบริษัทสุโขทัย จํากัด ดังกลาว สวนในเรื่องเสื่อมเสียชื่อ
เสียงของบริษัทนั้นเปนเรื่องที่บริษัทใหความยินยอมใชชื่อบริษัทโดยสมัครใจจึงไมมีสิทธิเรียกรองคาเสียหายจากนายธรรม กิจการ
คอนโดมิเนียมทั้งหมดนายธรรมเปนผูรับผิดโดยสวนตัวและขาดทุนโดยสวนตัวจึงไมเกิดความเสียหายแกบริษัท สุโขทัย จํากัด นอก
จากเรื่องใชชื่อบริษัทซึ่งบริษัทยินยอมเอง
สรุป
1.นายธรรมจะเรียกรองใหบริษัทสุโขทัย จํากัด ชดใชเงินจํานวน 1 ลานบาทที่นายธรรมชําระคาพืชผลแทนบริษัทได
2.นายเที่ยงจะฟองรองใหบริษัทสุโขทัย จํากัด รับผิดชําระหนี้เงินกู 10 ลานบาทไมได ตองเรียกรองเอาจากนายธรรมโดย
ตรง
3.บริษัท สุโขทัย จํากัด จะเรียกรองใหนายธรรมชดใชคาเสียหายและคาเสื่อมเสียชื่อเสียงของบริษัทมิได เพราะนายธรรม
มิใชตัวแทนซึ่งกระทําความเสียหายแกบริษัท หากแตเปนเรื่องที่นายธรรมเสียหายเอง

39. จงอธิบายการเปรียบเทียบลักษณะและสาระสําคัญของสวนไดสวนเสียในสัญญาประกันวินาศภัย สัญญาประกันชีวิต และ


สัญญาประกันภัยรับขน

แนวตอบ
คําวาสวนไดเสียในเหตุประกันภัย หมายถึง การที่บุคคลใดจะตองไดรับความเสียหาย เมื่อมีเหตุการณอันใดอันหนึ่งเกิด
ขึ้นหรือบุคคลนั้นไดรับประโยชนหากเหตุการณอันใดอันหนึ่งซึ่งระบุไวในสัญญาประกันภัยไมเกิดขึ้น ในสัญญาประกันภัยทุกชนิดผู
เอาประกันจะตองเปนผูมีสวนไดเสีย ซึ่งเปนสาระสําคัญของการประกันภัย เพื่อมิใหการประกันภัยเปนการพนันขันตอ หรือกอให
เกิดการทุจริตทําลายทรัพยสินหรือชีวิตเพื่อใหไดมาซึ่งเงินเอาประกัน แตลักษณะและสาระสําคัญของสวนไดเสียในสัญญาประกัน
วินาศภัย สัญญาประกันชีวิตและสัญญาประกันภัยรับขนจะมีสวนที่แตกตางกันคือ ในสัญญาประกันวินาศภัยเปนสัญญาเพื่อชดใช
คาสินไหมทดแทน(Indemnity Contract) สวนไดเสียของผูเอาประกันภัยจึงมีความสําคัญอยูตลอดเวลาที่สัญญายังมีผลบังคับ เมื่อ
เกิดภัยขึ้นตามที่สัญญากําหนดไว ผูรับประกันภัยคงจายคาสินไหมทดแทนเพียงเทาที่เสียหายจริงเทานั้น ถาไมสวนไดเสียก็ไมมี
ความเสียหาย จึงกลาวสรุปไดวา ลักษณะของสวนไดเสียในสัญญาประกันวินาศภัยนั้น ผูเอาประกันภัยตองมีสวนไดเสียอยูในขณะ
ที่ทําสัญญาประกันภัยดังกลาวมาแลว และสวนไดเสียยังตองสามารถประมาณเปนเงินได เพราะสวนไดเสียของผูเอาประกันภัยเปน
เครื่องกําหนดวาผูเอาประกันภัยจะไดรับชดใชคาสินไหมทดแทนมากนอยเพียงใดเพราะผูเอาประกันภัยจะไดรับการชดใชคาสินไหม
ทดแทนเทาที่ไดรับความเสียหายจริงเทานั้น ดังนั้นสวนไดเสียนั้นจึงตองเปนสวนไดเสียที่ประมาณเปนเงินได เพื่อที่จะกําหนดไดวา
คาสินไหมทดแทนจะเปนจํานวนเทาใด แตถาในขณะที่เกิดเหตุแมผูเอาประกันภัยไมมีสวนไดเสีย สัญญาก็สมบูรณเพียงแตผูเอา
ประกันภัยเมื่อไมมีสวนไดเสีย ยอมไมอาจเรียกคาสินไหมทดแทนไดดังกลาว
สวนลักษณะของสวนไดเสียตามสัญญาประกันชีวิตนั้นจะแตกตางกันไป เพราะสัญญาประกันชีวิต ไมใชสัญญาชดใช
คาสินไหมทดแทน(Non- Indemnity Contract) สวนไดเสียในการประกันชีวิตจึงไมจําเปนจะตองประมาณราคาเปนเงินได การ
ประกันชีวิตตนเองราคาของสวนไดเสียไมเปนสาระสําคัญจึงเอาประกันชีวิตตนเองเทาไหรก็ได หากสามารถสงเบี้ยประกันได เพราะ
ชีวิตคนเราถือวาไมอาจจะประเมินราคาเปนเงินได ตางจากสวนไดเสียในสัญญาประกันวินาศภัย สําหรับการเอาประกันชีวิตผูอื่น
นั้น ถาผูเอาประกันมีสวนไดเสียเนื่องจากความสัมพันธทางครอบครัว ราคาของสวนไดเสียก็ไมเปนสาระสําคัญเชนกัน แตถาผูเอา
ประกันมีสวนไดเสียเนื่องจากความสัมพันธทางธุรกิจก็สามารถกําหนดราคาสวนไดเสีย การประกันชีวิตคํานึงถึงสวนไดเสียวาจะ
ตองมีขณะที่เกิดสัญญาประกันภัยเปนสําคัญ แตเมื่อเกิดเหตุขึ้นตามสัญญา ผูเอาประกันหรือผูรับประโยชนจะมีสวนไดเสียหรือไม
ไมเปนสาระสําคัญ ผูรับประกันภัยตองใชเงินตามจํานวนที่ไดตกลงกันไว
สําหรับสวนไดเสียในสัญญาประกันภัยรับขนนั้น มีลักษณะที่พิเศษกวาในสัญญาประกันภัยทั้ง 2 ขางตน การประกันภัย
ในการรับขนเปนการประกันภัยเพื่อคุมครองวินาศภัยที่เกิดขึ้นในการรับขนสินคาจากสถานที่หนึ่งไปยังอีกสถานที่หนึ่ง ซึ่งอาจมีการ
เสี่ยงภัยในระหวางการขนสงดวยวินาศภัยชนิดตาง ๆ ตลอดเวลาที่สินคาอยูในความครอบครองของผูขนสง ซึ่งเปนการไมแนนอนวา
ผูรับตราสงจะไดรับสินคาหรือไม จึงมีความจําเปนตองมีบทบัญญัติเฉพาะในการประกันภัยรับขนใหผูรับประกันภัยตองรับผิดใน
วินาศภัยทุกชนิดที่เกิดขึ้นในระหวางการขนสง และวัตถุที่เอาประกันภัยในการขนสงอาจมีราคาเพิ่มขึ้น เมื่อไปถึงตําบลอันกําหนด
ใหสง ฉะนั้นมูลประกันภัยในสถานที่ที่ผูรับประกันภัยรับสินคาจากผูสง กับมูลประกันภัยในสถานที่ที่ผูขนสงมอบสินคาใหกับผูรับ
สินคายอมไมเทากัน และสินคายังมีราคาสูงขึ้นจากคาระวางและคาใชจายในการขนสงตลอดถึงผลกําไรอันจะพึงได ซึ่งมูลประ
กันภัยนี้เปนสิทธิโดยชอบที่จะไดรับความคุมครองตามกฎหมายและเมื่อเกิดวินาศภัย ผูเอาประกันหรือผูรับประโยชนก็ไมตองสูญ
เสียทรัพยสินรวมทั้งคาใชจายผลกําไรอันพึงมีดังกลาว นอกจากนั้นการประกันภัยรับขนอาศัยหลักสุจริตอยางยิ่งในการพิจารณา
สวนไดเสียของผูเอาประกันภัย กลาวคือ แมสินคาที่ขนสงไดเกิดวินาศภัยแลว แตคูสัญญาทั้งสองฝายไมทราบถึงการเกิดวินาศภัย
ดังกลาว ถือวาสัญญาประกันภัยมีผลบังคับใช ผูรับประกันตองจายคาสินไหมทดแทน เมื่อวินาศภัยที่ไดเกิดมีขึ้นกอนทําสัญญาประ
กันภัย ซึ่งยกเวนหลักทั่วไปที่วาผูเอาประกันภัยตองมีสวนไดเสียในทรัพยที่เอาประกันภัยขณะทําสัญญาประกันภัย นอกจากนี้ผูมี
สวนไดเสียในเหตุประกันภัยซึ่งอาจมีการซื้อขายสินคาที่เอาประกันในระหวางการขนสงอันจะทําใหกรรมสิทธิ์ในทรัพยสินโอนไปยังผู
ซื้อแลวก็ตามผูขายก็อาจเอาประกันภัยได โดยขายสินคารวมกับเงื่อนไขในการประกันภัยสินคาและกระทําการแทนผูซื้อ และถือวา
การโอนทรัพยที่เอาประกันภัยนั้นไมเปนเหตุใหชองแหงภัยเปลี่ยนแปลงหรือเพิ่มขึ้น และผูเอาประกันตองมีสวนไดเสียในวัตถุที่เอา
ประกันภัยในเวลาที่เกิดวินาศภัย ถึงแมวาจะไมมีสวนไดเสียในขณะที่สัญญาประกันภัยมีผลบังคับก็ตาม ซึ่งตางจากการประกัน
วินาศภัยโดยทั่วไป

40.นายเล็งเปนเจาของปมน้ํามันบริการ ยินยอมใหบุคคลอื่นเขาไปจอดรถในบริเวณปมน้ํามันของนายเล็ง โดยไดรับเงินคาจอด และ


ปดปายหนาปมวาใหเชาที่จอดรถ สวนการนํารถเขาจอดนั้น เด็กปมจะบอกชี้ใหจอดตรงที่วางในบริเวณปม หากมีการเคลื่อนยายรถ
พนักงานของปมจะใชแมแรงจรเขยกเพลาทายเพื่อทําการเคลื่อนยาย เมื่อปมจะปดจะมีรั้วเหล็กปดกั้นหนาปมใสกุญแจ มีคนเฝา
ประจําปม นายเลี่ยไดนํารถยนตเขาจอดในบริเวณปมน้ํามันของนายเล็งและใหคาจอดรถเปนรายเดือน ปรากฏวาในวันที่ 2 กรกฏา
คม 2535 รถยนตของนายเลี่ยหายไป นายเลี่ยจึงเรียกรองใหนายเล็งเจาของปมน้ํามันชดใชคาเสียหาย นายเล็งไมยอมชดใชอางวา
ตนเปดบริการใหเชาที่จอดรถเทานั้น ไมตองรับผิดในกรณีที่รถยนตนายเลี่ยสูญหาย ดังนี้นายเลี่ยจะมีทางเรียกใหนายเล็งชดใชคา
เสียหายไดหรือไม เพราะเหตุใด

แนวตอบ
หลักกฎหมายตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย
มาตรา 657 บัญญัติวา “อันวาฝากทรัพยนั้น คือสัญญาซึ่งบุคคลหนึ่งเรียกวาผูฝาก สงมอบทรัพยสินใหแกบุคคลอีกคน
หนึ่งเรียกวา ผูรับฝาก และผูรับฝากตกลงวาจะเก็บรักษาทรัพยสินนั้นไวในอารักขาแหงตนแลวจะคืนให”

วินิจฉัย
กรณีเปนเรื่องสัญญาฝากทรัพย ตามปญหาเปนการที่ปมน้ํามันของนายเล็งรับมอบการครอบครองรถยนตไวในอารักขา
แหงตนแลว เพราะเปนการจอดไมประจําที่ และปมสามารถเคลื่อนยายที่จอดรถได มีรั้วปดกั้นหนาปมใสกุญแจและมีคนเฝาปมเปน
ประจํา แมจะมีประกาศปดไววาใหเชาที่จอดรถก็ตาม กรณีนี้นายเลี่ยเจาของรถยนตมิไดตกลงดวย จึงเปนสัญญาฝากทรัพย ไมใช
สัญญาเชาที่จอดรถดังที่นางเล็งอาง ดังนั้นเมื่อทรัพยที่รับฝากสูญหายไป นายเล็งเจาของปมที่รับฝากตองรับผิดชดใชคาเสียหายให
แกนายเลี่ยเจาของรถยนต (ฎ.331/2524)
41.นายมั่นเอาประกันชีวิตตนเองกับบริษัทสุโขทัยประกันชีวิต จํากัด วงเงิน 1 ลานบาท ชําระเบี้ยประกันปละ 1 แสนบาท ระยะเวลา
10 ป โดยระบุนางคงภรรยา เปนผูรับประโยชน นอกจากนี้นายมั่นยังเอาประกันชีวิตตนเองกับบริษัทธรรมาธิราชประกันภัย จํากัด
วงเงิน 1 ลานบาท ชําระเบี้ยประกันปละ 1 แสนบาท ระยะเวลา 10 ป เชนกัน โดยระบุใหนายจงรักเจาหนี้เปนผูรับประโยชน โดย
นายมั่นมีรายไดเดือนละ 15,000 บาท นายมั่นทําประกันชีวิตทั้งสองรายได 5 ป นายมั่นก็เสียชีวิตลง นายมั่นมีเจาหนี้อีก 3 ราย คือ
นายทนงศักดิ์ นายภักดี และนายเทวา เจาหนี้ทั้งสามตางเรียกรองใหชดใชหนี้แกตนจากเงินประกันที่บริษัททั้งสองจายใหแกผูรับ
ประโยชน โดยอางวานายมั่นนํารายไดที่ควรจะนํามาใชหนี้ไปชําระเบี้ยประกัน ทําใหตนเสียเปรียบ หากทานเปนที่ปรึกษากฎหมาย
ของนางคง และนายจงรัก ทานจะใหคําแนะนําแกบุคคลทั้งสองอยางไร

แนวตอบ
หลักกฎหมายตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย
มาตรา 1637 บัญญัติวา”ถาคูสมรสฝายใดที่ยังมีชีวิตอยูเปนผูรับประโยชนตามสัญญาประกันชีวิต คู
สมรสฝายนั้นมีสิทธิรับจํานวนเงินทั้งหมดที่ไดตกลงไวกับผูรับประกันภัย แตจําตองเอาจํานวนเบี้ยประกันภัย
เพียงเทาที่พิสูจนไดวาสูงกวาจํานวนเงินที่ผูตายจะพึงสงใชเปนเบี้ยประกันภัยได ตามรายไดหรือฐานะของตน
โดยปกติ ไปชดใชสินเดิมของคูสมรสอีกฝายหนึ่ง หรือสินสมรสแลวแตกรณี
ถึงอยางไรก็ดี จํานวนเงินเบี้ยประกันภัยซึ่งจะพึงสงคืนตามบทบัญญัติขางตนนั้นรวมทั้งสิ้นตองไมเกินจํานวนเงินที่ผูรับ
ประกันภัยไดชําระให"
มาตรา 1742 บัญญัติวา”ถาในการชําระหนี้ซึ่งคางชําระอยูแกตนเจาหนี้คนใดคนหนึ่ง ไดรับตั้งในระหวางที่ผูตายยังมี
ชีวิตอยูใหเปนผูรับประโยชนในการประกันชีวิต เจาหนี้คนนั้นชอบที่จะไดรับเงินทั้งหมด ซึ่งไดตกลงไวกับผูรับประกัน อนึ่งเจาหนี้เชน
วานั้น จําตองสงเบี้ยประกันภัยคืนเขากองมรดก ก็ตอเมื่อเจาหนี้คนอื่น ๆ พิสูจนไดวา
(1) การที่ผูตายชําระหนี้ใหแกเจาหนี้โดยวิธีดังกลาวมานั้นเปนการขัดตอบทบัญญัติมาตรา 1237 แหงประมวล
กฎหมายนี้ และ
(2) เบี้ยประกันเชนวานั้น เปนจํานวนสูงเกินสวนเมื่อเทียบกับรายไดและฐานะของผูตาย
ถึงอยางไรก็ดี เบี้ยประกันภัยซึ่งพึงจะสงคืนเขากองมรดกนั้นตองไมเกินกวาจํานวนเงินที่ผูรับประกันชําระให"

วินิจฉัย
จากอุทาหรณ นายมั่นเอาประกันชีวิตตนเองกับบริษัทสุโขทัยประกันภัย จํากัด และบริษัทธรรมาธิราชประกันภัย จํากัด
โดยชําระเบี้ยประกันปละ 1แสนบาทตอบริษัทนั้นรวมเบี้ยประกันเปนเงิน 2 แสนบาทตอป นายมั่นมีรายไดเดือนละ 15,000 บาท
เทากับมีรายไดปละ 180,000 บาทตอป ดังนั้น นายมั่นตองสงเบี้ยประกันภัยในจํานวนที่สูงกวารายได 20,000 บาทตอป หรือสูง
กวาที่จะพึงสงใชเบี้ยประกันภัยบริษัทละหนึ่งหมื่นบาทตอป
ในกรณีแรก นางคงผูภรรยามีสิทธิไดรับเงินประกันชีวิตในฐานะผูรับประโยชนทั้งหมดตามสัญญาประกันชีวิต 1 ลาน
บาท แตตองเอาจํานวนเบี้ยประกันภัยเพียงที่สูงกวาจํานวนเงินที่ผูตายพึงจะสงใชเบี้ยประกันภัยไดตามปกติ กลาวคือ ปละ 1 หมื่น
บาท รวม 5 ป เปนจํานวนเงิน 5 หมื่นบาท ไปชดใชสินสมรสและเงินจํานวนดังกลาวไมเกินจํานวนเงินที่บริษัทประกันภัยไดชําระให
นางคง
ดังนั้น นางคงมีสิทธิรับเงินใชใหทั้งจํานวน 1 ลานบาทและชดใชสินสมรส 5 หมื่นบาท
ในกรณีที่สอง นายจงรักเปนผูไดรับตั้งในระหวางที่ผูตายยังมีชีวิตอยูใหเปนผูรับประโยชนในการประกันชีวิต และชอบที่
จะไดรับเงินใชใหเต็มจํานวน 1 ลานบาท แตเนื่องจากการชําระหนี้ดังกลาวทําใหเจาหนี้รายอื่นเสียเปรียบ และเบี้ยประกันชีวิตสูง
เกินสวนของรายได นายจงรักจึงตองสงเบี้ยประกันภัยคืนเขากองมรดก เบี้ยประกันภัยทั้งหมดปละ 1 แสนบาทรวม 5 ป เปนเงิน 5
แสนบาท อนึ่ง เงินดังกลาวไมเกินจํานวนเงินใชใหที่บริษัทประกันภัยไดชําระให
ดังนั้น นายจงรักมีสิทธิไดรับเงินใชใหทั้งจํานวนหนึ่งลานบาท และชดใชกองมรดก 5 แสนบาท
สรุป ขาพเจาจะใหคําปรึกษาดังกลาวแกนางคงและนายจงรักตามหลักกฎหมายขางตน โดยใหนางคงรับเงินใชใหหนึ่ง
ลานบาท และชดใชสินสมรสในสวนเบี้ยประกันภัยที่เกินราคาได 5 หมื่นบาท
ใหนายจงรักรับเงินใชใหหนึ่งลานบาทและชดใชกองมรดกจากเบี้ยประกันทั้งหมด 5 แสนบาท

42.ตัวแทนเชิดคืออะไร มีผลทางกฎหมายอยางไร ระหวางตัวการกับตัวแทน และระหวางตัวการกับบุคคลภายนอก จงอธิบายและ


ยกตัวอยาง

แนวตอบ
ตัวแทนเชิดเปนหลักการที่สรางขึ้นเพื่อคุมครองบุคคลภายนอกผูสุจริต กลาวคือ เปนกรณีที่บุคคลหนึ่งไปแสดงตนตอ
บุคคลภายนอกวาตนเปนตัวแทนของบุคคลอีกคนหนึ่งจนบุคคลภายนอกหลงเชื่อและกอนิติสัมพันธขึ้นดวย ตัวแทนเชิดอาจเกิดขึ้น
ได 2 ทาง คือ ทางหนึ่งเปนกรณีที่ไมเคยมีความเปนตัวการตัวแทนมากอนเลย กับอีกทางหนึ่งเปนกรณีที่เปนตัวแทนกันอยูแลวแตตัว
แทนทําการเกินอํานาจที่ไดรับมอบหมาย ผลทางกฎหมายก็คือ ถือวาเกิดสัญญาตัวแทนขึ้นระหวางคูกรณี แตสําหรับบุคคลภาย
นอกหับตัวแทนเชิดนั้น ตัวแทนจะตองรับผิดตอบุคคลภายนอกในฐานะคูสัญญาดวยลําพังตนเอง ตอเมื่อบุคคลภายนอกมารูความ
จริงในภายหลังแลว เมื่อนั้นบุคคลภายนอกก็มีสิทธิจะเลือกวาจะยึดถือใครเปนคูสัญญา
เชน ก.ไปอวดอางกับ ข. วาเปนตัวแทนของ ค. จะขายรถยนตของ ค. ให ข. ข. หลงเชื่อจึงซื้อรถยนตไป สวน ค. นั้น เมื่อ
ทราบแตแรกก็ไมชี้แจงหรือปฏิเสธแก ข. วา ก. มิใชตัวแทน เชนนี้ ค. ตองรับผิดชอบตอการกระทําของ ก. ในฐานะเปนตัวการ

43.นางอําไพมอบหมายใหนางอนงคนําที่ดินของตนไปจํานองไวกับนางองุน ซึ่งนางอนงครับทําการดังกลาวแตไดกรอกขอความลง
ในใบมอบอํานาจที่มีแตเพียงลายมือชื่อของนางอําไพวานางอําไพมอบหมายใหตนนําที่ดินดังกลาวไปขายใหแกนางองุน และนาง
องุนไดตกลงทําสัญญาซื้อขายที่ดินดังกลาว โดยไมทราบถึงการกระทําของนางอนงคดังกลาว เมื่อถึงเวลาชําระหนี้ตามสัญญาซื้อ
ขาย นางอําไพปฏิเสธไมยอมโอนกรรมสิทธิ์ที่ดินดังกลาวใหแกนางองุนโดยอางวาตนไมไดรับมอบหมายใหนางอนงคนําที่ดินแปลง
ดังกลาวไปขายแตอยางใด ดังนี้ ขออางของนางอําไพฟงขึ้นหรือไม อยางไร

แนวตอบ
หลักกฎหมายตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย
มาตรา 821 บัญญัติวา “บุคคลผูใดเชิดบุคคลอีกคนหนึ่งออกแสดงเปนตัวแทนของตนก็ดี รูแลวยอมใหบุคคลอีกคนหนึ่ง
เชิดตัวเขาเองออกแสดงเปนตัวแทนของตนก็ดี ทานวาบุคคลผูนั้นจะตองรับผิดตอบุคคลภายนอกผูสุจริตเสมือนวาบุคคลอีกคนหนึ่ง
นั้นเปนตัวแทนของตน”
มาตรา 822 บัญญัติวา”ถาตัวแทนทําการอันใดเกินอํานาจของตัวแทน แตทางปฏิบัติของตัวแทนทําใหบุคคลภายนอกมี
มูลเหตุอันสมควรจะเชื่อวาการอันนั้นอยูภายในขอบอํานาจของตัวแทนไซร ทานวาใหใชบทบัญญัติมาตรากอนนี้เปนบทบังคับ แลว
แตกรณี”

วินิจฉัย
ตามปญหา นางอนงคเปนตัวแทนเชิดของนางอําไพที่มีอํานาจนําที่ดินของนางอําไพไปจํานองไวกับนางองุน แตนาง
อนงคไดนําที่ดินดังกลาวไปขายใหแกนางองุนซึ่งเปนการกระทําที่เกินอํานาจของตัวแทนตามมาตรา 822 แตในทางปฏิบัติของนาง
อําไพที่ลงลายมือชื่อในใบมอบอํานาจโดยไมกรอกขอความแลวนางอนงคไดกรอกขอความวานางอําไพมอบหมายใหตนนําที่ดินดัง
กลาวไปขายใหแกนางองุนนั้นทําใหนางองุนซึ่งเปนบุคลภายนอกมีมูลเหตุจูงใจอันสมควรจะเชื่อไดวาการอันนั้นอยูในขอบอํานาจ
ของนางอนงคตัวแทน ตามมาตรา 822 แหง ปพพ. ดังนั้นเมื่อนางองุนเปนบุคคลภายนอกที่สุจริต ไมทราบถึงการกระทําของนาง
อนงคดังกลาวเชนนี้ นางอําไพจะตองรับผิดโอนกรรมสิทธิ์ในที่ดินดังกลาวใหแกนางองุนตามมาตรา 821 แหง ปพพ. จะอางวาตนไม
ไดรับมอบหมายใหนางอนงคนําที่ดินแปลงดังกลาวไปขายไมได
สรุป ขออางของนางอําไพฟงไมขึ้น
44. แมวกูยืมเงินจากเหมียวไป 100,000 บาท มีกําหนดชําระคืนภายใน 3 ป แมวชําระหนี้ใหเหมียวทุกเดือน ๆ ละ 5,000 บาท
พรอมดอกเบี้ย เมื่อกูยืมไปได 2 ป แมวก็ชําระทั้งตนเงินและดอกเบี้ยใหเหมียวเสร็จสิ้น เหมียวไมคืนสัญญากูยืมใหแมว แตไดออก
ใบเสร็จรับเงินใหแมวไวในงวดสุดทาย 5,000 บาท เมื่อเวลาผานไป 2 ป เหมียวไดนําสัญญากูฉบับที่ทําไวกับแมวมาฟองเรียกให
แมวชําระหนี้รายนี้อีก แมวทําใบเสร็จรับเงินหายหมดเหลือแตใบเสร็จรับเงินในงวดสุดทายมาแสดง เหมียวอางวาชําระเพียง 5,000
บาทเทานั้น แมวจะตอสูเหมียวอยางไร

แนวตอบ
หลักกฎหมายตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย
มาตรา 653 วรรค 2 “ในการกูยืมเงินมีหลักฐานเปนหนังสือนั้น ทานวาจะนําสืบการใชเงินไดก็ตอเมื่อมีหลักฐานเปน
หนังสืออยางใดอยางหนึ่ง ลงลายมือชื่อผูใหยืมมาแสดง หรือเอกสารอันเปนหลักฐานแหงการกูยืมนั้นไดเวนคืนแลว หรือไดแทงเพิก
ถอนลงในเอกสารนั้นแลว”
มาตรา 327 บัญญัติวา”ในกรณีชําระดอกเบี้ย หรือชําระหนี้อยางอื่นอันมีกําหนดชําระเปนระยะเวลานั้น ถาเจาหนี้ออก
ใบเสร็จใหเพื่อระยะหนึ่งแลวโดยมิไดอิดเอื้อน ทานใหสันนิษฐานไวกอนวาเจาหนี้ไดรับชําระเพื่อระยะกอน ๆ นั้น”

วินิจฉัย
การที่แมวชําระหนี้ใหเหมียวแลว แมเหมียวจะไมไดเวนคืนหรือแทงเพิกถอนเอกสารสัญญากูยืมเงินก็ตาม แตเหมียวได
ออกใบเสร็จรับเงินไวใหแมว ถือวาไดมีหลักฐานเปนหนังสืออยางใดอยางหนึ่งลงลายมือชื่อผูใหยืมมาแสดง แมวจึงนําใบเสร็จรับเงิน
งวดสุดทายมาตอสูวาชําระหนี้ใหเหมียวแลว การที่เหมียวออกใบเสร็จรับเงินงวดสุดทายใหแมว กฎหมายสันนิษฐานวาในเดือนกอน
ๆ ไดรับชําระตนเงินจากแมวผูยืมแลว ตามมาตรา 327

45.สมศักดิ์นํารถยนตหมายเลขทะเบียน 1ง-3914 กรุงเทพมหานคร ที่ตนไดขายใหแกสาวิตรีทําประกันวินาศภัยกับบริษัทประ


กันภัย ซึ่งขณะที่ทําประกันภัย ตนยังไมไดโอนทะเบียนรถยนตคันดังกลาวใหแกสาวิตรี ตอมาสาวิตรีไดขับรถยนตชนกับรถของนาย
สุชาติ บริษัทประกันภัยไดจายคาซอมรถแทนสมศักดิ์ผูเอาประกัน แลวบริษัทจะรับชวงจากนายสมศักดิ์มาเรียกรองเอากับนายสุ
ชาติไดหรือไม

แนวตอบ
หลักกฎหมายตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย
มาตรา 863 บัญญัติวา “อันสัญญาประกันภัยนั้น ถาผูเอาประกันภัยไมมีสวนไดเสียในเหตุที่ประกันภัยไวนั้นไซร ทานวา
จะไมผูกพันคูสัญญาแตอยางหนึ่งอยางใด”
มาตรา 869 บัญญัติวา”อันวาคําวา “วินาศภัย” ในหมวดนี้ ทานหมายรวมเอาความเสียหายอยางใด ๆ ซึ่งจะพึง
ประมาณเปนเงินได”
มาตรา 880 บัญญัติวา “ถาความวินาศภัยนั้นไดเกิดขึ้นเพราะการกระทําของบุคคลภายนอกไซร ผูรับประกันเสียคาสิน
ไหมทดแทนไปเปนจํานวนเพียงใด ผูรับประกันภัยยอมเขารับชวงสิทธิของผูเอาประกันและของผูรับประโยชนซึ่งมีบุคคลภายนอก
เพียงนั้น”

วินิจฉัย
ตามปญหา การที่สมศักดิ์เจาของรถยนตหมายเลขทะเบียน 1ง-3914 ไดโอนขายรถยนตใหสาวิตรีไปกอนการนํารถยนต
ไปประกันวินาศภัยไดกับโจทกตามมาตรา 869 แมการประกันทําในนามของสมศักดิ์เอง แตสมศักดิ์ก็มิใชผูมีสวนไดเสียในรถยนตที่
เอาประกันไว ตามมาตรา 863 ที่วาผูเอาประกันภัยตองมีสวนไดเสียในเหตุที่เอาประกันภัยไว มิฉะนั้นจะไมผูกพันคูสัญญา ดังนั้น
กรมธรรมประกันภัยระหวางสมศักดิ์กับบริษัทประกันจึงไมผูกพันคูกรณี เมื่อรถยนตที่บริษัทประกันฯ รับประกันไว ชนกับรถของสุ
ชาติ แมบริษัทฯ ไดชําระคาซอมรถยนตแทนสมศักดิ์ผูเอาประกันไปแลว บริษัทฯ ก็ไมไดรับชวงสิทธิตามกฎหมายที่จะเรียกคาซอม
รถจากสุชาติตามมาตรา 880(ฎ.115/2521)

46.นางเดือนมอบหมายใหนางดาวเปนตัวแทนนําลําไยไปสงใหแกนางจันทร ซึ่งเปนแมคาขายผลไมที่ตลาดน้ําอําเภอดําเนินสะดวก
จังหวัดราชบุรี โดยใหนางดาวนํารถยนตของตนบรรทุกลําไยดังกลาว ในระหวางเดินทางปรากฎวา รถยนตคันที่นางดาวขับเสียหลัก
พุงเขาชนเสาไฟฟาขางถนนเสียหายเปนเงินจํานวน 20,000 บาท ดังนั้นนางดาวจะเรียกคาเสียหายดังกลาวจากนางเดือนไดหรือไม
ถาความเสียหายดังกลาวเกิดจากเหตุการณตอไปนี้
(1) นางดาวหักพวงมาลัยหลบรถยนตที่นายเมฆขับรถสวนทางมาดวยความเร็วสูงและล้ําเขามาในเลนของนางดาวซึ่ง
ขับมาปกติ
(2) นางดาวขับรถยนตดังกลาวดวยความเร็วสูง โดยไมไดใชความระมัดระวังในขณะนั้นแลวหักพวงมาลัยหลบรถยนต
ที่นายเมฆขับสวนทางมาตามปกติ

แนวตอบ
หลักกฎหมายตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย
มาตรา 816 วรรคสาม บัญญัติวา”ถาในการจัดกิจกรรมการอันเขามอบหมายแกตนนั้น เปนเหตุใหตัวแทนตองเสียหาย
อยางหนึ่งอยางใด มิใชเปนเพราะความผิดของตนเองไซร ทานวาตัวแทนจะเรียกเอาคาสินไหมทดแทนจากตัวการก็ได”

วินิจฉัย
ตามปญหา
(1) การที่นางดาวนํารถยนตของตนบรรทุกลําไยไปสงใหแกนางจันทร ซึ่งเปนการจัดทํากิจกรรมตามที่นางเดือนตัวการ
มอบหมาย เปนเหตุใหรถยนตคันดังกลาวเสียหายจากการที่ตนหักพวงมาลับหลบรถยนตที่นายเมฆขับสวนทางมาดวยความเร็วสูง
และล้ําเขามาในเลนของนางดาวซึ่งขับมาตามปกติ โดยมิใชความผิดของตนเอง ตาม ปพพ. มาตรา 816 วรรคสาม
ดังนั้น ในกรณีนี้ นางดาวเรียกคาสินไหมทดแทนดังกลาวจากนางเดือนตัวการได
(2) การที่นางดาวนํารถยนตของตนบรรทุกลําไยไปสงใหแกนางจันทร ซึ่งเปนการจัดทํากิจกรรมตามที่นางเดือนตัวการ
มอบหมาย เปนเหตุใหรถยนตคันดังกลาวเสียหายจากการที่ตนขับรถดวยความเร็วสูง โดยไมไดใชความระมัดระวังในขณะนั้น แลว
หักพวงมาลัยหลบรถยนตที่นายเมฆขับสวนทางมาตามปกติ โดยเปนความผิดของตนเอง ตาม ปพพ. มาตรา 816 วรรคสาม
ดังนั้น ในกรณีนี้ นางดาวตัวแทนจะเรียกคาสินไหมทดแทนดังกลาวจากนางเดือนตัวการไมได

47.พระภิกษุแดงนําเงินสวนตัวไปใหนางสมกูจํานวน 20,000 บาท คิดดอกเบี้ยรอยละ 10 ตอป โดยนางสมเขียนเอกสารการกูยืม


เงินดวยลายมือตัวเองระบุชื่อตัวเองเปนผูกูยืมเงินพระภิกษุแดง แตไมไดลงลายมือชื่อไว ตอมานางสมไดทํารายพระภิกษุแดงเปนคดี
อาญา เมื่อหนี้เงินกูดังกลาวถึงกําหนดชําระ พระภิกษุแดงจึงนํารายงานประจําวันเกียวกับคดีเปรียบเทียบปรับนางสมในขอหาทํา
รายพระภิกษุแดงซึ่งมีขอความวา นางสมไดขอยืมเงินพระภิกษุและสัญญาจะชดใชเงินคืนทั้งไดลงลายมือชื่อตัวเองไวดวย มาฟอง
เรียกหนี้เงินกูดังกลาว นางสมตอสูวาพระภิกษุแดงไมมีสิทธิฟองเพราะขณะทําสัญญากูไมมีหลักฐานเปนหนังสือลงลายมือชื่อตนแต
อยางใด สัญญากูดังกลาวจึงตกเปนโมฆะ ดังนี้ขอตอสูของนางสมฟงขึ้นหรือไม อยางไร

แนวตอบ
หลักกฎหมายตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย
มาตรา 653 วรรคแรก บัญญัติวา “การกูยืมเงินเกินกวาหาสิบบาทขึ้นไปนั้น ถามิไดมีหลักฐานแหงการกูยืมเงินเปน
หนังสือแตอยางใดอยางหนึ่งลงลายมือชื่อผูยืมเปนสําคัญ ทานวาจะฟองรองบังคับคดีหาไดไม”

วินิจฉัย
ตามปญหา รายงานประจําวันเกี่ยวกับคดีที่เปรียบเทียบปรับนางสมในขอหาทํารายพระภิกษุแดงซึ่งมีขอความวา นาง
สมไดกูยืมเงินพระภิกษุแดง และสัญญาจะชดใชเงินคืนทั้งหมดไดลงลายมือชื่อไวดวย ถือวาเปนหลักฐานแหงการกูยืมเงินที่พระ
ภิกษุแดงใชฟองรองนางสมเปนคดีได แมวาในขณะทําสัญญากูยืมเงินจะมิไดมีหลักฐานเปนหลักฐานลงลายมือนางสมก็ตาม
ดังนั้น พระภิกษุแดงยอมมีสิทธิฟองเรียกรองตนเงินและดอกเบี้ยจากนางสมได และสัญญากูยืมเงินดังกลาวหาตกเปน
โมฆะแตอยางใด
สรุป ขอตอสูของนางสมฟงไมขึ้น

48.นายสุดจิตไดทําสัญญาประกันชีวิต ด.ช.สุดใจบุตรชายของตนกับบริษัท รุงโรจนประกันภัย จํากัด วงเงิน 1 ลานบาท โดยระบุให


ตนเปนผูรับประโยชนจากสัญญาดังกลาว ตอมาอีก 1 ป นายสุดจิตคาขายขาดทุนตองการเงินใชหมุนเวียน จึงเดินทางไปทําธุรกิจ
ตางจังหวัดพรอมดวยบุตรชาย รถยนตคันที่ขับไปชนตนไมใหญขางทาง ด.ช.สุดใจถึงแกความตาย นายสุดจิตบาดเจ็บสาหัส นาย
สุดจิตเรียกรองใหบริษัทรุงโรจนใชเงินตนจํานวน 1 ลานบาทในเหตุมรณะของ ด.ช.สุดใจ บริษัทฯ จะปฏิเสธการใชเงินจํานวนดัง
กลาวไดหรือไม เพราะเหตุใด

แนวตอบ
หลักกฎหมายตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย
มาตรา 863 บัญญัติวา “อันสัญญาประกันภัยนั้น ถาผูเอาประกันภัยมิไดมีสวนไดเสียในเหตุที่ประกันไวนั้นไซร ทานวา
ยอมไมผูกพันคูสัญญาแตอยางหนึ่งอยางใด”
มาตรา 889 บัญญัติวา”ในสัญญาประกันชีวิตนั้น การใชจํานวนเงินยอมอาศัยความทรงชีพ หรือมรณะของบุคคลคน
หนึ่ง”
มาตรา 895 บัญญัติวา”เมื่อใดจะตองใชจํานวนเงินในเหตุมรณะของบุคคลคนหนึ่งคนใด ทานวาผูรับประกันภัยจําตอง
ใชเงินนั้นในเมื่อมรณภัยอันนั้นเกิดขึ้น เวนแต…
(2)บุคคลผูนั้นถูกผูรับประโยชนฆาตายโดยเจตนา”

วินิจฉัย
ตามปญหา นายสุดจิตสามารถเอาประกันชีวิต ด.ช.สุดใจ บุตรของตนได เพราะถือวานายสุดจิตมีสวนไดเสียในชีวิตบุตร
ตาม ปพพ. มาตรา 863 และเมื่อ ด.ช.สุดใจ ถึงแกความตาย บริษัทรุงโรจนยอมตองใชเงินใหแกนายสุดจิตเพราะสัญญาประกันชีวิต
นั้นการใชเงินตองอาศัยความทรงชีพหรือมรณะของบุคคลหนึ่ง
แตบริษัทฯ ไมตองจายเงินจํานวนที่เอาประกันไว เมื่อบุคคลผูนั้นถูกผูรับผลประโยชนฆาตายโดยเจตนา ดังนั้นตามขอ
เท็จจริงดังกลาว ไมไดความวาการที่นายสุดจิตขับรถยนตชนตนไมใหญมีเจตนาฆา ด.ช.สุดใจ บริษัทฯ ตองใชเงินในเหตุมรณะของ
ด.ช.สุดใจ ไมตองตามมาตรา 895(2)

49. ทิวามอบหมายใหราตรีไปทําสัญญาซื้อขายที่ดินโฉนดเลขที่ 123 กับจันตรี และราตรีตกลงทําการดังกลาว ในการทําสัญญาซื้อ


ขายที่ดินนั้น ราตรีไดออกเงินคาธรรมเนียมสําหรับการทําสัญญาดังกลาวเปนจํานวน 2,000 บาท เพื่อใหกิจการของทิวาสําเร็จลุลวง
ไป ตอมาราตรีไดเรียกรองใหทิวาชดใชเงินจํานวนดังกลาว ทิวาปฏิเสธโดยอางวา การที่ราตรีออกเงินคาธรรมเนียมไปนั้น มิไดมีหลัก
ฐานเปนหนังสือลงลายมือชื่อทิวา ทั้งการมอบหมายใหราตรีไปทําการดังกลาวนั้นก็มิไดทําเปนหนังสือแตอยางใด ดังนี้ขออางของ
ทิวาฟงขึ้นหรือไม

แนวตอบ
หลักกฎหมายตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย
มาตรา 797 วรรคแรก บัญญัติวา”อันวาสัญญาตัวแทนนั้น คือสัญญาซึ่งใหบุคคลหนึ่ง เรียกวา ตัวแทน มีอํานาจทําการ
แทนบุคคลอีกบุคคลหนึ่ง เรียกวา ตัวการ และตกลงจะกระทําการดั่งนั้น…”
มาตรา 798 วรรคแรก บัญญัติวา”ถาในการใด ทานบังคับไวโดยกฎหมายวาทําเปนหนังสือ การตั้งตัวแทนเพื่อกิจการนั้น
ก็ตองทําเปนหนังสือดวย…”
มาตรา 816 วรรคแรก บัญญัติวา “ถาในการจัดทํากิจการอันเขามอบหมายแกตนนั้นตัวแทนไดออกเงินทดรองหรือออก
เงินคาใชจายไป ซึ่งพิเคราะหตามเหตุควรนับวาเปนการจําเปนไดไซร ทานวาตัวแทนจะเรียกเอาเงินชดใชจากตัวการรวมทั้งดอกเบี้ย
นับตั้งแตวันที่ไดออกเงินไปนั้นดวยก็ได…”

วินิจฉัย
ตามปญหา ราตรีเปนตัวแทนของทิวาในการทําสัญญาซื้อขายที่ดินโฉนดเลขที่ 123 กับจันตรี ตาม ปพพ. มาตรา 797
เพราะราตรีตกลงรับทําการใหกับทิวาตามที่ไดรับมอบหมายและในการจัดทํากิจการตามที่ทิวาไดรับมอบหมายนั้น ราตรีไดออกเงิน
คาธรรมเนียมสําหรับการทําสัญญาดังกลาวอันเปนเงินทดรอง ซึ่งถือไดวาเปนการจําเปนเพื่อใหการทําสัญญานั้นสําเร็จลุลวงไป
ตาม ปพพ. มาตรา 816 วรรคแรก ทิวาซึ่งเปนตัวการจึงมีหนาที่ตองชดใชเงินจํานวน 2,000 บาท ที่ราตรีไดออกไป ทิวาจะปฏิเสธ
โดยอางวา การที่ราตรีออกเงินคาธรรมเนียมไปนั้น มิไดมีหลักฐานเปนหนังสือลงลายมือชื่อทิวาไมได เพราะตามปญหาไมใชกรณี
การกูยืมเงินกวา 50 บาท แตอยางใด และจะอางวาการมอบหมายใหราตรีไปทําการดังกลาวนั้นมิไดทําเปนหนังสือ ตาม ปพพ.
มาตรา 798 วรรคแรก ก็ไมไดเนื่องจากสัญญาตัวแทนไมมีแบบ เมื่อทิวาเปนตัวการยอมมีหนาที่ตาม ปพพ. มาตรา 816 วรรคแรก
ดังกลาวทั้งตามปญหาเปนเรื่องระหวางตัวการกับตัวแทนซึ่งไมอยูในบังคับของมาตรา 798
สรุป ขออางของทิวาฟงไมขึ้น

50. นกเอี้ยง นกแกว นกขุนทอง เลนแชรรวมกับเพื่อน 7 คน โดยมีนกขุนทองเปนนายวงแชร นกเอี้ยงเปยแชรได นกขุนทองไดเก็บ


เงินจากลูกวงทุกคนเพื่อรวบรวมใหนกเอี้ยง แตในสวนของนกแกวไมมีเงินจาย นกแกวจึงไดกูยืมนกขุนทองเพื่อจายคาแชรจํานวน
1,000 บาท แตนกขุนทองเกรงวาจะไมมีพยานรูเห็นจึงมอบเงินที่ใหกูยืมตอหนาลูกวงแชร ตอมานกแกวก็ไมยอมนําเงินจํานวนนั้น
สงคาแชรที่คางอยู ดังนี้นกเอี้ยงจะฟองเรียกเงินคาแชรที่คางชําระและนกขุนทองจะฟองเรียกเงินที่นกแกวกูยืมเงินไปไดหรือไม
เพราะเหตุใด

แนวตอบ
หลักกฎหมายตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย
มาตรา 653 วรรคแรก บัญญัติวา “การกูยืมเงินเกินกวาหาสิบบาทขึ้นไปนั้น ถามิไดมีหลักฐานแหงการกูยืมเงินเปน
หนังสือแตอยางใดอยางหนึ่งลงลายมือชื่อผูยืมเปนสําคัญ ทานวาจะฟองรองบังคับคดีหาไดไม
ในการกูยืมเงินมีหลักฐานเปนหนังสือนั้น ทานวาจะนําสืบการใชเงินไดตอเมื่อมีหลักฐานเปนหนังสืออยางใดอยางหนึ่ง
ลงลายมือชื่อผูใหยืมมาแสดง หรือเอกสารอันเปนหลักฐานแหงการกูยืมนั้นไวเวนคืนแลว หรือไดแทงเพิกถอนลงในเอกสารนั้นแลว”

วินิจฉัย
ตามปญหานกเอี้ยงสามารถฟองเรียกเงินคาแชรที่คางจากนกขุนทองนายวงแชรได เนื่องจากการเลนแชรเปยหวยเปน
สัญญาชนิดหนึ่งผูกพันคูสัญญา สัญญาเลนแชรเปยหวยไมใชสัญญากูยืมเงิน ไมจําเปนตองมีหลักฐานเปนหนังสือก็สามารถเรียก
รองเงินกันได (ตามนัยคําพิพากษาฎีกาที่ 2253/2518)
สวนกรณีนกขุนทองนั้น การใหนกแกวยืมเงิน มีวัตถุประสงคเพื่อจายคาแชรไมตองหามตามกฎหมายแตอยางใด จึงใช
บังคับกันได เมื่อการกูยืมเงินกันเปนจํานวนกวา 50 บาท ไมมีหลักฐานในการกูยืมกันเปนหนังสือลงลายมือชื่อนกแกวผูยืมเปน
สําคัญ จึงฟองรองบังคับคดีไมได แมวาจะมีพยานบุคคลรูเห็นก็ตาม
สรุป นกเอี้ยงจะฟองเรียกเงินคาแชรที่คางชําระได และนกขุนทองจะฟองเรียกเงินที่นกแกวกูยืมไปไมได

51. นายสุขสมเปนตัวแทนประกันชีวิตของบริษัทแสนสุขประกันชีวิต จํากัด ไดเสนอใหนายสดใสประกันชีวิตกับบริษัทแสนสุข


ประกันชีวิต จํากัด โดยตนจะลดคาประกันใหเปนพิเศษ นายสดใสไดตกลงรับทําประกันชีวิตกับนายสุขสม โดยใหภริยาเปนผูรับ
ประโยชนตามสัญญา และแถลงขอความจริงวาตนเปนโรคความดันโลหิตสูง บริษัท แสนสุขประกันชีวิต จํากัด ไดสงกรมธรรม
ประกันชีวิตใหแกนายสดใส นายสดใสไดถึงแกความตายดวยโรคเสนโลหิตในสมองแตก ขอเท็จจริงปรากฏวา นายสุขสมไมไดแจง
ใหบริษัทแสนสุขประกันชีวิต จํากัด ทราบวา นายสดใสเปนโรคความดันโลหิตสูง หากภริยาของนายสดใสมาเรียกรองใหบริษัทแสน
สุขประกันชีวิต จํากัด ชดใชคาสินไหมทดแทนใหตน ทานในฐานะทนายความของบริษัทแสนสุขประกันชีวิต จะใหคําแนะนําแก
บริษัท ฯ อยางไร

แนวตอบ
หลักกฎหมายตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย
มาตรา 861 บัญญัติวา “อันวาสัญญาประกันภัยนั้น คือสัญญาซึ่งบุคคลหนึ่งตกลงจะชดใชคาสินไหมทดแทน หรือใชเงิน
จํานวนหนึ่งในกรณีวินาศภัยหากมีขึ้น หรือในเหตุอยางอื่นในอนาคตดั่งไดระบุไวในสัญญา และในการนี้บุคคลอีกคนหนึ่งตกลงจะ
สงเงินซึ่งเรียกวา เบี้ยประกันภัย”
มาตรา 865 วรรคแรก บัญญัติวา “ถาในเวลาทําสัญญาประกันภัย ผูเอาประกันภัยก็ดี หรือในกรณีประกันชีวิต บุคคลอัน
การใชเงินยอมอาศัยความทรงชีพหรือมรณะของเขานั้นก็ดี รูอยูแลวละเวนเสียไมเปดเผยขอความจริงซึ่งอาจจะไดจูงใจผูรับประ
กันภัยใหเรียกเบี้ยประกันภัยสูงขึ้นอีกหรือบอกปดไมยอมทําสัญญา หรือรูอยูแลววาแถลงขอความอันเปนเท็จไซร ทานวาสัญญานั้น
เปนโมฆียะ”

วินิจฉัย
แมภริยาของนายสดใสจะมีสวนไดเสียในสัญญาประกันชีวิตตาม ปพพ. มาตรา 863 แตก็ไมมีสิทธิเรียกรองใหบริษัท
แสนสุขประกันชีวิต จํากัด ชดใชคาสินไหมทดแทนเนื่องจากความตายของสดใสได เพราะสัญญาประกันชีวิตนั้นเปนโมฆียะ บริษัท
ฯ มีสิทธิบอกลางสัญญาดังกลาวได การที่นายสุขสมตัวแทนตกลงรับประกันชีวิตใหแกนายสดใสโดยทราบขอความจริงวา นายสด
ใสเปนโรคความดันโลหิตสูง และไมไดแจงใหบริษัททราบ จะถือวาบริษัท ฯ รับทราบขอความจริงเกี่ยวกับนายสดใสไมได เพราะ
นายสุขสมเปนตัวแทนหาประกันชีวิตใหกับบริษัทเทานั้น ไมไดมีลักษณะเปนตัวแทนตาม ปพพ. เพราะฉะนั้นขอความจริงที่ตัวแทน
ประกันชีวิตรูจะถือวาบริษัทรูไมได
สรุป หากขาพเจาเปนทนายความจะแนะนําวาบริษัท ฯ รับทําสัญญาประกันชีวิต โดยไมทราบขอความจริงเกี่ยว
กับเรื่องที่นายสดใสเปนโรคความดันโลหิตสูง ซึ่งอาจจะจูงใจใหบริษัท ฯ เรียกเบี้ยประกันสูงขึ้นหรือบอกปดไมยอมทําสัญญา
สัญญานี้ยอมมีผลเปนโมฆียะ เมื่อบริษัท ฯ บอกลางสัญญายอมตกเปนโมฆะ ภริยานายสดใสจึงไมมีสิทธิเรียกรองใหบริษัท ฯ ชด
ใชคาสินไหมทดแทนในกรณีนี้ได

52.นายธานี แตงตั้งใหนายอาสาเปนตัวแทนดูแลกิจการคาขาวสารของนายธานี ระหวางที่นายธานีเดินทางไปตางประเทศ ระหวาง


นั้นนายธานีไดโทรศัพทมาสอบถามการทํางานจากนายอาสาและไดเกิดโตเถียงขัดแยงขึ้น วันตอมานายอาสาจึงสงโทรเลขไปที่นาย
ธานีขอบอกเลิกการเปนตัวแทน และไมไปทํางานในรานขาวสารของนายธานีอีกตอไป นายธานีทราบเรื่องที่นายอาสาโทรเลขไป จึง
รีบเดินทางกลับประเทศไทย แตมาไมไดเพราะเครื่องบินติดพายุหิมะ เสียเวลาไป 3 วัน กิจการคาขาวสารของนายธานีเกิดความเสีย
หายเพราะขาดคนดูแลออกไปซื้อขาวสารมาขายในชวงนั้นเปนชวงที่ขาวสารกําลังมีราคาดี นายธานีจึงเรียกรองใหนายอาสาชดใช
คาเสียหายใหนายธานี แตนายอาสาปฏิเสธโดยอางวาตนบอกเลิกการเปนตัวแทนแลว ทานเห็นวา นายธานีเรียกรองเอาคาเสียหาย
จากนายอาสาไดหรือไม เพราะเหตุใด

แนวตอบ
หลักกฎหมายตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย
มาตรา 827 บัญญัติวา “ตัวการจะถอนตัวแทน และตัวแทนจะบอกเลิกเปนตัวแทนเสียในเวลาใดก็ไดทุกเมื่อ
คูสัญญาฝายซึ่งถอนตัวแทน หรือบอกเลิกเปนตัวแทนในเวลาที่ไมสะดวกแกอีกฝายจะตองรับผิดตอคูสัญญาฝายนั้นใน
ความเสียหายอยางใด ๆ อันเกิดแตการนั้น เวนแตในกรณีที่ความจําเปนอันมิอาจจะกาวลวงเสียได
วินิจฉัย
มาตรา 827 ไดบัญญัติวา ใหตัวการหรือตัวแทนสามารถบอกเลิกการเปนตัวการหรือตัวแทนตอกันไดทุกเมื่อ กลาวคือตัว
การจะถอนตัวแทนเมื่อใดก็ได และตัวแทนจะบอกเลิกการเปนตัวแทนเมื่อใดก็ได แตเพื่อปองกันมิใหฝายใดฝายหนึ่งตองเสียหายอัน
เนื่องมาจากการบอกเลิกสัญญาตัวแทนในเวลาที่ไมสะดวกแกฝายใดฝายหนึ่ง บทบัญญัติวรรคสองจึงกําหนดใหคูสัญญาฝายที่
บอกเลิกสัญญาตองรับผิดชอบตอคูสัญญาอีกฝายในความเสียหายอยางใด ๆ ที่เกิดจากการบอกเลิกสัญญาในเวลาที่ไมสะดวกแก
อีกฝายหนึ่ง เวนแตกรณีที่มีความจําเปนอันมิอาจกาวลวงเสียได
ตามขอเท็จจริงนายอาสาบอกเลิกสัญญาตัวแทนตอนายธานีในขณะที่ขาวสารในรานกําลังมีราคาดี ขาดคนดูแลออกไป
ซื้อขาวสารมาขาย อันอยูในเวลาที่ไมสะดวกแกนายธานี และภายหลังบอกเลิกสัญญาแลว นายอาสาก็งดปฏิบัติหนาที่ตัวแทนทันที
ทําใหกิจการของนายธานีเสียหาย นายอาสาจึงตองรับผิดในความเสียหายดังกลาวตอนายธานีทั้งในกรณีมิไดมีความจําเปนอันมิ
อาจจะกลาวลวงเสียได นายอาสาจึงตองรับผิดในคาเสียหายดังกลาว
สรุป นายธานีเรียกรองเอาคาเสียหายจากนายอาสาได

53.นายวองทําสัญญากูยืมเงินธนาคารเมื่อวันที่ 30 ตุลาคม 2536 จํานวน 5,000,000 บาท อัตราดอกเบี้ย 15%ตอป กําหนดชําระ


ภายใน 5 ป นายวองมีปญหาเรื่องเงินจึงไมไดชําระดอกเบี้ยธนาคารติดตอกันมาตั้งแตเริ่มกูยืมเงิน ธนาคารทวงถามใหนายวอง
ชําระหนี้มาโดยตลอดแตนายวองก็ไมไดชําระดอกเบี้ยเลย วันที่ 30 ตุลาคม 2537 ธนาคารจึงเชิญนายวองมาพบ แลวตกลงกันทํา
เปนหนังสือวา นายวองยินยอมใหธนาคารคิดดอกเบี้ยทบตนในหนี้ที่คางชําระทั้งหมด ตอมานายวองไมชําระตนเงินและดอกเบี้ยจน
ถึงวันที่ 31 ตุลาคม 2542 ดังนี้ ธนาคารจะทวงถามใหนายวองชําระดอกเบี้ยทบตนในหนี้จํานวนดังกลาว ไดหรือไม เพียงใด เพราะ
เหตุใด

แนวตอบ
หลักกฎหมายตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย
มาตรา 655 บัญญัติวา”ทานหามมิใหคิดดอกเบี้ยในดอกเบี้ยที่คางชําระ แตทวาเมื่อดอกเบี้ยคางชําระไมนอยกวาปหนึ่ง
คูสัญญากูยืมจะตกลงกันใหเอาดอกเบี้ยทบเขากับตนเงินแลวใหคิดดอกเบี้ยในจํานวนที่ทบเขานั้นก็ได แตการตกลงเชนนั้นตองทํา
เปนหนังสือ”

วินิจฉัย
ตามปญหา การที่ธนาคารจะคิดดอกเบี้ยทบตนในหนี้ที่นายวองไดคางชําระมาตั้งแตเริ่มกูยืมกันนั้นตองหามตาม
กฎหมาย เพราะตามมาตรา 655 นั้นบัญญัติวาดอกเบี้ยตองคางชําระไมนอยกวาปหนึ่ง คูสัญญาจึงจะตกลงใหคิดดอกเบี้ยทบตน
ได แสดงวาดอกเบี้ยที่คางชําระตั้งแตกูยืมกันในปแรก ธนาคารจะคิดดอกเบี้ยทบตนไมได คูสัญญาจะตกลงใหคิดดอกเบี้ยทบตนได
ตอเมื่อนายวองคางชําระไมนอยกวาปหนึ่ง ดังนั้นธนาคารจะคิดดอกเบี้ยทบตนไดในปที่สอง คือ ตั้งแต 31 ตุลาคม 2537 เปนตนไป
สวนในปแรกตองคิดในอัตรา 15% ตอป ไมทบตน

54.นายสุชาติ มอบอํานาจใหนายดนัย เปนตัวแทนไปหาซื้อเหมาผลไม เพื่อที่จะนํามาขายตอเอากําไร โดยนายสุชาติ จะมอบให


นายดนัยขับรถบรรทุกของนายสุชาติทุกครั้งที่ใชงานดังกลาว กรณีนี้ หากในระหวางทาง รถเกิดเสีย และนายดนัยตองนํารถไปซอม
เพื่อใชงาน ทําใหเปนหนี้กับอูรถเปนเงิน 4,000 บาท และในขณะเดียวกัน เงินที่นายสุชาติใหมา ไมเพียงพอในการซื้อเหมาผลไม
นายดนัยตองเปนหนี้พอคาผลไมอีก 10,000 บาท เชนนี้นายดนัยสามารถเรียกรองเอาเงินที่จายไปเพื่อนายสุชาติจํานวน 10,000
บาท และเรียกรองใหนายสุชาติชําระหนี้จํานวน 4,000 บาท ใหอูซอมรถดังกลาวหรือไม เพราะเหตุใด

แนวตอบ
หลักกฎหมายตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย
มาตรา 816 บัญญัติวา”ตัวแทนสามารถเรียกรองเงินทดรองหรือคาใชจาย หรือคาเสียหายจากตัวการไดหากในการ
ปฏิบัติหนาที่ของตนนั้น ตัวแทนไดออกเงินหรือคาใชจายอยางใดไปเพื่อตัวการ”

วินิจฉัย
กรณีของนายดนัย ขอเท็จจริงฟงไดวา นายดนัยจําเปนตองซอมรถยนตและจําเปนตองออกเงินทดรองใหแกนายสุชาติไป
กอน ดังนั้น นายดนัยสามารถเรียกรองใหนายสุชาติชําระหนี้คาซอมรถยนตแทนตนได ในขณะเดียวกันนายสุชาติก็ตองชําระเงิน
10,000 บาท คืนใหนายดนัยพรอมทั้งดอกเบี้ยดวย ซึ่งในกรณีนี้ไมไดกําหนดอัตราดอกเบี้ยกันไว ก็ตองใชอัตรา 7.5% ในจํานวนเงิน
10,000 บาท ดังกลาว ทั้งนี้ตาม ปพพ. มาตรา 7

55.จงอธิบายการโอนและผลของการโอนวัตถุที่ไดเอาประกันภัยโดยผลของกฎหมายและโดยผลของนิติกรรมพรอมทั้งยกตัวอยาง
ประกอบดวย และเปรียบเทียบผลที่เกิดขึ้นเกี่ยวกับสิทธิตามสัญญาประกันภัยโดยละเอียด

แนวตอบ
การโอนวัตถุที่เอาประกันโดยผลของกฎหมาย มีดังนี้
(1) การโอนทางมรดกทั้งในฐานะทายาทโดยธรรม และผูรับพินัยกรรม
(2) การโอนโดยบทบัญญัติของกฎหมาย เชน การบังคับซื้อตามพระราชบัญญัติเวนคืนอสังหาริมทรัพย
การโอนทรัพยที่เอาประกันภัยโดยพินัยกรรมอยูในประเภทการโอนโดยกฎหมายเพราะการเปลี่ยนแปลงกรรมสิทธิ์ใน
ทรัพยจากผูทําพินัยกรรมไปยังผูรับพินัยกรรมเปนไปโดยผลของกฎหมายเนื่องจากการตายของผูทําพินัยกรรม เชนเดียวกับการรับ
มรดกของทายาทโดยธรรมซึ่งเปนการโอนที่ปราศจากการแสดงเจตนาของเจามรดก
การโอนทรัพยที่เอาประกันภัยโดยผลของกฎหมาย ไมเปนผลใหผูรับโอนเขาเปนผูเอาประกันภัยคนใหมตามสัญญาประ
กันภัยเดิม เพราไมเขาเงื่อนไขตามมาตรา 862 วรรคสาม กลาวคือไมใชคูสัญญาฝายซึ่งตกลงจะสงเบี้ยประกันภัย
การโอนทรัพยที่เอาประกันโดยนิติกรรมมีผลใหสิทธิตามสัญญาประกันภัยโอนตามไปยังผูรับโอนดวย แตถาผูโอนไมมี
สิทธิใด ๆ ตามสัญญาประกันภัย เชน ไดยกประโยชนตามสัญญาประกันภัยนั้นใหผูรับประโยชนแลว ผูรับโอนยอมไมไดรับสิทธิตาม
สัญญาประกันภัย
กรณีที่สัญญาประกันภัยมิไดหามการโอนทรัพยที่เอาประกันภัยไว สิทธิในสัญญาประกันภัยจะโอนตามไปดวย เมื่อการ
โอนไดปฏิบัติถูกตองตามที่กฎหมายกําหนด และผูเอาประกันภัยไดบอกกลาวการโอนไปยังผูรับประกันภัยแลว
สัญญาประกันภัยจะตกเปนโมฆะเนื่องจากการโอนทรัพยที่เอาประกันภัยโดยนิติกรรมที่เปนผลโดยตรงใหชองวางแหง
ภัยเปลี่ยนไป หรือเพิ่มมากขึ้น
ผลของการโอนวัตถุที่เอาประกันภัยแยกประเภทได 2 กรณี คือ
(1) โอนโดยผลของกฎหมาย สิทธิของผูเอาประกันภัยยอมโอนตามไปดวยโดยไมตองไดรับความยินยอมจากผูรับประ
กันภัย
(2) โอนโดยนิติกรรม แยกไดเปน 2 กรณี คือ ในกรณีที่สัญญาประกันภัยไมมีเงื่อนไขหามโอน เมื่อไดปฏิบัติตามมาตรา
875 วรรคสอง คือ ไดบอกกลาววาการโอนทรัพยไปยังผูรับประกันภัยแลว สิทธิของผูเอาประกันภัยโอนไปยังผูรับโอนดวย แตใน
กรณีที่การโอนโดยนิติกรรมนี้เปนผลใหชองแหงภัยเปลี่ยนแปลงไป หรือเพิ่มมากขึ้น สัญญาประกันภัยเปนโมฆะ
เปรียบเทียบเหตุผลของกฎหมายในกรณีการโอนโดยกฎหมาย และการโอนโดยนิติกรรม
การโอนโดยผลของกฎหมาย
(1) สิทธิของผูเอาประกันภัยโอนตามไปดวยโดยมิตองบอกกลาว หรือไดรับความยินยอมจากผูรับประกันภัย
(2) เงื่อนไขหามโอนวัตถุที่เอาประกันภัยในสัญญาประกันภัยใชบังคับไมได
(3) สัญญาประกันภัยยังใชบังคับได แมการโอนนั้นจะทําใหชองแหงภัยเปลี่ยนแปลงหรือเพิ่มมากขึ้นก็ตาม
การโอนโดยนิติกรรม
(1) สิทธิของผูเอาประกันภัยโอนเมื่อไดมีการบอกกลาวการโอนตามมาตรา 875 วรรคสองแลว
(2) เงื่อนไขหามโอนวัตถุที่เอาประกันภัยในสัญญาประกันภัยใชบังคับได
(3) หากการโอนเปนผลใหชองแหงภัยเปลี่ยนแปลงไป หรือเพิ่มมากขึ้น สัญญาประกันภัยเปนโมฆะ
ผลของเงื่อนไขที่หามโอนวัตถุที่เอาประกันภัยในสัญญาประกันภัย แยกพิจารณาได 2 กรณี คือ
(1) การโอนโดยบทบัญญัติของกฎหมาย เงื่อนไขหามโอนดังกลาวใชบังคับไมได เพราะมิใชการโอนโดยการแสดง
เจตนาของคูสัญญาแตอยางใด
(2) การโอนโดยนิติกรรม เงื่อนไขหามโอนดังกลาวใชบังคับได เพราะการโอนเกิดขึ้นดวยการแสดงเจตนาของผูเอาประ
กันภัยซึ่งเปนคูสัญญาฝายหนึ่งที่ไดตกลงในเงื่อนไขหามโอนแลวยอมใชบังคับได ประกอบกับสิทธิตามสัญญาประกันภัยเปนบุคคล
สิทธิไมติดไปกับตัวทรัพยที่โอนดวย เมื่อคูสัญญาตกลงหามโอนยอมเปนไปตามเจตนานั้น

56.นายวุธทําสัญญากูยืมเงินธนาคารจํานวน 1,000,000 บาท อัตราดอกเบี้ย 15% ตอป กําหนดชําระภายใน 3 ป ปแรกนายวุธ


ชําระดอกเบี้ยใหธนาคารทุกเดือน สวนในปที่ 2 และ 3 นายวุธคางชําระดอกเบี้ยมาโดยตลอด ธนาคารไดทวงถามหลายครั้ง นายวุธ
ก็ไมมีชําระ ธนาคารจึงแจงใหนายวุธทราบวาธนาคารจะคิดดอกเบี้ยทบตนในดอกเบี้ยที่คางชําระทั้งหมด ตอมานายวุธก็ไมยอม
ชําระดอกเบี้ย โดยอางวาธนาคารไมมีสิทธิคิดดอกเบี้ยทบตน ดังนี้ขอตอสูของนายวุธฟงไดหรือไม เพราะเหตุใด

แนวตอบ
หลักกฎหมายตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย
มาตรา 655 บัญญัติวา”ทานหามมิใหคิดดอกเบี้ยในดอกเบี้ยที่คางชําระ แตทวาเมื่อดอกเบี้ยคางชําระไมนอยกวาปหนึ่ง
คูสัญญากูยืมจะตกลงกันใหเอาดอกเบี้ยทบเขากับตนเงินแลวใหคิดดอกเบี้ยในจํานวนที่ทบเขานั้นก็ได แตการตกลงเชนนั้นตองทํา
เปนหนังสือ”

วินิจฉัย
ตามปญหา การที่นายวุธไดคางชําระดอกเบี้ยในปที่ 2 และ 3 นั้น เปนการคางชําระดอกเบี้ยกวาปหนึ่งแลว แมธนาคาร
จะไดแจงใหนายวุธทราบเมื่อทวงถามแลวนายวุธไมชําระก็ไมมีขอตกลงเปนหนังสือระหวางคูสัญญาใหเอาดอกเบี้ยทบเขากับตน
เงิน แลวใหคิดดอกเบี้ยในจํานวนที่ทบกันนั้น ซึ่งเปนวิธีคิดดอกเบี้ยทบตน ดังนั้นธนาคารจะคิดดอกเบี้ยทบตนในหนี้ที่คางชําระไมได
ไดแตจะคิดในวิธีธรรมดาไมทบตน

57.กรณีที่ตัวแทนทําการเกินอํานาจหนาที่ที่ไดรับมอบจากตัวการ และตอมาตัวการใหสัตยาบันกับการกระทําดังกลาวนั้นของตัว
แทน การใหสัตยาบันเชนนี้เกิดผลอยางไรทางกฎหมาย

แนวตอบ
การใหสัตยาบันของตัวการยอมกอใหเกิดผลทางกฎหมาย กลาวคือ ถือวาการกระทํานั้นสมบูรณ ผูกพัน และจะถือวา
เปนการกระทําของตัวการมาตั้งแตตน ลักษณะดังกลาวนี้ ยอมกอใหเกิดผลตอตัวการและตัวแทนดังนี้
1.ตัวแทนหลุดพนความรับผิดเปนการสวนตัว ทั้งนี้เพราะถือวา ตัวแทนไดกระทําในนามของตัวการแลว
2.ตัวแทนมีสิทธิตอตัวการ เมื่อมีการใหสัตยาบันแลว ตัวแทนยอมมีสิทธิและหนาที่ตอตัวการตามกฎหมาย เชน สิทธิใน
บําเหน็จ เปนตน
อยางไรก็ตามในบางกรณีการใหสัตยาบันของตัวการอาจไมทําใหเกิดผลเปลี่ยนแปลงฐานะของตัวแทนตอบุคล
ภายนอกได เชน กรณีที่ตัวแทนทําละเมิดตอบุคคลภายนอก ตัวแทนจะตองรับผิดตอบุคคลภายนอกในเหตุ
ละเมิดนั้น แตเมื่อตัวการใหสัตยาบันแกการกระทํานั้นก็ทําใหตัวการตองรวมรับผิดดวย และการใหสัตยาบันนั้น
ยอมไมกระทบกระเทือนตอสิทธิที่บุคคลภายนอกเขามีอยูแลวกอนใหสัตยาบัน
58 .ก.เหตุใดผูรับประกันภัยที่ชําระคาสินไหมทดแทนตามสัญญาประกันภัยค้ําจุนใหผูเอาประกันจึงไมหลุดพนความรับผิด และการ
ที่ผูตองเสียหายไมเรียกเอาผูเอาประกันภัยเขาไปในคดีที่ตนฟองผูรับประกันภัยนั้น มีผลตามกฎหมายอยางไร จงอธิบาย
ข. อายุความตมสัญญาประกันภัยค้ําจุนเกี่ยวของกับอายุความในมูลหนี้ที่ผูเอาประกันภัยจะตองรับผิดอยางใด และปญหาอายุ
ความเปนปญหาที่เกี่ยวดวยอํานาจฟองของผูรับประกันภัยใชหรือไม

แนวตอบ
ก. ผูรับประกันภัยที่ชําระคาสินไหมทดแทนตามสัญญาประกันภัยค้ําจุน ใหผูเอาประกันภัยไมหลุดพนความรับผิด
เพราะผูเอาประกันภัยมิใชผูไดรับความเสียหายจากวินาศภัยที่เกิดขึ้น การที่ผูรับประกันภัยชําระคาสินไหมทดแทนใหไปจึงไมใชการ
ชดใชคาสินไหมทดแทนตามความเสียหายที่แทจริง ผูรับประกันภัยจึงไมหลุดพนความรับผิด
การที่ผูตองเสียหายไมเรียกเอาผูเอาประกันภัยเขาไปในคดีที่ฟองผูรับประกันภัยนั้น มีผลตามกฎหมายคือ ผูตองเสียหาย
จะนําคดีไปฟองผูเอาประกันภัยใหชดใชคาสินไหมทดแทนสวนที่ขาดเปนคดีใหมไมได เพราะถือวาผูตองเสียหายไดแสดงเจตนา
สละสิทธิของตนในมูลหนี้ที่มีตอผูเอาประกันภัยแลว
ข. อายุความตามสัญญาประกันภัยค้ําจุนเกี่ยวของกับอายุความในมูลหนี้ที่ผูเอาประกันภัยจะตองรับผิด กลาวคือ ถา
ปรากฏวาคดีที่ผูตองเสียหายฟองผูเอาประกันภัยขาดอายุความ ผูเอาประกันภัยไมตองรับผิดตอผูเสียหาย ผูรับประกันภัยยอมไม
ตองรับผิด ตามมาตรา 887 วรรคแรก แตถาไมมีคดีฟองผูกอความเสียหายและผูเอาประกันภัยไมไดปฏิเสธความรับผิดดวยเหตุอายุ
ความ ผูรับประกันภัยจะตอสูวาสิทธิเรียกรองของผูเสียหายที่มีตอผูเอาประกันภัยขาดอายุความแลวไมได เพราะไมใชขอตอสูในมูล
หนี้ของสัญญาประกันภัย
ตามปกติปญหาอายุความไมใชปญหาที่เกี่ยวดวยอํานาจฟองของผูรับประกันภัย แตถาการขาดอายุความนั้นเปนปญหา
ที่เกี่ยวดวยความรับผิดของผูเอาประกันภัย ซึ่งเปนผลใหผูตองเสียหายไมมีอํานาจฟองผูรับประกันภัยแลว แมผูรับประกันภัยจะไม
ไดยกเรื่องอายุความขึ้นมาตอสู ศาลก็มีอํานาจยกขึ้นวินิจฉัยได

You might also like