You are on page 1of 148

การศึกษาสภาพการดําเนินงานแหลงเรียนรูเพื่อการจัดการศึกษา

ของโรงเรียนในอําเภอบานนาสาร จังหวัดสุราษฎรธานี

ศศิธร ภิรมยนภา

ภาคนิพนธนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรครุศาสตรมหาบัณฑิต
สาขาการบริหารการศึกษา
บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎรธานี
พ.ศ. 2550
IMPLEMENTATION STUDY ON LEARNING RESOURCES FOR
EDUCATIONAL MANAGEMENT IN SCHOOLS AT BAN NASARN
DISTRICT, SURAT THANI PROVINCE

SASITHORN PIROMNAPA

A Term Paper Submitted in Partial Fulfillment of


The Requirements for the Degree of Master of Education
Field in Educational Administration
Graduate School
Suratthani Rajabhat University
2007
การศึกษาสภาพการดําเนินงานแหลงเรียนรูเพื่อการจัดการศึกษา
ของโรงเรียนในอําเภอบานนาสาร จังหวัดสุราษฎรธานี

ศศิธร ภิรมยนภา

ภาคนิ พ นธ ไ ด รั บ การพิ จ ารณาอนุ มั ติ ใ ห เ ป น ส ว นหนึ่ ง ของการศึ ก ษาตามหลั ก สู ต ร


ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎรธานี

วันที่............ เดือน................................. พ.ศ. 2550

คณะกรรมการควบคุมภาคนิพนธ คณะกรรมการสอบ

........................................ประธานกรรมการ ........................................ประธานกรรมการ
(ผูชวยศาสตราจารย ดร.ประโยชน คุปตกาญจนากุล) (รองศาสตราจารย ดร.ชูศักดิ์ เอกเพชร)

........................................กรรมการ ........................................กรรมการ
(ดร.ชอเพชร เบาเงิน) (ผูชวยศาสตราจารย ดร.ประโยชน คุปตกาญจนากุล)

........................................กรรมการและเลขานุการ
(ดร.ชอเพชร เบาเงิน)

.................................................
(รองศาสตราจารย ดร. ชูศักดิ์ เอกเพชร)
คณบดีบณ ั ฑิตวิทยาลัย
ลิขสิทธิ์ของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎรธานี

บทคัดยอ

ชื่อเรื่องภาคนิพนธ การศึกษาสภาพการดําเนินงานแหลงเรียนรูเพื่อการจัดการศึกษาของ
โรงเรียนในอําเภอบานนาสาร จังหวัดสุราษฎรธานี
ชื่อผูวิจัย นางศศิธร ภิรมยนภา
ชื่อปริญญา ครุศาสตรมหาบัณฑิต
สาขาวิชา การบริหารการศึกษา
ปการศึกษา 2549
คณะกรรมการที่ปรึกษาภาคนิพนธ
1. ผูชวยศาสตราจารย ดร.ประโยชน คุปตกาญจนากุล ประธานกรรมการ
2. ดร.ชอเพชร เบาเงิน กรรมการ

การวิจัยนี้ มีวัตถุประสงคเพื่อสํารวจแหลงเรียนรูและรูปแบบกิจกรรมการใชแหลงเรียนรู
เพื่อศึกษาและเปรียบเทียบสภาพการดําเนินงานแหลงเรียนรูเพื่อการจัดการศึกษา จําแนกตามขนาด
ของโรงเรียน ใน 4 ดาน ไดแก ดานการวางแผนการใชแหลงเรียนรู ดานการดําเนินการใชแหลง
เรียนรู ดานการประเมินผลการใชแหลงเรียนรู และดานปรับปรุงพัฒนาการใชแหลงเรียนรู กลุม
ตัวอยาง ไดแก ผูบริหารสถานศึกษาและครูในอําเภอบานนาสาร จังหวัดสุราษฎรธานี รวม 248
คน เครื่องมือที่ใชเปนแบบเลือกรายการ และแบบสอบถามมาตราสวนประมาณคา 5 ระดับ
วิเคราะหขอมูลโดยใช สถิติพื้นฐาน ไดแก คารอยละ คาเฉลี่ย คาเบี่ยงเบนมาตรฐาน และทดสอบ
สมมติฐานโดยใชคาที (t-test)

ผลการวิจัยพบวา
1. แหลงเรียนรูในโรงเรียนที่มีมากที่สุด ไดแก หองสมุดและปายนิเทศ ลักษณะ
ของกิจกรรมที่จัดมากที่สุดในโรงเรียนขนาดใหญ คือ การใหบริการยืม - คืนหนังสือในหองสมุด
สวนลักษณะกิจกรรมที่จัดมากที่สุด ในโรงเรียนขนาดเล็กคือ การฝกปฏิบัติงานเกษตร
2. แหลงเรียนรูในชุมชน ประเภทบุคคล โรงเรียนขนาดใหญเลือกใชนักบวช /
พระสงฆในการจัดการศึกษามากที่สุด โรงเรียนขนาดเล็กใชภูมิปญญาทองถิ่นมากที่สุด ประเภท
ทรัพยากรธรรมชาติในทองถิ่น พบวา โรงเรียนขนาดใหญและโรงเรียนขนาดเล็ก เลือกใชถ้ําขมิ้น
ในการจั ด การศึ ก ษามากที่ สุ ด แหล ง เรี ย นรู ป ระเภทที่ ม นุ ษ ย ส ร า งขึ้ น โรงเรี ย นขนาดใหญ แ ละ

โรงเรียนขนาดเล็ก เลือกใชวัด / ศาสนสถาน ในการจัดการศึกษามากที่สุด และแหลงเรียนรู


ประเภทวัฒนธรรมประเพณี พบวา ทั้งโรงเรียนขนาดใหญและโรงเรียนขนาดเล็ก ใชประเพณี
ลอยกระทง ในการจัดการศึกษามากที่สุด สวนรูปแบบการใชแหลงเรียนรูในชุมชนเพื่อการจัด
การศึกษา โรงเรียนขนาดใหญใชรูปแบบเชิญวิทยากรมาใหความรูแกนักเรียนในโรงเรียนมากที่สุด
โรงเรียนขนาดเล็ก ใชรูปแบบจัดกิจกรรมเรียนรูขึ้นเอง ในโรงเรียนมากที่สุด
3. โรงเรียนในอําเภอบานนาสาร จังหวัดสุราษฎรธานี มีการดําเนินงานแหลง
เรียนรูเพื่อการจัดการศึกษาทั้งภาพรวม และรายดานอยูในระดับปานกลาง
4. โรงเรียนขนาดใหญและขนาดเล็ก มีสภาพการดําเนินงานแหลงเรียนรูเพื่อการจัด
การศึ กษา ในภาพรวมไมแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ .05 แตเมื่อพิจารณารายดาน
พบวาดานการปรับปรุงพัฒนาการใชแหลงเรียนรู แตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ .05

ABSTRACT

Term Paper Title Implementation Study on Learning Resources for Educational


Management in Schools at Ban Nasarn District, Surat Thani Province
Student’s name Mrs. Sasithorn Piromnapa
Degree Sought Master of Education
Major Educational Administration
Academic Year 2006
Term Paper advisors 1. Assist. Prof. Dr. Prayot Kupkanchanakun Chairperson
2. Dr. Choapet Boawngern Committee

The purposes of this research were: to survey the learning resources and management
activity patterns in using the learning resources; and to study and compare the implementation of
using the learning resources for learning conducted in different size schools. The aspects specified
in the study were as follows: that is, the aspect of planning to benefit from the learning resources,
implementing the use of learning resources, evaluating the use of learning resources and
improving the use of learning resources. The 248 sample population consisted of administrators
and teachers working in Ban Nasarn district. The questionnaire with 5-level rating scale was used
to conduct the study. SPSS for WINDOW was used to analyze percentage, mean, standard
deviation and t-test.

The research findings were as follows:


1. The learning resources in school that was used the most frequently were the
library and the bulletin board. The kinds of activity that was used the most frequently in big size
schools were borrowing and returning the books, whereas the most frequent activity provided in
small size schools was the distribution knowledge on agriculture.
2. The survey results of the community learning resources on indigenous
personnel revealed that the big size schools preferred to choose the monks most of all while the
small size schools chose the laymen with variety of indigenous knowledge. The results on the

aspect of natural resources revealed that both big size schools and small size schools chose
Kamin Cave to be the learning ground most of all. The results on the aspect of man-made
learning resources revealed that both big size schools and small size schools chose the temples or
religious buildings to be the learning ground most of all. The results on the aspect of custom and
cultural learning resources revealed that both big size schools and small size schools chose Loy
Kratong Festival to be the learning ground most of all. The results on the aspect of activity
patterns in using community learning resources revealed that both big size schools chose to have
the guest speakers talk to the students while the small size schools prepared the activities
themselves most of all.
3. The results on the aspect of implementation on learning resources in schools in
Ban Nasarn district, Surat Thani province indicated that the overall and separated aspects were at
the middle level.
4. The results on the aspect of implementation on learning resources in both
small size schools and big size schools indicated that there were significantly different at the level
of .05 in overall aspect; furthermore, there were significant differences at the level of .05 in the
separated aspect of improving the use of learning resources.

กิตติกรรมประกาศ

ภาคนิพนธนี้สําเร็จไดดวยดีดวยความกรุณาและเอาใจใสอยางดีจาก ผูชวยศาสตราจารย
ดร.ประโยชน คุปตกาญจนากุล และ ดร.ชอเพชร เบาเงิน ประธานและกรรมการควบคุมภาคนิพนธ
อาจารยทั้ง 2 ทาน ไดใหคําปรึกษา และชวยเหลือแกไขขอบกพรองของการวิจัยอยางตอเนื่อง
ผูวิจัยขอกราบขอบพระคุณเปนอยางสูง
ขอกราบขอบพระคุ ณ คณาจารย ม หาวิ ท ยาลั ย ราชภั ฏ สุ ร าษฎร ธ านี ทุ ก ท า นที่ ไ ด
ประสิทธิ์ประสาทความรูและคุณธรรมจริยธรรมของความเปนครู ขอกราบขอบพระคุณผูเชี่ยวชาญ
ทุกทานที่กรุณาสละเวลาตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือที่ใชในการวิจัยฉบับนี้
ผูวิจัยขอขอบคุณผูบริหารโรงเรียนและครูในอําเภอบานนาสาร จังหวัดสุราษฎรธานี ที่
เปนกลุมตัวอยางทุกทานที่ใหความอนุเคราะห ในการเก็บรวบรวมขอมูลเปนอยางดี
สุดทายนี้ ผูวิจัยขอขอบคุณ คุณลักษมี ชุมภูธร เพื่อนคูคิดและที่ปรึกษาตลอดจนเพือ่ น ๆ
นักศึกษาปริญญาโท และผูรวมงานทุกทานที่คอยชวยเหลือและใหกําลังใจในการทําภาคนิพนธ
ฉบับนี้ จนสําเร็จลุลวงเปนฉบับสมบูรณ

ศศิธร ภิรมยนภา

สารบัญ
หนา
บทคัดยอภาษาไทย ................................................................................................................ ข
บทคัดยอภาษาอังกฤษ ........................................................................................................... ง
กิตติกรรมประกาศ................................................................................................................. ฉ
สารบัญ .................................................................................................................................. ช
สารบัญตาราง ........................................................................................................................ ฌ
สารบัญภาพ........................................................................................................................... ฏ
บทที่
1 บทนํา .......................................................................................................................... 1
ความเปนมาและความสําคัญของปญหา ............................................................... 1
วัตถุประสงคของการวิจยั ..................................................................................... 3
ความสําคัญของการวิจยั ....................................................................................... 3
ขอบเขตการวิจัย.................................................................................................... 4
กรอบแนวคิดในการวิจัย....................................................................................... 5
สมมติฐานการวิจัย ................................................................................................ 6
นิยามศัพทเฉพาะ .................................................................................................. 6
2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของ................................................................................... 8
แนวคิดการจัดการเรียนการสอนโดยเนนผูเรียนสําคัญที่สุด ................................. 8
แหลงเรียนรู .......................................................................................................... 15
แหลงเรียนรูในอําเภอบานนาสาร ......................................................................... 30
ลักษณะการใชแหลงเรียนรูเพื่อการจัดการศึกษา .................................................. 36
งานวิจยั ที่เกี่ยวของ................................................................................................ 40
3 วิธีดําเนินการวิจัย........................................................................................................ 45
ประชากรและกลุมตัวอยาง................................................................................... 45
เครื่องมือที่ใชเก็บรวบรวมขอมูล .......................................................................... 46
ขั้นตอนการสรางเครื่องมือและการหาคุณภาพเครื่องมือ ...................................... 47
การเก็บรวบรวมขอมูล .......................................................................................... 48
สถิติที่ใชในการวิเคราะหขอมูล ............................................................................ 48
การวิเคราะหขอ มูล ............................................................................................... 49

สารบัญ (ตอ)

บทที่ หนา
4 ผลการวิเคราะหขอมูล................................................................................................. 50
สัญลักษณทางสถิติที่ใชในการวิเคราะหขอมูล ..................................................... 50
ตอนที่ 1 ขอมูลทั่วไปของกลุมตัวอยาง .............................................................. 51
ตอนที่ 2 ขอมูลสํารวจแหลงเรียนรูในโรงเรียน และแหลงรูในชุมชน................ 52
ตอนที่ 3 ขอมูลสภาพการดําเนินงานแหลงเรียนรูของโรงเรียนในอําเภอ
บานนาสาร จังหวัดสุราษฎรธานี จํานวน 4 ดาน ไดแก ดานการ
วางแผนการใชแหลงเรียนรู การดําเนินการใชแหลงเรียนรู
การประเมินผลการใชแหลงเรียนรู โดยจําแนกตามขนาดโรงเรียน .... 61
การเปรียบเทียบสภาพการดําเนินงานแหลงเรียนรูของโรงเรียนอําเภอ
บานนาสาร จังหวัดสุราษฎรธานี ระหวางโรงเรียนขนาดใหญกับโรงเรียน
ขนาดเล็ก .............................................................................................................. 67
5 สรุปผล อภิปรายผลและขอเสนอแนะ........................................................................ 78
วัตถุประสงคการวิจยั ............................................................................................ 78
วิธีดําเนินการวิจัย .................................................................................................. 78
การวิเคราะหขอ มูล ............................................................................................... 80
สรุปผลการวิจัย ..................................................................................................... 80
การอภิปรายผล ..................................................................................................... 85
ขอเสนอแนะ......................................................................................................... 88
บรรณานุกรม......................................................................................................................... 90
ภาคผนวก.............................................................................................................................. 95
ภาคผนวก ก หนังสือขอความอนุเคราะหตรวจเครื่องมือวิจัย........................................ 96
ภาคผนวก ข หนังสือขออนุญาตเก็บขอมูลเพื่อหาคุณภาพเครื่องมือวิจยั ....................... 98
ภาคผนวก ค หนังสือขออนุญาตเก็บขอมูลวิจัย ............................................................. 100
ภาคผนวก ง แบบสอบถามเพื่อการวิจยั ......................................................................... 102
ภาคผนวก จ รายชื่อผูเชี่ยวชาญตรวจสอบเครื่องมือวิจัย ............................................... 117
ประวัติผูทําภาคนิพนธ .......................................................................................................... 119

สารบัญตาราง

ตารางที่ หนา
3.1 จํานวนประชากรและกลุมตัวอยางที่ใชในการวิจัย ............................................... 46
3.2 คาความเชื่อมัน่ ของแบบสอบถาม......................................................................... 48
4.1 จํานวนกลุมตัวอยาง จําแนกตามขนาดโรงเรียน................................................... 51
4.2 จํานวนกลุมตัวอยาง จําแนกตามชวงชัน้ ที่โรงเรียนเปดสอน ............................... 51
4.3 ผลการศึกษาแหลงเรียนรูที่มอี ยูในโรงเรียน อําเภอบานนาสาร จังหวัด
สุราษฎรธานี จําแนกตามขนาดโรงเรียน.............................................................. 52
4.4 ผลการศึกษาการจัดกิจกรรมโดยใชแหลงเรียนรูหองสมุดโรงเรียนของ
โรงเรียน อําเภอบานนาสาร จังหวัดสุราษฎรธานี จําแนกตามขนาดโรงเรียน...... 53
4.5 ผลการศึกษาลักษณะการจัดกิจกรรมเรียนรูโดยใชแหลงเรียนรูหองปฏิบัติการ
วิทยาศาสตรของโรงเรียนในอําเภอบานนาสาร จังหวัดสุราษฎรธานี
จําแนกตามขนาดโรงเรียน .................................................................................... 54
4.6 ผลการศึกษากิจกรรมโดยใชแหลงเรียนรูหอ งคอมพิวเตอรและอินเตอรเน็ต
ของโรงเรียนในอําเภอบานนาสาร จังหวัดสุราษฎรธานี
จําแนกตามขนาดโรงเรียน .................................................................................... 55
4.7 ผลการศึกษาการจัดกิจกรรมโดยใชแหลงเรียนรูอื่น ๆ ในโรงเรียน
จําแนกตามขนาดโรงเรียน .................................................................................... 55
4.8 ผลการศึกษาการใชแหลงเรียนรูในชุมชน ประเภทบุคคลในการจัดการศึกษา
ของโรงเรียนในอําเภอบานนาสาร จังหวัดสุราษฎรธานี
จําแนกตามขนาดของโรงเรียน ............................................................................. 56
4.9 ผลการศึกษาการใชแหลงเรียนรูในชุมชน ประเภททรัพยากรธรรมชาติใน
ทองถิ่นเพื่อการจัดการศึกษาของโรงเรียน ในอําเภอบานนาสาร
จังหวัดสุราษฎรธานี จําแนกตามขนาดของโรงเรียน ........................................... 57
4.10 ผลการศึกษาการใชแหลงเรียนรูในชุมชน ประเภทแหลงเรียนรูที่มนุษยสราง
ขึ้นเพื่อการจัดการศึกษาของโรงเรียนในอําเภอบานนาสาร จังหวัดสุราษฎร
ธานี จําแนกตามขนาดของโรงเรียน...................................................................... 58

สารบัญตาราง (ตอ)

ตารางที่ หนา
4.11 ผลการศึกษาการใชแหลงเรียนรูในชุมชน ประเภทวัฒนธรรมเพื่อการจัด
การศึกษาของโรงเรียนในอําเภอบานนาสาร จังหวัดสุราษฎรธานี
จําแนกตามขนาดของโรงเรียน ............................................................................. 59
4.12 ผลการศึกษารูปแบบการใชแหลงเรียนรูชุมชนเพื่อการจัดการศึกษาของ
โรงเรียนในอําเภอบานนาสาร จังหวัดสุราษฎรธานี จําแนกตามขนาดของ
โรงเรียน................................................................................................................ 60
4.13 คาเฉลี่ย คาเบี่ยงเบนมาตรฐาน ในการดําเนินงานแหลงเรียนรูเพื่อการจัด
การศึกษา ของโรงเรียนในอําเภอบานนาสาร จังหวัดสุราษฎรธานี...................... 61
4.14 คาเฉลี่ย คาเบี่ยงเบนมาตรฐาน และความคิดเห็นของผูตอบแบบสอบถามที่มี
ตอสภาพการใชแหลงเรียนรูในการจัดการศึกษาดานการวางแผนการใชแหลง
เรียนรูของโรงเรียน ในอําเภอบานนาสาร จังหวัดสุราษฎรธานี ........................... 62
4.15 คาเฉลี่ย คาเบี่ยงเบนมาตรฐานและระดับความคิดเห็นของผูตอบแบบสอบถาม
ที่มีตอสภาพการใชแหลงเรียนรูเพื่อการจัดการศึกษาดานการดําเนินการใช
แหลงเรียนรูของโรงเรียนในอําเภอบานนาสาร จังหวัดสุราษฎรธานี ................. 63
4.16 คาเฉลี่ย คาเบี่ยงเบนมาตรฐานและระดับความคิดเห็นของผูตอบแบบสอบถาม
ที่มีตอสภาพการใชแหลงเรียนรูเพื่อการจัดการศึกษาดานการประเมินผลการใช
แหลงเรียนรู ของโรงเรียนในอําเภอบานนาสาร จังหวัดสุราษฎรธานี ................ 64
4.17 คาเฉลี่ย คาเบี่ยงเบนมาตรฐานและระดับความคิดเห็นของผูตอบแบบสอบถาม
ที่มีตอสภาพการใชแหลงเรียนรูเพื่อการจัดการศึกษา ดานการปรับปรุง
พัฒนาการใชแหลงเรียนรูของโรงเรียนในอําเภอบานนาสาร
จังหวัดสุราษฎรธานี.............................................................................................. 66
4.18 คาเฉลี่ย คาเบี่ยงเบนมาตรฐานและระดับความคิดเห็นการดําเนินการแหลง
เรียนรู เพื่อการจัดการศึกษา ของโรงเรียนขนาดใหญ ในอําเภอบานนาสาร
จังหวัดสุราษฎรธานี.............................................................................................. 67
4.19 คาเฉลี่ย คาเบี่ยงเบนมาตรฐานและระดับความคิดเห็นการดําเนินการแหลง
เรียนรู ดานการวางแผนการใชแหลงเรียนรูของโรงเรียนขนาดใหญ อําเภอ
บานนาสาร จังหวัดสุราษฎรธานี ......................................................................... 67

สารบัญตาราง (ตอ)

ตารางที่ หนา
4.20 คาเฉลี่ย คาเบี่ยงเบนมาตรฐานและระดับความคิดเห็นการดําเนินการแหลง
เรียนรู ดานการดําเนินการใชแหลงเรียนรู ของโรงเรียนขนาดใหญ อําเภอ
บานนาสาร จังหวัดสุราษฎรธานี ......................................................................... 69
4.21 คาเฉลี่ย คาเบี่ยงเบนมาตรฐานและระดับความคิดเห็นการดําเนินการแหลง
เรียนรู ดานการประเมินผลการใชแหลงเรียนรู ของโรงเรียนขนาดใหญ
อําเภอบานนาสาร จังหวัดสุราษฎรธานี ............................................................... 70
4.22 คาเฉลี่ย คาเบี่ยงเบนมาตรฐานและระดับความคิดเห็นการดําเนินการแหลง
เรียนรู ดานการปรับปรุงพัฒนาการใชแหลงเรียนรูของโรงเรียนขนาดใหญ
ในอําเภอบานนาสาร จังหวัดสุราษฎรธานี........................................................... 71
4.23 คาเฉลี่ย คาเบี่ยงเบนมาตรฐานและระดับความคิดเห็นการดําเนินการแหลง
เรียนรู ในการจัดการศึกษาของโรงเรียนขนาดเล็ก ในอําเภอบานนาสาร
จังหวัดสุราษฎรธานี 72
4.24 คาเฉลี่ย คาเบี่ยงเบนมาตรฐานและระดับความคิดเห็นการดําเนินการแหลง
เรียนรู ดานการวางแผนการใชแหลงเรียนรู ของโรงเรียนขนาดเล็ก อําเภอ
บานนาสาร จังหวัดสุราษฎรธานี 72
4.25 คาเฉลี่ย คาเบี่ยงเบนมาตรฐานและระดับความคิดเห็นการดําเนินการแหลง
เรียนรู ดานการดําเนินการใชแหลงเรียนรูของโรงเรียนขนาดเล็ก อําเภอบาน
นาสาร จังหวัดสุราษฎรธานี................................................................................. 74
4.26 คาเฉลี่ย คาเบี่ยงเบนมาตรฐานและระดับความคิดเห็นการดําเนินการแหลง
เรียนรู ดานการประเมินผลการใชแหลงเรียนรู ของโรงเรียนขนาดเล็ก
ในอําเภอบานนาสาร จังหวัดสุราษฎรธานี 75
4.27 คาเฉลี่ย คาเบี่ยงเบนมาตรฐานและระดับความคิดเห็นการดําเนินการแหลง
เรียนรู ดานการปรับปรุงพัฒนาการใชแหลงเรียนรู ของโรงเรียนขนาดเล็ก
ในอําเภอบานนาสาร จังหวัดสุราษฎรธานี.......................................................... 76
4.28 คาเฉลี่ย คาเบี่ยงเบนมาตรฐานของการดําเนินการใชแหลงเรียนรูเพื่อการจัด
การศึกษา เปรียบเทียบระหวางโรงเรียนขนาดใหญ และโรงเรียนขนาดเล็ก
ในรายดานของโรงเรียนในอําเภอบานนาสาร จังหวัดสุราษฎรธานี .................... 77

สารบัญภาพ

ภาพที่ หนา
1.1 กรอบแนวคิดในการวิจยั .......................................................................................... 5
2.1 กรวยประสบการณ .................................................................................................. 10
บทที่ 1

บทนํา

ความเปนมาและความสําคัญของปญหา

การศึ ก ษาเป น ป จ จั ย สํ า คั ญ ยิ่ ง ป จ จั ย หนึ่ ง ของการพั ฒ นาประเทศ เพราะประเทศจะ


เจริญกาวหนาได จะตองมีประชากรที่มีคุณภาพ มีความรู ความสามารถ การจะพัฒนาประเทศไดจึง
ตองพัฒนาประชากรกอนเปนอันดับแรก (สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาแหงชาติ. 2545 : 117)
การเรียนรูเปนกิจกรรมที่สําคัญอยางหนึ่งของชีวิต เปนเครื่องแสดงวาบุคคลมีการเจริญเติบโต ในยุค
นี้เปนยุคแหงการพัฒนาเศรษฐกิจที่ใชความรูเปนฐาน (Knowledge-based Economy) ประเทศไทยจึง
จําเปนตองปฏิรูปการเรียนรูโดยเร็วที่สุด เพื่อเสริมสรางศักยภาพของเยาวชน ใหสามารถคิดเปน
ทําเปน มีทักษะในการจัดการ มีคุณธรรมและคานิยมที่ดีงาม และรักการแสวงหาความรูอยาง
ตอเนื่อง การจัดการศึกษาในปจจุบันจึงตองเนนใหผูเรียน เรียนรูวิธีการเรียนรู มากกวาที่จะเรียนรู
แต เ นื้ อ หาความรู เ พี ย งอย า งเดี ย ว เพราะความรู มี ก ารพั ฒ นาและเปลี่ ย นแปลงได อ ย า งรวดเร็ ว
ตลอดเวลา (สรรค วรอินทร และคณะ. 2546 : 1)
พระราชบัญญั ติ การศึ กษาแหงชาติ พ.ศ.2542 แกไ ขเพิ่มเติม พ.ศ.2545 มาตรา 22
กําหนดวา ผูเรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรูและพัฒนาตนเองได และถือวาผูเรียนสําคัญที่สุด
มาตราที่ 25 กําหนดวา รัฐตองสงเสริมการดําเนินงานและการจัดตั้งแหลงเรียนรูตลอดชีวิตทุก
รูปแบบ ไดแกหองสมุดประชาชน พิพิธภัณฑ หอศิลป สวนสัตว สวนสาธารณะ สวนพฤกษศาสตร
อุทยานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ศูนยการกีฬาและนันทนาการ แหลงขอมูลและแหลงการ
เรียนรูอื่น ๆ อยางเพียงพอและมีประสิทธิภาพ และมาตรา 24 ยังไดกําหนดวา การจัดกระบวนการ
เรียนรูใหสถานศึกษาและหนวยงานที่เกี่ยวของดําเนินการจัดเนื้อหาสาระและกิจกรรมใหสอดคลอง
กับ ความสนใจและความถนั ด ของผู เ รีย นโดยคํ านึ ง ถึง ความแตกตา งระหว า งบุ ค คล ฝ ก ทั ก ษะ
กระบวนการคิด การจัดการ การเผชิญสถานการณ และการประยุกตความรูมาใชเพื่อปองกันและ
แกไขปญหา จัดกิจกรรมใหผูเรียนไดเรียนรูจากประสบการณจริง ฝกการปฏิบัติใหทําได คิดเปน
ทําเปน รักการอานและเกิดการใฝรูอยางตอเนื่อง จัดการเรียนการสอน โดยผสมผสานความรู
ดานตาง ๆ อยางไดสัดสวนสมดุลกัน รวมทั้งปลูกฝงคุณธรรม คานิยมที่ดีงามและคุณลักษณะ
อั น พึ ง ประสงค ไ ว ใ นทุ ก สาระวิ ช า ส ง เสริ ม สนั บ สนุ น ให ผู ส อนสามารถจั ด บรรยากาศ
สภาพแวดลอม สื่อการเรียน และอํานวยความสะดวกใหผูเรียนเกิดการเรียนรูและมีความรอบรู
2

ผูสอนและผูเรียนอาจเรียนรูไปพรอมกันจากสื่อการเรียนการสอนและแหลงวิทยาการประเภทตาง ๆ
และประการสําคัญคือการจัดการเรียนรูสามารถทําใหเกิดขึ้นไดทุกเวลาทุกสถานที่ มีการประสาน
ความรวมมือกับบิดามารดา ผูปกครองและบุคคลในชุมชนทุกฝาย เพื่อรวมกันพัฒนาผูเรียนตาม
ศักยภาพ (สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาแหงชาติ. 2545 : 17)
ดังนั้นการจัดการเรียนรูจึงตองจัดใหผูเรียนไดฝกทักษะ ในการเรียนรูจากสถานการณ
การเรียนรูตาง ๆ มีการพัฒนาแนวทางในการจัดการเรียนรูจากแหลงขอมูลที่หลากหลาย ไดเรียนรู
อยางตอเนื่องตลอดชีวิต เปนบุคคลแหงการเรียนรู เปนผูสั่งสมองคความรู เพื่อที่จะไดเปนกําลัง
สําคัญในการพัฒนาประเทศ มีความกาวหนาในอาชีพและดํารงชีวิตอยูในสังคมไดอยางมีความสุข
(กรมวิชาการ. 2544 : 3)
การจัดการศึกษาตามแนวทางปฏิรูปการศึกษาจึงเปนการจัดการศึกษาที่ไดเปลี่ยนแปลง
ไปจากเดิม แหลงเรียนรูมิใชมีแตตัวครูและสถานศึกษาเทานั้น แตอาจหมายถึง สื่อ นวัตกรรมและ
เทคโนโลยี ภู มิ ป ญ ญาท อ งถิ่ น สถานที่ เ รี ย นก็ มิ ใ ช ห อ งเรี ย นเท า นั้ น อาจหมายถึ ง ทุ ก ๆ ที่
ที่เอื้อตอการเรียนรู มีผลการวิจัยของสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาแหงชาติ (คณะกรรมการ
การศึกษาแหงชาติ. 2536 : ก) เรื่องการบริหารและการจัดการศึกษา สรุปไดวา โรงเรียนที่ประสบ
ความสําเร็จในการจัดการเรียนการสอน ตองสามารถแกปญหาขอจํากัดอันเกิดจากวัสดุ อุปกรณ
หรือครูผูสอนไมเพียงพอได โดยนําทรัพยากรและวิทยาการในทองถิ่นมาใชใหเปนประโยชน สวน
โรงเรียนที่ไมประสบความสําเร็จในการจัดการเรียนการสอนนั้น ไมรูจักการแกปญหาดวยตนเอง
รอใหสวนกลางจัดสรรงบประมาณและบุคลากรมาให ซึ่งสวนกลางก็มีขอจํากัดเรื่องงบประมาณ
เชนกัน แสดงใหเห็นวาการนําแหลงเรียนรูในชุมชนมาใชประกอบการเรียนการสอน เปนแนวทาง
หนึ่งในการแกปญหาและเปนปจจัยสําคัญที่สงผลตอความสําเร็จของการจัดการเรียนการสอน
โรงเรียนจึงตองมีแนวทางระดมแหลงเรียนรูในโรงเรียนและในชุมชน ใหเขารวมเปน
ประโยชนในการจัดการศึกษา ควรมีแผนการใชแหลงเรียนรูทั้งในและนอกโรงเรียนในการจัด
การศึกษาที่ชัดเจน มีแผนงานการพัฒนาแหลงเรียนรูในโรงเรียน เชน หองสมุด ซึ่งเปนแหลง
เรียนรูในโรงเรียนที่สําคัญ และควรสํารวจและจัดทําทะเบียนแหลงเรียนรูในชุมชนและภูมิปญญา
ทองถิ่นเพื่อหาวิธีการนํามาใชประโยชนในการจัดการศึกษา (เสรี พรหมฤทธิ์. 2546 : 3)
อําเภอบานนาสารเปนอําเภอหนึ่งในจังหวัดสุราษฎรธานี เปนอําเภอที่มีแหลงเรียนรูที่
หลากหลาย ทั้งแหลงเรียนรูทางธรรมชาติ เชน อุทยานใตรมเย็น น้ําตกดาดฟา ถ้ําขมิ้น เปนตน
และยั ง มี แ หล ง เรี ย นรู ท างวั ฒ นธรรมและภู มิ ป ญ ญามากมาย อี ก ทั้ ง ยั ง เป น แหล ง ต น กํ า เนิ ด
เงาะโรงเรี ย น ที่ มี ชื่ อเสีย งไปทั่ว ประเทศ นับวา เปน อํ า เภอที่มีแ หลง เรี ย นรูที่ ส ามารถนํ ามาใช
ประโยชนในการจัดการศึกษาของโรงเรียนไดเปนอยางดี
3

จากขอมูลที่ไดศึกษามาขางตน ผูวิจัยในฐานะครูที่รับผิดชอบงานดานการสงเสริมการใช
แหลงเรียนรูในการจัดการศึกษาของโรงเรียนเทศบาล 2 (บานอูมาด) อําเภอบานนาสาร จังหวัด
สุราษฎรธานี มีความสนใจสํารวจแหลงเรียนรู และรูปแบบกิจกรรมการใชแหลงเรียนรูที่โรงเรียน
ในอําเภอบานนาสารใชเพื่อการจัดการศึกษา และตองการศึกษาสภาพการดําเนินงานแหลงเรียนรู
เพื่อการจัดการศึกษาทั้งที่เปนแหลงเรียนรูในโรงเรียนและแหลงเรียนรูในชุมชน ของโรงเรียนใน
อําเภอบานนาสาร จังหวัดสุราษฎรธานี ซึ่งผูวิจัยคิดวาผลการวิจัยนาจะเปนประโยชนตอผูบริหาร
การศึกษาและผูบริหารสถานศึกษา ที่จะนําไปประกอบการพิจารณากําหนดนโยบายและแผนงาน
การจัดการศึกษาใหเกิดประโยชนสูงสุด และเปนการกระตุนใหทุกฝายไดตระหนักถึงความสําคัญ
ของการนําแหลงเรียนรูในโรงเรียนและในชุมชนมาใชใหเกิดประโยชนตอการจัดการศึกษา อันจะมี
ผลดีตอการจัดการศึกษาใหมีประสิทธิภาพบรรลุตามเปาหมายของการปฏิรูปการศึกษาตอไป

วัตถุประสงคของการวิจัย

1. เพื่อสํารวจแหลงเรียนรู และรูปแบบกิจกรรมการใชแหลงเรียนรูเพื่อการจัดการศึกษา
ของโรงเรียนในอําเภอบานนาสาร จังหวัดสุราษฎรธานี
2. เพื่อศึกษาสภาพการดําเนินงานแหลงเรียนรูเพื่อการจัดการศึกษาของโรงเรียนใน
อําเภอบานนาสาร จังหวัดสุราษฎรธานี
3. เพื่อเปรียบเทียบสภาพการดําเนินงานแหลงเรียนรูเพื่อการจัดการศึกษาของโรงเรียน
ในอําเภอบานนาสาร จังหวัดสุราษฎรธานี จําแนกตามขนาดโรงเรียน

ความสําคัญของการวิจัย

1. ไดขอมูลแหลงเรียนรูในโรงเรียนและแหลงเรียนรูในชุมชนและลักษณะ รูปแบบ
การจัดกิจกรรมการเรียนรูในแหลงเรียนรูประเภทตาง ๆ ซึ่งทําใหมองเห็นภาพรวมของสภาพการใช
แหลงเรียนรูในการจัดการศึกษาของโรงเรียนในอําเภอบานนาสาร จังหวัดสุราษฎรธานี
2. ไดขอมูลสภาพการดํ าเนิ นงานแหลงเรียนรู เพื่อการจัดการศึกษาของโรงเรี ยนใน
อําเภอบานนาสาร จังหวัดสุราษฎรธานี
3. ไดขอมูลใหกับผูบริหารการศึกษา ผูบริหารโรงเรียนและผูที่เกี่ยวของในอําเภอบาน
นาสาร ประกอบการกําหนดนโยบายและวางแผนงานการใชประโยชนจากแหลงเรียนรูเพื่อการจัด
การศึกษาของโรงเรียนตอไป
4

ขอบเขตการวิจัย

ขอบเขตดานเนื้อหา
การวิ จั ย ครั้ งนี้ มุ งศึ ก ษาสภาพการดํ า เนิ น งานแหล ง เรี ย นรู เ พื่ อ การจัด การศึ ก ษาของ
โรงเรียนในอําเภอบานนาสาร จังหวัดสุราษฎรธานี จํานวน 4 ดาน ไดแก
1. ดานการวางแผนการใชแหลงเรียนรู
2. ดานการดําเนินการใชแหลงเรียนรู
3. ดานการประเมินผลการใชแหลงเรียนรู
4. ดานการปรับปรุงพัฒนาการใชแหลงเรียนรู
ผูวิจัยไดจําแนกแหลงเรียนรู เปน 2 ประเภท ไดแก
1. แหลงเรียนรูในโรงเรียน
1.1 หองสมุดโรงเรียน
1.2 หองปฏิบัติการวิทยาศาสตรและหองพิเศษตาง ๆ
1.3 หองคอมพิวเตอรและอินเตอรเน็ต
1.4 แหลงเรียนรูในโรงเรียนอื่น ๆ เชน สวนสมุนไพร โรงฝกงาน
2. แหลงเรียนรูในชุมชน
2.1 แหลงเรียนรูประเภทบุคคล
2.2 แหลงเรียนรูประเภททรัพยากรธรรมชาติ
2.3 แหลงเรียนรูที่มนุษยสรางขึ้น
2.4 แหลงเรียนรูประเภทวัฒนธรรม
ประชากรและกลุมตัวอยาง
ประชากรที่ใชในการวิจัยครั้งนี้ ไดแก ผูบริหารสถานศึกษาและครูโรงเรียนในอําเภอ
บานนาสาร จังหวัดสุราษฎรธานี จํานวน 48 โรง รวม 677 คน เมื่อจําแนกตามขนาดโรงเรียน
ปรากฏวาเปนขนาดใหญ 9 โรง และขนาดเล็ก 39 โรง ประชากรจากโรงเรียนขนาดใหญ 343 คน
เปนผูบริหาร 9 คน ครู 334 คน ประชากรจากโรงเรียนขนาดเล็ก 334 คน เปนผูบริหาร 39 คน
ครู 295 คน ซุมตัวอยางโดยการสุมอยางงาย (Simple Random Sampling) ดวยการจับฉลาก
กลุมตัวอยางที่ใชในการวิจัยครั้งนี้ ไดแก ผูบริหารสถานศึกษาและครูโรงเรียนในอําเภอ
บานนาสาร จังหวัดสุราษฎรธานี จํานวน 248 คน ไดมาโดยใชตารางสําเร็จรูปของเครจซีและ
มอรแกน (Krejecie & Morgan) แลวคํานวณสัดสวนจําแนกตามขนาดโรงเรียนปรากฏวาไดกลุม
ตัวอยางจากโรงเรียนขนาดใหญ 126 คน ประกอบดวยผูบริหาร 9 คน ครู 117 คน เปนกลุม
5

ตัวอยางจากโรงเรียนขนาดเล็ก 122 คน ประกอบดวยผูบริหาร 36 คน ครู 86 คน สุมตัวอยางโดย


การสุมอยางงาย (Simple Random Sampling) ดวยการจับฉลาก
ขอบเขตดานตัวแปร
1. ตัวแปรอิสระ ไดแก ขนาดของโรงเรียนแบงเปน 2 ขนาด
1.1 ขนาดใหญ
1.2 ขนาดเล็ก
2. ตัวแปรตาม ไดแก สภาพการดําเนินงานแหลงเรียนรูเพือ่ การจัดการศึกษา 4 ดาน
2.1 ดานการวางแผนการใชแหลงเรียนรู
2.2 ดานการดําเนินการใชแหลงเรียนรู
2.3 ดานการประเมินผลการใชแหลงเรียนรู
2.4 ดานการปรับปรุงพัฒนาการใชแหลงเรียนรู

กรอบแนวคิดในการวิจัย

ผูวิจัยไดศึกษาแนวคิดของพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พุทธศักราช 2542 และ


แกไขเพิ่มเติม พ.ศ.2545 แนวคิดเรื่องหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 และ
งานวิจัยที่เกี่ยวของตาง ๆ มากําหนดเปนกรอบแนวคิดการวิจัย ดังภาพที่ 1.1

ตัวแปรตาม
ตัวแปรอิสระ
สภาพการดําเนินงานแหลงเรียนรู 4 ดาน
ขนาดของโรงเรียน
1. ดานการวางแผนการใชแหลงเรียนรู
1. ขนาดใหญ
2. ดานการดําเนินการใชแหลงเรียนรู
2. ขนาดเล็ก
3. ดานการประเมินผลการใชแหลงเรียนรู
4. ดานการปรับปรุงพัฒนาการใช แหลงเรียนรู

ภาพที่ 1.1 กรอบแนวคิดในการวิจยั


6

สมมติฐานการวิจัย

โรงเรี ย นในอํ า เภอบ า นนาสาร จั ง หวั ด สุ ร าษฎร ธ านี ที่ มี ข นาดต า งกั น มี ส ภาพการ
ดําเนินงานแหลงเรียนรูเพื่อการจัดการศึกษาแตกตางกัน

นิยามศัพทเฉพาะ

1. แหลงเรียนรู หมายถึง แหลงขอมูลขาวสาร วิทยาการ ความรู ความคิด ทักษะใน


การดํารงชีวิต ซึ่งมีคุณคาตอการศึกษาและสามารถนํามาใชในการจัดการศึกษาใหบรรลุเปาหมาย
ของหลักสูตรได
2. แหลงเรียนรู ในโรงเรีย น หมายถึง สภาพแวดลอมในโรงเรี ยนที่จัดขึ้นเพื่อใหมี
บรรยากาศเอื้อตอการเรียนรูของผูเรียน แบงเปน 4 ประเภท คือหองสมุดโรงเรียน หองปฏิบัติการ
วิทยาศาสตร หองคอมพิวเตอรและอินเตอรเน็ต แหลงเรียนรูในโรงเรียนอื่น ๆ เชน สวนสมุนไพร
สวนพฤกษศาสตร แปลงเกษตร คอกเลี้ยงสัตว โรงฝกงาน โรงเพาะเห็ด หองพิเศษอื่น ๆ เปนตน
3. แหลงเรียนรูในชุมชน หมายถึง ทุกสิ่งทุกอยางที่สามารถใชเปนแหลงวิทยาการเพื่อ
การจัดการศึกษาที่มีอยูในชุมชน แบงเปน 4 ประเภท คือ แหลงเรียนรูประเภทบุคคล แหลงเรียนรู
ประเภททรัพยากรธรรมชาติ แหลงเรียนรูที่มนุษยสรางขึ้น และแหลงเรียนรูประเภทวัฒนธรรม
3.1 แหลงเรียนรูประเภทบุคคล หมายถึง บุคคลที่มีความรูความสามารถในวิชาการ
และวิชาชีพตาง ๆ ในชุมชน เชน พระสงฆ ผูนําศาสนา ผูนําชุมชน ขาราชการ ภูมิปญญาทองถิ่น
เปนตน
3.2 แหลงเรียนรูประเภททรัพยากรธรรมชาติ หมายถึง สิ่งตาง ๆ ที่เกิดขึ้นหรือมีอยู
ตามธรรมชาติ เชน ปาไม ภูเขา แมน้ํา น้ําตก ถ้ํา ทะเล สัตว พืช เปนตน
3.3 แหล ง เรี ย นรู ที่ มนุ ษ ย ส รา งขึ้ น หมายถึ ง สิ่ ง ต า ง ๆ ที่ ม นุ ษ ยส รา งขึ้ น อยา งมี
จุดประสงค เชน วัด ศาสนสถาน โรงเรียน พิพิธภัณฑ สถานประกอบการ หนวยราชการ เปนตน
3.4 แหลงเรียนรูประเภทวัฒนธรรม หมายถึง สิ่งที่สังคมสรางสรรคและดํารงอยูใน
สังคม เชน ขนบธรรมเนียม ประเพณี พิธีกรรม วิถีชีวิต ความเปนอยูของประชาชน ความเชื่อ
เปนตน
4. สภาพการดําเนินงานแหลงเรียนรู หมายถึง ความคิดเห็นของกลุมตัวอยางที่มีตอการ
ดําเนินงานแหลงเรียนรูเพื่อการจัดการศึกษาของโรงเรียนในอําเภอบานนาสาร จังหวัดสุราษฎรธานี
7

4 ดาน คือ ดานการวางแผนการใชแหลงเรียนรู ดานการดําเนินการใชแหลงเรียนรู ดานการ


ประเมินผลการใชแหลงเรียนรู และดานการปรับปรุงพัฒนาการใชแหลงเรียนรู
4.1 การวางแผนการใชแหลงเรียนรู หมายถึง การเตรียมการดานตาง ๆ ในการใช
แหลงเรียนรูเพื่อการจัดการศึกษา เชน การกําหนดนโยบาย เปาหมาย วิเคราะหหลักสูตร จัดทํา
แผนงาน / โครงการ การจัดองคกร การจัดสรรงบประมาณ บุคลากร เปนตน
4.2 การดําเนินการใชแหลงเรียนรู หมายถึง ขั้นตอนการนําแผนงานโครงการการใช
แหล ง เรี ย นเพื่ อ การจั ด การศึ ก ษารู ม าลงมื อ ปฏิ บั ติ รวมถึ ง การเตรี ย มการ การประสานงาน
การดําเนินการใชแหลงเรียนรู การสรุป ประเมินผลเบื้องตน
4.3 การประเมินผลการใชแหลงเรียนรู หมายถึง ขั้นตอนการกํากับติดตาม และ
ประเมินผลการดําเนินงานตามแผนงาน / โครงการที่กําหนดไว
4.4 การปรั บปรุงพัฒนาการใชแหลงเรียนรู หมายถึง การนําผลการประเมิน มา
พิ จ ารณา วิ เ คราะห เพื่ อนํ า ไปปรั บ ปรุ ง การดํ า เนิ น งานแหลง เรี ย นรู เ พื่ อ การจั ด การศึ ก ษาให มี
ประสิทธิภาพยิ่งขึ้น
5. ลักษณะการใชแหลงเรียนรู หมายถึง รูปแบบและกิจกรรมที่นําแหลงเรียนรูทั้งใน
โรงเรียนและนอกโรงเรียนมาประกอบการเรียนการสอนในสาระวิชาตาง ๆ
6. โรงเรียน หมายถึง โรงเรียนที่ตั้งอยูในเขตอําเภอบานนาสาร จังหวัดสุราษฎรธานี
ประกอบดวย โรงเรี ยนสั งกัดเทศบาล 5 โรง สั งกัด สํานักเขตพื้น ที่การศึ กษา เขต 3 จังหวัด
สุราษฎรธานี 40 โรง และสังกัดสํานักงานการศึกษาเอกชน 3 โรง รวม จํานวน 48 โรง
7. โรงเรียนขนาดใหญ หมายถึง โรงเรียนที่ตั้งอยูในเขตอําเภอบานนาสาร จังหวัด
สุราษฎรธานี ที่มีนักเรียนตั้งแต 301 คนขึ้นไป
8. โรงเรียนขนาดเล็ก หมายถึง โรงเรียนที่ตั้งอยูในเขตอําเภอบานนาสาร จังหวัด
สุราษฎรธานี ที่มีนักเรียนไมเกิน 300 คน
บทที่ 2

เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของ

การวิ จั ย เรื่ อง การศึ ก ษาสภาพการดํา เนิ น งานแหล ง เรีย นรู เ พื่ อ การจั ด การศึ ก ษาของ
โรงเรียนในอําเภอบานนาสาร จังหวัดสุราษฎรธานี ผูวิจัยไดศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของ
ดังนี้
1. แนวคิดการจัดการเรียนการสอนโดยเนนผูเรียนสําคัญที่สุด
2. แหลงเรียนรู
3. แหลงเรียนรูในอําเภอบานนาสาร
4. ลักษณะการใชแหลงเรียนรูเพื่อการจัดการศึกษา
5. งานวิจัยที่เกี่ยวของ

แนวคิดการจัดการเรียนการสอนโดยเนนผูเรียนสําคัญที่สดุ

กรมวิชาการ. (2544 : 5) ไดใหความหมายของการจัดการเรียนการสอนที่เนนผูเรียน


สําคัญที่สุดหรือการเรียนรูที่ผูเรียนเปนศูนยกลางวา หมายถึง กระบวนการเรียนที่ผูสอนไดจัดหรือ
ดําเนินการใหสอดคลองกับผูเรียนตามความแตกตางระหวางบุคคล ความสามารถทางสติปญญา
วิธีการเรี ยนรู โดยบูรณาการคุณ ธรรม คานิย มอัน พึงประสงค ใหผูเ รียนไดมีสวนรวมในการ
ปฏิบัติจริง ไดพัฒนากระบวนการคิดวิเคราะห ศึกษา คนควา ทดลอง และแสวงหาความรูดวย
ตนเองตามความถนัด ความสนใจ ดวยวิธีการกระบวนการและจากแหลงการเรียนรูที่หลากหลายที่
เชื่อมโยงกับชีวิตจริงทั้งในและนอกหองเรียน มีการวัดผล ประเมินผลตามสภาพจริง ทําใหผูเรียน
เกิดการเรียนรูไดตามมาตรฐานหลักสูตรที่กําหนด
เดล. (Dale. 1969 : 107 อางถึงใน บรรยงค นีขุนทด. 2546 : 22) กลาววามนุษยจะเรียนรู
ไดดีขึ้น หากการเรียนรูนั้นเกิดจากประสบการณรูปธรรม และการเรียนรูจะนอยลงหากการเรียนรู
นั้นเกิดจากนามธรรม จึงไดจัดลําดับความเขมขนของประสบการณจากกรวยประสบการณ (Con of
Experiences) ดังนี้
1. ประสบการณตรง (Direct Purposeful Experiences) เปนสื่อที่ผานประสาทสัมผัส
ทั้ง 5 ใหผูเรียนไดลงมือทําจริง ไดจับตอง ลูบคลํา ดมกลิ่น จากสภาพความเปนจริง
2. ประสบการณจําลอง (Contrived Experiences) เปนสิ่งที่จําลองขึ้นแทนของจริง
9

3. ประสบการณนาฏการ (Dramatized Experiences) เปนการแสดงละครหรือ


แสดงสถานการณจําลอง
4. การสาธิต (Demonstration) เปนการกระทําหรือแสดงใหดู การสาธิตอาจทําได
โดยครูเปนผูทําใหดู
5. การศึกษานอกสถานที่ (Educational Filed Trip) เปนการออกไปศึกษาแหลง
เรียนรูที่อยูนอกหองเรียน
6. นิทรรศการ (Exhibition) เปนการจัดแสดงสิ่งของตาง ๆ รวมถึงการจัดปาย
นิเทศที่มีจุดมุงหมายใหความรูและสาระแกคนดู
8. โทรทัศนและภาพยนตร (Motion Pictures and Still Pictures) เปนประสบการณ
ที่ผูเรียนไดเรียนรูดวยการเห็น และไดยินเหตุการณเรื่องราวตาง ๆ
9. ภาพนิ่ง วิทยุ และการบันทึกเสียง (Recording Radian and Still Picture) ไดแก
รูปภาพ สไลด ฟลมสตริป แผนเสียง วิทยุ
10. ทัศนสัญลักษณ (Visual Symbols) ไดแก พวกวัสดุกราฟฟคทุกประเภท เชน
แผนภูมิ แผนสถิติ แผนภาพ ภาพโฆษณา แผนที่ การตูน และสัญลักษณตาง ๆ
11. วจนสัญลักษณ (Verbal Symbols) ไดแก คําพูด คําบรรยาย หนังสือหรือ
เอกสารที่ใชตัวอักษร ตัวเลข แทนความหมายของสิ่งตาง ๆ
10

วจนสัญลักษณ

ทัศนสัญลักษณ
ภาพนิ่ง วิทยุ
การบันทึกเสียง
ภาพยนตร โทรทัศน

นิทรรศการ

การศึกษานอกสถานที่

การสาธิต

ประสบการณนาฏกรรม

ประสบการณจําลอง

ประสบการณตรง

ภาพที่ 2.1 กรวยประสบการณ


ที่มา : เดล. (Dale. 1969 : 107 อางถึงใน บรรยงค นีขุนทด. 2546 : 23)

ประเวศ วะสี. (2543 : 9 – 11) อธิบายกระบวนการเรียนรูวาเปนกระบวนการทางปญญา


ประกอบดวย 10 ขั้นตอน คือ
1. การฝกสังเกต
2. การฝกบันทึก
3. การฝกนําเสนอ
4. การฝกฟง
5. การฝกปุจฉา - วิสัชนา
6. การฝกตั้งสมมติฐานและตั้งคําถาม
11

7. การฝกคนหาคําตอบ
8. การวิจัยเพื่อสรางความรู
9. การฝกเชื่อมโยงบูรณาการ
10. การฝกเขียนเรียบเรียง
สุมน อมรวิวัฒน. (2541 : 3) ไดเสนอแนวคิดกระบวนการเรียนการสอนที่เนนผูเรียน
สําคัญที่สุด ดังนี้
1. แกนแทของการเรียนการสอน คือ การเรียนรูของผูเรียน
2. การเรียนรูเกิดขึ้นทุกแหง ทุกเวลา ตอเนื่องยาวนานตลอดชีวิต
3. ศรัทธาเปนจุดเริ่มตนที่ดีที่สุดของการเรียนรู
4. ผูเรียนเรียนรูไดดีจากการสัมผัสและสัมพันธ
5. สาระที่สมดุลซึ่งเกิดขึ้นจากการเรียนรู คือ ความรู ความคิด ความสามารถและ
ความดี
เจนจัด ภักดีไทย. (2548 : 69) ไดกลาวถึงกระบวนการเรียนรูที่ยึดผูเรียนสําคัญที่สุดวา
กระบวนการเรียนรูจะเกิดขึ้นได เมื่อผูเรียนอยูในสภาพแวดลอมที่เอื้ออํานวยตอการสรางสรรคดวย
ตนเอง และไดเห็นผลงานของตนมีความหมาย สรางความพึงพอใจสวนตัวได การจัดกระบวนการ
เรียนรูที่หลากหลาย เชน การจัดสภาพแวดลอมใหเปนแหลงการเรียนรู การจัดกิจกรรมสงเสริม
การเรียนรูตาง ๆ ตองมุงสงเสริมประสิทธิภาพการเรียนรูของผูเรียนเปนสําคัญ
เลขา ปยะอัจฉริยะ. (2542 : 1) ไดใหขอคิดเห็นเรื่องการเรียนรูที่เนนผูเรียนเปนศูนยกลาง
วาเปนกระบวนการเรียนรูที่ครูผูสอนยังมีความสําคัญอยางมาก หรืออาจจะมากกวาเดิมที่เคยเปนอยู
ครูจะตองเปนผูรูจักคิดคน สรางสรรค และจัดสภาวการณที่เอื้ออํานวยและเปดทางเลือกใหม ๆ
ใหแกผูเรียน ใหผูเรียนไดคนหาและรูจักตัวเอง มีสวนรวมกับครูผูสอนและเพื่อน ๆ เรียนรูสิ่งตาง ๆ
ที่จะเปนประโยชนตอพัฒนาการของผูเรียนโดยตรง การมีสวนรวมจะกอใหเกิดแรงจูงใจทําใหเกิด
การเรียนรู และความสามารถที่มีประสิทธิภาพ การมีสวนรวมยังสงเสริมใหผูเรียนรูจักวิธีฟง
จั บ ประเด็ น คิ ด เชื่ อ มโยง สรุ ป พู ด อภิ ป ราย อธิ บ าย ถกเถี ย ง ซั ก ถาม อ า น และคิ ด เพื่ อ
จับประเด็น สรุปหรือยอความ ผูเรียนจะแสดงบทบาทในการสํารวจ สืบคน วิเคราะห วิจารณ
สั ง เคราะห สร า งสรรค ว างแผนการทดลอง ประเมิ น สรุ ป ผล และตั ด สิ น ใจ ผู เ รี ย นที่ ผ า น
กระบวนการเรียนรูดังกลาว จะมีการสะสมบมเพาะทักษะความสามารถ สงผลใหเจริญเติบโตเปน
ผูใหญที่มีความสามารถที่จะเรียนรูในระดับสูงตอไป สามารถนําความรูไปใชในชีวิตประจําวัน
ปรั บ ตั ว เข า กั บ สภาพแวดล อ ม ร ว มทั้ ง สามารถมี ส ว นร ว มอย า งมี คุ ณ ภาพในการเปลี่ ย นแปลง
สิ่งแวดลอมหรือสรางสิ่งแวดลอมใหมได
12

กรมวิชาการ. (2544 : 6) ไดเสนอแนวทางการในการศึกษาคนควาและพิจารณา เลือกใช


รูปแบบหรือวิธีการจัดการเรียนรูที่ยึดผูเรียนเปนสําคัญ ไดตามความเหมาะสม เทคนิค และวิธี
ศึกษาคนควา มีดังนี้
1. การวิเคราะหผูเรียน การรูจักผูเรียนเปนรายบุคคลหรือรายกลุม ชวยใหครูผูสอน
มีขอมูลที่สําคัญในการออกแบบการจัดการเรียนรูที่เหมาะสม หลักการวิเคราะหผูเรียน คํานึงถึง
องคประกอบที่สําคัญ 3 องคประกอบ คือ ธรรมชาติของผูเรียน ประสบการณ และพื้นฐานความรู
เดิมและวิธีการเรียนรูของผูเรียน
2. จิตวิทยาการเรียนรูและบูรณาการ คุณธรรม คานิยมในการจัดกิจกรรมการเรียนรู
3. การวิเคราะหหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน เชื่อมโยงกับการพัฒนาหลักสูตร
และเชื่ อ มโยงบู ร ณาการระหว า งกลุ ม วิ ช า โดยใช ผ ลการเรี ย นรู ที่ กํ า หนดเป น หลั ก และใช
กระบวนการวิจัยเปนสวนหนึ่งของการจัดการเรียนรู เพื่อมุงพัฒนาการเรียนรูของผูเรียน
4. การออกแบบการวั ด และประเมิ น ผลตามสภาพจริ ง โดยใช เ ครื่ อ งมื อ วั ด ที่
หลากหลาย เพื่ อสะทอนภาพให เ ห็น ไดชั ดเจนและแนน อนวาผูเ รี ยนเกิดการเรีย นรูด านตาง ๆ
อยางไร ทําใหไดขอมูลของผูเรียนรอบดานที่สอดคลองกับความเปนจริง เพื่อใชประกอบการ
ตัดสินผูเรียนไดอยางถูกตองและมีประสิทธิภาพ
สรุปไดวา การจัดการเรียนการสอนโดยใหนักเรียนออกไปศึกษาหาความรูจากแหลง
วิทยาการในชุมชน เปนการสงเสริมใหนักเรียนไดรับประสบการณตรง และไดสัมผัสของจริง
นอกจากนั้นความรูในบางสาระวิชา บุคคลภายนอกหรือวิทยากรทองถิ่น สามารถใหความรูกับ
นักเรียนไดดีกวาการเรียนในโรงเรียนเสียอีก และการจัดการเรียนรูที่เนนผูเรียนเปนสําคัญจะเกิดขึน้ ได
ก็ตองอาศัยความรวมมือจากหลายฝาย พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ.2542 แกไขเพิ่มเติม
พ.ศ.2545 ไดกําหนดใหสถานศึกษาตองประสานความรวมมือกับบิดามารดา ผูปกครองและบุคคล
ในชุมชนทุกฝาย เพื่อรวมกันพัฒนาผูเรียนตามศักยภาพ สถานศึกษาและผูเกี่ยวของตองรวมมือกัน
สงเสริมและสนับสนุนครูผูสอน จัดบรรยากาศสภาพแวดลอม สื่อการเรียนการสอนและเอื้ออํานวย
ความสะดวกตาง ๆ ใหผูเรียนเกิดการเรียนรู ครูและนักเรียนที่อยูในกระบวนการเรียนรู จึงควรมี
บทบาท ดังนี้ (กรมวิชาการ. 2544 : 7)
บทบาทของครู
1. พัฒนาตนเองอยูเสมอ โดยการศึกษาคนควาวิจัยใหมีความรูความสามารถในการ
จัดการเรียนรู
2. ออกแบบการจัดการเรียนรูโดยยึดผูเรียนเปนหลัก
13

3. จัดการเรียนรูโดยใชกระบวนการวิจัย เพื่อการพัฒนาและปรับปรุงการจัดการ
เรียนการสอนของตน
4. สรางบรรยากาศและสภาพแวดลอมที่เอื้อตอการเรียนรู โดยยึดหลักวาทุกสถานที่
ทุกแหง เปนแหลงเรียนรูและทุกสิ่งที่พบลวนเปนสื่อการเรียนรู
5. ใหอิสระแกผูเรียนในการแสวงหาความรู ความคิดดวยการลงมือปฏิบัติจริง
6. ใหคําปรึกษา แนะนํา เสริมแรงและเปนตัวแบบที่ดี เพื่อใหผูเรียนเกิดการเรียนรู
ยอมรับและพัฒนาตนเองไปสูการเปนบุคคลแหงการเรียนรู
บทบาทของครูดังกลาวขางตนสอดคลองกับการศึกษาของโรมาย (Romine. 1990 : 134)
ที่ศึ ก ษาความคิ ด เห็ น เกี่ ย วกั บ บรรยากาศการเรี ย นการสอนระดั บ มหาวิ ท ยาลั ย พบว า การจั ด
สภาพแวดล อ มเกี่ ย วกั บ การเรี ย นการสอนที่ จ ะช ว ยให เ กิ ด การเรี ย นรู ดี ยิ่ ง ขึ้ น ผู ส อนควรสร า ง
สภาพแวดลอม ดังนี้
1. ดานบุคลิกภาคของผูสอน ตองเปนคนกระฉับกระเฉง มีอารมณขัน สนใจใน
วิชาที่ตนสอน ใหความจริงใจและเปนกันเองกับผูเรียน
2. ดานการเตรียมการสอน มีการเตรียมการสอนเปนอยางดี ชี้แจงใหผูเรียนทราบ
ถึงวัตถุประสงคในวิชาที่เรียน จัดหาอุปกรณและเครื่องอํานวยประโยชน รวมทั้งแนะนําหนังสือ
อางอิงตาง ๆ
3. ดานผลการสอนที่ผูเรียนไดรับ ผูเรียนตองไดรับประโยชนสมความตั้งใจ จาก
วิชาที่ผูเรียนเลือก ผูเรียนมีสวนรวมในกระบวนการเรียนและลงมือปฏิบัติไดดวยตนเอง
4. ดานการเสนอเนื้อหา พูดหรืออธิบายชัดเจน ใชถอยคํากระตุนใหผูเรียนคิด ใช
วิธีการสอนแบบตาง ๆ ที่ทําใหผูเรียนเขาใจเนื้อหา
5. ดานการประเมินผล การนําขอมูลยอนกลับมาเสริมแรงการเรียน เชน ผลการ
สอบตองแจงใหทราบทันที
บทบาทของนักเรียน
1. มีสวนรวมในกิจกรรมการเรียนรูโดยการศึกษาคนควา คิดวิเคราะห ลงมือปฏิบัติ
และสรุปองคความรูดวยตนเอง
2. มีอิสรภาพในการเรียนรูสิ่งที่ตนสนใจ และไดรับการสงเสริมใหพัฒนาเต็มตาม
ศักยภาพ
3. แสดงออกถึงการเกิดพฤติกรรมการเรียนรู (5 ส) ไดแก สติปญญา - ความรู
ความคิด - ความสนใจ - กระตือรือรนและตั้งใจเรียน การสืบเสาะคนหาขอมูลหรือความรู การ
14

นําเสนอ - ถายทอดความรูที่ไดรับใหผูอื่นเขาใจ การสรางสรรคบูรณาการและประยุกตความรูที่


ไดรับไปใชในชีวิตจริง หรือสถานการณใหมตามความเหมาะสม
กิติยวดี บุญซื่อ และคณะ. (2541 : 9) ไดวางหลักการสอนใหผูเรียน เรียนรูอยางมีความสุข
วา องคประกอบของการเรียนรูอยางมีความสุขประกอบดวย
1. เด็กแตละคนไดรับการยอมรับวาเปนมนุษยคนหนึ่งที่มหี ัวใจและสมอง
2. ครูใหความเมตตา จริงใจและออนโยนตอเด็กทุกคนโดยทั่วถึง
3. เด็กเกิดความรักและภูมิใจในตนเอง รูจักปรับตัวไดทกุ ทีท่ ุกเวลา
4. เด็กแตละคนไดมีโอกาสเลือกเรียนตามความถนัด และความสนใจของตนเอง
5. สิ่งที่เรียนรูสามารถนําไปใชในชีวิตประจําวัน
กิจกรรมที่กอใหเกิดการเรียนรูอยางมีความสุข ไดแก
1. บทเรียนเริ่มจากงายไปหายากและมีความตอเนื่อง
2. วิธีการเรียนสนุก จูงใจและไมกดดัน
3. พัฒนาและสงเสริมการคิด
4. สัมพันธกับธรรมชาติ
5. กิจกรรมหลากหลายสําหรับทุกคน
6. สื่อการสอนเราใจและตรงตามเปาหมายทีก่ าํ หนดไวชัดเจน
7. ประเมินพัฒนาการของเด็กโดยรวม ไมเนนแตดานวิชาการ
การจัดการเรียนการสอนที่เนนผูเรียนเปนสําคัญ มีรากฐานมาจากปรัชญาการศึกษาและ
ทฤษฎีการเรียนรูตาง ๆ ที่ไดพัฒนามาอยางตอเนื่องยาวนาน บนพื้นฐานความเชื่อที่วา “ผูเรียน
ทุกคนมีความสามารถเรียนรูและพัฒนาตนเองได การพัฒนาผูเรียน จึงตองใหเปนไปตามธรรมชาติ
และเต็มตามศักยภาพ” การจัดการเรียนการสอนที่เนนผูเรียนเปนสําคัญ จึงเปนกระบวนการที่
สามารถสร า งและพั ฒ นาผู เ รี ย น ให เ กิ ด คุ ณ ลั ก ษณะที่ ต อ งการและเป น การให ค วามสํ า คั ญ ต อ
ความสามารถ ความถนัด ความสนใจของผูเรียนโดยตรง การเรียนรูจึงมุงใหผูเรียนรูจักตัวเองได
อย า งเต็ ม ที่ กิ จ กรรมส ง เสริ ม การเรี ย นรู จึ ง ควรจั ด ให มี ค วามหลากหลาย โดยเฉพาะการจั ด
สภาพแวดลอมใหเปนแหลงเรียนรู และการนําแหลงเรียนรูที่มีอยูแลวในชุมชนมาประกอบการ
จัดการเรียนการสอน เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการเรียนรู แหลงเรียนรูจึงมีความสําคัญเพราะเปน
แหลงฝกทักษะตาง ๆ ชวยสรางองคความรูและการมีปฏิสัมพันธ การจัดการเรียนรูโดยเนนผูเรียน
เปนสําคัญจะประสบความสําเร็จได บุคคลที่เกี่ยวของทุกฝาย ชุมชน สังคม องคกรตาง ๆ ทั้ง
ภาครัฐ เอกชนและสื่อมวลชน จะตองเขามามีสวนรวมในการคิด ดําเนินการ จัดการ ผลักดัน
สนับสนุน และตรวจสอบใหเปนไปตามจุดมุงหมายของหลักสูตรที่กําหนดไว
15

แหลงเรียนรู

ความหมายของแหลงเรียนรู
หนวยศึกษานิเทศก กรมสามัญศึกษา. (2544 : 6) ไดใหความหมายของแหลงเรียนรูไววา
แหลงเรียนรูหมายถึง แหลงขอมูลขาวสาร สารสนเทศ ความรูทางวิทยาการ และประสบการณที่
สนับสนุน สงเสริมใหผูเรียนใฝรู ใฝเรียนและเรียนรูดวยตนเองตามอัธยาศัยอยางกวางขวางและ
ตอเนื่องจากแหลงตาง ๆ เพื่อเสริมสรางใหผูเรียนเกิดกระบวนการเรียนรูและเปนบุคคลแหงการ
เรียนรู
สุวิทย มูลคํา และอรทัย มูลคํา. (2545 : 107) ใหความหมายของแหลงเรียนรูในชุมชนวา
หมายถึง
1. สถาบันของชุมชนที่มีอยูแลวในวิถีชีวิตและการทํามาหากินในชุมชน เชน วัด
โบสถ วิหาร ตลาด รานขายของชํา ลานนวดขางปา หวย หนอง บึง เก็บเห็ด หาปลา เปนตน
2. สถานที่หรือสถาบันที่รัฐหรือประชาชนจัดตั้งขึ้น เชน อุทยานการศึกษาในวัด
และชุมชน อุทยานประวัติศาสตร อุทยานแหงชาติทางทะเล ศูนยวัฒนธรรม ศูนยศีลปาชีพ ศูนย
เยาวชน ศูน ย หั ตถกรรมชุ มชน หอสมุด หองสมุ ดประชาชน พิพิ ธภัณ ฑท องถิ่น พิพิ ธภั ณ ฑ
พื้นบานเกี่ยวกับสัตว พืช ดิน หิน แร เปนตน
3. สื่ อ เทคโนโลยี ที่ มี อ ยู ใ นโรงเรี ย นและชุ ม ชน เช น วี ดี ทั ศ น ภาพสไลด
โปรแกรมสําเร็จรูปภาพยนตร หุน หรือโมเดลจําลอง ของจริง เปนตน
4. สื่อเอกสารสิ่งพิมพตาง ๆ ที่มีอยูในโรงเรียนและชุมชน เชน หนังสือสารานุกรม
วารสาร ตํารายาพื้นบาน ภาพจิตรกรรมฝาผนัง ภาพถาย เปนตน
5. บุคคลที่มีความรูดานตาง ๆ ในชุมชน เชน ผูนําทางศาสนา เกษตรกร ศิลปน
หมอพื้นบาน ผูนําชุมชน ปราชญชาวบาน เปนตน
ภาษิต สุโพธิ์. (2547 : 10) ใหความหมายของแหลงเรียนรูวา หมายถึง สิ่งแวดลอมตาง ๆ
ที่สามารถนํามาจัดประสบการณใหกับผูเรียน สามารถทําใหเกิดการเรียนรูได ทั้งที่พบในโรงเรียน
และนอกโรงเรียน ไดแก สิ่งแวดลอมทางธรรมชาติ เชน ตนไม นก ผีเสื้อ ปาไม ภูเขา แมน้ํา
ลําคลอง หวย หนอง ฯลฯ และสิ่งแวดลอมที่มนุษยสรางขึ้น เชน หองสมุด ศูนยวิทยบริการ
สวนหนังสือ ปายนิเทศ ผูนําชุมชน ภูมิปญญาทองถิ่น ขนบธรรมเนียมประเพณี อาชีพ เปนตน
เจนจัด ภักดีไทย. (2548 : 11) ไดใหความหมายของแหลงการเรียนรูไววา คือ แหลงขอมูล
ขา วสารวิ ท ยาการที่ใ ห ค วามรู ความคิ ด และทั ก ษะการดํา รงชี วิต ในสั ง คม ทั้ งแหลง เรี ย นรู ใ น
16

โรงเรียนและในชุมชน แหลงการเรียนรูนี้สามารถจัดใหเปนหนวยพัฒนากระบวนการการเรียนรูที่
ผูเรียนสําคัญที่สุด และสงเสริมใหบุคคลเปนบุคคลแหงการเรียนรูไดอยางสมบูรณ
โอเซน. (Olsen. 1960 : 73) ให ค วามหมายของแหล ง เรี ย นรู ว า เป น ทรั พ ยากรที่
ประกอบดวยสิ่งที่เกี่ยวของกับการศึกษาทั้งหมด รวมทั้งประสบการณ อาจไดรับจากชุมชนใด
ชุมชนหนึ่ง หรือหลายชุมชนที่แวดลอมโรงเรียน สวนประกอบดังกลาว ไดแก ไรนา โรงงาน
อุตสาหกรรม กลุมชุมชน องคการ สถาบันตาง ๆ สถานที่ สิ่งตาง ๆ และกิจกรรมทั้งหลายที่
นํามาใชในการศึกษาของนักเรียน สถานที่ที่มนุษยสรางขึ้น สิ่งที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติและ
กิจกรรมประเพณี ตลอดจนความเชื่อที่จัดขึ้นในชุมชน ตลอดทั้งโครงสรางและกระบวนการของ
สังคมและแนวโนมการเปลี่ยนแปลงของสังคม
จากความหมายของแหลงเรียนรูที่นักการศึกษา นักวิชาการทั้งหลายไดใหความหมายไว
สามารถสรุปไดวา แหลงเรียนรู หมายถึง ทุกสิ่งทุกอยางที่มีอยูในโรงเรียนและในชุมชนที่มีคุณคา
และเปนประโยชนตอการจัดการศึกษา ไมวาจะเปนหองปฏิบัติการ อาคารสถานที่ สนามกีฬา
แปลงเกษตร บุคคล สภาพแวดลอม องคกร ทรัพยากรธรรมชาติ องคความรูภูมิปญญาทองถิ่น
ขนบธรรมเนียมประเพณี วิถีชีวิตที่สามารถนํามาใชในการจัดการศึกษา เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการ
เรียนรูใหกับผูเรียนใหเกิดการพัฒนาในทุกดาน ๆ
ความสําคัญของแหลงเรียนรู
พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พุทธศักราช 2542 ฉบับแกไขเพิ่มเติม พุทธศักราช
2545 หมวด 4 มาตรา 22 กําหนดวา การจัดการศึกษาตองยึดหลักวาผูเรียนทุกคนมีความสามารถ
เรียนรู และพัฒนาตนเองได และถือวาผูเรียนมีความสําคัญสูงสุด กระบวนการจัดการศึกษาตอง
สงเสริมใหผูเรียนสามารถพัฒนาตามธรรมชาติและเต็มตามศักยภาพ มาตรา 25 กลาววา รัฐตอง
สงเสริมการดําเนินงานและการจัดตั้งแหลงเรียนรูตลอดชีวิตทุกรูปแบบ ไดแก หองสมุดประชาชน
พิพิธภัณฑ หอศิลป สวนสัตว สวนสาธารณะ สวนพฤกษศาสตร อุทยานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
ศูนยการกีฬาและนันทนาการ แหลงขอมูลและแหลงการเรียนรูอื่น ๆ อยางเพียงพอและมีประสิทธิภาพ
ในมาตรา 24 กําหนดวา การจัดกระบวนการเรียนรู ใหสถานศึกษาและหนวยงานที่เกี่ยวของ
ดําเนินการจัดกิจกรรมใหผูเรียนไดเรียนรูจากประสบการณจริง ฝกปฏิบัติใหทําได คิดเปน ทําเปน
รักการอานและเกิดการใฝรูอยางตอเนื่อง สงเสริมสนับสนุนใหผูสอนจัดบรรยากาศ สภาพแวดลอม
สื่อการเรียน และอํานวยความสะดวกเพื่อใหผูเรียนเกิดการเรียนรูและมีความรอบรู นอกจากนี้ใน
มาตรา 57 ยังกําหนดวา ใหหนวยงานทางการศึกษาระดมทรัพยากรบุคคลในชุมชนใหมีสวนรวม
ในการจัดการศึกษา นําประสบการณ ความรู ความชํานาญ และภูมิปญญาทองถิ่นของบุคคล
17

ดังกลาวมาใช เพื่อใหเกิดประโยชนทางการศึกษา และยกยองเชิดชูผูที่สงเสริมและสนับสนุนการ


จัดการศึกษา (สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาแหงชาติ. 2546 : 2, 18)
จากขอความในพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติขางตนจะเห็นไดวา รัฐใหความสําคัญ
กับการใชแหลงเรียนรูประเภทตาง ๆ ในการจัดการศึกษาเปนอยางมาก
เจนจัด ภักดีไทย. (2548 : 10) ไดกลาวถึงความสําคัญของแหลงเรียนรูไวโดยสรุปวา
แหลงเรียนรูเปนแหลงที่มุงใหผูเรียนรักการเรียนรูและแสวงหาความรูไดดวยตนเอง ลักษณะของ
แหลงเรียนรูจึงเปนการศึกษาตามอัธยาศัย แหลงการเรียนรูตลอดชีวิต แหลงปลูกฝงนิสัยรักการอาน
การศึกษาคนควาหาความรูดวยตนเอง แหลงสรางเสริมประสบการณภาคปฏิบัติ และแหลงสราง
เสริมความรู ความคิด วิทยาการและประสบการณ โรงเรียนจึงควรจัดสภาพแวดลอมใหเปนแหลง
การเรียนรูอยางหลากหลาย มีคุณภาพและตองสงเสริมใหนักเรียนใชแหลงเรียนรูใหคุมคา และ
ไดรับประโยชนจากแหลงเรียนรูตาง ๆ ใหมากที่สุด
สุวิทย มูลคํา และอรทัย มูลคํา. (2545 : 108) อธิบายหลักการพื้นฐานและวัตถุประสงค
ของการจัดแหลงเรียนรู ดังนี้
หลักการพื้นฐานของการใชแหลงเรียนรูในการเรียนมี 4 ประการ คือ
1. การเรียนรูเกิดขึ้นไดกับทุกคนในทุกสถานที่ทุกเวลา
2. แหลงเรียนรูของชุมชนมีอยูมากมายทั้งที่เปนองคกรจัดตั้งสถาบัน ชุมชน วิถีชีวิต
การทํามาหากิน ประเพณี พิธีกรรมและสิ่งแวดลมอธรรมชาติ
3. การเรียนรูที่ดี เกิดขึ้นจากการที่ทุกฝายสรางเครือขายเชื่อมโยงประสบการณให
เกิดสังคมการเรียนรูและสังคมคุณธรรม
4. การเรียนรูจากแหลงเรียนรูชุมชนและธรรมชาติ เปนกระบวนการเรียนรูที่มี
ความสุข สรางสรรคความคิดและประสบการณชีวิตที่มีคุณคา
วัตถุประสงคของการใชแหลงเรียนรูในการเรียนมี 6 ประการคือ
1. เพื่อฝกทักษะกระบวนการตาง ๆ ใหกับนักเรียน
2. เพื่อสงเสริมใหผูเรียน ไดเรียนรูสภาพความเปนจริงจากแหลงเรียนรูในชุมชน
และธรรมชาติ ทําใหเกิดความรู ความเขาใจ เจตคติที่ดีตอแหลงเรียนรูตาง ๆ
3. เพื่อสงเสริมใหผูเรียนเชื่อมโยงสิ่งที่ไดเรียนรูกับวิถีชีวิตจริง
4. เพื่อเชื่อมโยงความสัมพันธอยางใกลชิดระหวางโรงเรียนกับชุมชน
5. เพื่อปลูกฝงใหผูเรียนรูจักและรักทองถิ่น มองเห็นคุณคาและปญหาของชุมชน
ตนเอง และพรอมที่จะเปนสมาชิกที่ดี ตลอดจนการมองเห็นคุณคาและอนุรักษธรรมชาติ
18

จากความสําคัญของแหลงเรียนรูทั้งในและนอกโรงเรียน ที่มีตอการจัดการศึกษาดังกลาว
ขางตน พอสรุปไดวาเปนหนาที่ของสถานศึกษาและชุมชนที่จะตองรวมมือกันสํารวจ แสวงหา
จัดหา จัดสรางแหลงเรียนรูขึ้นอยางหลากหลายเพื่อใชประกอบการจัดการศึกษาใหมีคุณภาพ และมี
ประสิทธิภาพประสิทธิผลสูงสุด ตามแนวทางปฏิรูปการศึกษาที่เนนผูเรียนสําคัญที่สุด เพื่อใหได
ผลผลิตสุดทายคือผูเรียนที่มีคุณภาพและมีความสุข
ประโยชนของแหลงเรียนรูในการจัดการศึกษา
ได มี ก ารศึ ก ษาวิ จัย ถึ งประโยชนข องการนํา แหล ง เรีย นรู ม าใช เพื่ อ การจั ด การศึ ก ษา
มากมาย ซึ่งผลการวิจัยชี้ใหเห็นวา การจัดการศึกษาโดยใชแหลงเรียนในโรงเรียน และแหลงเรียนรู
ในชุ มชนประกอบการจั ดการศึก ษา มี ผลทํา ใหการจัด การเรียนการสอนมีประสิทธิ ภ าพยิ่งขึ้น
ผูเรียนไดรับความรูและประสบการณแปลกใหมที่ไมสามารถหาได จากการเรียนในชั้นเรียนเพียง
อยางเดียว การที่ผูเรียนไดรับประสบการณตรงดวยตนเอง ทําใหสามารถเขาใจและจดจําเนื้อหาการ
เรียนไดดี อีกทั้งยังเปนการเพิ่มพูนทักษะการเรียนรูดานตาง ๆ ที่หลากหลาย และสรางความ
สนุก สนานเพลิ ด เพลิ น ในการเรีย นรู ส งผลให ผูเ รีย นมีผ ลสัมฤทธิ์ท างการเรีย นดีขึ้น ตัว อย า ง
การวิจัยดังตอไปนี้
บาเกอร. (Baker. 1979 : 3384 อางถึงใน จริยา ลือชัย : 2546) ไดทําการวิจัยเรื่อง The Effects
of Community Resources Base Law Cubiculum Upon the Attitudes and Knowledge of Senior
School Social Studies Students โดยมีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาความสัมพันธระหวางชุมชน ที่มี
อิทธิพลตอหลักสูตรวิชากฎหมาย ทัศนคติและความรูของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย ที่เรียน
วิชากฎหมายและระบบการเมืองการปกครอง 1 ภาคเรียน ผลการวิจัยพบวา
1. นักเรียนมีความรูเพิ่มขึ้น ซึ่งเปนผลจากการที่นักเรียนเขาไปใชแหลงเรียนรูเปน
พื้นฐานในการเรียนวิชากฎหมาย
2. การเรียนโดยวิธีปฏิบัติจริงทําใหนักเรียนมีความรู ความเขาใจดานกฎหมาย
ทั่วไปและรัฐธรรมนูญดีขึ้น
3. การที่ นั ก เรี ย นไดมีส ว นรว มกับ ชุมชน จะทํ า ใหไ ดรับ ความรู เ กี่ย วกับชุม ชน
ของเขา เกี่ยวกับกฎหมายและสิ่งแวดลอมทางการเมือง การปกครองมากขึ้นและละเอียดออนขึ้น
เฟอรกูสัน. (Ferguson. 1997 : 32) ไดวิจัยเรื่อง การศึกษาของเด็กในชนบทของรัฐ
เนบราสกา ในการศึกษาดังกลาวจะมีทั้งโปรแกรมการพัฒนาภูมิปญญาและความคิดสรางสรรค
สําหรับกลวิธีที่ใชในการพัฒนาภูมิปญญาที่อยูในรูปของการผสมผสาน ระหวางวิธีระดมสมอง
ระดับชุมชนกับการเสริมแรงดานความคิดสรางสรรค โดยการนําเด็กออกไปหาประสบการณนอก
สถานที่ พบกับผูประกอบอาชีพระดับทองถิ่น พบกับวิทยากรผูทรงคุณวุฒิของชุมชน เพื่อใหเด็ก
19

เกิดแนวคิดแปลก ๆ ใหม ๆ และกาวไกลดานภูมิปญญา หลังจากการทดลองดั งกลาวรวม 5


สัปดาห แลวทําการประเมินผลการศึกษา พบวา เด็กสามารถนําภูมิปญญาทองถิ่นมาผสมผสานเขา
กับความคิดของตนเองไดดีกวาการศึกษาอยูภายในโรงเรียน ซึ่งสอดคลองกับ ลาเวย (Lawey. 1998
: 17) ซึ่งไดศึกษาวิจัยเรื่องการพัฒนาสังคมในทองถิ่น ผลการวิจัยพบวา การใหความสําคัญกับ
ทองถิ่นโดยดึงเอาภูมิปญญาระดับทองถิ่นที่มีความรูในศาสตรสาขาวิชาตาง ๆ เขามาสูโรงเรียน
จะชวยใหการจัดการเรียนการสอน มีการแลกเปลี่ยนประสบการณการพัฒนาระหวางชุมชนและ
โรงเรียน 3 แนวทาง คือ 1) การใชพื้นที่ชุมชนเปนเครื่องมือในการศึกษาคนควา 2) องคกรใน
ระดับทองถิ่นมีสวนรวมในการจัดการศึกษา 3) ชุมชน ผูปกครองมีสวนรวมในการจัดศึกษา
เดสตา. (Desta. 1976 : 6439 - 6440) ไดวิจัยเรื่องการสํารวจการใชประโยชนจากแหลง
เรียนรูชุมชนในโรงเรียนประถมศึกษาของประเทศเอธิโอเปย เพื่อใหสอดคลองกับการจัดการศึกษา
ขั้นพื้นฐาน โดยมีวัตถุประสงค เพื่อประเมินผลสภาพการณที่จําเปนในการใชแหลงการเรียนรู
ชุมชนในโรงเรียนประถมศึกษา ซึ่งจะเปนแนวทางและวิธีการที่จะใชทรัพยากรใหคุมคา เปนการ
กระตุนและเสริมประสบการณการเรียน โดยเสนอแนวทางการใชทรัพยากรและเสนอวิธีการให
โรงเรีย นและชุ มชนสามารถทํางานร วมกัน ในการชว ยเหลือใหเ ด็ก เปน สมาชิกที่ดี ของชุมชน
ขณะเดียวกันก็มีความรู ทักษะทัศนคติที่ดีและมีคุณคา ผลการวิจัยสรุปไดวา การใชแหลงเรียนรูใน
ชุมชนจะชวยลดปญหาการขาดวัสดุอุปกรณ และกระตุนการเรียนการสอนไดเปนอยางดี หลักสูตร
ในโรงเรียนควรจะมีความสอดคลองกับธรรมชาติของการเรียนรู ซึ่งตองอาศัยประสบการณของครู
ดวย
กิลเบอรทสัน. (Gilbertson. 1991 : 4018 - A) ไดวิจัยผลของการจัดการเรียนการสอน
นอกหองเรียนที่มีตอความรูและทัศนคติของนักเรียนดานสิ่งแวดลอม เพื่อศึกษาและเปรียบเทียบ
ความรูและทัศนคติของนักเรียนในดานสิ่งแวดลอมระหวางกลุมควบคุมที่เรียน ในหองเรียนและ
กลุมทดลอง หลังการทดลองผูวิจัยไดทําการทดสอบวัดความรูดานหลักการทางนิเวศวิทยา และ
สิ่งแวดล อมของนั ก เรีย น ผลการวิจั ย พบวา 1) กลุมทดลองมีความรูความเข าใจมากกว า กลุม
ควบคุม 2) นักเรียนมีความเขาใจในเรื่องสิ่งแวดลอมมากกวาหลักการทางนิเวศวิทยา
ศรีสกุล วิบูลยวงศรี. (2544 : บทคัดยอ) ไดวิจัยเรื่อง การศึกษาผลของการเรียนรูของ
นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 ที่สอนโดยใชแหลงทรัพยากรชุมชนกับการสอนปกติ พบวา นักเรียน
ในกลุมทดลองที่สอนโดยใชแหลงทรัพยากรชุมชน มีผลการเรียนรูสูงกวานักเรียนในกลุมควบคุมที่
สอนปกติ และนักเรียนกลุมทดลองมีความคิดเห็นที่ดีตอการนําแหลงทรัพยากรชุมชนมาใชในการ
เรียนการสอน
20

วิโรจน วัฒนานิมิตกูล. (2540 : บทคัดยอ) ไดวิจัยเรื่องการพัฒนารูปแบบการสอนโดยใช


สาระอิงบริบท เพื่อสงเสริมความใฝรูของนักเรียนระดับประถมศึกษา โดยนําเนื้อหาสําคัญของกลุม
สรางเสริมประสบการณชีวิต ชั้นประถมศึกษาปที่ 6 หนวยที่ 2 ชีวิตในบาน และหนวยที่ 3 สิ่งที่
อยู ร อบตั ว เรามาทํ า เปน สาระอิ ง บริบ ท และนํ า ไปทดลองสอนนัก เรี ย นชั้น ประถมศึก ษาปที่ 6
เพื่อประเมินประสิทธิภาพของรูปแบบการสอน ผลปรากฏวาหลังการทดลองนักเรียนกลุมทดลอง
ไดคะแนนเฉลี่ยดานทักษะการแสวงหาความรู และคะแนนเฉลี่ยดานเจตคติตอการแสวงหาความรู
สูงกวากลุมควบคุมอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 พบวา นักเรียนที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
สูง กลางและต่ํา เมื่อไดรับการสอนดวยรูปแบบนี้ตางก็มีคะแนนเฉลี่ยทางดานการเรียน กลุมสราง
เสริมประสบการณชีวิตและทักษะ เจตคติตอการแสวงหาความรู สูงกวานักเรียนที่มีผลสัมฤทธิ์
ระดับเดียวกันที่ไดรับการสอนแบบปกติ อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05
ภาษิต สุโพธิ์. (2547 : บทคัดยอ) ไดวิจัยเรื่อง การใชแหลงเรียนรูธรรมชาติบริเวณ
โรงเรียนในการพัฒนาการเรียนรูเกี่ยวกับการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม เพื่อศึกษา
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ความพึงพอใจตอกิจกรรมในชุดปฏิบัติการสิ่งแวดลอม และความคงทน
ในการเรียนรู หลังจากการใชชุดบทปฏิบัติการสิ่งแวดลอมจากแหลงเรียนรูธรรมชาติในบริเวณ
โรงเรียน เครื่องมือวิจัย คือ แผนจัดการเรียนรู ชุดบทปฏิบัติสิ่งแวดลอมที่พัฒนาจากแหลงเรียนรู
ในบริเวณโรงเรียน ประกอบดวย 8 กิจกรรม คือ สิ่งตาง ๆ รอบตัวเรา ตนกําเนิดสายใยชีวิต เห็ด
ผูยอยสลาย การปรับตัวของปลาดุก ชีวิตนกในธรรมชาติ ระบบนิเวศนาขาวรกรางไมวางเปลา
ประโยชนและธรรมชาติส วยดว ยมือเรา ผลการวิจัย พบวา 1) หลังจาการใชชุ ด บทปฏิบัติ ก าร
สิ่ ง แวดล อ ม นั ก เรี ย นมี ผ ลสั ม ฤทธิ์ ท างการเรี ย นสู ง ขึ้ น อย า งมี นั ย สํ า คั ญ ทางสถิ ติ ที่ ร ะดั บ .05
2) นักเรียนมีความพึงพอใจตอกิจกรรมโดยภาพรวมอยูในระดับมาก 3) ภายหลังการใชชุดบท
ปฏิบัติการสิ่งแวดลอมผานไป 2 สัปดาห นักเรียนมีความคงทนในการเรียนรู โดยมีแนวโนมของ
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้น อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05
สุรศักดิ์ ปะตังถาโต. (2543 : บทคัดยอ) ไดวิจัยเรื่อง การพัฒนารูปแบบการสอนโดยใช
ภู มิ ป ญ ญาท อ งถิ่ น เพื่ อ พั ฒ นาผลสั ม ฤทธิ์ ท างการเรี ย นกลุ ม สร า งเสริ ม ประสบการณ ชี วิ ต
(สังคมศึกษา) สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 6 พบวา นักเรียนที่ไดรับการสอนโดยใช
ภูมิปญญาทองถิ่นมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงกวาเกณฑที่กําหนดไว คือ รอยละ 70
จากการศึกษาวิจัยขางตนสรุปไดวา การจัดสภาพแวดลอมแหลงเรียนรูในโรงเรียนใหมี
คุณภาพ และการใชแหลงเรียนรูในชุมชนในการจัดการเรียนการสอน มีความสําคัญอยางยิ่งตอการ
พัฒนาคุณภาพของผูเรียน โดยเฉพาะการเพิ่มประสิทธิภาพการเรียนรูของผูเรียน ตามแนวทางการจัด
การศึกษาที่เนนผูเรียนสําคัญที่สุด ดังนั้น จึงควรมีการศึกษา สํารวจถึงสภาพการใชแหลงเรียนรูใน
21

การจัดการศึกษาเพื่อที่จะหาแนวทางสนับสนุนสงเสริม และพัฒนา การใชแหลงเรียนรูในการจัด


การศึ ก ษาให มีป ระสิ ทธิภ าพประสิทธิ ผลสูงสุด นอกจากนั้น ยั ง จะเปน การกระตุ น ให เ กิ ด ความ
ตระหนั ก การตื่ น ตั ว และเห็ น ถึ ง ความสํ า คั ญ ของแหล ง เรี ย นรู ที่ มี ต อ การจั ด การศึ ก ษา ในหมู
ประชาชน ซึ่งก็จะทําใหเกิดการระดมทรัพยากรตลอดจนวิทยากรภูมิปญญาทองถิ่น เพื่อสราง
ผลลัพธสุดทาย คือ ผูเรียนที่ เกง ดี และมีความสุข อันจะเปนกําลังสําคัญของชาติตอไปในอนาคต
ซึ่งจะเปนจริงไดก็ตอเมื่อที่ฝายที่เกี่ยวของ ไมวาจะเปน รัฐ สถานศึกษา ผูปกครอง เห็นความสําคัญ
ของแหลงเรียนรูว าเปนเสมือนขุมทรัพยแหงภูมิปญญาของการศึกษา เมื่อถึงเวลานั้นโฉมหนา
การศึกษาไทยยอมเปลี่ยนแปลงไปในทางที่พัฒนาขึ้นจากเดิมอยางแนนอน
ประเภทของแหลงเรียนรู
หนวยศึกษานิเทศก กรมสามัญศึกษา เขตการศึกษา 7. (2544 : 11) ไดจําแนกประเภท
ของแหลงเรียนรูไว 3 ประเภท ดังนี้
1. แหลงเรียนรูทางกายภาพ หมายถึง สถานที่และสิ่งแวดลอมภายในโรงเรียนที่
ชวยใหบรรยากาศเกิดความรมรื่นสวยงาม ความเปนธรรมชาติทําใหเกิดความราเริง สดชื่น แจมใส
เมื่อไดพบเห็น เปน “ครูที่พูดไมได” สําหรับผูเรียน ประกอบดวย สวนหยอม สวนปาธรรมชาติ
สวนเกษตร สวนสมุ น ไพร สวนสุ ข ภาพ สวนหนั ง สื อ สระน้ํ า แอ ง น้ํ า บ อ น้ํ า โรงอาหาร
โรงฝกงาน สนาม การตกแตงภายในอาคารตาง ๆ หองน้ํา - หองสวม บานพักครู บานพักนักการ
ภารโรง เปนตน
2. แหลงการเรียนรูทางวิชาการ หมายถึง สถานที่ภายในโรงเรี ยนที่เปนแหลง
ความรู ขอมูลทางวิชาการตาง ๆ รวมทั้งการจัดกิจกรรมตาง ๆ ประกอบดวย หองสมุดโรงเรียน
หองสมุดหมวดวิชา การจัดหองวิชาการตาง ๆ เชน ภาษาไทย ภาษาตางประเทศ วิทยาศาสตร
เทคโนโลยี คณิตศาสตร สังคมศึกษา การงานและอาชีพ ศิลปะ หองกิจกรรมพิเศษ ลูกเสือ เนตร
นารี ยุวกาชาด หองพลานามัย หองแนะแนวการศึกษา หองวัดผลการศึกษา หองโสตทัศนศึกษา
หองพยาบาล
3. แหลงการเรียนรูทางการบริการ หมายถึง กระบวนการบริหารจัดการที่จัดขึ้น
อยางมีระบบ เพื่ออํานวยการบริการ ประสานงานและชวยเหลือเกื้อกูล กอใหเกิดบรรยากาศที่ดี
ลัดดา ศุขปรีดี. (2524 : 77) จําแนกประเภทของแหลงเรียนรูในชุมชนไว ดังนี้
1. แหลงเรียนรูภายในโรงเรียน ไดแก โรงฝกงาน อาคารเรียน วัสดุ อุปกรณ
ตนไม ใบหญา หองสมุด สวนครัว ครู นักเรียน คนงานภารโรง เปนตน
2. บุคคลที่โรงเรียนเชิญมาเปนวิทยากร ไดแก ชาวนา ชาวประมง ชางไม พอคา
ขาราชการ ตํารวจ กํานัน ผูใหญบาน ภิกษุสงฆ บุรุษไปรษณีย เปนตน
22

3. แหลงวิชาการภายในชุมชนและนอกชุมชนที่โรงเรียนตั้งอยู ไดแก สถานที่


สําคัญทางประวัติศาสตร ปูชนียสถาน สถานที่ราชการ สถานที่ทางศาสนา พิพิธภัณฑ เปนตน
4. กิจกรรมและขนบธรรมเนียมประเพณีของชุมชน ไดแก ผลงานดานศิลปะ
ชนิดา วิสะมิตนันท. (2541 : 5) กลาววาแหลงการเรียนรูมี 2 ประเภท ไดแก
1. แหลงการเรียนรูในโรงเรียน มี 4 ลักษณะ คือ
1.1 แหลงการเรียนรูที่เปนหองสมุดกลาง
1.2 แหลงการเรียนรูที่จัดในลักษณะของหองวิชา/งาน หรือศูนยการเรียนรูวิชา/
งานตาง ๆ ในโรงเรียน หรือที่เรียกชื่ออยางอื่น
1.3 แหลงการเรียนรูในหองเรียน
1.4 แหลงการเรียนรูที่เปนอุทยานการศึกษารอบบริเวณโรงเรียน
2. แหลงการเรียนรูในชุมชน มี 3 ลักษณะ คือ
2.1 แหลงการเรียนรูที่เปนทรัพยากรธรรมชาติ หรือแหลงการเรียนรูต ามธรรมชาติ
2.2 แหลงการเรียนรูที่มนุษยสรางขึ้น
2.3 แหลงการเรียนรูประเภทเนนบุคคลและภูมิปญญาทองถิ่น
รีเมิรซ. (Remirez. 1954 : 164 อางถึงใน จริยา ลือชัย. 2546 : 11) ไดจําแนกประเภทของ
แหลงเรียนรูในชุมชนที่ใหความรูทางการศึกษา ดังนี้
1. แหลงความรูที่เปนธรรมชาติ ไดแก แสงแดด อากาศ น้ํา พืช ภูเขา ปาไม
ภูมิอากาศ อุณหภูมิและความชื้น
2. แหลงความรูที่เปนมนุษย ไดแก บุคคลทั่วไปที่มีอยูในชุมชน
3. แหลงความรูที่เปนเทคโนโลยี ไดแก แหลงความรูที่เปนผลมาจากความเจริญ
กาวหนาทางวิทยาศาสตร การประดิษฐตาง ๆ เชน อากาศยาน รถยนต และเคมีภัณฑ
4. แหลงความรูที่เปนสถาบัน ไดแก สถาบันที่มนุษยสรางขึ้น เชน โรงเรียน
โบสถ ที่ทําการไปรษณีย ตลาด
หนวยศึกษานิเทศก กรมสามัญศึกษา. (2544 : 9 - 16) กลาวถึงแหลงเรียนรูตามลักษณะ
ที่ตั้งวา แบงได 2 ประเภท ไดแก
1. แหลงเรียนรูในโรงเรียน ไดแก ศูนยวิทยบริการ หองสมุดโรงเรียน หองสมุด
หมวดวิชา หองสมุดเคลื่อนที่ มุมหนังสือในหองเรียน ศูนยวิชาการ ศูนยโสตทัศนศึกษา ศูนยสื่อ
การเรียนการสอน ศูนยพัฒนาคุณภาพการเรียนการสอน หองพิพิธภัณฑ ศูนยวัฒนธรรม หอง
มัลติมีเดีย หองคอมพิวเตอรและอินเตอรเน็ต สวนพฤกษศาสตร สวนสมุนไพร สวนสุขภาพ ฯลฯ
23

2. แหล ง เรี ย นรู ใ นท อ งถิ่ น ได แ ก ห อ งสมุ ด ประชาชน พิ พิ ธ ภั ณ ฑ หอศิ ล ป


สวนสัตว ศูนยการกีฬา ประเภทแหลงเรียนรูที่กลาวมาขางตนพอสรุปไดวา แหลงเรียนรูแบง
ออกเปน 2 ประเภท ไดแก
2.1 แหลงการเรียนรูในโรงเรียน หมายถึง สภาพแวดลอมในโรงเรียนที่จัดขึ้น
เพื่อใหมีบรรยากาศเอื้อตอการเรียนรูของผูเรียน ซึ่งอาจจําแนกออกเปนประเภทใหญ ๆ ได
4 ประเภท คือ
2.1.1 หองสมุดโรงเรียน
2.1.2 หองปฏิบัติการวิทยาศาสตร และหองพิเศษตาง ๆ
2.1.3 หองคอมพิวเตอรและอินเตอรเน็ต
2.1.4 แหลงเรียนรูในโรงเรียนอื่น ๆ เชน สวนสมุนไพร สวนพฤษศาสตร
แปลงเกษตร โรงเพาะเห็ด ฯลฯ
2.2 แหลง เรี ย นรู ใ นชุ ม ชน หมายถึง ทุ ก สิ่ งทุก อยางที่ ส ามารถใชเ ป น แหล ง
วิทยาการเพื่อการจัดการศึกษาที่มีอยูในชุมชน จําแนกเปน 4 ประเภท คือ
2.2.1 แหลงเรียนรูประเภทบุคคล หมายถึง บุคคลที่มีความรู ความสามารถ
ในวิชาการ และวิชาชีพตาง ๆ ในชุมชน เชน พระสงฆ ผูนําศาสนา ผูนําชุมชน ขาราชการ
ภูมิปญญาทองถิ่น เปนตน
2.2.2 แหลงเรียนรูประเภททรัพยากรธรรมชาติ หมายถึง สิ่งตาง ๆ ที่
เกิดขึ้นหรือมีอยูตามธรรมชาติ เชน ปาไม ภูเขา แมน้ํา น้ําตก ถ้ํา ทะเล สัตว พืช เปนตน
2.2.3 แหลงเรียนรูที่มนุษยสรางขึ้น หมายถึง สิ่งตาง ๆ ที่มนุษยสรางขึ้น
อยางมีจุดประสงค เชน วัด ศาสนสถาน โรงเรียน พิพิธภัณฑ สถานประกอบการ เปนตน
2.2.4 แหลง เรีย นรู ป ระเภทวัฒนธรรม หมายถึง สิ่ งที่สังคมสร า งสรรค
และดํารงอยูในสังคม เชน ขนบธรรมเนียม ประเพณี พิธีกรรม วิถีชีวิต ความเปนอยูของ
ประชาชน ความเชื่อ เปนตน
แหลงเรียนรูในโรงเรียน
เจนจัด ภักดีไทย. (2548 : 7) ไดเสนอรายละเอียดแหลงเรียนรูภายในโรงเรียนวา
ประกอบดวย 1) หองสมุด 2) ศูนยปฏิบัติการคอมพิวเตอร 3) ศูนยปฏิบัติการวิทยาศาสตร 4) ศูนย
ปฏิบัติการนาฏศิลป 5) ศูนยปฏิบัติการทางภาษา 6) หองหมวดวิชาและงานตาง ๆ 7) หองเรียน
8) ลานกี ฬ าต า นยาเสพติ ด 9) แปลงเกษตรและเรื อ นเพาะชํ า 10) สวนสมุ น ไพร 11) สวน
พฤกษศาสตร 12) การเลี้ยงปลาดุก 13) การเลี้ยงสัตวพื้นเมือง 14) การเพาะเห็ด 15) โรงอาหาร
16) ผลิตภัณฑผาบาติก 17) หมอภาษา
24

ผูวิจัยจะขอกลาวถึงรายละเอียดแหลงเรียนรูในโรงเรียนที่สําคัญและนาสนใจ พอเปน
ตัวอยางของแหลงเรียนรูในโรงเรียน ไดแก หองสมุดโรงเรียน ศูนยปฏิบัติการคอมพิวเตอร ศูนย
ปฏิบัติการวิทยาศาสตร แปลงเกษตรและเรือนเพาะชํา ดังนี้
หองสมุดโรงเรียน
หองสมุดเปนสถานที่ที่มีความสําคัญตอการเรียนการสอนในสถานศึกษามาก เพราะเปน
ศูนยรวมของวิชาการทั้งปวง เปนงานที่สงเสริมและใหบริการทางวิชาการทั้งกับครูอาจารยและ
นักเรียน เปนสถานที่ที่ครูใชคนควาดวยตนเองเตรียมบทเรียนเพื่อการเรียนการสอน และเปน
สถานที่ที่นักเรียนสามารถหาความรูทั้งจากงานที่ครูมอบหมาย และความรูดานอื่น ๆ ที่นักเรียน
สนใจ รวมทั้งเปนสถานที่ปลูกฝงนิสัยรักการอานหนังสือและการใชเวลาวางใหเปนประโยชน
หนาที่ของหองสมุดโรงเรียน มีดังนี้
1. บริการยืม - คืนหนังสือ ไดแก การจัดบริการใหยืมหนังสือ โดยกําหนดระเบียบ
วิธีการไวใหชัดเจนและปดประกาศใหผูใชบริการไดทราบอยางเปดเผย
2. จัดเปดหองสมุดตลอดวัน โดยเฉพาะกอนเวลาเขาเรียนและหลังเลิกเรียนอยางนอย
ครึ่งชั่วโมงเพือ่ ครูและนักเรียนจะไดมีความสะดวกในการใชบริการ
3. บริการเอกสารสนเทศ คือ จัดบริการตอบคําถามแกครูและนักเรียน โดยใหครู
และนักเรียนทราบวาเรื่องที่ตองการทราบนั้นจะคนไดจากสิ่งพิมพหรือหนังสือ หรือแหลงขอมูลใด
4. จั ด บริ เ วณแนะแนวการอ าน ซึ่ ง เป น บริ ก ารที่ บ รรณารั ก ษจั ด ให กั บนั ก เรี ย น
นัก ศึกษาเปน รายบุคคลหรือรายกลุม เพื่อสงเสริมและยกระดับการอานของนั กเรียนใหสูงขึ้น
รวมทั้งชวยแนะนําหนังสือที่แตละคนสนใจ และเสนอแนะหนังสือที่นาสนใจอื่น ๆ
5. จัดบริการปฐมนิเทศการใชหองสมุด คือ แนะนําใหนักเรียน นักศึกษา รูจัก
การใชหองสมุด นําชมสาธิตการใชบัตรรายการ และการใชหนังสืออางอิง
6. จัดทํารายชื่อหนังสือประกอบรายวิชาตาง ๆ รายชื่อหนังสือใหม ๆ ที่หองสมุด
ไดรับหนังสือที่มีคุณคา หนังสือที่ไดรับรางวัลสงใหครูและนักเรียนทราบ
หองสมุดยังสามารถจัดกิจกรรมเพื่อสงเสริมการศึกษา และการคนควาเปนแหลงสงเสริม
การเรียนของนักเรียน ดังนี้
1. การจั ด นิ ท รรศการ ควรจะมี เ ป น ประจํ า และผลั ด เปลี่ ย นหมุ น เวี ย นไป เช น
สัปดาหหนังสือวิทยาศาสตร สัปดาหหนังสือการตูน เปนตน เพื่อใหหองสมุดไดมีความสวยงาม
สะดุดตา มีชีวิตชีวา รวมทั้งการจัดนิทรรศการในวันสําคัญ ๆ เชน วันเฉลิมพระชนมพรรษา
วันลอยกระทง
2. จัดใหมีการประกวด การแตง การเขียนภาพจากการอานหนังสือ
25

3. จัดใหมีการเลนเกมและทายปญหาจากการอานหนังสือ
4. จัดใหมีการเลานิทานและวิพากษวจิ ารณหนังสือ
5. การจัดอภิปราย ตอบปญหา โดยเชิญนักเรียนหรือวิทยากรมาบรรยาย
6. การประกวดเรียงความ นิทาน คําขวัญตาง ๆ ทั้งจากการอานหนังสือและจาก
วันสําคัญ ๆ
7. การจัดการเลนละคร หุนกระบอก หนังตะลุงจากหนังสือวรรณคดี
บริการของหองสมุด
งานบริการเปนงานที่หองสมุดจัดทําขึ้น เพื่อใหผูใชหองสมุดไดรับความสะดวก รวดเร็ว
ในการใชหองสมุด สามารถคนหาขอมูลขาวสาร ความรูตาง ๆ ไดโดยงายและสามารถใช
ประโยชนตอทรัพยากรสารสนเทศไดอยางคุมคา บริการที่หองสมุดโรงเรียนจัด ไดแก
1. บริการยืม - คืน ใหบริการยืม - คืนวัสดุนิเทศประเภทตาง ๆ โดยกําหนดระเบียบ
วิธีการไวอยางชัดเจน เชน บริการยืมหนังสือทั่วไป วารสารหรือโสตทัศนวัสดุ และไมอนุญาต
ใหยืมสิ่งพิมพบางประเภทออกจากหองสมุด เชน หนังสืออางอิง วารสารเย็บเลม ฯลฯ แต
สามารถใชภายในหองสมุดและถายสําเนาได นอกจากนี้ควรนําคอมพิวเตอรมาใหบริการยืมคืน
2. บริการตอบคําถามและชวยคนหา เพื่อชวยเหลือผูใชบริการในการคนหาขอมูล
หรือแหลงสารนิเทศตาง ๆ แนะนําการใชหนังสืออางอิง การเขียนรายงาน รวมทั้งการเขียน
บรรณานุกรมและเชิงอรรถ
3. บริการแนะแนวการอาน จัดแนะนําการอานใหนักเรียนเปนกลุม หรือใน
รายบุคคล เพื่อแนะนํานักหนังสือที่แตละคนสนใจ หรือแนะนําหนังสือ สื่ออื่น ๆ เพื่อแกไขปญหา
ของนักเรียนเปนรายบุคคล
4. บริการแนะนําการใชหองสมุด เปนบริการที่จัดขึ้นเพื่อแนะนําผูใชหองสมุดให
รูจักหองสมุด อันจะชวยใหผูใชหองสมุดสามารถใชประโยชนจากหองสมุดไดอยางเต็มที่ดวย
ตัวเอง การแนะนําการใชหองสมุดสามารถจัดทําไดหลายลักษณะ ไดแก การจัดปฐมนิเทศแนะนํา
แนะนําการใชหองสมุดเปนกลุมหรือรายบุคคล
5. บริการหนังสือจอง หองสมุดจัดหนังสือที่มีผูตองการใชจํานวนมาก หรือ
หนังสือที่ครูผูสอนประสานงานกับบรรณารักษใหจัดหนังสือประกอบกาเรียนการสอน หรือ
สําหรับคนควาประกอบวิชาตาง ๆ จัดเปนหนังสือจอง โดยกําหนดระยะเวลาใหยืมในระยะสั้น ๆ
เนื่องจากหนังสือมีนอย แตมีผูตองการใชมากและหากคืนเกินกําหนดตองเสียคาปรับ
26

6. บริการสืบคนจากคอมพิวเตอร หองสมุดไดจัดระบบหองสมุดอัตโนมัติ จัดทํา


ฐานขอมูลทรัพยากรสารนิเทศ สื่อตาง ๆ ที่จัดใหบริการเปดโอกาสใหผูใชไดสืบคนขอมูลหนังสือ
ที่ตองการจากหนาจอคอมพิวเตอร ทําใหเขาถึงสารนิเทศไดอยางสะดวก รวดเร็ว และแมนยํา
7. บริการซีดีรอม หองสมุดควรจัดหาเครื่องคอมพิวเตอรและซีดีรอม ซึ่งมีเนื้อหา
ความรูทางวิชาการ เกมสงเสริมทักษะภาษา บทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน ฯลฯ ใหนักเรียนได
ใชบริการตามความสนใจ เปนพัฒนาคุณภาพการเรียนการสอน และฝกทักษะในการใชเทคโนโลยี
8. บริการอินเตอรเน็ต ระบบเครือขายอินเตอรเน็ตเปนระบบที่เชื่อมคอมพิวเตอร
จากทั่วทุกมุมโลก ผูใชหองสมุดสามารถเขาถึงแหลงความรู และแหลงสารนิเทศจากทั่วโลก
9. บริการชุมชน เพื่อใหบริการชุมชนที่อยูใกลเคียง ไดใชหนังสือเพื่อการศึกษา
คนควา โดยใหบุคคลทั่วไปสมัครเปนสมาชิกได มีการยืมคืนหนังสือตามกําหนด นอกจากนี้
ควรจัดหองสมุดเคลื่อนที่และจัดกิจกรรมตาง ๆ ไปบริการชุมชนดวย
กิจกรรมหองสมุด
กิจกรรมหองสมุดเปนงานที่ควรจัดทําอยางสม่ําเสมอ โดยมีวัตถุประสงคเพื่อสงเสริม
การอาน การศึกษาคนควา พัฒนาความรูใหแกนักเรียน กิจกรรมจะชวยเพิ่มสีสันใหหองสมุดมี
ชีวิตชีวามากขึ้น ไมหยุดนิ่งอยูกับที่ บุคลากรในโรงเรียนไดรับรูขาวคราวความเคลื่อนไหวของ
กิจกรรมหองสมุ ด ซึ่ งเปน สื่อประชาสัมพัน ธงานหองสมุดไดเ ปนอยางดี กิจกรรมห องสมุ ด ที่
โรงเรียนสามารถจัดได มีดังนี้ 1) การเลาเรื่องจากหนังสือ 2) การแนะนําหนังสือ 3) การตอบปญหา
4) การจัดนิทรรศการ 5) จัดรายการเสียงตามสาย 6) การเลานิทาน 7) เชิดหุน 8) แสดงละคร
9) วรรณกรรมสาธิต 10) สาธิตความรูจากหนังสือ 11) สนทนาเรื่องหนังสือ 12) อภิปราย 13) โตวาที
/ยอวาที 14) ประกวดเรียงความหรือคําขวัญ 15) ประกวดวาดภาพ 16) จัดทําหนังสือ 17) เกม
สงเสริมการอาน 18) ฉายวีดิทัศน 19) คายรักการอาน 20) ยอดนักอาน 21) วางทุกงานอานทุกคน
หองสมุดโรงเรียน เปนแหลงการเรียนรูในโรงเรียนที่สําคัญมาก เพราะอยูใกลชิดครูและ
นักเรียนมากที่สุด ซึ่งผูบริหารจะเปนบุคคลที่มีความสําคัญมากที่สุดในการสงเสริมและสนับสนุน
การพัฒนาหองสมุดใหไดมาตรฐาน และมีการจัดกิจกรรมที่หลากหลายตอเนื่องตลอดปการศึกษา
เพื่อใหหองสมุดเปนแหลงเรียนรูที่มีความสมบูรณ พรอมสําหรับใหบริการแกครูและนักเรียน
นอกจากนี้ผูบริหารควรมีบทบาทสําคัญ ในการกําหนดนโยบายที่จะกระตุน สงเสริมใหครูและ
นักเรียนไดใชหองสมุด เพื่อการเรียนการสอนและการแสวงหาความรู เพื่อใหครูและนักเรียนมี
นิสั ย รั ก การอ า น ใฝ ห าความรู และเกิ ด ความรู ใ ห เ ป น ไปตามเจตนารมณ ข องพระราชบั ญ ญั ติ
การศึกษาแหงชาติตอไป
27

การจัดมุมหนังสือในหองเรียน
ชวยใหนักเรียนไดใชเวลาวางดวยการอานหนังสือ ฝกความรับผิดชอบ เสียสละ ชวยกัน
ดูแลรั กษาทรัพย สิน ของส วนรวม และเป น กิจกรรมสําคัญที่จ ะชวยปลู ก ฝงนิสัย รัก การอ า นให
นักเรียน โดยจัดใหมีหนังสือและเอกสารตาง ๆ มีชั้นหนังสือ หรือกลองใสเอกสาร มีนักเรียน
อาสาสมัครสับเปลี่ยนชวยกันดูแลรับผิดชอบ มีการจัดตกแตงใหสวยงามนาเขาใช มีการจัดเก็บ
สถิติผูเขาใช และมีอาจารยที่ปรึกษาคอยใหคําแนะนํา เปนตน
ศูนยปฏิบัติการคอมพิวเตอร
ในปจจุบันมีการนําคอมพิวเตอรนํามาใชงานกันอยางแพรหลาย ทั้งในหนวยงานของ
ภาครัฐและเอกชน สถาบันการศึกษาไดนําคอมพิวเตอรมาใชทั้งในดานการเรียนการสอนและ
การบริหารจัดการ เนื่องจากคอมพิวเตอรเปนเครื่องอํานวยความสะดวกในการปฏิบัติงาน ทําให
สามารถปฏิบัติงานไดอยางรวดเร็วและมีความเปนระเบียบ แนวโนมของการใชเครื่องคอมพิวเตอร
ในสถานศึกษามีเพิ่มมากขึ้น โดยมีวัตถุประสงคในการนําคอมพิวเตอรมาใชในการจัดระบบฐานขอมูล
(Computer–based) ของสถานศึ ก ษา ครอบคลุ ม ทั้ ง ด า นงานการเงิ น การบั ญ ชี งานบุ ค ลากร
งานวัสดุ ครุภัณฑ และสิ่งอํานวยความสะดวก งานสํานักงาน และสวนที่เกี่ยวของกับตัวนักเรียน
ไดแก ระเบียน การจัดหลักสูตรและการจัดการเรียนการสอน
ประโยชนของคอมพิวเตอรมีอยู 2 ประการ คือ ใชกับงานบริการการศึกษาในการเก็บ
และการจัดการขอมูลเกี่ยวกับการดําเนินการศึกษา เพื่อใชในการวางแผนและจัดการศึกษาทุกระดับ
ให ดี ขึ้ น และใช กั บ การเรี ย นการสอน จากรู ป แบบการใช ช อล ก และกระดานดํ า เป น การใช
เทคโนโลยีดานสื่อประสม ใชคอมพิวเตอรชวยสอน การสอนใหนักเรียนรูจักคอมพิวเตอรนั้น
ไมยาก เพราะนักเรียนทั้งหลายลวนสนใจ อยากสัมผัสและอยากใชคอมพิวเตอรกันทั้งนั้น
สรุ ป ได ว า ศู น ย ป ฏิ บั ติ ก ารคอมพิ ว เตอร เป น ศู น ย ก ารเรี ย นรู แ ละฝ ก ทั ก ษะทางด า น
คอมพิวเตอร อินเตอรเน็ต เพื่อใหผูเรียนเกิดการเรียนรูสูการเปลี่ยนแปลงในโลกไรพรมแดนและ
นําไปสูการพัฒนาคุณภาพผูเรียน
ศูนยปฏิบัติการวิทยาศาสตร
หองปฏิบัติการวิทยาศาสตร เปนสวนหนึ่งของปจจัยในองคประกอบของระบบการ
ปฏิ รู ป การศึ ก ษา ซึ่ ง เป น เครื่ อ งมื อ ที่ สํ า คั ญ ในการปรั บ เปลี่ ย นพฤติ ก รรมการเรี ย นการสอน
กระบวนการที่ครูเปนศูนยกลางในบรรยากาศของความเปนอิสระ เปนไปตามความสนใจ ใฝรู
และวิธีการเรียนรูที่สอดคลองกับผูเรียนแตละคนมากขึ้น อันเปนการเตรียมคนใหมีความสามารถใน
การเรียนรูตลอดเวลา คิดเปนทําเปน แกปญหาเปน มีทักษะในการปฏิบัติงานไปสูความสําเร็จได
เปนอยางดี ซึ่งเปนคุณภาพของคนในสังคมแหงปญญาความรู และสังคมแหงขาวสารขอมูลที่กําลัง
28

เขามาแทนสังคมแบบเกาตามนโยบายปฏิรูปการศึกษา ที่ตองการยกระดั บมาตรฐานการเรีย น


การสอน การวัดและประเมินผลตามสภาพจริง และสงเสริมใหครูและนักเรียนแสวงหาความรูดวย
ตนเองตลอดชีวิต โดยมุงเนนใหนักเรียนไดเรียนอยางมีความสุขเกิดผลอยางถาวร
คุณสมบัติของครูวิทยาศาสตรที่จะประสบความสําเร็จ จะตองเปนครูที่มีพื้นฐานในวิชา
วิ ท ยาศาสตร มี ค วามสามารถในการช ว ยให เ กิ ด การเรี ย นรู ใ นบรรยากาศที่ “นั ก เรี ย นเป น
นักวิทยาศาสตร” และมีวัสดุและเครื่องมืออยางพอเพียง ไดรับการสนับสนุนสงเสริมจากผูบริหาร
และมีเวลาในการตระเตรียมในการตอบสนองตอนักเรียน แลกเปลี่ยนความคิดเห็น ปญหาอุปสรรค
ในการสอนของตนกับครูคนอื่น
แนวทางการเรียนวิทยาศาสตรที่เนนนักเรียนเปนศูนยกลาง มีดังตอไปนี้
1. ให นั ก เรี ย นแต ล ะกลุ ม ช ว ยกั น คิ ด และศึ ก ษาค น คว า ความรู จ ากแหล ง อื่ น มา
ประกอบการเรียนกับเพื่อนในกลุม ครูเปนผูชี้แนะและใหคําแนะนํานักเรียนในแตละกลุม เพื่อให
เปนไปตามหลักสูตร โดยยึดการเรียนแบบรวมมือรวมใจ (Co-operative Learning)
2. ในการใหนักเรียนทําปฏิบัติการ ใหนักเรียนทราบโจทยและปญหาที่ศึกษา
จะทําใหการเรียนของนักเรียนมีความหมายมากขึ้น เริ่มจากการกําหนดวิธีการทดลอง ออกแบบ
การทดลอง ใหนักเรียนชวยกันคิดและครูชี้แนะเทานั้น ครูจะทราบผลของนักเรียนจากการเขียน
รายงาน
3. การทําแบบฝ ก หัด เป น ไปเพื่อฝก แกป ญหา และเชื่อมโยงความสัมพั น ธ ของ
มโนมติตาง ๆ แทนการใหนักเรียนจําลองเสนอวิธีทํา ฝกตั้งโจทยปญหาแลวใหแตละกลุมทําโจทย
ที่นักเรียนสรางขึ้น
4. ครู ต อ งพร อ มต อ การเรี ย นการสอนวิ ท ยาศาสตร โดยใช วิ ธี ก ารแบบจํ า ลอง
การเรียนรูที่สรางสรรค
ศูนยปฏิบัติการวิทยาศาสตรจึงเปนศูนยเตรียมความพรอมที่จะสงเสริมใหผูเรียนเรียนรู
อยางมีคุณภาพ และสรางสรรคทั้งทางดานเนื้อหาสาระ รูปแบบการเรียนรูและทักษะการปฏิบัติ
ตาง ๆ ชวยใหนักเรียนรูจักเลือกและประยุกตใชความรูในชีวิตประจําวันได
แปลงเกษตรและเรือนเพาะชํา
กริศร วานิชกุล. (2543 : 2) ไดใหความหมายของสถานเพาะชําวา เปนสถานที่มีการขยาย
และชําตนไมตาง ๆ กอนที่จะนําไปปลูกในแปลงหรือสถานที่ปลูกถาวรตอไป
แปลงเกษตร หมายถึง สถานที่ที่ใชสําหรับฝกการเพาะปลูกตนไมหรือพืชผักชนิดตาง ๆ
ของนักเรียน ไดแก แปลงพืชผักสวนครัว แปลงผัก เชน ผักกาด ผักบุง ผักคะนา แปลง
เพาะพันธุยางพารา แปลงชะอม เปนตน
29

สรุ ปได ว า แหล งเรี ยนรูประเภทแปลงเกษตรและเรือนเพาะชํา หมายถึง สถานที่ที่


โรงเรียนจัดใหมีไวสําหรับใหนักเรียนไดฝกปฏิบัติงานดานการเกษตร เชน การเพาะปลูกพืช
การดูแล พืชและตนไมชนิดตาง ๆ เพื่อใหนักเรียนไดมีประสบการณตรงดานงานเกษตร
แหลงเรียนรูในบริเวณโรงเรียนอื่น ๆ
นอกจากแหลงเรียนรูในโรงเรียนที่ไดนําเสนอมาขางตนแลว ในบริเวณโรงเรียนยังอาจมี
แหลงเรียนรูอื่น ๆ อีกมากมาย เชน สวนสมุนไพร สวนพฤกษศาสตร บอเลี้ยงปลา คอกเลี้ยงสัตว
เชน เปด ไก โค โรงฝกงาน หองกิจกรรมชุมนุม หองหมวดวิชาตาง ๆ และสภาพแวดลอมตาม
ธรรมชาติในบริเวณโรงเรียน เปนตน ซึ่งแหลงเรียนรูเหลานี้โรงเรียนสามารถจัดและพัฒนาใหเปน
แหลงเรียนรูของผูเรียนไดทั้งสิ้น ทั้งนี้ ขึ้นอยูกับกําลังความสามารถของสถานศึกษาแตละแหง เชน
โรงเรี ยนที่ มี พื้น ที่ กวางขวางอาจจั ด แหลง เรีย นรูใ นลักษณะของสวนพฤกษศาสตร ห รืออุ ทยาน
การศึ ก ษาได แต ห ากเป น โรงเรี ย นที่ มี พื้ น ที่ จํ า กั ด ก็ อ าจจั ด แหล ง เรี ย นรู ใ นโรงเรี ย นแบบอื่ น ๆ
ที่เหมาะสมกับสภาพและบริบทของโรงเรียนนั้น ๆ
แหลงเรียนรูในชุมชน
แหลงเรียนรูในชุมชน หมายถึง ทุกสิ่งทุกอยางที่มีอยูในชุมชนที่สามารถใชเปนแหลง
วิทยาการเพื่อการจัดการศึกษา ในที่นี้จะไดจําแนกเปน 4 ประเภท คือ
1. แหลงเรียนรูประเภทบุคคล ไดแก บุคคลที่มีความรูความสามารถในวิชาการ
และวิชาชีพตาง ๆ ในชุมชน เชน พระสงฆ ผูนําศาสนา ผูนําชุมชน ขาราชการ ภูมิปญญาทองถิ่น
เปนตน
2. แหลงเรียนรูประเภททรัพยากรธรรมชาติ ไดแก สิ่งตาง ๆ ที่เกิดขึ้นหรือมีอยู
ตามธรรมชาติ เชน ปาไม ภูเขา แมน้ํา น้ําตก ถ้ํา ทะเล สัตว พืช เปนตน
3. แหลงเรียนรูที่มนุษยสรางขึ้น ไดแก สิ่งตาง ๆ ที่มนุษยสรางขึ้นอยางมี
จุดประสงค เชน วัด ศาสนสถาน โรงเรียน พิพิธภัณฑ สถานประกอบการ เปนตน
4. แหลงเรียนรูประเภทวัฒนธรรม ไดแก สิ่งที่สังคมสรางสรรคและดํารงอยูใน
สังคม เชน ขนบธรรมเนียม ประเพณี พิธีกรรม วิถีชีวิต ความเปนอยูของประชาชน ความเชื่อ
เปนตน
จะเห็นไดวาแหลงเรียนรูก็คือ สภาพแวดลอมตาง ๆ ที่สามารถนํามาจัดประสบการณ
ใหกับผูเรียน ไมวาจะอยูในโรงเรียนหรือนอกโรงเรียน และไมวาจะเปนแหลงเรียนรูตามธรรมชาติ
เชน ภูเขา ทุงนา ปาไม แมน้ํา พืช สัตว ดิน หิน แร ฯลฯ หรือแหลงเรียนรูที่มนุษยสรางขึ้น
เชน ภูมิปญญา ขนบธรรมเนียม ประเพณีวัฒนธรรม วิถีชีวิต สถานที่ องคกรภาครัฐ เอกชน ฯลฯ
เหลานี้ก็สามารถนํามาใชประโยชนในการจัดการศึกษาไดทั้งสิ้น สถานศึกษาทุกแหงจึงควรมี
30

ความตระหนักถึงความสําคัญและมีแนวทางการปฏิบัติที่ชัดเจนในการที่จะใชประโยชนจากแหลง
เรียนรูเหลานี้

แหลงเรียนรูในอําเภอบานนาสาร

อําเภอบานนาสารจังหวัดสุราษฎรธานี มีประวัติความเปนมา (สถาบันทักษิณคดีศึกษา.


2528 : 1869 - 1870) ดังนี้
ความเปนมาในอดีต
อําเภอบานนาสาร เดิมมีฐานะเปนแขวง ตั้งอยูที่บานสอง ตําบลเวียงสระ (ปจจุบันเปน
อําเภอเวียงสระ) ตอมาเมื่อ ร.ศ.118 (พ.ศ.2442) ไดมีการปรับปรุงทองที่ตําบลพวงพรหมคร คือ
รวมตําบลเวียงสระ ตําบลทุงหลวง ตําบลพรุพรี ตําบลลําพูน ตําบลทาชี ตําบลนาสาร และตําบล
บานนา จัดตั้งเปนอําเภอเรียกวา “อําเภอลําพูน” ตั้งที่วาการอําเภอที่ตําบลบานนา (อําเภอบานนาเดิม
ในปจจุบัน) ขึ้นตรงตอเมืองนครศรีธรรมราช
ครั้นเมื่อวันที่ 1 ตุลาคม ร.ศ.146 (พ.ศ.2448) ทางราชการไดยายศาลาวาการรัฐบาล
มณฑลชุมพร จากจังหวัดชุมพร มาตั้งที่จังหวัดสุราษฏรธานี และเห็นวาอําเภอลําพูนตั้งอยูไกลจาก
เมืองนครศรีธรรมราช ไมสะดวกแกการปกครอง จึงโอนมาขึ้นกับจังหวัดสุราษฎรธานี
ตอมาเมื่อวันที่ 29 เมษายน พ.ศ.2460 ไดเปลี่ยนชื่ออําเภอลําพูนเปนอําเภอบานนา
เพื่อใหตรงกับชื่อของที่ตั้งที่วาการอําเภอ เดือนมีนาคม พ.ศ.2464 ไดโอนตําบลกรูด จากตําบล
ทาโรงชางในสมัยนั้น (ปจจุบันเปนตําบลอยูในอําเภอพุนพิน) โดยโอนตําบลเคียนซา และตําบล
พวงพรหมคร จากอําเภอพระแสงมาขึ้นกับอําเภอบานนา และในเดือนกันยายน พ.ศ.2494 ไดโอน
ตําบลกรูดไปขึ้นกับอําเภอพุนพิน จังหวัดสุราษฎรธานี
ตอมาวัน ที่ 1 กรกฎาคม พ.ศ.2481 ไดยายที่วาการอําเภอบ านนาจากตําบลบานนา
ไปตั้งที่ตําบลนาสาร โดยเห็นวาที่ตั้งอําเภอบานนานั้นไมอยูในสวนกลางของอําเภอ ไมสะดวกแก
การไปติดตอกับประชาชน และเปลี่ยนชื่ออําเภอเสียใหมเพื่อใหสอดคลองกับที่ตั้งวา “อําเภอบาน
นาสาร” มาจนกระทั่งปจจุบัน ตอมาราชการพิจารณาเห็นวา ทองที่อําเภอบานนาสารมีอาณาเขต
กวางขวางและมีพลเมืองมาก ทองที่ตําบลอยูไกลจากอําเภอมาก เพื่อสะดวกในการปกครองและ
เปนการอํานวยความสะดวกใหแกประชาชนในทองที่ กระทรวงมหาดไทยจึงไดแบงเขตทองที่
การปกครองของอําเภอบานนาสารออกเปนกิ่งอําเภอ ดังนี้
วันที่ 10 มีนาคม พ.ศ.2511 แยกตําบลเวียงสระ ตําบลทุงหลวง เปนกิ่งอําเภอ ชื่อวา
“กิ่งอําเภอเวียงสระ” และตั้งเปนอําเภอเมื่อ พ.ศ.2514 วันที่ 1 กันยายน พ.ศ.2513 แยกตําบล
31

เคียนซา ตําบลพวงพรหมคร ตั้งเปนกิ่งอําเภอ ชื่อวา “กิ่งอําเภอเคียนซา” และตั้งเปนอําเภอเมื่อ


วันที่ 29 มีนาคม พ.ศ.2517 วันที่ 15 เมษายน แยกตําบลบานนา ตําบลทาเรือ ตั้งเปนกิ่งอําเภอ
ชื่อวา “กิ่งอําเภอบานนาเดิม”
สภาพปจจุบัน
อําเภอบานนาสารขึ้นกับจังหวัดสุราษฎรธานี ที่วาการอําเภอตั้งอยูในเขตเทศบาลเมือง
นาสาร ทางทิศตะวันออกของสถานีรถไฟบานนาสาร ตรงหลักกิโลเมตรที่ 763/5 อยูหางจาก
สถานีรถไฟประมาณ 200 เมตร อําเภอบานนาสารมีพื้นที่ 839.3 ตารางกิโลเมตร มีอาณาเขตทิศ
เหนือติดตอเขตอําเภอเมืองสุราษฎรธานี เขตอําเภอบานนาเดิม และเขตอําเภอกาญจนดิษฐ จังหวัด
สุราษฎรธานี ทิศตะวันออกติดตอเขตอําเภอทาศาลา จังหวัดนครศรีธรรมราช และอําเภอกาญจนดิษฐ
จังหวัดสุราษฎรธานี ทิศใตติดตอเขตอําเภอเวียงสระ ทิศตะวันตกติดตอเขตอําเภอเคียนซาและ
อําเภอบานนาเดิม จังหวัดสุราษฎรธานี
การแบงเขตการปกครอง อําเภอบานนาสาร แบงเขตการปกครองออกเปน 1 เทศบาล
10 ตําบล 65 หมูบาน ดังนี้
1. เทศบาลเมืองนาสาร
2. ตําบลพรุพี
3. ตําบลทุงเตา
4. ตําบลลําพูน
5. ตําบลทาชี
6. ตําบลควนศรี
7. ตําบลควนสุบรรณ
8. ตําบลคลองปราบ
9. ตําบลน้ําพุ
10. ตําบลทุงเตาใหม
11. ตําบลเพิ่มพูนทรัพย
สภาพภูมิศาสตรของอําเภอบานนาสาร พื้นที่ประกอบดวยที่ราบและภูเขาปะปนกัน
พื้นที่สวนใหญเหมาะแกการเพาะปลูก ดานทิศตะวันออกประกอบดวยภูเขาและเนินเขา ปลูกผลไม
ไดดี บนเนินเขาสามารถทําสวนยางพาราได บริเวณที่ราบต่ําเหมาะแกการทํานา บริเวณริมฝง
แมน้ําตาปจะเปนที่ราบลุมมีหนอง คลองบึง เหมาะแกการทําบอเลี้ยงปลาและเพาะปลูก ในเขต
ตํ า บลลํ า พู น เป น ภู เ ขาสู ง เป น แหล ง กํ า เนิ ด แม น้ํ า ลํ า ธารและเป น บริ เ วณที่ มี ป า ไม ม าก อํ า เภอ
บานนาสารมีแหลงน้ําที่สําคัญ คือ แมน้ําตาป ซึ่งเปนแมน้ําสายที่ยาวที่สุดในภาคใต ไหลผาน
32

อําเภอบานนาสารในเขตตําบลพรุพี ตําบลควนศรี และตําบลทาชี แมน้ําสายนี้เคยเปนเสนทาง


คมนาคมที่สําคัญ แตปจจุบันมีถนนหนทางมากมายจึงคงเปนแหลงน้ําสําหรับเพาะปลูกและประมง
คลองพูนหรือคลองพูน ตนน้ําเกิดจากภูเขาในตําบลลําพูน ไหลผานตําบลลําพูน ตําบลทุงเตา
คลองฉวาง ตนน้ําเกิดจากภูเขาในเขตตําบลลําพูน ไหลผานตําบลนาสาร ตําบลลําพูน ตําบลทาชี
และไหลออกสูแมน้ําตาปที่บานปากจน ตําบลควนศรี
อําเภอบานนาสารเปนที่ราบมีมรสุมพัดผาน จึงมีฝนตกชุกเกือบตลอดป ฤดูกาลมีเพียง 2
ฤดู คือ ฤดูรอน เริ่มตั้งแตเดือนมกราคมถึงเดือนเมษายนหรือเดือนพฤษภาคม และฤดูฝน เริ่ม
ตั้งแตเดือนพฤษภาคมถึงเดือนธันวาคม บางปอาจถึงเดือนมกราคม
ทรัพยากรธรรมชาติที่สําคัญ ไดแก ปาไม มีปาสงวนคลองน้ําเฒา เนื้อที่ 389,350 ไร
และปาไมในเขตตําบลลําพูน ตําบลทุงเตา
แหลงเรียนรูที่มนุษยสรางขึ้นในอําเภอบานนาสาร
อํ า เภอบ า นนาสารมี แ หล ง เรี ย นรู ที่ ม นุ ษ ย ส ร า งขึ้ น อยู ม ากมายที่ ส ามารถนํ า มาใช
ประกอบการจัดการศึกษาได จึงจะขอยกตัวอยางพอสังเขป ดังตอไปนี้
โบราณสถานที่สําคัญในอําเภอบานนาสาร
ถ้ําพระ อยูที่บานหนองปลิง หมูที่ 1 ตําบลพรุพี หางจากที่วาการอําเภอประมาณ 3
กิโลเมตรเศษ มีทางแยกซายมือเขาไปประมาณ 200 เมตร ชาวบานเรียกวา ถ้ําขรม เปนถ้ําลึก
เข า ไปประมาณ 30 เมตร มี พ ระประธานหิ น ทรายแดง หน า ตั ก กว า ง 1 ศอก 6 นิ้ ว และ
พระพุ ท ธรู ป อื่ น ๆ อี ก 7 องค สร า งด ว ยหิ น ทราบแดง แต ส ว นมากชํ า รุ ด มี หิ น งอกป ด ทั บ
สันนิษฐานวามีผูสรางไวนับพันปแตสมัยใดไมปรากฏหลักฐาน ถ้ําและพระพุทธรูปนี้มีเจาหนาที่
ศิลปากรมาสํารวจแลวครั้งหนึ่ง
พระพุทธบาทจําลอง อยูบนภูเขาวัดนาสาร หางจากที่วาการอําเภอ 1 กิโลเมตร มีบันได
สําหรับขึ้นไปสักการบูชาไดอยางสะดวกสบาย บริเวณนี้ยังมีถ้ําเล็ก ๆ และคลองฉวางไหลเลียบ
ริมเขาแหงนี้ บรรยากาศเหมาะสําหรับเปนสถานที่พักผอนหยอนใจ
พระพุทธรูปพอทานครูเขียว และเจดียวัดโฉลกศิลาราม เปนวัดเกาแกมากตั้งอยูในเขต
ตําบลลําพูน หางจากที่ว าการอํ าเภอประมาณ 3 กิโลเมตรเศษ มี เจดียเล็ก ๆ สร างในสมัย ใด
ไมปรากฏ ชาวบานนับถือวาเปนสิ่งศักดิ์สิทธิ์
พระพุทธรูปพอตาผาขาว วัดสวางประชารมย ตั้งอยูในชุมชนสวนมังคุด ในเขตเทศบาล
เมืองนาสาร หางจากที่วาการอําเภอ ประมาณ 2 กิโลเมตร เปนพระพุทธรูปเกาแกมาก ไมปรากฏ
หลักฐานวาสรางในสมัยใด เปนพระพุทธรูปที่ชาวบานใหความนับถือวาศักดิ์สิทธิ์มาก
33

อนุสรณสถานบานชองชาง ในอดีตเขาชองชางเคยเปนที่มั่นของพรรคคอมมิวนิสตแหง
ประเทศไทย (พคท.) เพราะภูมิประเทศเปนเทือกเขาสลับซับซอน ในป พ.ศ. 2508 ทางราชการเริ่ม
เขา ทํา การปราบปราม แต ค วามยากลํ า บากต อการเขา สูพื้ น ที่ทํ าใหก องกํ าลั ง คอมมิ ว นิ สต แ ห ง
ประเทศไทยเติบโตขึ้นกวาเดิมมาก ในป พ.ศ. 2514 – 2516 ทางราชการไดทําการปราบปราม
อยางหนักและตอเนื่อง แตสภาพเหตุการณและสภาพพื้นที่เปนอุปสรรคทําใหการปราบปราม
ไมไดผลเต็มที่ ทําใหหมูบานชองชางกลายเปนหมูบานปด อยูภายใตอิทธิพลของพรรคคอมมิวนิสต
แหงประเทศไทย ในปตอ ๆ มามีเหตุการณสูรบที่สําคัญหลายครั้ง อาทิ พระองคเจาวิภาวดีรังสิต
ถูกลอบปลงพระชนมขณะประทับอยูบนเครื่องเฮลิคอปเตอร เหตุการณสังหารรองผูวาราชการ
นายสวัสดิ์ พันเกษมในป พ.ศ. 2520 และการปลนสะดมรถที่สถานีพุนพินในป พ.ศ.2522 ทําให
ราษฎรในจังหวัดสุราษฎรธานี ขวัญเสีย หวาดผวา เสี่ยงตอความตายมาตลอด ตอมาเมื่อวันที่ 16
กุมภาพันธ พ.ศ.2525 พลเอกหาญ ลีนานนท แมทัพภาคที่ 4 ไดใชแผนปฏิบัติการใตรมเย็น เขา
ปราบปรามพรรคคอมมิวนิสตในเขตจังหวัดสุราษฎรธานี โดยไดใชกําลังจากกองทัพแหงชาติ
อันประกอบดวยขาราชการ ตํารวจ และพลเรือน กระทําการกวาดลางครั้งใหญ ในครั้งนั้นใชเวลา
เพียง 10 วัน ก็สามารถปราบปรามไดสําเร็จและใชเวลาอีกประมาณ 3 เดือน ในการเคลียรพื้นที่
และยึดคายใหญ ๆ อาทิ คาย นปถ. 508 คาย 511 และคายบริวารตาง ๆ จนกระทั่งในวันที่ 1
มิถุนายน พ.ศ.2525 ทางราชการไดประกาศใหประชาชนเขาไปประกอบอาชีพ ในพื้นที่อยูอาศัย
เดิมตอไปไดตามปกติ ปจจุบันไดจัดใหมีการสรางอนุสรณสถานบานชองชาง ซึ่งยังคงมีหลักฐาน
ทางประวัติศาสตรของการสูรบเหลืออยู เชน บังเกอร อุโมงค เปนตน
คายลูกเสือบอน้ํารอนบานวังหิน ตั้งอยูหมูที่ 6 ตําบลลําพูน หางจากตัวอําเภอบานนาสาร
ไปทางทิศตะวันออก ประมาณ 9 กิโลเมตร เปนสถานที่สําหรับพักแรมของลูกเสือ และสถานที่
พักผอนหยอนใจ ทิวทัศนสวยงามและมีบอน้ํารอน
สถาบัน วิ จัย จุ ฬ าภรณ ตั้ งอยูที่ ห มู 6 ตําบลลํา พูน จั ด ตั้งขึ้ น ตามพระดําริ ของสมเด็ จ
พระเจาลูกยาเธอ เจาฟาหญิงจุฬาภรณวลัยลักษณอัคราชกุมารี เพื่อเปนศูนยศึกษาพัฒนา เปน
สถานที่ที่มีทิวทัศนสวยงามมาก ระยะทางจากตัวอําเภอบานนาสารประมาณ 15 กิโลเมตร
สวนสาธารณะลานกวาง ตั้งอยูในชุมชนเหมืองแกะ เขตเทศบาลเมืองนาสาร เปน
สวนสาธารณะที่มีสระน้ําขนาดใหญที่เกิดจากการทําเหมืองแรดีบุกในอดีต เทศบาลเมืองนาสารได
ปรับปรุงเพื่อใหเปนสถานที่พักผอนหยอนใจของประชาชนทั่วไป
สวนสาธารณะไตรคีรี เปนสวนสาธารณะตั้งอยูในเขตเทศบาลเมืองนาสาร เปนสถานที่
สําหรับการพักผอนหยอนใจ มีสภาพธรรมชาติรมรื่นสวยงาม มีสวนสัตวขนาดเล็ก ซึ่งมีกวางและ
นกกระจอกเทศ อยูในความดูแลของเทศบาลเมืองนาสาร
34

นอกจากแหลงเรียนรูที่ไดกลาวขางตนแลว อําเภอบานนาสารยังมีแหลงเรียนรูอื่น ๆ อีก


มากมายที่สามารถนํามาใชเพื่อการจัดการศึกษา ซึ่งสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาสุราษฎรธานี เขต 3
ไดรวบรวมไวในทะเบียนแหลงเรียนรู สํานักประสานและพัฒนาการจัดการศึกษาทองถิ่น กรม
สงเสริ มการปกครองสวนท องถิ่ น (2548) ตัวอย างเชน เหมื องแรยิบซั่ม โรงกลึง ศูน ยสาธิต
วิสาหกิจชุมชน บริษัท/สถานประกอบการ โรงงานอุตสาหกรรม ฟารมเลี้ยงไก ฟารมเลี้ยงหมู
ฟารมโค ศูนยสงเสริมและผลิตพันธุพืชสวน สวนเงาะโรงเรียนตัวอยาง สวนสละ สวนสมโชกุน
สวนทุเรียน สวนลองกองตัวอยาง มากกวา 30 สวน โรงพยาบาล สถานีอนามัย ศูนยสาธารณสุข
เทศบาล สถานีตํารวจ ที่ทําการไปรษณีย เปนตน
แหลงเรียนรูธรรมชาติในอําเภอบานนาสาร
อุทยานแหงชาติใตรมเย็น
อุทยานแหงชาติใตรมเย็น ครอบคลุมพื้นที่ปาสงวนแหงชาติ ปากคลองน้ําเฒา อําเภอ
บานนาสาร อําเภอกาญจนดิษฐ อําเภอเวียงสระ มีเนื้อที่ 265,625 ไร ประกาศเปนอุทยานแหงชาติ
เมื่อวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ.2534 เปนปาดิบชื้นที่สมบูรณ มีพันธุไมที่สําคัญ ไดแก ยาง ตะเคียน
หลุมพอ เสียด ชอ เคี่ยม และสะตอ บริเวณยอดเขามีเมฆหมอกปกคลุมเกือบตลอดป และจะพบ
ปาอีกชนิดในอุทยานแหงนี้ คือ ปาดิบเขา พันธุไมที่พบ ไดแก เหมือด กํายาน บังตาน เปน
แหลงตนน้ําของแมน้ําตาป พื้นดินสวนใหญเปนหินอัคนีที่เกิดจากการยกตัวและระเบิดของภูเขาไฟ
อุทยานฯ ไดรับอิทธิพลจากลมมรสุมมี 2 ฤดู คือ ฤดูฝนและฤดูรอน สัตวปาที่พบ ไดแก เลียงผา
เกง กระจง หมูปา ชาง สมเสร็จ และเสือโครง นอกจากนี้ยังเคยเปนที่ตั้งของคาย 180 และคาย
357 ซึ่งเปนคายพรรคคอมมิวนิสตแหงประเทศไทยในอดีต สถานที่ที่นาสนใจในอุทยานฯ (กรม
อุทยานแหงชาติ. 2549) มีดังนี้
1. น้ํ า ตกดาดฟ า เป น น้ํ า ตกที่ สู ง ใหญ ที่ สุ ด ในจั ง หวั ด สุ ร าษฎร ธ านี มี 10 ชั้ น
ชั้นสูงสุดเปนหนาผาสูงชัน 80 เมตร ในฤดูฝนน้ําจะไหลแรงเต็มหนาผาราวกับไหลมาจากฟากฟา
จึงไดชื่อวา “ดาดฟา” มีเสนทางเดินปาศึกษาธรรมชาติ ระยะทาง 15 กิโลเมตร ในเวลาในการเดิน
2 วั น ต อ งพั ก ค า งแรมในป า 1 คื น โดยจะเริ่ ม เดิ น จากเขาหนามเตยจนมาถึ ง น้ํ า ตกดาดฟ า
การเดินทางไปน้ําตกใชทางหลวงหมายเลข 4009 สายอําเภอบานนาสาร - สุราษฎรธานี หางจาก
ตัวเมืองสุราษฏรธานี ประมาณ 13 กิโลเมตร
2. น้ํา ตกเหมื อ งทวด เป น น้ํ า ตกสู ง 7 ชั้ น บริ เ วณน้ํา ตกรม รื่ น ด ว ยต น ไม ใ หญ
ตั้งอยูหมูที่ 7 ตําบลลําพูน หางจากตัวอําเภอบานนาสารไปทางทิศตะวันออก 12 กิโลเมตร เปน
น้ําตกที่สวยงามมากแหงหนึ่ง
35

3. เขาหนอง เปนภูเขาที่สูงที่สุดในจังหวัดสุราษฏรธานี สูง 1,530 เมตร มีเมฆ


หมอกปกคลุมยอดเขา และสภาพอากาศเย็นชื้นตลอดป พันธุไมเปนปาดิบเขามีมอสและตะไครน้ํา
เกาะตามลําตนอยางหนาแนน
4. ถ้ําขมิ้นหรือถ้ําเหม็น ที่มีชื่อเรียกเชนนี้ เพราะมีมูลคางคาวที่อาศัยอยูเปนจํานวน
มากในถ้ํา เปนถ้ําที่เปนจุดทองเที่ยวเดนของอุทยานแหงชาติใตรมเย็น เปนถ้ําหินปูนที่กวางใหญ
มาก ยาว 2 กิโลเมตร ภายในถ้ํานอกจากจะไดชมความงามของหินงอกหินยอยแลว จะไดพบกับ
ศาลตาขุน ที่ปากถ้ําซึ่งเปนที่เคารพของชาวบาน ลานรถจิ๊ป เปนหองใหญที่มีรองรอยของรถจิ๊ป
ในสมัยที่มีการทําสัมปทานมูลคางคาว ลานทานขุน เปนทํานบหินปูน มีหินงอกหินยอยขนาดใหญ
เรียกวา “เสาเอก” และ “หลักชัย” ชองฟา เปนชองที่ทะลุเพดานถ้ําได มานสีชมพู เปนมาน
หินปูนที่มีลวดลายเปนริ้ว ๆ สีชมพู มองดูเปนภาพพระพุทธรูปปางสมาธิ มานฟา เปนมานหิน
ยอยขนาดใหญ บางจุดคลายเศียรชาง และบริเวณถ้ําสามารถกางเต็นทได
5. สันเย็น เปนแนวสันเขามองจากระยะไกลจะเห็นแนวเขาเรียบเสมอเปนแนวยาว
สูงประมาณ 1,000 – 1,300 เมตร มีสัตวปาและพันธุพืชหลายชนิดที่ไมสามารถพบเห็นตามปา
เบื้องลาง
ประวัติความเปนมาของเงาะโรงเรียนนาสาร
เงาะโรงเรียน หรือเงาะพันธุโรงเรียนนาสาร เปนเงาะพันธที่ดีที่สุดเทาที่มีอยูในประเทศ
ไทยปจจุบัน เงาะตนแมพันธมีเพียงตนเดียว ปลูกดวยเมล็ดเมื่อป พ.ศ.2469 โดยชาวจีน สัญชาติ
มาเลเซีย ชื่อ Mr. K. Wong ซึ่งมีภูมิลําเนาเดิมอยูที่เมืองปนัง ประเทศมาเลเซีย บุคคลผูนี้ไดเขามา
ทําเหมืองแรดีบุกที่หมูบานเหมืองแกะ ตําบลนาสาร ซึ่งเปนหมูบานที่ตั้งอยูบนฝงลําคลองฉวาง
ตรงขามกับโรงเรียนนาสารในปจจุบัน เมื่อ Mr. K.Wong มาทําเหมืองแรไดซื้อที่ดินริมทางรถไฟ
ดานทิศตะวันตก ใกลกับสถานีรถไฟนาสารเปนเนื้อที่ 18 ไร แลวสรางบานพักเปนเรือนไม 2 ชั้น
นับวาเปนบานที่ใหญโตและสงางามที่สุดเทาที่มีอยูในทองที่อําเภอบานนาสารในสมัยนั้น และนํา
เมล็ดพันธุเงาะจากเมืองปนัง (ปจจุบันเงาะพันธนี้ที่เมืองปนังไมมีแลว) มาปลูกขางบานพักทางทิศ
เหนือ จํานวน 4 ตน ในจํานวนเงาะทั้งหมด มีตนที่ 2 นับจากทิศตะวันออกไดออกผล มีลักษณะ
แตกตางจากตนอื่น คือรูปผลคอนขางกลม เปลือกผลสีแดงจัด แตมีขนสีเขียว เนื้อกรอบ หวานหอม
เปลือกบาง ซึ่งเงาะตนนี้เปนตนพันธุตนแรกของ “เงาะโรงเรียนนาสาร” (สถาบันทักษิณคดีศึกษา.
2528 : 681 - 682)
สาเหตุที่เรียกเงาะพันธุนี้วา เงาะพันธุโรงเรียน เพราะป พ.ศ.2478 Mr.K.Wong ไดเลิก
กิ จ การเหมื อ งแร ก ลั บ ไปเมื อ งป นั ง จึ ง ได ข ายที่ ดิ น แปลงนี้ พ ร อ มกั บ บ า นพั ก ให กั บ กระทรวง
ธรรมการ (กระทรวงศึกษาธิการในปจจุบัน) แผนกธรรมการอําเภอบานนา (อําเภอบานนาสารใน
36

ปจจุบัน) ในราคา 1,200 บาท ทางราชการจึงปรับปรุงบานพักใหเปนอาคารเรียน และยายโรงเรียน


นาสาร ซึ่งขณะนั้นตั้งอยูที่วัดนาสารมาอยูที่อาคารดังกลาว เมื่อวันที่ 17 พฤศจิกายน พ.ศ.2479
แต เ งาะพั น ธุ โ รงเรี ย นก็ ยั ง ไมไ ด ข ยายพั น ธ ม ากนั ก ต อ มาในป พ.ศ.2499 ทางราชการได ย า ย
นายคําแหง วิชัยดิษฐ ครูใหญโรงเรียนวัดโฉลกศิลาราม มาดํารงตําแหนงครูใหญโรงเรียนนาสาร
ทานไดเห็นวา เงาะตนนี้เปนเงาะพันธุดี หากสงวนไวก็จะไมเกิดประโยชนอันใดทางเศรษฐกิจ จึง
อนุญาตใหบุคคลทั่วไปตอนกิ่งแพรพันธุออกไป ครั้นถึงป พ.ศ.2500-2501 ไดมีกรรมวิธีแพรพันธุ
เกิดขึ้นอีกอยางหนึ่ง คือ การทาบกิ่ง จึงมีผูนิยมทาบกิ่งเงาะตนนี้ไปเปนจํานวนมาก ในระยะนั้นมี
เงาะที่มาจากจังหวัดปตตานี ยะลา นราธิวาส คือ พันธุยาวี เจะโมง เปเราะ เขามาแพรหลาย
พอสมควร ประชาชนเห็นวาเงาะตนนี้ยังไมมีชื่อพันธุ จึงพากันเรียกเงาะตนนี้วา “เงาะพันธุ
โรงเรียน” เพราะตนพันธุอยูที่โรงเรียนนาสาร และไดมีการขยายพันธุดวยวิธีการติดตาหรือตอตา
ทํ า ให เ งาะพั น ธุ โ รงเรี ย นแพร ห ลายมากยิ่ ง ขึ้ น ในป พ.ศ.2505 ได เ กิ ด มหาวาตภั ย ในภาคใต
ทําใหเงาะตนนี้ตองหักโคนไป ในป พ.ศ.2512 พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวภูมิพลอดุลยเดชได
เสด็จมาจังหวัดสุราษฎรธานี ผูนําชาวสวนผูหนึ่งไดทูลเกลาฯ ถวายผลพันธุเงาะโรงเรียนและขอให
พระราชทานชื่อพันธุเงาะนี้เสียใหม พระองคทรงมีพระราชดํารัสวา “ชื่อเงาะพันธุโรงเรียนดีอยู
แลว” นับแตนั้นมาเงาะพันธุนี้จึงไดชื่อวา “เงาะพันธุโรงเรียน” ตลอดมา
เงาะโรงเรียนมีลักษณะพิเศษอยูหลายประการ คือ นอกจากมีรสดีแลว การขยายพันธุ
ก็ ทํ า ได ง า ยมากจึ ง แพร พั น ธุ ไ ด ร วดเร็ ว แต เ ป น เงาะเฉพาะถิ่ น เพราะเท า ที่ มี ผู นํ า ไปปลู ก ใน
ตางจังหวัด ไมวาจะเปนในภาคตะวันออกหรือจังหวัดอื่น ๆ ก็ดี รสชาติมักจะดีสูเงาะที่ปลูกใน
อําเภอบานนาสารไมได เงาะโรงเรียนจึงเปนสัญลักษณโดดเดนอยางหนึ่งของอําเภอบานนาสาร
และจังหวัดสุราษฎรธานี

ลักษณะการใชแหลงเรียนรูเพื่อจัดการศึกษา

ชนิดา วิสะมิตนันท. (2541 : 44) ไดเสนอขั้นตอนการใชแหลงเรียนรูในทองถิ่นเพื่อ


ประโยชนในการจัดการศึกษา มีขั้นตอนดังนี้
1. การวางแผนใชแหลงเรียนรู (Plan)
การวางแผนเปนจุดเริ่มตนที่สําคัญในการสงเสริมใหผูเ รียนและครูผูสอนใช
แหล ง เรี ย นรู ใ นโรงเรี ย นและในท อ งถิ่ น ร ว มมื อ กั น จั ด กิ จ กรรมการเรี ย นการสอน โดย
คณะกรรมการบริหารหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานของโรงเรียน หรือมอบหมายใหสํารวจแหลง
37

เรียนรูในทองถิ่น จัดทําสารสนเทศแหลงเรียนรูในชุมชน/ทองถิ่น การรวบรวมขอมูลสารสนเทศ


สามารถทําไดหลายรูปแบบตามความตองการของผูใช และประเภทแหลงเรียนรู จําแนกไดดังนี้
1.1 จําแนกตามประเภทของแหลงเรียนรู
1.2 จําแนกตามสาระเรียนรู/กลุมวิชา
การจัดทําแผนการใชแหลงเรียนรู ควรดําเนินการควบคูกับการใชแหลงเรียนรู
ในโรงเรียนตามแนวทาง ดังนี้
1) ศึกษาหลักสูตรและความตองการของครูและนักเรียน
2) กําหนดยุทธศาสตรและเปาหมาย
3) วางแผนรวมกันระหวางผูใชบริการและผูใหบริการ
4) กําหนดโครงการ/งาน กิจกรรม การจัดการแหลงเรียนรู
2. การปฏิบัติการใชแหลงเรียนรู (Do)
การใชแหลงเรียนรูในโรงเรียนและทองถิ่น เพื่อประโยชนในการจัดการเรียน
การสอน ใหเกิดประโยชนสูงสุดคุมคาตอผูเรียนมากที่สุด โรงเรียนควรดําเนินการตามขั้นตอน ดังนี้
2.1 การเตรียมการ
2.1.1 ประชุมชี้แจงบุคลากร ทําความเขาใจรายละเอียดของแผนงาน
การจัดและใชแหลงเรียนรู
2.1.2 กําหนดรายละเอียดการดําเนินงาน
2.1.3 จัดหางบประมาณ
2.1.4 จัดเตรียมเอกสารประกอบการศึกษา (ใบงาน)
2.1.5 เตรียมอาหาร พาหนะและสถานที่
2.2 การประสานงาน
2.2.1 ติดตอประสานงานกับหนวยงาน องคกร หรือผูรับผิดชอบแหลง
เรียนรูกอนไปใชบริการ
2.2.2 ประสานงานติดตอกับวิทยากรผูทรงคุณวุฒิ (ถามี)
2.2.3 ประสานงานกับครูผูสอนรายวิชาตาง ๆ เพื่อจัดกิจกรรมการเรียน
การสอนที่สามารถนํามาบูรณาการได
2.3 การปฏิบัติ
2.3.1 ปฐมนิเทศผูเรียนกับวิธีการใชระเบียบ มารยาทและขอปฏิบัติใน
การใชแหลงเรียนรู
2.3.2 กําหนดใหผูเรียนบันทึก สรุปรายงานผลการใชแหลงเรียนรู
38

2.3.3 ดําเนินงานตามแผนปฏิบัติการ
2.4 การประเมินผลและสรุป
2.4.1 ใหผูเรียนรายงานการใชแหลงเรียนรู
2.4.2 ประเมินผลการใชแหลงเรียนรู
3. การประเมินผลการใชแหลงเรียนรู (Check)
วิธีการประเมินผลการใชแหลงเรียนรูของโรงเรียน เพื่อทราบความสําเร็จของ
การดําเนินงานในรอบป หรือประเมินผลเปนระยะตลอดปการศึกษา ได 3 ลักษณะ ดังนี้
3.1 การประเมินกอนการใชแหลงเรียนรู
3.2 การประเมินระหวางการใชแหลงเรียนรู
3.3 การประเมินหลังการใชแหลงเรียนรู
4. การปฏิบัติเปนมาตรฐานในการเรียนรูของผูเรียน (Act)
แหลงเรียนรูเปนปจจัยสําคัญในการพัฒนาผูเรียน เมื่อผูเรียนไดใชแหลงเรียนรู
ในการศึกษาคนควาแลว จะชวยใหผูเรียนมีความรู มีทักษะ และมีคุณลักษณะที่พึงประสงคของ
หลักสูตร ดังนี้
4.1 ตระหนักถึงความสําคัญ และความเปนของแหลงเรียนรูและมุงมั่น
พัฒนาคุณภาพตนเอง
4.2 รูจักแหลงเรียนรูที่หลากหลาย ไดศึกษาคนควาตามความถนัดและ
ความสนใจ
4.3 ผูเรียนเปนคนชางสังเกต รูจักวิเคราะห กลาคิด กลาพูด
4.4 มี ทั ก ษะและขั้ น ตอนในการเรี ย นรู กระตื อ รื อ รน รั ก การอ า น ใฝ รู
ใฝเรียน และรักการศึกษาคนควาดวยตนเอง
4.5 มีโอกาสทํางานในสิ่งที่ตนสนใจ มีความถนัด เหมาะสมสอดคลองกับ
ความตองการ
4.6 ปฏิบัติงานไดอยางมีระบบ รูจักการวางแผน วิธีการดําเนินงานตามแผน
การปรับปรุงพัฒนางานและการสรุปรายงาน
4.7 สามารถทํางานกับผูอื่นไดอยางมีความสุข รูจักชวยเหลือเกื้อกูลซึ่งกัน
และกัน
4.8 นําความรูมาประยุกตใชกับชีวิตประจําวัน และเปนแนวทางประกอบ
อาชีพในอนาคต
39

จริยา ลือชัย. (2546 : 26) ไดสรุปถึงลักษณะและวิธีการใชแหลงเรียนรู ดังนี้


1. การนําแหลงเรียนรูมาสูหองเรียน เชน การเชิญวิทยากรมาบรรยาย การสาธิต
การนําวัสดุ อุปกรณมาเปนตัวอยาง
2. การนํา นั ก เรี ย นไปสูชุ ม ชน เช น การศึ ก ษานอกสถานที่ ฝ ก งานตามสถาน
ประกอบการ การสํารวจชุมชน การสัมภาษณบุคคลสําคัญ
สุวิทย มูลคํา และอรทัย มูลคํา. (2545 : 108) ไดเสนอวิธีการจัดแหลงเรียนรูในชุมชน
และธรรมชาติไว 4 ประการ คือ
1. ควรมีการสํารวจและจัดทําทะเบียน และแผนผังหรือแผนที่ของแหลงเรียนรูท งั้ ที่
เปนสถานที่ บุคลากรและสื่อตาง ๆ เชน
1.1 แหลงวิทยาการในชุมชน
1.2 แหลงเรียนรูทางธรรมชาติและสิ่งแวดลอม
1.3 แหลงเรียนรูทางวัฒนธรรมและศาสนา
1.4 แหลงเรียนรูทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
1.5 แหลงเรียนรูจากสิ่งพิมพ สื่อโสตทัศนและอิเล็กโทรนิกส
1.6 ศูนยเผยแพรขา วสาร แหตุการณในชุมชน
1.7 วิถีการดําเนินชีวิต
1.8 ภูมิปญญาชาวบานหรือปราชญชาวบาน
2. ควรสรางความเขาใจและของความรวมมือกับทุกฝายที่เกี่ยวของ โดยการจัด
ประชุม เสวนากันอยางแพรหลายเกี่ยวกับแหลงเรียนรูในชุมชนและธรรมชาติ
3. ควรจัดทําแนวทางการดําเนินงานเกี่ยวกับ
3.1 การสรางความสัมพันธอันดีระหวางสถานศึกษากับแหลงเรียนรู
3.2 การวางแผนและการติดตอประสานงาน
3.3 การกําหนดจุดประสงคและสาระการเรียนรู
3.4 การวางแผนวิธีการศึกษาหาความรูและการจัดกิจกรรมตาง ๆ
3.5 การกําหนดบทบาทผูบริหาร ครู บุคลากรอื่นที่เกี่ยวของ
3.6 การกํ า หนดมาตรการป อ งกั น และการประกั น ความปลอดภั ย โดยอาจ
แสวงหารูปแบบการประกันภัยที่ประหยัดและมีประสิทธิภาพใหกับผูเรียน
3.7 การสรุปสาระการวัดและประเมินผลการเรียนรู
4. นําเสนอตัวอยางโรงเรียนที่จัดกิจกรรมการศึกษา จากแหลงเรียนรูในชุมชนและ
ธรรมชาติไดดีและประสบความสําเร็จ
40

เนาวรัตน ลิขิตวัฒนเศรษฐ. (อางถึงใน ภาษิต สุโพธิ์. 2547 : 10) ไดกลาวถึงลักษณะ


แหลงเรียนรูที่สําคัญไว ดังนี้
1. จัดบรรยากาศในแหลงเรียนรูใหเปนสภาพจริง/เหมือนจริง
2. จัดทรัพยากรในแหลงเรียนรูใ หเพียงพอ
3. ปรับสภาพของสถานที่ใหผูเรียนไดเรียนรูด วยตนเองมากที่สุด
4. จัดบริเวณโรงเรียนใหเกิดแหลงเรียนรูและแหลงสนับสนุนการเรียนรู
5. จัดศูนยวิทยาการใหเปนแหลงเรียนรูที่หลากหลาย
6. จัดกิจกรรมสงเสริมการใชแหลงเรียนรูที่หลากหลาย
7. มีการรว มมื อระหว างโรงเรียน และชุมชนดูแลสภาพแวดล อมใหเ ปน แหลง
เรียนรูทั้งในและนอกโรงเรียน
การที่ จ ะใช แ หล ง เรี ย นรู ใ ห เ กิ ด ประโยชน สู ง สุ ด กั บ การจั ด การศึ ก ษานั้ น จะต อ งมี
การบริหารจัดการที่ดี มีการเตรียมการและวางแผนในการใชแหลงเรียนรูอยางเปนระบบ เพื่อที่จะ
ชวยใหการใชแหลงเรียนรูนั้นเกิดประโยชนอยางคุมคามากที่สุด โดยเสียคาใชจายนอย วิธีการ
เตรียมการและวางแผนสามารถทําไดหลายวิธี ซึ่งจะตองเลือกใหเหมาะสมกับสภาพการณของ
แตละสถานศึกษา

งานวิจัยที่เกี่ยวของ

งานวิจัยในประเทศ
วนิดา เลาหวัฒน. (2546 : 105 - 113) ไดทําการวิจัยเรื่อง “การใชประโยชนจากแหลง
วิชาการชุมชนของโรงเรียนประถมศึกษา จังหวัดอุบลราชธานี” โดยมีวัตถุประสงค เพื่อสํารวจ
การใชประโยชนจากแหลงวิชาการชุมชนเกี่ยวกับขอบเขต ลักษณะการใชปญหาความตองการ
ความคิ ด เห็ น และข อ เสนอแนะของครู ผูส อนและผู บริ ห ารโรงเรี ย นระดั บ ประถมศึก ษา เพื่ อ
เปรียบเทียบความคิดเห็นระหวางผูบริหาร สังกัดคณะกรรมการการศึกษาแหงชาติกับสํานักงาน
คณะกรรมการการศึกษาเอกชน เกี่ยวกับประโยชนแหลงวิชาการชุมชน
ผลการวิจัยพบวา ครูสังกัดสํานักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาเอกชน และสังกัด
เทศบาล มี ป ญ หาเกี่ ย วกั บ การใช แ หล ง วิ ท ยาการชุ ม ชนมากกว า ครู สั ง กั ด คณะกรรมการการ
ประถมศึกษาแหงชาติ 6 เรื่อง คือ ครูไมมีขอมูลเกี่ยวกับแหลงวิทยาการชุมชนนั้น ๆ อยางเพียงพอ
เวลาการติดตอแหลงวิทยาการชุมชนมีพิธีการมากเกินไป ผูบริหารไมสนับสนุน นักเรียนไมสนใจ
ไปศึกษานอกสถานที่ และเจาหนาที่แหลงวิทยาการชุมชนไมใหความรวมมือ
41

จริยา ลือชัย. (2546 : บทคัดยอ) ไดทําการวิจัยเรื่อง “การใชแหลงเรียนรูในชุมชน


ประกอบการจัดการเรียนการสอนของครู ในโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดกรมสามัญศึกษาจังหวัด
ชุมพร” โดยมีวัตถุประสงค เพื่อศึกษาการใชแหลงเรียนรูในชุมชนประกอบการจัดการเรียนการ
สอนของครูในโรงเรียนมัธยมศึกษาสังกัดกรมสามัญศึกษา จังหวัดชุมพร ในดานปริมาณการใช
รูปแบบการใช วิธีการดําเนินแหลงเรียนรู และประโยชนที่ไดจากแหลงเรียนรูชุมชน และเพื่อ
เปรียบเทียบความแตกตางในการใชแหลงเรียนรูประกอบการจัดการเรียนการสอน ของครูที่มีวุฒิ
การศึกษา และประสบการณตางกัน และปญหาอุปสรรคที่มีตอการใชแหลงเรียนรูในชุมชน
ประกอบการจัดการเรียนการสอน
ผลการวิจัยพบวาปญหาอุปสรรคของการใชแหลงเรียนรูเรียงจากมากไปหานอย คือ
โรงเรียนอยูหางไกลจากแหลงเรียนรูของภาครัฐและเอกชน ขาดงบประมาณสนับสนุนการใช
แหลงเรียนรู เนื้อหาในบทเรียนมากเกินไปจึงไมมีเวลาที่จะไปใชแหลงเรียนรูนอกสถานศึกษา
โรงเรียนขาดความพรอมดาน ขอมูลสารสนเทศแหลงเรียนรู บุคลากรและงบประมาณมีจํากัด
จํานวนนักเรียนแตละหองมีจํานวนมาก ขาดพาหนะสําหรับการเดินทางไปแหลงเรียนรูภายนอก
สถานศึกษา ชุมชนขาดความพรอมที่จะใหการอนุเคราะหแกสถานศึกษาและนักเรียนทั้งดานกําลัง
ทรัพยและการใหบริการแหลงเรียนรู แหลงเรียนรูมีจํากัด ไมหลากหลาย ไมสอดคลองกับเนื้อหา
การเรียนรูของนักเรียน
ชาติ แจมนุช. (2527 : บทคัดยอ) ไดทําการวิจัยเรื่อง “การใชประโยชนจากแหลงความรู
ในชุมชน ประกอบการสอนวิชาประชากรศึกษา ในระดับมัธยมศึกษาตอนตน ในเขตการศึกษา 1”
โดยมี วั ตถุป ระสงค เพื่อศึ ก ษาข อเท็ จ จริ ง เกี่ย วกับการใชป ระโยชน จ ากแหลง ความรู ใ นชุม ชน
ประกอบการเรียนการสอนวิชาประชากรศึกษา เปนการศึกษาเกี่ยวกับเรื่อง ประเภทของแหลง
ความรูในชุมชน ผลการใชแหลงความรู ปญหาและอุปสรรคการใช ตลอดจนขอคิดเห็นและ
ขอเสนอแนะเกี่ยวกับการใชแหลงความรูในชุมชน ประกอบการสอนวิชาประชากรศึกษา
ผลการวิ จั ย พบว า ครู ผูสอนวิชาประชากรศึก ษา ใช แ หลงความรูประกอบการเรีย น
การสอน เชน หองสมุด โรงพยาบาล วิทยากร เอกสารและวารสารตาง ๆ โดยมีเหตุผลวาตองการ
เพิ่มประสบการณของนักเรียนใหกวางขวางมากขึ้น สวนเหตุผลที่ไมใชเพราะความไมพรอมของ
นั ก เรี ย นเอง ส ว นวิ ธี ก ารนั้ น เป น การศึ ก ษาค น คว า หาความรู เ พิ่ ม เติ ม ป ญ หาอุ ป สรรค คื อ
การขาดแคลนแหลงความรู คาใชจาย ปญหาความรวมมือจากเจาหนาที่ และบุคลากรในแหลง
ความรู ข อเสนอแนะ คือ ควรขอความรว มมือไปยังบุคคล สถานที่ หรื อหนวยงาน เพื่อให
ความรวมมือมากยิ่งขึ้น
42

ชํานาญ วัฒนะ. (2529 : 432 - 508) ไดทําการวิจัยเรื่อง “การศึกษาสภาพการใช


ทรัพยากรในชุมชนในการบริหารวิชาการโรงเรียนของโรงเรียนประถมศึกษาในจังหวัดบุรีรัมย”
โดยมีวัตถุประสงค เพื่อศึกษาสภาพการใชแหลงทรัพยากรในชุมชน ในการบริหารงานวิชาการ
โรงเรียนประถมศึกษาจังหวัดบุรีรัมย และเพื่อเปรียบเทียบสภาพปญหาและอุปสรรคของการใช
แหลงทรัพยากรในชุมชนในการบริหารงานวิชาการในโรงเรียนประถมศึกษาจังหวัดบุรีรัมยที่เปน
โรงเรียนดีเดนกับโรงเรียนธรรมดา
ผลการวิ จั ย พบว า ป ญ หาและอุ ป สรรคของการใช แ หล ง ทรั พ ยากรชุ ม ชนในการ
บริห ารงานวิช าการที่ ป ระสบป ญ หามากที่สุด คือ โรงเรี ย นไมมี ง บประมาณเป น ค า ตอบแทน
ทรัพยากรบุคคลที่ไดเชิญมาเปนวิทยากร และปญหาระดับมาก คือ ทรัพยากรบุคคลบางกลุมไมมี
เวลาวางพอที่จะใหความชวยเหลืองานบริหารดานวิชาการ ครูประสบปญหาและอุปสรรคในการใช
แหลงวิทยากรในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ปญหาระดับมากที่สุด คือ ไมมีงบประมาณ
คาใชจายในการใชแหลงทรัพยากรในชุมชน เพื่อการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนและปญหาระดับ
มาก คือ เมื่อใชแหลงทรัพยากรในชุมชนเพื่อการจัดการเรียนการสอนครูตองรับผิดชอบมากขึ้น
เจริญ งานไว. (2538 : 50) ไดทําการวิจัยเรื่อง “การจัดบรรยากาศและสิ่งแวดลอมใน
โรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดกรมสามัญศึกษา จังหวัดขอนแกน” ผลการวิจัยพบวา ปญหาในการจัด
สิ่งแวดลอมของโรงเรียน คือ ขาดผูรับผิดชอบในการจัดสิ่งแวดลอม ขาดงบประมาณ และขาด
การประชาสัมพันธ
เจนจัด ภักดีไทย. (2548 : บทคัดยอ) ไดทําการวิจัยเรื่อง การดําเนินงานแหลงเรียนรูใน
โรงเรียนมัธยมศึกษา จังหวัดสุราษฎรธานี โดยมีวัตถุประสงค เพื่อศึกษาการดําเนินงานแหลง
เรียนรูในโรงเรียนมัธยมศึกษา จังหวัดสุราษฎรธานี และเพื่อเปรียบเทียบการดําเนินงานแหลง
เรียนรูในโรงเรียนมัธยมศึกษา จังหวัดสุราษฎรธานี
ผลการวิ จั ย พบว า การดํ า เนิ น งานแหล ง เรี ย นรู ใ นโรงเรี ย นขนาดใหญ ขนาดกลาง
โดยภาพรวมและรายดานมีการปฏิบัติงานอยูในระดับปานกลาง การดําเนินงานแหลงเรียนรูใน
โรงเรียนขนาดเล็ก โดยรวมอยูในระดับปานกลาง โรงเรียนขนาดใหญมีการดําเนินงานแตกตางจาก
โรงเรียนขนาดกลางและขนาดเล็กอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดยโรงเรียนขนาดใหญมี
การดําเนินงานแหลงเรียนรูมากกวา โรงเรียนขนาดกลางและขนาดเล็ก โรงเรียนขนาดกลางมีการ
ดําเนินงานมากกวาโรงเรียนขนาดเล็กอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โรงเรียนขนาดเล็กมีการ
ดําเนินงานแตกตางจากโรงเรียนขนาดใหญและขนาดกลางอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05
โดยโรงเรียนขนาดใหญและขนาดกลางมีการดําเนินงานมากกวาโรงเรียนขนาดเล็ก
43

จากการศึกษางานวิจัยในประเทศสรุปไดวา การใชแหลงเรียนรูเพื่อการจัดการศึกษาของ
โรงเรียนยังประสบกับปญหาอยูพอสมควร ปญหาที่สําคัญของการใชแหลงเรียนก็ คือ การขาด
งบประมาณ การขาดแคลนขอมูลสาระสนเทศของแหลงเรียนรู การไมไดรับการสนับสนุนจาก
ฝายบริหารเทาที่ควร และการขาดการจัดการที่ดีและยังพบวา ขนาดของโรงเรียนก็เปนอีกปจจัย
หนึ่งที่มีผลใหการดําเนินงานแหลงเรียนรูของโรงเรียนมีความแตกตางกัน
งานวิจัยตางประเทศ
วอลคอรซ. (Walkorz. 1972 : 123) ไดวิจัยเรื่อง โครงการสิ่งแวดลอมและนิเวศนวิทยา
ในโรงเรียนประถมศึกษา 14 โรง ในมลรัฐอิลินอยส โดยเก็บขอมูลจากผูบริหาร และครูอาจารย
ที่เกี่ยวของ ผลการวิจัยพบวา วิธีสอนควรใชสื่อหลายชนิด และการศึกษานอกสถานที่ หลักสูตร
ควรเนนการแกปญหาเปนสําคัญ
สกอโนบีเลน. (Schnoebelen. 1990 : 18 - 21) ศึกษาวิจัยถึงปญหาการนํานักเรียนไปยัง
แหลงการเรียนรูดวยแบบสอบถามครูในรัฐเวอรจิเนีย สหรัฐอเมริกา ที่สอนโดยนํานักเรียนไปยัง
แหลง การเรีย นรู ผลการวิ จั ย พบว า ยังมี ก ารสอนแบบนี้ อยู นอ ยมากทั้ง ๆ ที่ ครูมี ความเห็น ว า
การสอนแบบนี้มีความสําคัญตอการเรี ยนรูของนักเรียน ในดานปญหาและอุปสรรคในการนํา
นักเรียนไปยังแหลงเรียนรูนั้นพบวา 1) ครูไมมีเวลาในการวางแผน 2) ขาดคนที่จะชวยในการจัด
และดําเนินกิจกรรม 3) โรงเรียนคิดวาเปนการเสี่ยงตออันตรายในการจัดกิจกรรมนี้ 4) ขาดวิธีการ
ที่ ดี แ ละเหมาะสมในการควบคุ ม ชั้ น เรี ย นนอกสถานที่ 5) มี ข อ จํ า กั ด ในการออกนอกสถานที่
โดยขอกําหนดของโรงเรียน 6) ขาดผูนําที่สนับสนุนและสงเสริมการจัดและ 7) ขนาดของชั้นเรียน
ใหญเกินไปในการศึกษานอกสถานที่
จากการศึกษางานวิจัยตางประเทศสรุปไดวา โรงเรียนตระหนักถึงความสําคัญของการใช
แหลงเรียนรูในชุมชนเพื่อการจัดการศึกษา แตในการดําเนินงานแหลงเรียนรูเพื่อการจัดการศึกษา
ยังมีปญหาอุปสรรค ขอขัดของอยูมาก โดยเฉพาะอยางยิ่งในเรื่องของการจัดการที่ยังไมเปนระบบ
ระเบียบ ขาดการวางแผนที่ดี และมีขอจํากัดหลายประการที่ทําใหไมสามารถดําเนินการไดอยางมี
ประสิทธิภาพ
จากการศึกษางานวิจัยสรุปไดวา ในการจัดการศึกษายุคใหม แหลงเรียนรูมีความสําคัญ
ยิ่งตอการจัดการศึกษาใหมีประสิทธิภาพ สถานศึกษา ผูบริหาร ครูและทุกฝายที่เกี่ยวของกับการ
จัดการศึกษา จะตองมีความตระหนักในความสําคัญของแหลงเรียนรู และคิดหาแนวทาง วิธีการที่
จะจั ด ระบบ และวางแผนให ก ารดํ า เนิ น งานแหล ง เรี ย นรู เพื่อการจั ด การศึก ษาสามารถบรรลุ
เปาหมายของหลักสูตร และเขาถึงอุดมคติของการศึกษาที่วา “การศึกษาสรางคน คนสรางชาติ”
44

อําเภอบานนาสาร จังหวัดสุราษฎรธานี เปนอําเภอที่มีแหลงเรียนรูที่หลากหลายนาสนใจ


เหมาะกับการนํามาใชในการจัดการศึกษา มีโรงเรียนที่เปดสอนในระดับชวงชั้นตางกันไป ไดแก
โรงเรียนประถมศึกษา โรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา และโรงเรียนมัธยมศึกษา แมจะมี
ผูศึ ก ษาวิ จัย การดํ าเนิ นงานแหลง เรีย นรู ใ นโรงเรียนมัธยมของจัง หวัดสุราษฎรธานีและ พบวา
โรงเรียนที่มีขนาดตางกันมีการดําเนินงานแหลงเรียนรูที่แตกตางกัน (เจนจัด ภักดีไทย. 2548 : ข)
แตผูวิจัยก็ยังมีความสนใจที่จะศึกษาการดําเนินงานแหลงเรียนรู ของโรงเรียนในอําเภอบานนาสาร
จัง หวั ด สุ ราษฎร ธานี ว า จะมี การดํ า เนิ น งานแหลง เรีย นรู เ พื่อ การจัด การศึก ษา ตางกั น หรือไม
อยางไร เนื่องจากบริบทของการวิจัยมีความแตกตางกันคอนขางมาก และบริบทของอําเภอบานนาสาร
ก็มีความแตกตางจากอําเภออื่น ๆ ในจังหวัดสุราษฎรธานี ซึ่งอาจทําใหผลการวิจัยแตกตางออกไปได
โดยผูวิจัยไดจําแนกโรงเรียนออกเปน 2 ขนาด คือ ขนาดเล็กและขนาดใหญ เนื่องจากโรงเรียน
สวนใหญในอําเภอบานนาสารเปนโรงเรียนประถมศึกษา สังกัดสํานักงานการศึกษาขั้นพื้นฐาน
(สพฐ.) ซึ่งมีขนาดเล็ก หากจําแนกโดยใชเกณฑของกระทรวงศึกษาธิการ หรือเกณฑของกรม
สงเสริมการปกครองสวนทองถิ่น ก็จะทําใหไดสัดสวนของโรงเรียนขนาดใหญและขนาดกลางที่
นอยเกินไปหรือแทบไมมีเลย ผูวิจัยจึงเห็นวาเกณฑการแบงขนาดโรงเรียนที่เหมาะสมกับบริบท
ของการวิจัยครั้งนี้ ควรเปน 2 ขนาดดังกลาว ซึ่งก็สอดคลองกับเกณฑการแบงขนาดโรงเรียนของ
สํานักงานมาตรฐานการศึกษา (สมศ.) นอกจากนี้ผูวิจัยยังตองการที่จะสํารวจขอมูลและศึกษาสภาพ
การใชแหลงเรียนรูในโรงเรียน และแหลงเรียนรูในชุมชน ตลอดถึงรูปแบบกิจกรรมการจัดการ
เรียนรูที่ใชประโยชนจากแหลงเรียนรูทั้งที่เปนแหลงเรียนรูในโรงเรียน และแหลงเรียนรูในชุมชน
โดยหวั ง ว า จะได ข อ มู ลที่ เ ป น ประโยชน ใ นการนํ า ไปพั ฒ นาการใช ป ระโยชน จ ากแหล ง เรี ย นรู
เพื่อการจัดการศึกษาใหไดมากขึ้นในอนาคต
บทที่ 3

วิธีดําเนินการวิจัย

การวิ จั ย เรื่ อง การศึก ษาสภาพการดํา เนิ น งานแหล ง เรี ย นรู เ พื่ อ การจั ด การศึ ก ษาของ
โรงเรียนในอําเภอบานนาสาร จังหวัดสุราษฎรธานีนี้ เปนการวิจัยเชิงสํารวจ (Survey Research)
ผูวิจัยดําเนินการ ดังนี้
1. ประชากรและกลุมตัวอยาง
2. เครื่องมือที่ใชเก็บรวบรวมขอมูล
3. ขั้นตอนการสรางเครื่องมือและการหาคุณภาพเครื่องมือ
4. วิธีดําเนินการเก็บรวบรวมขอมูล
5. สถิติที่ใชในการวิเคราะหขอมูล
6. การวิเคราะหขอ มูล

ประชากรและกลุมตัวอยาง

ประชากร ที่ใชในการวิจัยครั้งนี้ ไดแก ผูบริหารสถานศึกษาและครูโรงเรียนในอําเภอ


บานนาสาร จังหวัดสุราษฎรธานี รวม 677 คน ประกอบดวย โรงเรียนสังกัดเทศบาล 5 โรง
สังกัดสํานักเขตพื้นที่การศึกษา เขต 3 จังหวัดสุราษฎรธานี 40 โรง และสังกัดสํานักงานการศึกษา
เอกชน 3 โรง รวม จํานวน 48 โรง เมื่อจําแนกตามขนาดโรงเรียนปรากฏวาเปนขนาดใหญ 9 โรง
และขนาดเล็ก 39 โรง ประชากรจากโรงเรียนขนาดใหญ 343 คน เปนผูบริหาร 9 คน ครู 334 คน
ประชากรจากโรงเรียนขนาดเล็ก 334 คน เปนผูบริหาร 39 คน ครู 295 คน
กลุมตัวอยาง ที่ใชในการวิจัยครั้งนี้ ไดแก ผูบริหารสถานศึกษาและครูโรงเรียนใน
อําเภอบานนาสาร จังหวัดสุราษฎรธานี จํานวน 248 คน ไดมาโดยใชตารางสําเร็จรูปของเครจซี
และมอรแกน (Krejecie & Morgan. 1970 : 608 อางถึงใน พิสณุ ฟองศรี. 2549 : 109) ที่
ความเชื่อมั่น รอยละ 95 แลวคํานวณสัดสวนจําแนกตามขนาดโรงเรียนปรากฏวาไดกลุมตัวอยาง
จากโรงเรียนขนาดใหญ 126 คน ประกอบดวย ผูบริหาร 9 คน ครู 117 คน เปนกลุมตัวอยางจาก
โรงเรียนขนาดเล็ก 122 คน ประกอบดวย ผูบริหาร 36 คน ครู 86 คน ผูวิจัยสุมตัวอยาง โดยการ
สุมอยางงาย (Simple Random Sampling) ดวยการจับฉลาก แสดงรายละเอียดดังตารางที่ 3.1
46

ตารางที่ 3.1 จํานวนประชากรและกลุมตัวอยางที่ใชในการวิจัย

จํานวน ประชากร (คน) กลุมตัวอยาง (คน)


ขนาดโรงเรียน
โรงเรียน ผูบริหาร ครู รวม ผูบริหาร ครู รวม
ขนาดใหญ 9 9 334 343 9 117 126
ขนาดเล็ก 39 39 295 334 36 86 122
รวม 48 48 629 677 45 203 248

เครื่องมือที่ใชในการรวบรวมขอมูล

เครื่องมือที่ใชในการรวบรวมขอมูลเปนแบบสอบถาม ประกอบดวย 3 ตอน ดังนี้


ตอนที่ 1 ถามเกี่ยวกับสถานภาพทั่วไปของผูตอบแบบสอบถาม มีลักษณะแบบตรวจสอบ
รายการ (Checklist)
ตอนที่ 2 สํารวจประเภทแหลงเรียนรู และลักษณะกิจกรรมการใชแหลงเรียนรูใน
โรงเรียน และแหลงเรียนรูในชุมชนเพื่อการจัดการศึกษาของโรงเรียนในอําเภอบานนาสาร จังหวัด
สุราษฎรธานี มีลักษณะแบบตรวจสอบรายการ (Checklist) ผูวิจัยสรางขึ้นดวยตนเอง
ตอนที่ 3 สภาพการดําเนินงานแหลงเรียนรู 4 ดาน คือ ดานการวางแผนการใชแหลง
เรี ย นรู ด า นการดํา เนิน การใช แ หล ง เรี ย นรู ดา นการประเมิ น ผลการใช แ หล ง เรี ย นรู ด า นการ
ปรับปรุงพัฒนาการใชแหลงเรียนรู มีลักษณะแบบมาตราสวนประมาณคา (Rating Scale) 5 ระดับ
ซึ่งผูวิจัยพัฒนาแบบสอบถามของเจนจัด ภักดีไทย (2548) มีเกณฑใหคะแนน ดังนี้
5 หมายถึง มีการดําเนินงานระดับมากทีส่ ุด
4 หมายถึง มีการดําเนินงานระดับมาก
3 หมายถึง มีการดําเนินงานระดับปานกลาง
2 หมายถึง มีการดําเนินงานระดับนอย
1 หมายถึง มีการดําเนินงานระดับนอยทีส่ ุด
47

ขั้นตอนการสรางเครื่องมือและการหาคุณภาพเครื่องมือ

ผูวิจัยดําเนินการสรางเครื่องมือและหาคุณภาพเครื่องมือตามลําดับ ดังนี้
1. ศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวกับแหลงเรียนรูในโรงเรียน แหลงเรียนรูใน
ชุมชน ลักษณะรูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรูโดยใชแหลงเรียนรู และสภาพการดําเนินงาน
แหลงเรียนรูทั้งในประเทศและตางประเทศ
2. กําหนดกรอบแนวคิดการวิจัย
3. สรางและพัฒนาแบบสอบถาม
4. นํ า แบบสอบถามฉบั บ ร า งเสนออาจารย ที่ ป รึ ก ษาภาคนิ พ นธ ตรวจสอบ
ความถูกตองและขอคําแนะนํา แลวนําไปปรับปรุงแกไขตามคําแนะนํา
5. นําแบบสอบถามที่แกไขแลวไปหาคาความเที่ยงตรง (Validity)โดยใหผูเชี่ยวชาญ
จํานวน 5 คน ตรวจสอบความสอดคลองของเนื้อหา (Content Validity) กับนิยามศัพท กําหนดคา
ดัชนีความสอดคลอง (IOC) ตั้งแต .60 ขึ้นไป ปรากฏวามีคามากกวา .60 ทุกขอ ผูวิจัยได
ปรับปรุงขอความบางขอตามคําแนะนําของผูเชี่ยวชาญ นําไปปรึกษาอาจารยที่ปรึกษาเพื่อตรวจสอบ
ความถูกตองอีกครั้งหนึ่ง โดยมีเกณฑการตรวจสอบคุณภาพ ดังนี้
+ 1 เมื่อผูเชี่ยวชาญแนใจวาขอความสอดคลองกับนิยามศัพท
0 เมื่อผูเชี่ยวชาญไมแนใจวาขอความนั้นสอดคลองกับนิยามศัพท
- 1 เมื่อผูเชี่ยวชาญแนใจวาขอความนั้นไมสอดคลองกับนิยามศัพท
6. นําแบบสอบถามไปหาคาความเชื่อมั่น (Reliability) โดยทดลองใช (Try out)
กับบุคคลที่ไมใชกลุมตัวอยาง จํานวน 31 คน โดยวิธีหาคาสัมประสิทธิ์แอลฟา (Alpha
Coefficient) ของครอนบัค ( α - Cronbach) ไดคาความเชื่อมั่นตามตาราง 3.2
7. นําแบบสอบถามฉบับไปจัดทําฉบับสมบูรณ แลวไปใชเก็บขอมูลวิจัยตอไป
48

ตารางที่ 3.2 คาความเชื่อมั่นของแบบสอบถาม

สภาพการใชแหลงเรียนรู คาความเชื่อมัน่
1. ดานการวางแผนการใชแหลงเรียนรู .9067
2. ดานการดําเนินการใชแหลงเรียนรู .8357
3. ดานการประเมินผลการใชแหลงเรียนรู .9154
4. ดานการปรับปรุงพัฒนาการใชแหลงเรียนรู .9292
ภาพรวม .9606

การเก็บรวบรวมขอมูล

ผูวิจัยดําเนินการเก็บรวบรวมขอมูล ตามขั้นตอนดังนี้
1. ขอหนั ง สื อ จากบั ณ ฑิ ต ศึก ษา มหาวิท ยาลัย ราชภั ฏ สุร าษฎร ธ านี เพื่ อ ขอ
ความรวมมือในการเก็บรวบรวมขอมูล
2. นําหนังสือจากขอ 1 ไปขออนุญาตเก็บขอมูลกับโรงเรียนกลุมตัวอยาง
3. แจกแบบสอบถามใหกลุมตัวอยางแตละโรงเรียนและติดตามเก็บคืนดวยตนเอง
4. นําแบบสอบถามที่รวบรวมไดมาตรวจสอบความเรียบรอย แลวนํามาวิเคราะห
ขอมูลทางสถิติตอไป

สถิติที่ใชในการวิเคราะหขอมูล

สถิติที่ใชในการวิเคราะหขอมูลประกอบดวยสถิติ ดังนี้
1. สถิติพื้นฐาน
1.1 คารอยละ (Percentage)
1.2 คาเฉลี่ย (Arithmetic Mean)
1.3 คาเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation)
2. สถิติที่ใชในการทดสอบสมมติฐาน
คา t- test
49

การวิเคราะหขอมูล

ผูวิจัยดําเนินการวิเคราะหขอมูลทางสถิติและทดสอบสมมติฐานดวยคอมพิวเตอร โดยใช
โปรแกรมสําเร็จรูป SPSS for windows (Statistical Package for the Social Sciences) การจัดกระทํา
ขอมูล ดังนี้
1. ขอมูลตอนที่ 1 สถานภาพของผูตอบแบบสอบถามใชคารอยละ (Percentage)
2. ขอมูลตอนที่ 2 ประเภทแหลงเรียนรู และลักษณะรูปแบบกิจกรรมการใชแหลง
เรียนรูในโรงเรียนและแหลงเรียนรูในชุมชนเพื่อการจัดการศึกษา ใชคารอยละ (Percentage)
3. ขอมูลตอนที่ 3 สภาพการดําเนินงานแหลงเรียนรูของโรงเรียนในอําเภอบานนาสาร
จังหวัดสุราษฎรธานี ใชคาเฉลี่ย (Mean) และคาเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) ใช
เกณฑการแปลความหมายคาเฉลี่ย (บุญชม ศรีสะอาด. 2543 : 100) ดังนี้
4.51 – 5.00 หมายถึง มีการดําเนินงานระดับมากที่สุด
3.51 – 4.50 หมายถึง มีการดําเนินงานระดับมาก
2.51 – 3.50 หมายถึง มีการดําเนินงานระดับปานกลาง
1.51 – 2.50 หมายถึง มีการดําเนินงานระดับระดับนอย
1.00 – 1.50 หมายถึง มีการดําเนินงานระดับนอยที่สุด
4. ทดสอบสมมติฐานเพื่อเปรียบเทียบสภาพการดําเนินงานแหลงเรียนรูเพื่อการจัด
การศึกษาของโรงเรียนในอําเภอบานนาสาร จังหวัดสุราษฎรธานี จําแนกตามขนาดโรงเรียน ซึ่ง
แบงเปน 2 ขนาด คือ ขนาดใหญกับขนาดเล็ก ใชการทดสอบที (t- test)
บทที่ 4

ผลการวิเคราะหขอมูล

การวิ จั ย เรื่ อง การศึก ษาสภาพการดํา เนิ น งานแหล ง เรี ย นรู เ พื่ อ การจั ด การศึ ก ษาของ
โรงเรียนในอําเภอบานนาสาร จังหวัดสุราษฎรธานี ผูวิจัยนําเสนอผลการวิเคราะหขอมูล และการ
แปลความหมายจากการวิเคราะหขอมูลเปนลําดับ ดังนี้
1. สัญลักษณทางสถิติที่ใชในการวิเคราะหขอมูล
2. ตอนที่ 1 ขอมูลทั่วไปของกลุมตัวอยาง
3. ตอนที่ 2 ขอมูลการสํารวจแหลงเรียนรูในโรงเรียนและแหลงเรียนรูในชุมชน
3.1 การสํารวจขอมูลแหลงเรียนรูในโรงเรียน และลักษณะกิจกรรมการเรียนรูที่
จัดในโรงเรียน
3.2 การสํารวจขอมูลแหลงเรียนรูในชุมชน และรูปแบบการใชแหลงเรียนรูใน
ชุมชนเพื่อการจัดการศึกษา
4. ตอนที่ 3 ข อ มู ล สภาพการดํ า เนิ น งานแหล ง เรี ย นรู ข องโรงเรี ย นในอํ า เภอ
บานนาสาร จังหวัดสุราษฎรธานี จํานวน 4 ดาน ไดแก ดานการวางแผนการใชแหลงเรียนรู การ
ดําเนินการใชแหลงเรียนรู การประเมินผลการใชแหลงเรียนรู การปรับปรุงพัฒนา การใชแหลง
เรียนรู โดยจําแนกตามขนาดโรงเรียน
5. การเปรียบเทียบสภาพการดําเนินงานแหลงเรียนรูของโรงเรียนอําเภอบานนาสาร
จังหวัดสุราษฎรธานี ระหวางโรงเรียนขนาดใหญกับโรงเรียนขนาดเล็ก

สัญลักษณทางสถิติที่ใชในการวิเคราะหขอมูล

Χ แทน คาเฉลี่ย (Mean)


N แทน ขนาดของกลุม ตัวอยาง
S.D. แทน คาเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation )
t แทน คาสถิติในการทดสอบสมมติฐาน ใน t - Distribution
Sig. แทน คานัยสําคัญทางสถิติ (Significant )
* แทน นัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.5
51

ตอนที่ 1 ขอมูลทั่วไปของกลุมตัวอยาง

ผูวิจัยวิเคราะหขอมูลจากแบบสอบถามตอนที่ 1 แสดงดังตารางที่ 4.1 - 4.2

ตารางที่ 4.1 จํานวนกลุมตัวอยาง จําแนกตามขนาด โรงเรียน

ประชากร กลุมตัวอยาง จํานวนแบบสอบถาม


ขนาดโรงเรียน
(คน) (คน) สงไป รับคืน รอยละ
ใหญ 343 126 126 126 100
เล็ก 334 122 122 122 100
รวม 677 248 248 248 100

จากตารางที่ 4.1 แสดงวากลุมตัวอยางตอบและสงแบบสอบถามคืนครบ คิดเปนรอยละ 100

ตารางที่ 4.2 จํานวนกลุมตัวอยาง จําแนกตามระดับชวงชั้นที่โรงเรียนเปดสอน

จํานวน กลุมตัวอยาง
ระดับที่เปดสอน
(โรง) จํานวน (คน) รอยละ
1. ประถมศึกษา (ชวงชั้นที่ 1-2) 35 137 55
2. ขยายโอกาส (ชวงชั้นที่ 1-3) 6 69 28
3. มัธยมศึกษา (ชวงชั้นที่ 3- 4) 4 42 17
รวม 45 248 100

จากตารางที่ 4.2 แสดงวากลุมตัวอยางประกอบดวย โรงเรียนระดับประถมศึกษา 35 โรง


จํานวน 137 คน คิดเปนรอยละ 55 โรงเรียนขยายโอกาส 6 โรง จํานวน 69 คน คิดเปนรอยละ
28 และโรงเรียนมัธยมศึกษา 4 โรง จํานวน 42 คน คิดเปนรอยละ 17
52

ตอนที่ 2 ขอมูลการสํารวจแหลงเรียนรูในโรงเรียนและแหลงเรียนรูในชุมชน

การสํารวจขอมูลแหลงเรียนรูในโรงเรียนและลักษณะกิจกรรมการเรียนรูที่จัดในโรงเรียน
ดังตารางที่ 4.3 - 4.7

ตารางที่ 4.3 ผลการศึกษาแหลงเรียนรู ในโรงเรียน อําเภอบานนาสาร จังหวัดสุราษฎรธานี


จําแนกตามขนาดของโรงเรียน

โรงเรียนขนาดใหญ โรงเรียนขนาดเล็ก
แหลงเรียนรูในโรงเรียน
จํานวน (โรง) รอยละ จํานวน (โรง) รอยละ
1. หองสมุด 9 100 36 100
2. มุมหนังสือในหองเรียน 4 44 29 81
3. หองปฏิบัติการวิทยาศาสตร 9 100 30 83
4. หองดนตรี/นาฎศิลป 7 78 7 19
5. หองปฏิบัติการทางภาษา 5 56 9 25
6. หองโสตทัศนศึกษา 3 33 5 14
7. หองพลศึกษา 4 44 9 25
8. หองการงานอาชีพ 3 33 13 36
9. หองกิจกรรมชุมนุม 4 44 13 36
10. หองคอมพิวเตอร 9 100 31 86
11. อินเตอรเน็ต 9 100 21 58
12 เสียงตามสาย 9 100 23 64
13. หองลูกเสือ/เนตรนารี 1 11 9 25
14. หองแนะแนว 5 56 4 11
15. หองหมวดวิชาอื่น ๆ 4 44 5 14
16. แปลงเกษตร 7 78 32 89
17. เรือนเพาะชํา 5 56 29 80
18. บอเลี้ยงปลา 4 44 18 50
19. โรงเพาะเห็ด 1 11 - -
20. โรงฝกงาน 1 11 5 14
53

ตารางที่ 4.3 (ตอ)

โรงเรียนขนาดใหญ โรงเรียนขนาดเล็ก
แหลงเรียนรูในโรงเรียน
จํานวน (โรง) รอยละ จํานวน (โรง) รอยละ
21. สวนพฤกษศาสตร 3 33 4 11
22. สวนสมุนไพร 4 44 7 19
23. ปายนิเทศ 9 100 36 100
24. อื่น ๆ - - - -

จากตารางที่ 4.3 แสดงว า แหล ง เรี ย นรู ที่ มี ใ นโรงเรี ย นขนาดใหญ ทุ ก โรงเรี ย น
ประกอบดวยหองสมุด หองปฏิบัติการวิทยาศาสตร หองคอมพิวเตอร อินเตอรเน็ตและเสียงตามสาย
คิดเปนรอยละ 100 รองลงมา คือ หองดนตรี/นาฏศิลป และปายนิเทศ คิดเปนรอยละ 78 เทากัน
สวนแหลงเรียนรูที่มีในโรงเรียนขนาดเล็กทุกโรงเรียน ประกอบดวย หองสมุดและปายนิเทศ
คิดเปนรอยละ 100 รองลงมา คือ แปลงเกษตร รอยละ 89 หองคอมพิวเตอร รอยละ 86 และ
หองปฏิบัติการวิทยาศาสตร รอยละ 83

ตารางที่ 4.4 ผลการศึกษาการจัดกิจกรรมโดยใชแหลงเรียนรูหองสมุดโรงเรียนของโรงเรียน อําเภอ


บานนาสาร จังหวัดสุราษฎรธานี จําแนกตามขนาดโรงเรียน

ลักษณะกิจกรรม โรงเรียนขนาดใหญ โรงเรียนขนาดเล็ก


ที่จัดในหองสมุดโรงเรียน จํานวน (โรง) รอยละ จํานวน (โรง) รอยละ
1. บริการยืมคืนหนังสือหองสมุด 9 100 25 69
2. กิจกรรมคนควาเพิ่มเติมในหองสมุด 9 100 34 94
3. กิจกรรมแนะนําหนังสือใหม 7 78 7 19
4. กิจกรรมสํารวจหองสมุด 2 22 4 11
5. กิจกรรมสงเสริมการอาน เชน
แขงขันยอดนักอาน ฯลฯ 8 89 25 69
6. กิจกรรมอื่น ๆ ไดแก คายรักการอาน
วางทุกงานอานทุกคน เปนตน 3 33 4 11
54

จากตารางที่ 4.4 แสดงวาโรงเรียนขนาดใหญในอําเภอบานนาสาร จังหวัดสุราษฎรธานี


มีการจัดกิจกรรม บริการยืม - คืนหนังสือ และกิจกรรมคนควาเพิ่มเติมในหองสมุด คิดเปนรอยละ
100 รองลงมา คือ กิจกรรมสงเสริมการอาน รอยละ 89 และกิจกรรมแนะนําหนังสือใหม รอยละ
78 สวนในโรงเรียนขนาดเล็ก กิจกรรมที่จัดในหองสมุดมากที่สุด คือ กิจกรรมคนควาเพิ่มเติมใน
หองสมุด คิดเปนรอยละ 94 รองลงมา คือ กิจกรรมยืมคืนหนังสือ และกิจกรรมสงเสริมการอาน
รอยละ 69 เทากัน

ตารางที่ 4.5 ผลการศึ ก ษาลั ก ษณะการจั ด กิ จ กรรมเรี ย นรู โดยใช แ หล ง เรี ย นรู ห อ งปฏิ บั ติ ก าร
วิทยาศาสตร ของโรงเรียนในอําเภอบานนาสาร จังหวัดสุราษฎรธานี จําแนกตาม
ขนาดโรงเรียน

ลักษณะกิจกรรม โรงเรียนขนาดใหญ โรงเรียนขนาดเล็ก


ที่จัดในหองปฏิบัติการวิทยาศาสตร จํานวน (โรง) รอยละ จํานวน (โรง) รอยละ
1. การทดลองวิทยาศาสตร 9 100 29 81
2. การทําโครงงานวิทยาศาสตร 6 67 16 44
3. การจัดนิทรรศการวิทยาศาสตร 3 33 - -
4. ปายนิเทศความรูวิทยาศาสตร 8 89 14 69
5. กิจกรรมอื่น ๆ ไดแก การแขงขันตอบ
ปญหาวิทยาศาสตร - - 2 6

จากตารางที่ 4.5 แสดงวา โรงเรียนขนาดใหญในอําเภอบานนาสาร จังหวัดสุราษฎรธานี


มีกิ จกรรม การทดลองวิ ทยาศาสตร คิด เปน ร อยละ 100 รองลงมาคือ จัด ใหมีป า ยนิ เทศความรู
วิทยาศาสตร รอยละ 89 และการทําโครงงานวิทยาศาสตร รอยละ 67 สวนในโรงเรียนขนาดเล็ก
กิจกรรมที่มีมากที่สุด คือ การทดลองวิทยาศาสตร คิดเปนรอยละ 81 รองลงมาคือ ปายนิเทศความรู
วิทยาศาสตร รอยละ 69
55

ตารางที่ 4.6 ผลการศึกษาการจัดกิจกรรมโดยใชแหลงเรียนรูหองคอมพิวเตอรและอินเตอรเน็ตของ


โรงเรียนในอําเภอบานนาสาร จังหวัดสุราษฎรธานี จําแนกตามขนาดโรงเรียน

ลักษณะกิจกรรม โรงเรียนขนาดใหญ โรงเรียนขนาดเล็ก


ที่จัดในหองคอมพิวเตอรและอินเตอรเน็ต จํานวน (โรง) รอยละ จํานวน (โรง) รอยละ
1. การสืบคนขอมูลจากอินเตอรเน็ต 8 89 22 61
2. การทําใบงาน - รายงานโดยใช
คอมพิวเตอร 9 100 29 81
3. เกมคอมพิวเตอร 4 44 4 19
4. การเก็บขอมูลสารสนเทศ 8 89 23 64
5. กิจกรรมอื่น ๆ ไดแก การตอบปญหา
ทางอินเตอรเน็ต 1 11 2 6

จากตารางที่ 4.6 แสดงวาโรงเรียนขนาดใหญ ในอําเภอบานนาสาร จังหวัดสุราษฎรธานี


มีกิจกรรมการทําใบงาน-รายงานโดยใชคอมพิวเตอร คิดเปนรอยละ 100 รองลงมา คือ การสืบคน
ขอมูลจากอินเตอรเน็ต การเก็บขอมูลสารสนเทศ คิดเปนรอยละ 89 เทากัน สวนโรงเรียนขนาดเล็ก
กิจกรรมที่มีมากที่สุด คือ การทําใบงาน-รายงานโดยใชคอมพิวเตอร รอยละ 81 รองลงมา คือ
การเก็บขอมูลสารสนเทศ คิดเปนรอยละ 64 และการสืบคนขอมูลจากอินเตอรเน็ต รอยละ 61

ตารางที่ 4.7 ผลการศึกษาการจัดกิจกรรมโดยใชแหลงเรียนรูอื่น ๆ ในโรงเรียนในอําเภอบานนาสาร


จังหวัดสุราษฎรธานี จําแนกตามขนาดโรงเรียน

ลักษณะกิจกรรม โรงเรียนขนาดใหญ โรงเรียนขนาดเล็ก


ที่จัดในแหลงเรียนรูอื่น ๆ ในโรงเรียน จํานวน (โรง) รอยละ จํานวน (โรง) รอยละ
1. การสํารวจพืช/สัตวในบริเวณโรงเรียน 5 56 18 50
2. การสํารวจสภาพแวดลอมของโรงเรียน 7 77 27 75
3. การจัดทําแผนที่/แผนผังโรงเรียน 6 67 19 53
4. การฝกปฏิบัติงานเกษตร 8 89 36 100
5. การฝกปฏิบัติงานในโรงฝกงาน 2 22 4 11
6. กิจกรรมอื่น ๆ - - 2 6
56

จากตารางที่ 4.7 แสดงวากิจกรรมเรียนรูที่จัดขึ้นในแหลงเรียนรูอื่น ๆ ของโรงเรียน


ขนาดใหญ ที่มากที่สุด คือ การสํารวจสภาพแวดลอมของโรงเรียน และการฝกปฏิบัติงานเกษตร
คิดเปนรอยละ 89 เทากัน รองลงมา คือ การจัดทําแผนที่/แผนผังโรงเรียน รอยละ 67 สวนใน
โรงเรีย นขนาดเล็ ก กิ จ กรรมที่ มี ม ากที่ สุด คื อ การฝ ก ปฏิบั ติง านเกษตร คิด เป น รอ ยละ 100
รองลงมา คือ การสํารวจสภาพแวดลอมของโรงเรียน รอยละ 75 และการจัดทําแผนผัง/แผนที่
โรงเรียน รอยละ 53

การสํารวจขอมูลแหลงเรียนรูในชุมชน และรูปแบบการใชแหลงเรียนรูในชุมชนเพื่อการ
จัดการศึกษา ดังตารางที่ 4.8 - 4.12

ตารางที่ 4.8 ผลการศึกษาการใชแหลงเรีย นรู ใ นชุม ชน ประเภทบุ คคลในการจั ด การศึกษาของ


โรงเรียนในอําเภอบานนาสาร จังหวัดสุราษฎรธานี จําแนกตามขนาดของโรงเรียน

แหลงเรียนรูประเภทบุคคล โรงเรียนขนาดใหญ โรงเรียนขนาดเล็ก


ที่ใชในการจัดการศึกษา จํานวน (โรง) รอยละ จํานวน (โรง) รอยละ
1. นักบวช / พระสงฆ 9 100 27 75
2. ภูมิปญญาทองถิ่น 7 78 34 94
3. ผูนําชุมชน 6 67 31 81
4. ตํารวจ 8 89 22 61
5. ทหาร - - - -
6. แพทย พยาบาล/สาธารณสุข 8 89 27 75
7. ขาราชการหนวยงานอืน่ ไดแก เจาหนาที่
อุทยาน เจาหนาที่กองทุนสงเคราะหการ
ทําสวนยาง อปพร. เปนตน 7 78 14 39
8. บุคลากรภาคเอกชน ไดแก กองทุน
หมูบาน, วิสาหกิจชุมชน, บริษัทฮอนดา
เปนตน 4 44 7 19

จากตารางที่ 4.8 แสดงวาแหลงเรียนรูในชุมชนประเภทบุคคลที่โรงเรียนขนาดใหญใน


อําเภอบานนาสาร จังหวัดสุราษฎรธานี นํามาใชเพื่อการจัดการศึกษามากที่สุด คือ นักบวช/
57

พระสงฆ คิดเปนรอยละ 100 รองลงมา คือ ตํารวจ และแพทย/พยาบาล/สาธารณสุข รอยละ 78


เท า กั น ส ว นในโรงเรี ย นขนาดเล็ ก เลื อ กใช ภู มิ ป ญ ญาท อ งถิ่ น มากที่ สุ ด คิ ด เป น ร อ ยละ 94
รองลงมา คือ ผูนําชุมชน รอยละ 81 นักบวช/พระสงฆ และแพทยพยาบาล/สาธารณสุข รอยละ
75 เทากัน

ตารางที่ 4.9 ผลการศึกษาการใช แหลง เรี ย นรูใ นชุ มชนประเภททรั พยากรธรรมชาติ ในท อ งถิ่น
เพื่อการจัดการศึกษา ของโรงเรียนในอําเภอบานนาสาร จังหวัดสุราษฎรธานี จําแนก
ตามขนาดของโรงเรียน

แหลงเรียนรูประเภททรัพยากรธรรมชาติ โรงเรียนขนาดใหญ โรงเรียนขนาดเล็ก


ในทองถิ่นที่ใชในการจัดการศึกษา จํานวน (โรง) รอยละ จํานวน (โรง) รอยละ
1. อุทยานแหงชาติใตรมเย็น 5 56 20 56
2. น้ําตกดาดฟา 7 78 23 64
3. น้ําตกเหมืองทวด - - 7 19
4. คลองฉวาง 8 89 23 64
5. ถ้ําขมิ้น 9 100 31 86
6. บอน้ํารอน 2 22 5 14
7. โครงการจุฬาภรณพัฒนา 2 22 4 11
8. สวนปา 1 11 13 36
9. สวนเกษตร 1 11 8 22
10. อื่น ๆ ไดแก แมน้ําตาป 1 11 2 6

จากตารางที่ 4.9 แสดงว า โรงเรี ย นขนาดใหญ เ ลื อ กใช ถ้ํ า ขมิ้น ในการจั ด การศึ ก ษา
มากที่สุด คิดเปนรอยละ 100 รองลงมา คือ คลองฉวาง รอยละ 89 และน้ําตกดาดฟา รอยละ 78
สวนโรงเรียนขนาดเล็กเลือกใช ถ้ําขมิ้นมากที่สุดเชนเดียวกัน คิดเปนรอยละ 86 รองลงมา คือ
น้ําตกดาดฟาและคลองฉวาง รอยละ 64 เทากัน
58

ตารางที่ 4.10 ผลการศึกษาการใชแหลงเรียนรูในชุมชน ประเภท แหลงเรียนรูที่มนุษยสรางขึ้น


เพื่ อ การจั ด การศึ ก ษา ของโรงเรี ย นในอํ า เภอบ า นนาสาร จั ง หวั ด สุ ร าษฎร ธ านี
จําแนกตามขนาดของโรงเรียน

แหลงเรียนรูที่มนุษยสรางขึน้ โรงเรียนขนาดใหญ โรงเรียนขนาดเล็ก


เพื่อการจัดการศึกษา จํานวน (โรง) รอยละ จํานวน (โรง) รอยละ
1. วัด / ศาสนาสถาน 9 100 20 100
2. สวนสาธารณะไตรคีรี 2 22 2 6
3. โรงงานอุตสาหกรรม 2 44 5 14
4. รานคา / บริษัท 4 44 23 64
5. สถานประกอบการ 4 44 16 44
6. โรงพยาบาล 3 33 9 25
7. สถานีอนามัย / สาธารณสุข 4 44 27 75
8. เทศบาล 4 44 4 11
9. สถานีตํารวจ 4 44 4 11
10. ศูนยกฬี าและนันทนาการ 1 11 7 19
11. หองสมุดประชาชน 3 33 2 6
12. อนุสรณสถานบานชองชาง - - - -
13. อื่น ๆ ไดแก ศูนยวิสาหกิจชุมชน
กองทุนหมูบาน อบต. เปนตน - - 6 17

จากตารางที่ 4.10 แสดงว า โรงเรีย นขนาดใหญเ ลื อ กใช วัด /ศาสนสถาน มากที่สุ ด


คิดเปนรอยละ 100 รองลงมา คือ รานคา/บริษัท สถานประกอบการ สถานีอนามัย/สาธารณสุข
เทศบาล และสถานีตํารวจ รอยละ 44 เทากัน สวนโรงเรียนขนาดเล็กเลือกใช วัด/ศาสนสถาน
มากที่สุดเชนกัน คิดเปนรอยละ 100 รองลงมา คือ สถานีอนามัย/สาธารณสุข รอยละ 75 และ
รานคา/บริษัท รอยละ 64
59

ตารางที่ 4.11 ผลการศึกษาการใชแหลงเรียนรูในชุมชนประเภทวัฒนธรรมเพื่อการจัดการศึกษา


ของโรงเรียนในอําเภอบานนาสาร จังหวัดสุราษฎรธานี จําแนกตามขนาดโรงเรียน

แหลงเรียนรูประเภทวัฒนธรรม โรงเรียนขนาดใหญ โรงเรียนขนาดเล็ก


เพื่อการจัดการศึกษา จํานวน (โรง) รอยละ จํานวน (โรง) รอยละ
1. ประเพณีงานศพ 6 67 28 78
2. ประเพณีงานแตงงาน 6 67 31 86
3. ประเพณีงานบวช 7 78 30 83
4. ประเพณีทอดกฐิน / ผาปา 5 56 31 86
5. ประเพณีตักบาตรเทโว 6 67 8 22
6. ประเพณีวันขึน้ ปใหม 7 78 30 83
7. ประเพณีสงกรานต 6 67 34 94
8. ประเพณีลอยกระทง 9 100 36 100
9. การละเลนพื้นบาน 7 78 22 61
10. เทศกาลเงาะโรงเรียน 9 100 18 50
11. เทศกาลอาหารพื้นเมือง 6 67 10 28
12. ประเพณีบุญเดือนสิบ 8 89 32 89
13. อื่น ๆ ไดแก ประเพณีวันสําคัญทาง
ศาสนาตาง ๆ 5 56 13 36

จากตารางที่ 4.11 แสดงวา โรงเรียนขนาดใหญเลือกใช ประเพณีลอยกระทง และเทศกาล


เงาะโรงเรียน มากที่สุด คิดเปนรอยละ 100 เทากัน รองลงมาคือ ประเพณีบุญเดือนสิบ รอยละ 89
และ ประเพณีงานบวช , ประเพณีวันขึ้นปใหม รอยละ78 เทากัน สวนโรงเรียนขนาดเล็กเลือกใช
ประเพรีลอยกระทง มากที่สุดเชนกัน คิดเปนรอยละ 100 รองลงมาคือ ประเพณีสงกรานต รอยละ
94 และประเพณีบุญเดือนสิบ รอยละ 89
60

ตารางที่ 4.12 ผลการศึกษารูปแบบการใชแหลงเรียนรูในชุมชนในการจัดการศึกษา ของโรงเรียน ใน


อําเภอบานนาสาร จังหวัดสุราษฎรธานี จําแนกตามขนาดของโรงเรียน

ขนาดใหญ ขนาดเล็ก
รูปแบบการใชแหลงเรียนรู
คะแนน อันดับที่ คะแนน อันดับที่
1. เชิญวิทยากรมาใหความรูแ กนักเรียนในโรงเรียน 59 1 126 2
2. นํานักเรียนไปเรียนรูที่แหลงเรียนรู 52 3 119 3
3. มอบหมายงานใหนักเรียนไปเรียนรู เก็บขอมูล
แลวเขียนรายงาน 45 4 102 4
4. ใหนกั เรียนไปสัมภาษณบุคคลแลวเขียนรายงาน 42 5 58 6
5. จัดกิจกรรมเรียนรูขึ้นเองในโรงเรียน 57 2 128 1
6. จัดกิจกรรมเรียนรูโดยรวมมือกับชุมชน 27 6 85 5
7. การจัดใหมีการเขาคาย เชน คายรักการอาน
คายวิทยาศาสตร แคมปภาษาอังกฤษ ฯลฯ 26 7 68 7
8. จัดใหนักเรียนเขาฝกปฏิบัติเพื่อหาประสบการณ
ในแหลงเรียนรู 11 8 14 8
9. อื่น ๆ - - - -

จากตารางที่ 4.12 แสดงวาโรงเรียนขนาดใหญในอําเภอบานนาสาร จังหวัดสุราษฏรธานี


มีรูปแบบการใชแหลงเรียนรูในชุมชนเพื่อการจัดการศึกษา เรียงลําดับจากมากไปนอย คือ เชิญ
วิทยากรมาใหความรูแกนักเรียนในโรงเรียน การจัดกิจกรรมเรียนรูขึ้นเองในโรงเรียน นํานักเรียน
ไปเรียนรู ที่แหล งเรียนรู มอบหมายงานใหนักเรียนไปเรียนรู/เก็ บขอมูลแลวเขียนรายงาน ให
นักเรียนไปสัมภาษณบุคคลแลวเขียนรายงาน จัดกิจกรรมเรียนรูโดยรวมมือกับชุมชน การจัดใหมี
การเขาคาย เชน คายรักการอาน คายวิทยาศาสตร แคมปภาษาอังกฤษ ฯลฯ จัดใหนักเรียนเขาฝก
ปฏิบัติเพื่อหาประสบการณในแหลงเรียนรู รูปแบบการใชแหลงเรียนรูในชุมชนในการจัดการศึกษา
ส ว นโรงเรี ย นขนาดเล็ ก มี รู ป แบบการใช แ หล ง เรี ย นรู ใ นชุ ม ชนเพื่ อ การจั ด การศึ ก ษา
เรียงลําดับจากมากไปนอย คือ การจัดกิจกรรมเรียนรูขึ้นเองในโรงเรียน เชิญวิทยากรมาใหความรู
แกนักเรียนในโรงเรียน นํานักเรียนไปเรียนรูที่แหลงเรียนรู มอบหมายงานใหนักเรียนไปเรียนรู/
เก็บขอมูลแลวเขียนรายงาน จัดกิจกรรมเรียนรูโดยรวมมือกับชุมชน ใหนักเรียนไปสัมภาษณบุคคล
61

แล ว เขี ย นรายงาน การจั ด ให มี ก ารเข า ค า ย เช น ค า ยรั ก การอ า น ค า ยวิ ท ยาศาสตร แคมป
ภาษาอังกฤษ ฯลฯ จัดใหนักเรียนเขาฝกปฏิบัติเพื่อหาประสบการณในแหลงเรียนรู

ตอนที่ 3 ข อ มู ล สภาพการดํ า เนิ น งานแหล ง เรี ย นรู ข องโรงเรี ย นในอํ า เภอบ า นนาสาร จั ง หวั ด
สุราษฎรธานี จํานวน 4 ดาน ไดแก ดานการวางแผนการใชแหลงเรียนรู การดําเนินการ
ใชแหลงเรียนรู การประเมินผลการใชแหลงเรียนรู การปรับปรุงพัฒนา การใชแหลง
เรียนรู โดยจําแนกตามขนาดโรงเรียน

ตารางที่ 4.13 คาเฉลี่ย คาเบี่ยงเบนมาตรฐาน การดําเนินการแหลงเรียนรูเพื่อการจัดการศึกษา


ของโรงเรียน ในอําเภอบานนาสาร จังหวัดสุราษฎรธานี

การดําเนินการแหลงเรียนรู Χ S.D. ระดับ


1. ดานการวางแผนการใชแหลงเรียนรู 3.39 .56 ปานกลาง
2. ดานการดําเนินการใชแหลงเรียนรู 3.26 .58 ปานกลาง
3. ดานการประเมินผลการใชแหลงเรียนรู 3.13 .52 ปานกลาง
4. ดานการปรับปรุงพัฒนาการใชแหลงเรียนรู 2.80 .85 ปานกลาง
รวม 3.15 .57 ปานกลาง

จากตารางที่ 4.13 แสดงว า โรงเรี ย นในอํ า เภอบ า นนาสาร จั ง หวั ด สุ ร าษฎร ธ านี
ดําเนินงานแหลงเรียนรูเพื่อการจัดการศึกษา โดยภาพรวมและรายดานอยูในระดับปานกลางทุกดาน
โดยมีดานการวางแผนการใชแหลงเรียนรู มีคาเฉลี่ยสูงสุด และดานการปรับปรุงพัฒนาการใชแหลง
เรียนรู มีคาเฉลี่ยต่ําสุด
62

ตารางที่ 4.14 คาเฉลี่ย คาเบีย่ งเบนมาตรฐานและความคิดเห็นของผูตอบแบบสอบถามที่มีตอ


สภาพการใชแหลงเรียนรูในการจัดการศึกษาดานการวางแผนการใชแหลงเรียนรู
ของโรงเรียน ในอําเภอบานนาสาร จังหวัดสุราษฎรธานี

ระดับ
การวางแผนการใชแหลงเรียนรู Χ S.D.
ความคิดเห็น
1. มีการกําหนดนโยบายการใชแหลงเรียนรูในโรงเรียนในการจัด
การศึกษา 3.76 .71 มาก
2. มีการกําหนดนโยบายการใชแหลงเรียนรูในชุมชนประกอบการ
เรียนการสอน 3.42 .68 ปานกลาง
3. มีการกําหนดเปาหมายการพัฒนาแหลงเรียนรูในโรงเรียน 3.65 .73 มาก
4. มีการประชุมครูและคณะกรรมการสถานศึกษาเพื่อสรางความ
ตระหนักถึงความสําคัญในการจัด และการใชแหลงเรียนรูเพื่อ
พัฒนาคุณภาพผูเรียน 3.56 .78 มาก
5. มีการใหความรูหรือสงครูและบุคลากรเขารวม อบรมเกีย่ วกับการ
จัด / การพัฒนาและใชแหลงเรียนรู 3.28 .96 ปานกลาง
6. มีการแตงตั้งครูและบุคลากรรับผิดชอบ การจัดการและพัฒนา
แหลงเรียนรู 3.60 .81 มาก
7. มีการกําหนดมาตรฐานและตัวชี้วดั การพัฒนาและใชแหลง
เรียนรู 2.66 .74 ปานกลาง
8. มีการกําหนดระยะเวลา/แผนงาน การใชแหลงเรียนรูที่ชัดเจน 3.30
9. การมีสวนรวมในการวางแผนการใชแหลงเรียนรูของครูและ .81 ปานกลาง
บุคลากรในโรงเรียน 3.56 .73 มาก
10. มีการกําหนดโครงการใชแหลงเรียนรู ที่หลากหลาย 3.29 .79 ปานกลาง
11. มีการจัดสรรงบประมาณในการพัฒนา และใชแหลงเรียนรูที่
ชัดเจน 3.23 .73 ปานกลาง
12. ชุมชนมีสวนรวมในการวางแผนการจัด การพัฒนา การใชแหลง
เรียนรู 2.56 .71 ปานกลาง
รวม 3.39 .56 ปานกลาง
63

จากตารางที่ 4.14 แสดงว า โรงเรี ย นในอํ า เภอบ า นนาสาร จั ง หวั ด สุ ร าษฎร ธ านี
ดําเนินงานแหลงเรียนรู ดานการวางแผนการใชแหลงเรียนรู โดยภาพรวมอยูในระดับปานกลาง
เมื่อพิจารณาเปนรายดานพบวา มีดานที่ดําเนินงานในระดับมาก 5 ขอ ดานที่ดําเนินงานในระดับ
ปานกลาง 7 ขอ โดยขอมีการกําหนดนโยบายการใชแหลงเรียนรูในโรงเรียนในการจัดการศึกษา
มีคาเฉลี่ยสูงสุ ด และขอชุมชนมี สวนรวมในการวางแผนการจัดการพัฒนาการใชแหล งเรี ยนรู
มีคาเฉลี่ยต่ําสุด

ตารางที่ 4.15 คาเฉลี่ย คาเบีย่ งเบนมาตรฐานและระดับความคิดเห็นของผูต อบแบบสอบถามที่มี


ตอสภาพการใชแหลงเรียนรูเพื่อการจัดการศึกษาดานการดําเนินการใชแหลงเรียนรู
ของโรงเรียนในอําเภอบานนาสาร จังหวัดสุราษฎรธานี

ระดับ
ดานการดําเนินการใชแหลงเรียนรู Χ S.D.
ความคิดเห็น
1. มีการสํารวจและจัดทําทะเบียนแหลงเรียนรูประเภทตาง ๆ ใน
โรงเรียน 3.38 .85 ปานกลาง
2. มีการสํารวจและจัดทําทะเบียนแหลงเรียนรูประเภทตาง ๆ ใน
ชุมชน 3.22 .88 ปานกลาง
3. มีการสํารวจและจัดทําทะเบียน ภูมปิ ญญาทองถิ่น 3.25 .87 ปานกลาง
4. มีการประชุม/ปรึกษาหารือของครูและบุคลากรที่รับผิดชอบ
การใชแหลงเรียนรูอยางสม่ําเสมอ 3.20 .80 ปานกลาง
5. มีการจัดใหบุคลากรไปศึกษาดูงานการดําเนินงานแหลงเรียนรู
ของโรงเรียนอื่นที่ประสบความสําเร็จ 2.70 .92 ปานกลาง
6. ครูและบุคลากรมีสวนรวมในการพัฒนาแหลงเรียนรูในโรงเรียน 3.51 .80 มาก
7. มีการจัดแหลงเรียนรูหองสมุดโรงเรียนอยางเปนระบบระเบียบ 3.74 .79 มาก
8. มีการสงเสริมใหหองสมุดโรงเรียนจัดกิจกรรมสงเสริมการอาน
อยางสม่ําเสมอ 3.60 .93 มาก
9. มีการสงเสริมใหจัดมุมหนังสือและมุมเรียนรูในหองเรียนทุกหอง 3.62 .74 มาก
10. มีการจัดใหมหี องพิเศษตาง ๆ เชน หองดนตรี/นาฎศิลป หอง
กิจกรรมชุมนุม หองแนะแนว หองกิจกรรมลูกเสือ-เนตรนารี
ฯลฯ 3.40 .91 ปานกลาง
64

ตารางที่ 4.15 (ตอ)

ระดับ
ดานการดําเนินการใชแหลงเรียนรู Χ S.D.
ความคิดเห็น
11. มีการสงเสริมใหหองพิเศษตาง ๆ จัดกิจกรรมเรียนรูอยาง
สม่ําเสมอ 3.20 .86 ปานกลาง
12. มีการสงเสริมใหจดั บริเวณโรงเรียนเปนแหลงเรียนรู เชนสวน
สมุนไพร สวนพฤกษศาสตร ฯลฯ 3.29 .84 ปานกลาง
13. ชุมชนเขามามีสวนรวมในการจัดและพัฒนาแหลงเรียนรู 2.50 .72. นอย
14. มีการระดมทรัพยากรจากชุมชนในการพัฒนาแหลงเรียนรู 2.49 .81 นอย
รวม 3.26 .58 ปานกลาง

จากตารางที่ 4.15 แสดงวาโรงเรียนในอําเภอบานนาสาร จังหวัดสุราษฎรธานี มีการ


ดําเนินงานแหลงเรียนรูดานการดําเนินการใชแหลงเรียนรูในระดับปานกลางเมื่อพิจารณาเปนรายขอ
พบวามีการดําเนินงานแหลงเรียนรูในระดับมาก 4 ขอ ระดับปานกลาง 8 ขอ และระดับนอย 2 ขอ

ตารางที่ 4.16 คาเฉลี่ย คาเบีย่ งเบนมาตรฐานและระดับความคิดเห็นของผูต อบแบบสอบถาม ที่มี


ตอสภาพการใชแหลงเรียนรู เพื่อการจัดการศึกษาดานการประเมินผลการใชแหลง
เรียนรู ของโรงเรียนในอําเภอบานนาสาร จังหวัดสุราษฎรธานี

ระดับ
ดานการประเมินผลการใชแหลงเรียนรู Χ S.D.
ความคิดเห็น
1. มีการแตงตั้งผูร ับผิดชอบการประเมินผลการใชแหลงเรียนรูใน
โรงเรียน 3.23 .83 ปานกลาง
2. มีการแตงตั้งผูร ับผิดชอบการประเมินผลการใชแหลงเรียนรูใน
ชุมชน 2.95 .71 ปานกลาง
3. มีการกําหนดขั้นตอนการประเมินผลการใชแหลงเรียนรูที่ชัดเจน 2.83 .79 ปานกลาง
4. มีการสรางเครื่องมือเพื่อรวบรวมขอมูลการใชแหลงเรียนรู 2.70 .75 ปานกลาง
5. ครูและนักเรียนมีสวนรวมในการประเมินผล การใชแหลงเรียนรู 2.94 .94 ปานกลาง
65

ตารางที่ 4.16 (ตอ)

ระดับ
ดานการประเมินผลการใชแหลงเรียนรู Χ S.D.
ความคิดเห็น
6. ชุมชนมีสวนรวมในการประเมินผลการใชแหลงเรียนรู 2.29 .79 นอย
7. นักเรียนไดประโยชนจากการใชหองสมุด 3.80 .83 มาก
8. นักเรียนไดใชประโยชนจากการใชหองปฏิบัติการวิทยาศาสตร 3.52 .93 มาก
9. นักเรียนไดใชประโยชนจากการใชหองคอมพิวเตอร/
อินเตอรเน็ต 3.85 .76 มาก
10. นักเรียนไดใชประโยชนจากการใชแหลงเรียนรูประเภทอื่น ๆ ที่
อยูในบริเวณโรงเรียน 3.57 .72 มาก
11. นักเรียนไดใชประโยชนจากการใชแหลงเรียนรูในชุมชน 3.22 .75 ปานกลาง
12. มีการสรุปผลการดําเนินงานแหลงเรียนรูใ นโรงเรียน 3.08 .85 ปานกลาง
13. มีการสรุปผลการดําเนินงานแหลงเรียนรูใ นชุมชน 2.95 .84 ปานกลาง
14. มีการจัดทํารายงานและนําเสนอผลการดําเนินงานแหลงเรียนรู
ในโรงเรียน 2.67 .70 ปานกลาง
15. มีการทํารายงานและเสนอผลการดําเนินงานแหลงเรียนรูใ น
ชุมชน 2.73 .71 ปานกลาง
รวม 3.13 .52 ปานกลาง

จากตารางที่ 4.16 แสดงวาโรงเรียนในอําเภอบานนาสาร จังหวัดสุราษฎรธานีดําเนินงาน


แหลงเรียนรู ดานการประเมินผลการใชแหลงเรียนรู โดยภาพรวมในระดับปานกลาง เมื่อพิจารณา
เปนรายขอพบวา มีการดําเนินงานในระดับมาก 4 ขอ ระดับปานกลาง 10 ขอ และระดับนอย 1 ขอ
66

ตารางที่ 4.17 คาเฉลี่ย คาเบี่ยงเบนมาตรฐานและระดับความคิดเห็นของผูตอบแบบสอบถาม ที่มี


ตอสภาพการใชแหลงเรียนรูเพื่อการจัดการศึกษา ดานการปรับปรุงพัฒนาการใช
แหลงเรียนรู ของโรงเรียนในอําเภอบานนาสาร จังหวัดสุราษฎรธานี

ระดับ
ดานการปรับปรุงพัฒนาการใชแหลงเรียนรู Χ S.D.
ความคิดเห็น
1. มีการแตงตั้งผูร ับผิดชอบประเมินผลการใช แหลงเรียนรูในชุมชน 3.06 .83 ปานกลาง
2. มีการนําผลการประเมินมาปรับปรุงและพัฒนาแหลงเรียนรูใน
ชุมชน 2.93 .80 ปานกลาง
3. มีการแตงตั้งคณะกรรมการ/คณะทํางานในการนําผลการ
ดําเนินงาน แหลงเรียนรูมาจัดทําเปนแผนงานพัฒนาการ
ดําเนินงานแหลงเรียนรู 2.63 .75 ปานกลาง
4. มีการวิเคราะหจุดเดน/จุดดอยการใชแหลงเรียนรูในโรงเรียน 2.67 .82 ปานกลาง
5. มีการวิเคราะหจุดเดน/จุดดอยการใชแหลงเรียนรูในชุมชน 2.63 .78 ปานกลาง
6. มีการทบทวนแผนงาน การใชหองสมุดโรงเรียนอยางสม่ําเสมอ 2.97 .88 ปานกลาง
7. มีการทบทวนแผนการใชหองคอมพิวเตอรและอินเตอรเน็ต
อยางสม่ําเสมอ 2.99 .87 ปานกลาง
8. มีการทบทวนแผนการใชหองปฏิบัติการวิทยาศาสตรสม่ําเสมอ 2.87 .85 ปานกลาง
9. มีการทบทวนแผนการใชแหลงเรียนรูใน บริเวณโรงเรียนอื่น ๆ เชน
โรงฝกงาน สวนเกษตร สวนสมุนไพร ฯลฯ อยางสม่ําเสมอ 2.80 .85 ปานกลาง
10. มีการทบทวนแผนการใชแหลงเรียนรูใน ชุมชนอยางสม่ําเสมอ 2.64 .81 ปานกลาง
11. มีการจัดทําคูมอื การใชแหลงเรียนรู 2.00 .87 นอย
รวม 2.80 .85 ปานกลาง

จากตารางที่ 4.17 แสดงวาโรงเรียนในอําเภอบานนาสาร จังหวัดสุราษฎรธานีดําเนินงาน


แหลงเรียนรู ดานการปรับปรุงพัฒนาการใชแหลงเรียนรู โดยภาพรวมในระดับปานกลาง เมื่อ
พิจารณาเปนรายขอพบวา มีการดําเนินงานในระดับปานกลาง 10 ขอ ระดับนอย 1 ขอ โดย ขอมี
การแตงตั้งผูรับผิดชอบประเมินผลการใช แหลงเรียนรูในชุมชน มีคาเฉลี่ยสูงสุด และขอมีการจัดทํา
คูมือการใชแหลงเรียนรู มีคาเฉลี่ยต่ําสุด
67

การเปรี ย บเที ย บสภาพการดํ า เนิ น งานแหล ง เรี ย นรู ข องโรงเรี ย นอํ า เภอบ า นนาสาร จั ง หวั ด
สุราษฎรธานี ระหวางโรงเรียนขนาดใหญ กับ โรงเรียนขนาดเล็ก

ตารางที่ 4.18 คาเฉลี่ย คาเบีย่ งเบนมาตรฐานและระดับความคิดเห็นการดําเนินการแหลงเรียนรู


เพื่อการจัดการศึกษาของโรงเรียนขนาดใหญ อําเภอบานนาสาร จังหวัดสุราษฎรธานี

การใชแหลงเรียนรู Χ S.D. ระดับความคิดเห็น


1. ดานการวางแผนการใชแหลงเรียนรู 3.44 .56 ปานกลาง
2. ดานการดําเนินการใชแหลงเรียนรู 3.34 .49 ปานกลาง
3. ดานการประเมินผลการใชแหลงเรียนรู 3.22 .57 ปานกลาง
4. ดานการปรับปรุงพัฒนาการใชแหลงเรียนรู 2.98 .65 ปานกลาง
รวม 3.25 .85 ปานกลาง

จากตารางที่ 4.18 แสดงวาโรงเรียนขนาดใหญในอําเภอบานนาสาร จังหวัดสุราษฎรธานี


ดําเนินงานแหลงเรียนรูโดยภาพรวมในระดับปานกลาง เมื่อพิจารณาเปนรายดานพบวา มีการใช
แหลงเรียนรูในระดับปานกลางทุกดาน โดยมีดานการวางแผนการใชแหลงเรียนรู มีคาเฉลี่ยสูงสุด
และดานการปรับปรุงพัฒนาการใชแหลงเรียนรู มีคาเฉลี่ยต่ําที่สุด

ตารางที่ 4.19 คาเฉลี่ย คาเบีย่ งเบนมาตรฐานและระดับความคิดเห็นการดําเนินการแหลงเรียนรู


ดานการวางแผนการใชแหลงเรียนรูของโรงเรียนขนาดใหญ อําเภอบานนาสาร
จังหวัดสุราษฎรธานี

ระดับ
การวางแผนการใชแหลงเรียนรู Χ S.D.
ความคิดเห็น
1. มีการกําหนดนโยบายการใชแหลงเรียนรูในโรงเรียน 3.74 .75 มาก
2. มีการกําหนดนโยบายการใชแหลงเรียนรูในชุมชนประกอบการ
เรียนการสอน 3.37 .68 ปานกลาง
3. มีการกําหนดเปาหมายการพัฒนาแหลงเรียนรูในโรงเรียน 3.70 .75 มาก
68

ตารางที่ 4.19 (ตอ)

ระดับ
การวางแผนการใชแหลงเรียนรู Χ S.D.
ความคิดเห็น
4. มีการประชุมครูและคณะกรรมการสถานศึกษาเพื่อสรางความ
ตระหนักถึงความสําคัญในการจัด และการใชแหลงเรียนรูเพื่อ
พัฒนาคุณภาพผูเรียน 3.60 .77 มาก
5. มีการใหความรูหรือสงครูและบุคลากรเขารวม อบรมเกีย่ วกับ
การจัด /การพัฒนาและใชแหลงเรียนรู 3.44 .86 ปานกลาง
6. มีการแตงตั้งครูและบุคลากรรับผิดชอบการจัดและพัฒนาแหลง
เรียนรู 3.60 .81 มาก
7. มีการกําหนดมาตรฐานและตัวชี้วดั การพัฒนาและใชแหลง
เรียนรู 2.69 .72 ปานกลาง
8. มีการกําหนดระยะเวลา/แผนงาน การใชแหลงเรียนรูที่ชัดเจน 3.36 .76 ปานกลาง
9. การมีสวนรวมวางแผนใชแหลงเรียนรูของครูและบุคลากรใน
โรงเรียน 3.52 .80 มาก
10. มีการกําหนดโครงการใชแหลงเรียนรู ที่หลากหลาย 3.37 .81 ปานกลาง
11. มีการจัดสรรงบประมาณในการพัฒนา และใชแหลงเรียนรูที่
ชัดเจน 3.21 .77 ปานกลาง
12. ชุมชนมีสวนรวมในการวางแผนการจัด การพัฒนา การใชแหลง
เรียนรู 2.60 .63 ปานกลาง
รวม 3.44 .56 ปานกลาง

จากตารางที่ 4.19 แสดงวาโรงเรียนขนาดใหญในอําเภอบานนาสาร จังหวัดสุราษฎรธานี


ดําเนินงานแหลงเรียนรูดานการวางแผนการใชแหลงเรียนรูในระดับปานกลาง เมื่อพิจารณาเปนราย
ขอพบวามีการดําเนินงานระดับปานกลาง 7 ขอ และระดับมาก 5 ขอ โดยขอมีการกําหนดนโยบาย
การใชแหลงเรียนรูในโรงเรียนมีคาเฉลี่ยสูงที่สุด และชุมชนมีสวนรวมในการวางแผนการจัดการ
พัฒนา การใชแหลงเรียนรูมีคาเฉลี่ยต่ําที่สุด
69

ตารางที่ 4.20 คาเฉลี่ย คาเบีย่ งเบนมาตรฐานและระดับความคิดเห็นการดําเนินการแหลงเรียนรู


ดานการดําเนินการใชแหลงเรียนรูของโรงเรียนขนาดใหญ อําเภอบานนาสาร
จังหวัดสุราษฎรธานี

ระดับ
การดําเนินการใชแหลงเรียนรู Χ S.D.
ความคิดเห็น
1. มีการสํารวจและทําทะเบียนแหลงเรียนรูประเภทตาง ๆ ในโรงเรียน 3.40 .80 ปานกลาง
2. มีการสํารวจและทําทะเบียนแหลงเรียนรูประเภทตาง ๆ ในชุมชน 3.26 .78 ปานกลาง
3. มีการสํารวจและจัดทําทะเบียน ภูมปิ ญญาทองถิ่น 3.29 .74 ปานกลาง
4. มีการประชุม ปรึกษาหารือของครูและบุคลากรที่รับผิดชอบ
การใชแหลงเรียนรูอยางสม่ําเสมอ 3.29 .80 ปานกลาง
5. มีการจัดใหบุคลากรไปศึกษาดูงานการดําเนินงานแหลงเรียนรู ของ
โรงเรียนอื่นทีป่ ระสบความสําเร็จ 2.73 .84 ปานกลาง
6. ครูและบุคลากรมีสวนรวมในการพัฒนาแหลงเรียนรูในโรงเรียน 3.53 .81 มาก
7. มีการจัดแหลงเรียนรูหองสมุดโรงเรียนอยางเปนระบบระเบียบ 3.87 .76 มาก
8. มีการสงเสริมใหหองสมุดโรงเรียนจัดกิจกรรมสงเสริมการอาน
อยางสม่ําเสมอ 3.73 .78 มาก
9. มีการสงเสริมใหจดั มุมหนังสือและมุมเรียนรูในหองเรียนทุกหอง 3.47 .77 ปานกลาง
10. มีการจัดใหมหี องพิเศษตาง ๆ เชน หองดนตรี/นาฏศิลป หอง
กิจกรรมชุมนุม หองแนะแนว หองกิจกรรมลูกเสือ-เนตรนารี ฯลฯ 3.52 .94 มาก
11. มีการสงเสริมใหหองพิเศษตาง ๆ จัดกิจกรรมเรียนรูอยางสม่ําเสมอ 3.39 .83 ปานกลาง
12. มีการสงเสริมใหจดั บริเวณโรงเรียนเปนแหลงเรียนรู เชน สวน
สมุนไพร 3.38 .85 ปานกลาง
13. ชุมชนเขามามีสวนรวมในการจัดและพัฒนาแหลงเรียนรู 2.66 .66 ปานกลาง
14. มีการระดมทรัพยากรจากชุมชนในการพัฒนาแหลงเรียนรู 2.69 .71 ปานกลาง
รวม 3.34 .49 ปานกลาง

จากตารางที่ 4.20 แสดงวาโรงเรียนขนาดใหญในอําเภอบานนาสาร จังหวัดสุราษฎรธานี


ดําเนินงานแหลงเรียนรูดานการดําเนินการใชแหลงเรียนรู ในระดับปานกลาง เมื่อพิจารณาเปนราย
ขอพบวา มีการดําเนินงานระดับปานกลาง 10 ขอ และระดับมาก 4 ขอ โดยขอมีการจัดแหลง
70

เรียนรูหองสมุดโรงเรียนอยางเปนระบบระเบียบมีคาเฉลี่ยสูงที่สุด และขอชุมชนเขามามีสวนรวม
ในการจัดและพัฒนาแหลงเรียนรูมีคาเฉลี่ยต่ําที่สุด

ตารางที่ 4.21 คาเฉลี่ย คาเบีย่ งเบนมาตรฐานและระดับความคิดเห็นการดําเนินการแหลงเรียนรู


ดานการประเมินผลการใชแหลงเรียนรูของโรงเรียนขนาดใหญ อําเภอบานนาสาร
จังหวัดสุราษฎรธานี

ระดับ
การดําเนินการใชแหลงเรียนรู Χ S.D.
ความคิดเห็น
1. มีการแตงตั้งผูร ับผิดชอบการประเมินผลการใชแหลงเรียนรูใน
โรงเรียน 3.24 .84 ปานกลาง
2. มีการแตงตั้งผูร ับผิดชอบการประเมินผลการใชแหลงเรียนรูใน
ชุมชน 2.97 .70 ปานกลาง
3. มีการกําหนดขั้นตอนการประเมินผลการใช แหลงเรียนรูที่ชัดเจน 3.04 .78 ปานกลาง
4. มีการสรางเครื่องมือรวบรวมและวิเคราะหขอมูลการใชแหลง
เรียนรู 2.83 .78 ปานกลาง
5. ครูและนักเรียนมีสวนรวมในการประเมินผลการใชแหลงเรียนรู 3.04 .89 ปานกลาง
6. ชุมชนมีสวนรวมในการประเมินผลการใชแหลงเรียนรู 2.39 .77 ปานกลาง
7. นักเรียนไดประโยชนจากการใชหองสมุดในโรงเรียน 3.87 .89 มาก
8. นักเรียนไดประโยชนจากการใชหองปฏิบัติการวิทยาศาสตร 3.72 .84 มาก
9. นักเรียนไดประโยชนจากการใชหองคอมพิวเตอร/อินเตอรเน็ต 3.90 .85 มาก
10. นักเรียนไดประโยชนจากการใชแหลงเรียนรูประเภทอืน่ ๆ ที่อยู
ในบริเวณโรงเรียน 3.58 .77 มาก
11. นักเรียนไดประโยชนจากการใชแหลงเรียนรูในชุมชน 3.13 .83 ปานกลาง
12. มีการสรุปผลการดําเนินงานแหลงเรียนรูใ นโรงเรียน 3.19 .85 ปานกลาง
13. มีการสรุปผลการดําเนินงานแหลงเรียนรูใ นชุมชน 3.10 .86 ปานกลาง
14. มีการทํารายงานและเสนอผลการดําเนินงานแหลงเรียนรูในโรงเรียน 2.77 .62 ปานกลาง
15. มีการจัดทํารายงานและนําเสนอผลการดําเนินงานแหลงเรียนรูใน
ชุมชน 2.79 .66 ปานกลาง
รวม 3.22 .57 ปานกลาง
71

จากตารางที่ 4.20 แสดงวาโรงเรียนขนาดใหญในอําเภอบานนาสาร จังหวัดสุราษฎรธานี


ดําเนินงานแหลงเรียนรูดานการประเมินผลการใชแหลงเรียนรู ในระดับปานกลาง เมื่อพิจารณาเปน
รายขอพบวา มีการดําเนินงานระดับปานกลาง 11 ขอ และระดับมาก 4 ขอ โดยขอนักเรียนได
ประโยชนจากการใชหองคอมพิวเตอร/อินเตอรเน็ตมีคาเฉลี่ยสูงที่สุด และขอชุมชนมีสวนรวมใน
การประเมินผลการใชแหลงเรียนรูมีคาเฉลี่ยต่ําที่สุด

ตารางที่ 4.22 คาเฉลี่ย คาเบีย่ งเบนมาตรฐานและระดับความคิดเห็นการดําเนินการแหลงเรียนรู


ดานการปรับปรุงพัฒนาการใชแหลงเรียนรูของโรงเรียนขนาดใหญ
อําเภอบานนาสาร จังหวัดสุราษฎรธานี

ระดับ
การปรับปรุงพัฒนาการใชแหลงเรียนรู Χ S.D.
ความคิดเห็น
1. มีการแตงตั้งผูร ับผิดชอบการประเมินผลการใชแหลงเรียนรูใน
ชุมชน 3.20 .81 ปานกลาง
2. มีการนําผลประเมินมาปรับปรุงและพัฒนาแหลงเรียนรูในชุมชน 3.05 .81 ปานกลาง
3. มีการแตงตั้งคณะกรรมการ/คณะทํางานในการนําผลการดําเนินงาน
แหลงเรียนรูมาจัดทําเปนแผนงานพัฒนาการดําเนินงานแหลง
เรียนรู 2.61 .69 ปานกลาง
4. มีการวิเคราะหจุดเดน จุดดอย การดําเนินงานแหลงเรียนรู ใน
โรงเรียน 2.79 .74 ปานกลาง
5. มีการวิเคราะหจุดเดนจุดดอย การดําเนินงานแหลงเรียนรูใ นชุมชน 2.72 .73 ปานกลาง
6. มีการทบทวนแผนการใชหองสมุดโรงเรียนอยางสม่ําเสมอ 3.21 .83 ปานกลาง
7. มีการทบทวนแผนการใชหองคอมพิวเตอรและอินเตอรเน็ตอยาง
สม่ําเสมอ 3.25 .78 ปานกลาง
8. มีการทบทวนแผนการใชหองปฏิบัติการวิทยาศาสตรอยางสม่ําเสมอ 3.08 .80 ปานกลาง
9. มีการทบทวนแผนการใชแหลงเรียนรูในบริเวณโรงเรียนอื่น ๆ
เชน โรงฝกงาน สนเกษตร สวนสมุนไพร ฯลฯ อยางสม่าํ เสมอ 2.99 .79 ปานกลาง
10. มีการทบทวนแผนการใชแหลงเรียนรูในชุมชนอยางสม่ําเสมอ 2.75 .74 ปานกลาง
11. มีการจัดทําคูมอื การใชแหลงเรียนรู 2.22 .82 นอย
รวม 2.98 .65 ปานกลาง
72

จากตารางที่ 4.22 แสดงวาโรงเรียนขนาดใหญในอําเภอบานนาสาร จังหวัดสุราษฎรธานี


ดําเนินงานแหลงเรียนรูดานการปรับปรุงพัฒนาการใชแหลงเรียนรู ในระดับปานกลาง เมือ่ พิจารณา
เปนรายขอพบวา มีการดําเนินงานระดับปานกลาง 10 ขอ และระดับนอย 1 ขอ โดยขอมีการ
ทบทวนแผนการใชหองคอมพิวเตอรและอินเตอรเน็ตอยางสม่ําเสมอมีคาเฉลี่ยสูงที่สุด และขอการ
จัดทําคูมือการใชแหลงเรียนรู มีคาเฉลี่ยต่ําที่สุด

ตารางที่ 4.23 คาเฉลี่ย คาเบีย่ งเบนมาตรฐานและระดับความคิดเห็นการดําเนินการแหลงเรียนรู


ในการจัดการศึกษาของโรงเรียนขนาดเล็ก อําเภอบานนาสาร จังหวัดสุราษฎรธานี

การดําเนินการใชแหลงเรียนรู Χ S.D. ระดับความคิดเห็น


1. ดานการวางแผนการใชแหลงเรียนรู 3.34 .57 ปานกลาง
2. ดานการดําเนินการใชแหลงเรียนรู 3.17 .66 ปานกลาง
3. ดานการประเมินผลการใชแหลงเรียนรู 3.04 .60 ปานกลาง
4. ดานการปรับปรุงพัฒนาการใชแหลงเรียนรู 2.61 .73 ปานกลาง
รวม 3.04 .58 ปานกลาง

จากตารางที่ 4.23 แสดงวาโรงเรียนขนาดเล็กในอําเภอบานนาสาร จังหวัดสุราษฎรธานี


ดําเนินงานแหลงเรียนรูโดยภาพรวมและรายดานในระดับปานกลาง เมื่อพิจารณารายดานพบวา
ดานการวางแผนการใชแหลงเรียนรู มีคาเฉลี่ยสูงที่สุด และดานการปรับปรุงพัฒนาการใชแหลง
เรียนรู มีคาเฉลี่ยต่ําที่สุด

ตารางที่ 4.24 คาเฉลี่ย คาเบีย่ งเบนมาตรฐานและระดับความคิดเห็นการดําเนินการแหลงเรียนรู


ดานการวางแผนการใชแหลงเรียนรูของโรงเรียนขนาดเล็ก อําเภอบานนาสาร
จังหวัดสุราษฎรธานี

ระดับ
การวางแผนการใชแหลงเรียนรู Χ S.D.
ความคิดเห็น
1. มีการกําหนดนโยบายการใชแหลงเรียนรูในโรงเรียน 3.78 .66 มาก
2. มีการกําหนดนโยบายใชแหลงเรียนรูในชุมชนประกอบการเรียนการสอน 3.48 .68 ปานกลาง
3. มีการกําหนดเปาหมายการพัฒนาแหลงเรียนรูในโรงเรียน 3.60 .70 มาก
73

ตารางที่ 4.24 (ตอ)

ระดับ
การวางแผนการใชแหลงเรียนรู Χ S.D.
ความคิดเห็น
4. มีการประชุมครูและคณะกรรมการสถานศึกษาเพื่อสรางความตระหนัก
ถึงความสําคัญในการจัดและการใชแหลงเรียนรูเพื่อพัฒนาคุณภาพ
ผูเรียน 3.52 .79 มาก
5. มีการใหความรูหรือสงครูและบุคลากรเขารวมอบรมเกีย่ วกับการ
จัด/การพัฒนาและใชแหลงเรียนรู 3.11 1.02 ปานกลาง
6. มีการแตงตั้งครูและบุคลากรรับผิดชอบการจัดและพัฒนาแหลง
เรียนรู 3.60 .82 มาก
7. มีการกําหนดมาตรฐานและตัวชี้วดั การพัฒนาและใชแหลงเรียนรู 2.63 .76 ปานกลาง
8. มีการกําหนดระยะเวลา/แผนงาน การใชแหลงเรียนรูที่ชัดเจน 3.25 .86 ปานกลาง
9. การมีสวนรวมวางแผนการใชแหลงเรียนรูของครูและบุคลากรใน
โรงเรียน 3.61 .65 มาก
10. มีการกําหนดโครงการใชแหลงเรียนรู ที่หลากหลาย 3.20 .76 ปานกลาง
11. มีการจัดสรรงบประมาณในการพัฒนา และใชแหลงเรียนรูที่ชัดเจน 3.24 .69 ปานกลาง
12. ชุมชนมีสวนรวมในการวางแผนการจัด การพัฒนา การใชแหลง
เรียนรู 2.52 .77 ปานกลาง
รวม 3.34 .57 ปานกลาง

จากตารางที่ 4.24 แสดงวาโรงเรียนขนาดเล็กในอําเภอบานนาสาร จังหวัดสุราษฎรธานี


ดําเนินงานแหลงเรียนรูดานการวางแผนการใชแหลงเรียนรูในระดับปานกลาง เมื่อพิจารณาเปน
รายขอพบวา มีการดําเนินงานระดับปานกลาง 7 ขอ และระดับมาก 5 ขอ โดยขอมีการกําหนด
นโยบายการใชแหลงเรียนรูในโรงเรียนมีคาเฉลี่ยสูงที่สุด และขอชุมชนมีสวนรวมในการวางแผน
การจัด การพัฒนา การใชแหลงเรียนรู มีคาเฉลี่ยต่ําที่สุด
74

ตารางที่ 4.25 คาเฉลี่ย คาเบีย่ งเบนมาตรฐานและระดับความคิดเห็นการดําเนินการแหลงเรียนรู


ดานการดําเนินการใชแหลงเรียนรูของโรงเรียนขนาดเล็ก อําเภอบานนาสาร
จังหวัดสุราษฎรธานี

ระดับ
การดําเนินการใชแหลงเรียนรู Χ S.D.
ความคิดเห็น
1. มีการสํารวจและทําทะเบียนแหลงเรียนรูประเภทตาง ๆ ในโรงเรียน 3.36 .90 ปานกลาง
2. มีการสํารวจและทําทะเบียนแหลงเรียนรูประเภทตาง ๆ ในชุมชน 3.17 .98 ปานกลาง
3. มีการสํารวจและทําทะเบียน ภูมิปญญาทองถิ่น 3.21 .99 ปานกลาง
4. มีการประชุม ปรึกษาหารือของครูและบุคลากรที่รับผิดชอบการใช
แหลงเรียนรูอยางสม่ําเสมอ 3.11 .79 ปานกลาง
5. มีการจัดใหบุคลากรไปศึกษาดูงานการดําเนินงานแหลงเรียนรูของ
โรงเรียนอื่นทีป่ ระสบความสําเร็จ 2.66 1.00 ปานกลาง
6. ครูและบุคลากรมีสวนรวมในการพัฒนาแหลงเรียนรูในโรงเรียน 3.48 .84 ปานกลาง
7. มีการจัดแหลงเรียนรูหองสมุดโรงเรียนอยางเปนระบบระเบียบ 3.61 .80 มาก
8. มีการสงเสริมใหหองสมุดโรงเรียนจัดกิจกรรมสงเสริมการอาน
อยางสม่ําเสมอ 3.46 1.04 ปานกลาง
9. มีการสงเสริมใหจดั มุมหนังสือและมุมเรียนรูในหองเรียนทุกหอง 3.77 .69 มาก
10. มีการจัดใหมหี องพิเศษตาง ๆ เชน หองดนตรี หองกิจกรรม ฯลฯ 3.27 .85 ปานกลาง
11. มีการสงเสริมใหหองพิเศษตาง ๆ จัดกิจกรรมเรียนรูอยางสม่ําเสมอ 3.00 .85 ปานกลาง
12. มีการสงเสริมใหจดั บริเวณโรงเรียนเปนแหลงเรียนรู เชน สวน
สมุนไพร สวนพฤกษศาสตร ฯลฯ 3.20 .83 ปานกลาง
13. ชุมชนเขามามีสวนรวมในการจัดและพัฒนาแหลงเรียนรู 2.37 .75 ปานกลาง
14. มีการระดมทรัพยากรจากชุมชนในการพัฒนาแหลงเรียนรู 2.34 .88 ปานกลาง
รวม 3.17 .66 ปานกลาง

จากตารางที่ 4.25 แสดงวาโรงเรียนขนาดเล็กในอําเภอบานนาสาร จังหวัดสุราษฎรธานี


ดําเนินงานแหลงเรียนรูดานการดําเนินการใชแหลงเรียนรู ในระดับปานกลาง เมื่อพิจารณาเปน
รายขอพบวา มีการดําเนินงานระดับปานกลาง 12 ขอ และระดับมาก 2 ขอ โดยขอมีการสงเสริมให
75

จัดมุมหนังสือและมุมเรียนรูในหองเรียนทุกหองมีคาเฉลี่ยสูงที่สุด และขอมีการระดมทรัพยากรจาก
ชุมชนในการพัฒนาแหลงเรียนรูมีคาเฉลี่ยต่ําที่สุด

ตารางที่ 4.26 คาเฉลี่ย คาเบีย่ งเบนมาตรฐานและระดับความคิดเห็นการดําเนินการแหลงเรียนรู


ดานการประเมินผลการใชแหลงเรียนรูของโรงเรียนขนาดเล็ก อําเภอบานนาสาร
จังหวัดสุราษฎรธานี

ระดับ
การประเมินผลการใชแหลงเรียนรู Χ S.D.
ความคิดเห็น
1. มีการแตงตั้งผูร ับผิดชอบประเมินผลการใชแหลงเรียนรูในโรงเรียน 3.23 .81 ปานกลาง
2. มีการแตงตั้งผูร ับผิดชอบประเมินผลการใชแหลงเรียนรูในชุมชน 2.93 .72 ปานกลาง
3. มีการกําหนดขั้นตอนการประเมินผลการใช แหลงเรียนรูที่ชัดเจน 2.62 .73 ปานกลาง
4. มีการสรางเครื่องมือรวบรวมและวิเคราะหขอ มูลการใชแหลงเรียนรู 2.57 .70 ปานกลาง
5. ครูและนักเรียนมีสวนรวมในการประเมินผลการใชแหลงเรียนรู 2.83 .98 ปานกลาง
6. ชุมชนมีสวนรวมในการประเมินผลการใชแหลงเรียนรู 2.19 .81 นอย
7. นักเรียนไดใชประโยชนจากการใชหองสมุดในโรงเรียน 3.72 .76 มาก
8. นักเรียนไดใชประโยชนจากการใชหองปฏิบัติการวิทยาศาสตร 3.30 .97 ปานกลาง
9. นักเรียนไดใชประโยชนจากการใชหองคอมพิวเตอร/อินเตอรเน็ต 3.80 .66 มาก
10. นักเรียนไดใชประโยชนจากการใชแหลงเรียนรูประเภทอืน่ ๆ ที่อยู
ในบริเวณโรงเรียน 3.56 .66 มาก
11. นักเรียนไดใชประโยชนจากการใชแหลงเรียนรูในชุมชน 3.31 .66 ปานกลาง
12. มีการสรุปผลการดําเนินงานแหลงเรียนรูใ นโรงเรียน 2.97 .85 ปานกลาง
13. มีการสรุปผลการดําเนินงานแหลงเรียนรูใ นชุมชน 2.89 .80 ปานกลาง
14. มีการทํารายงานและเสนอผลการดําเนินงานแหลงเรียนรูในโรงเรียน 2.57 .76 ปานกลาง
15. มีการจัดทํารายงานและเสนอผลการดําเนินงานแหลงเรียนรูในชุมชน 2.66 .76 ปานกลาง
รวม 3.04 .60 ปานกลาง

จากตารางที่ 4.26 แสดงวาโรงเรียนขนาดเล็กในอําเภอบานนาสาร จังหวัดสุราษฎรธานี


ดําเนินงานแหลงเรียนรูดานการประเมินผลการใชแหลงเรียนรู ในระดับปานกลาง เมื่อพิจารณาเปน
รายขอพบวา มีการดําเนินงานระดับนอย 1 ขอ ปานกลาง 11 ขอ และระดับมาก 3 ขอ โดยขอ
76

นักเรียนไดใชประโยชนจากการใชหองคอมพิวเตอร/อินเตอรเน็ตมีคาเฉลี่ยสูงที่สุด และขอชุมชนมี
สวนรวมในการประเมินผลการใชแหลงเรียนรูมีคาเฉลี่ยต่ําที่สุด

ตารางที่ 4.27 คาเฉลี่ย คาเบีย่ งเบนมาตรฐานและระดับความคิดเห็นการดําเนินการแหลงเรียนรู


ดานการปรับปรุงพัฒนาการใชแหลงเรียนรูของโรงเรียนขนาดเล็กอําเภอบานนาสาร
จังหวัดสุราษฎรธานี

ระดับ
การปรับปรุงพัฒนาการใชแหลงเรียนรู Χ S.D.
ความคิดเห็น
1. มีการแตงตั้งผูร ับผิดชอบประเมินผลการใช แหลงเรียนรูใ นชุมชน 2.92 .84 ปานกลาง
2. มีการนําผลการประเมินมาปรับปรุงและพัฒนาแหลงเรียนรูใ นชุมชน 2.80 .77 ปานกลาง
3. มีการแตงตั้งคณะกรรมการ / คณะทํางานนําผลการดําเนินงานแหลง
เรียนรูมาทําแผนงานพัฒนาการดําเนินงานแหลงเรียนรู 2.66 .80 ปานกลาง
4. มีการวิเคราะหจุดเดน จุดดอย การดําเนินงานแหลงเรียนรู ใน
โรงเรียน 2.53 .87 ปานกลาง
5. มีการวิเคราะหจุดเดนจุดดอย การดําเนินงานแหลงเรียนรูใ นชุมชน 2.53 .81 ปานกลาง
6. มีการทบทวนแผนการใชหองสมุดโรงเรียนอยางสม่ําเสมอ 2.73 .86 ปานกลาง
7. มีการทบทวนแผนการใชหองคอมพิวเตอรและอินเตอรเน็ต
สม่ําเสมอ 2.71 .87 ปานกลาง
8. มีการทบทวนแผนการใชหองปฏิบัติการวิทยาศาสตรอยางสม่ําเสมอ 2.66 .85 ปานกลาง
9. มีการทบทวนแผนการใชแหลงเรียนรูในบริเวณโรงเรียนอื่น ๆ เชน
โรงฝกงาน สวนเกษตร ฯลฯ อยางสม่ําเสมอ 2.60 .86 ปานกลาง
10. มีการทบทวนแผนการใชแหลงเรียนรูในชุมชนอยางสม่ําเสมอ 2.52 .86 ปานกลาง
11. มีการจัดทําคูมอื การใชแหลงเรียนรู 1.78 .86 นอย
รวม 2.61 .73 ปานกลาง

จากตารางที่ 4.27 แสดงวาโรงเรียนขนาดเล็ก ในอําเภอบานนาสาร จังหวัดสุราษฎรธานี


ดําเนินงานแหลงเรียนรูดานการปรับปรุงพัฒนาการใชแหลงเรียนรูในระดับปานกลาง เมื่อพิจารณา
เปนรายขอพบวา มีการดําเนินงานระดับนอย 1 ขอ และระดับมาก 10 ขอ โดยขอมีการแตงตั้ง
77

ผูรับผิดชอบประเมินผลการใช แหลงเรียนรูในชุมชนมีคาเฉลี่ยสูงที่สุด และขอมีการจัดทําคูมือการ


ใชแหลงเรียนรูมีคาเฉลี่ยต่ําที่สุด

ตารางที่ 4.28 คาเฉลี่ย คาเบีย่ งเบนมาตรฐานของการดําเนินการใชแหลงเรียนรูเพือ่ การจัดการศึกษา


เปรียบเทียบระหวางโรงเรียนขนาดใหญ และโรงเรียนขนาดเล็ก ในรายดาน
ของโรงเรียนในอําเภอบานนาสาร จังหวัดสุราษฎรธานี

โรงเรียน โรงเรียน
การดําเนินงานแหลงเรียนรู ขนาดใหญ ขนาดเล็ก t Sig.
Χ S.D. Χ S.D.
1. ดานการวางแผนการใชแหลงเรียนรู 3.41 .56 3.37 .57 .564 .573
2. ดานการดําเนินการใชแหลงเรียนรู 3.28 .57 3.23 .60 .766 .444
3. ดานการประเมินผลการใชแหลงเรียนรู 3.17 .62 3.10 .56 .915 .361
4. ดานการปรับปรุงพัฒนาการใชแหลงเรียนรู 2.90 .73 2.70 .68 2.228 .027*
รวม 3.20 .56 3.11 .53 1.242 .215
*มีนัยสําคัญทางสถิติที่ 0.05

จากตารางที่ 4.28 แสดงวาโรงเรียนในอําเภอบานนาสาร จังหวัดสุราษฎรธานี ที่มีขนาด


ใหญและขนาดเล็ก มีการดําเนินงานแหลงเรียนรูทั้งโดยภาพรวมไมแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญ
ทางสถิติ และเมื่อพิจารณาในรายดานพบวา ดานที่ 1 ถึง 3 มีการดําเนินงานไมแตกตางกันอยางมี
นัยสําคัญทางสถิติ แตในดานที่ 4 คือ ดานการปรับปรุงพัฒนาการใชแหลงเรียนรู พบวา แตกตางกัน
อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ 0.05
บทที่ 5

สรุปผล อภิปรายผลและขอเสนอแนะ

การวิ จั ย เรื่ อ ง การศึ ก ษาสภาพการดํ า เนิ น งานแหล ง เรี ย นรู ข องโรงเรี ย นในอํ า เภอ
บานนาสาร จังหวัดสุราษฎรธานี มีวัตถุประสงคการวิจัย วิธีดําเนินการวิจัย สรุปผลการวิจัย
การอภิปรายผลและขอเสนอแนะสําหรับการวิจัยครั้งตอไป ดังนี้

วัตถุประสงคการวิจัย

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงคดังตอไปนี้
1. เพื่ อ สํ า รวจแหล ง เรี ย นรู แ ละรู ป แบบกิ จ กรรมการใช แ หล ง เรี ย นรู ใ นการจั ด
การศึกษาของโรงเรียนในอําเภอบานนาสาร จังหวัดสุราษฎรธานี
2. เพื่อศึกษาสภาพการดําเนินงานแหลงเรียนรูเพื่อการจัดการศึกษา ของโรงเรียนใน
อําเภอบานนาสาร จังหวัดสุราษฎรธานี
3. เพื่อเปรียบเที ยบสภาพการดําเนินงานแหลงเรียนรูเพื่อการจัดการศึ กษา ของ
โรงเรียนในอําเภอบานนาสาร จังหวัดสุราษฎรธานี ที่มีขนาดใหญ และขนาดเล็ก

วิธีดําเนินการวิจัย

ผูวิจัยใชประชากรในการวิจัยครั้งนี้ ไดแก ผูบริหารสถานศึกษาและครูโรงเรียนใน


อําเภอบานนาสาร จังหวัดสุราษฎรธานี รวม 677 คน ประกอบดวย โรงเรียนสังกัดเทศบาล 5 โรง
สังกัดสํานักเขตพื้นที่การศึกษา เขต 3 จังหวัดสุราษฎรธานี 40 โรง และสังกัดสํานักงานการศึกษา
เอกชน 3 โรง รวม จํานวน 48 โรง เมื่อจําแนกตามขนาดโรงเรียนปรากฏวาเปนขนาดใหญ 9 โรง
และขนาดเล็ก 39 โรง ประชากรจากโรงเรียนขนาดใหญ 343 คน เปนผูบริหาร 9 คน ครู 334 คน
ประชากรจากโรงเรียนขนาดเล็ก 334 คน เปนผูบริหาร 39 คน ครู 295 คน และใชกลุมตัวอยาง
ไดแก ผูบริหารสถานศึกษาและครูโรงเรียนในอําเภอบานนาสาร จังหวัดสุราษฎรธานี จํานวน 248 คน
ไดมาโดยใชตารางสําเร็จรูปของเครจซีและมอรแกน (Krejecie & Morgan. 1970 : 608 อางถึงใน
พิสณุ ฟองศรี. 2549 : 109) ที่ความเชื่อมั่นรอยละ 95 แลวคํานวณสัดสวนจําแนกตามขนาด
โรงเรียนปรากฏวาไดกลุมตัวอยางจากโรงเรียนขนาดใหญ 126 คน ประกอบดวย ผูบริหาร 9 คน
79

ครู 117 คน เปนกลุมตัวอยางจากโรงเรียนขนาดเล็ก 122 คน ประกอบดวยผูบริหาร 20 คน ครู


102 คน ผูวิจัยสุมตัวอยางโดยการสุมอยางงาย (Simple Random Sampling) ดวยการจับฉลาก
เครื่องมือที่ใชเก็บขอมูลเปนแบบสอบถาม แบงเปน 2 ชุด ประกอบดวย ชุดสําหรับ
ผูบริหารและชุดสําหรับครู มีรายละเอียดดังนี้
ชุดที่ 1 แบบสอบถามสําหรับผูบริหารเปนแบบสอบถามที่ประกอบดวย 3 ตอน คือ
ตอนที่ 1 ขอมูลทั่วไปของผูตอบแบบสอบถาม
ตอนที่ 2 สํารวจประเภทของแหลงเรียนรู และลักษณะกิจกรรมการใชแหลง
เรียนรูในโรงเรียนและแหลงเรียนรูในชุมชนเพื่อการจัดการศึกษาของโรงเรียนในอําเภอบานนาสาร
จังหวัดสุราษฎรธานี เปนแบบตรวจสอบรายการ (Checklist)
ตอนที่ 3 สภาพการดําเนินงานแหลงเรียนรู 4 ดาน คือ ดานการวางแผนการ
ใชแหลงเรียนรู ดานการดําเนินการใชแหลงเรียนรู ดานการประเมินผลการใชแหลงเรียนรู ดาน
การปรับปรุงพัฒนาการใชแหลงเรียนรู เปนแบบมาตราสวนประมาณคา (Rating Scale) 5 ระดับ
จํานวน 52 ขอ
ชุดที่ 2 แบบสอบถามสําหรับครูปฏิบัติการสอน เปนแบบสอบถามที่ประกอบดวย 2
ตอน มีเนื้อหาเหมือนตอนที่ 1 และตอนที่ 3 ของแบบสอบถามสําหรับผูบริหาร
แบบสอบถามที่ใชในการวิจัยครั้งนี้ผูวิจัยไดรับคําแนะนําใหปรับปรุงแกไข จากประธาน
กรรมการและกรรมการที่ปรึกษาภาคนิพนธ และจากทั้งผูเชี่ยวชาญ 5 ทาน ไดใหคําแนะนําจน
สําเร็จสมบูรณ ซึ่งประกอบดวย 2 สวน คือ แบบสอบถามแบบตรวจสอบรายการ (Checklist) ซึ่ง
ผูวิจัยสรางขึ้นดวยตนเอง และแบบมาตราสวนประมาณคา (Rating Scale) มี 5 ระดับ ซึ่งผูวิจัยนํา
แบบสอบถามของเจนจัด ภักดีไทย (2548) มาปรับปรุงใหเหมาะสมกับการเก็บขอมูลในครั้งนี้
จากนั้นไดนําไปหาความเที่ยงตรงโดยการทดลองใช (Try out) กับโรงเรียนที่ไมใชกลุมตัวอยาง
31 คน แลวนําไปหาความเชื่อมั่นโดยคํานวณคาสัมประสิทธอัลฟาของครอนบัชไดคาความเชื่อมั่น
ทั้งฉบับเทากับ .96 และรายดานเทากับ .91 .84 .92 และ .83 ตามลําดับ
ผูวิจัยขอหนังสือจากบัณฑิ ตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฎสุราษฎรธานี ไปแสดงตอ
ผู อํ า นวยการโรงเรี ย นที่ เ ป น กลุ ม ตั ว อย า ง เพื่ อ ขอเก็ บ ข อ มู ล และติ ด ตามเก็ บ แบบสอบถามคื น
ดวยตนเองทุกโรงเรียน โดยแจกแบบสอบถามจํานวน 248 ชุด ไดกลับคืนมา 248 ชุด คิดเปน
รอยละ 100
80

การวิเคราะหขอมูล

วิเคราะหขอมูลโดยใชโปรแกรมสําเร็จรูป SPSS (Statistical Package for the Social


Sciences for Windows) เพื่อหาคาสถิติพื้นฐานตาง ๆ
สถิติที่ใช ไดแก คารอยละ คาเฉลี่ย คาเบี่ยงเบนมาตรฐานและสถิติทดสอบสมมติฐาน
ไดแก t-test

สรุปผลการวิจยั

จากการวิ เ คราะห ข อ มู ล สภาพการดํ า เนิ น งานแหล ง เรี ย นรู ข องโรงเรี ย นในอํ า เภอ
บานนาสาร จังหวัดสุราษฎรธานี ผูวิจัยสรุปผลการวิจัยเปน 2 ตอน คือ
ตอนที่ 1 ขอมูลการสํารวจแหลงเรียนรูประเภทตาง ๆ ทั้งที่เปนแหลงเรียนรูในโรงเรียน
และแหลงเรียนรูในชุมชน ที่โรงเรียนในอําเภอบานนาสาร จังหวัดสุราษฎรธานี ใชเพื่อการจัดการ
เรี ย นการสอน รวมถึ ง ลั ก ษณะกิ จ กรรมการเรี ย นการสอนที่ ใ ช ป ระโยชน จ ากแหล ง เรี ย นรู
รายละเอียด ดังนี้
แหลงเรียนรูในโรงเรียน
แหลงเรียนรูในโรงเรียนที่มีมากที่สุด คือ มีทุกโรงเรียนไมวาจะเปนขนาดใหญ หรือ
ขนาดเล็ ก คื อ ห อ งสมุ ด และป ายนิ เ ทศ แหล ง เรีย นรู ใ นโรงเรีย นที่ มี ม ากรองลงมา คื อ ห อ ง
คอมพิวเตอร และแปลงเกษตร โดยแหลงเรียนรูที่โรงเรียนขนาดใหญมีมากที่สุด คือ หองสมุด
หองคอมพิวเตอร อินเตอรเน็ต เสียงตามสาย ปายนิเทศ คิดเปนรอยละ 100 เทากัน รองลงมา คือ
หองนาฏศิลป/ดนตรี และแปลงเกษตร รอยละ 78 เทากัน แหลงเรียนรูที่โรงเรียนขนาดเล็กมีมาก
ที่สุด คือ หองสมุด และปายนิเทศ คิดเปนรอยละ 100 รองลงมา คือ แปลงเกษตร คิดเปน
รอยละ 89 หองคอมพิวเตอร รอยละ 86 และหองปฏิบัติการวิทยาศาสตร รอยละ 83
ลักษณะของกิจกรรมที่จัดโดยใชแหลงเรียนรูในโรงเรียนขนาดใหญ ของอําเภอบานนาสาร
จังหวัดสุราษฎรธานี ที่มีทุกโรงเรียน คือ การใหบริการยืม-คืน หนังสือในหองสมุด กิจกรรมการ
คนควาเพิ่มเติมในหองสมุด การทดลองวิทยาศาสตรในหองปฏิบัติการวิทยาศาสตร และการทํา
ใบงาน-รายงานโดยใชคอมพิวเตอร คิ ดเปน รอยละ 100 กิจกรรมที่จัดรองลงมา คือ การจัด
กิจกรรมสงเสริมการอาน เชน แขงขันยอดนักอาน เขียนเรียงความ แตงคําขวัญ เปนตน กิจกรรม
สืบคนขอมูลจากอินเตอรเน็ต การจัดปายนิเทศใหความรูวิทยาศาสตร และการฝกปฏิบัติงานเกษตร
คิดเปนรอยละ 89 สวนลักษณะของกิจกรรมที่จัดในโรงเรียนขนาดเล็ก ของอําเภอบานนาสาร ที่มี
81

ทุกโรงเรียน คือ การฝกปฏิบัติงานเกษตร คิดเปนรอยละ 100 รองลงมา คือ การคนควาเพิ่มเติม


ในหองสมุด รอยละ 94 การทดลองวิทยาศาสตร และการทํารายงาน-ใบงานดวยคอมพิวเตอร
รอยละ 81
แหลงเรียนรูในชุมชน
แหลงเรียนรูในชุมชน ประเภทบุคคลที่โรงเรียนขนาดใหญเลือกใชเพื่อการจัดการศึกษา
มากที่สุด คิดเปนรอยละ 100 คือ นักบวช/พระสงฆ รองลงมา คือ ตํารวจและแพทย/พยาบาล/
สาธารณสุข รอยละ 89 สวนโรงเรียนขนาดเล็ก ที่เลือกใชมากที่สุดคือ ภูมิปญญาทองถิ่น รอยละ
94 รองลงมา คือ ผูนําชุมชน รอยละ 81
แหลงเรียนรูในชุมชน ประเภททรัพยากรธรรมชาติในทองถิ่นที่โรงเรียนขนาดใหญ
เลือกใชเพื่อการจัดการศึกษามากที่สุด คิดเปนรอยละ 100 คือ ถ้ําขมิ้น รองลงมา คือ คลองฉวาง
คิดเปนรอยละ 89 และน้ําตกดาดฟา รอยละ 78 ในโรงเรียนขนาดเล็ก แหลงเรียนรูที่ใชมากที่สุด
คือ ถ้ําขมิ้น คิดเปนรอยละ 100 เชนเดียวกัน รองลงมา คือคลองฉวาง และน้ําตกดาดฟา รอยละ
64 เทากัน
แหลงเรียนรูในชุมชนประเภทที่มนุษยสรางขึ้นที่โรงเรียนขนาดใหญในอําเภอบานนาสาร
จังหวัดสุราษฎรธานี เลือกใชมากที่สุด คิดเปนรอยละ 100 คือ วัด/ศาสนสถาน รองลงมา คือ
โรงงานอุตสาหกรรม รานคา/บริษัท สถานประกอบการ สถานีอนามัย เทศบาล และสถานีตํารวจ
รอยละ 44 เทากัน ในโรงเรียนขนาดเล็ก แหลงเรียนรูที่ใชมากที่สุด คือ วัด/ศาสนสถาน คิดเปน
รอยละ 100 เชนเดียวกัน รองลงมา คือ สถานีอนามัย/สาธารณสุข รอยละ 75 และรานคา/บริษัท
รอยละ 64
แหลงเรียนรูในชุมชน ประเภทวัฒนธรรมประเพณี ที่โรงเรียนขนาดใหญเลือกใชมาก
ที่สุด คิดเปนรอยละ 100 คือ ประเพณีลอยกระทง และเทศกาลเงาะโรงเรียน รองลงมาคือ ประเพณี
บุญเดือนสิบ คิดเปนรอยละ 89 และประเพณีงานบวช ประเพณีวันขึ้นปใหม และการละเลนพืน้ บาน
รอยละ 78 เทากัน เชนเดียวกับโรงเรียนขนาดเล็กก็ใช ประเพณีวันลอยกระทง มากที่สุด คิดเปน
รอยละ 100 รองลงมาคือ ประเพณีวันสงกรานต รอยละ 94 และประเพณีบุญเดือนสิบ รอยละ 89
รูปแบบการใชแหลงเรียนรูในการจัดการศึกษา
การจัดลําดับรูปแบบการใชแหลงเรียนรูในชุมชนเพื่อการจัดการศึกษา เรียงลําดับจาก
รูปแบบที่ใชมากไปนอย ของโรงเรียนในอําเภอบานนาสาร จังหวัดสุราษฎรธานี จําแนกตามขนาด
โรงเรียน สรุปไดดังนี้
โรงเรียนขนาดใหญ ไดแก
1. เชิญวิทยากรมาใหความรูแ กนักเรียนในโรงเรียน
82

2. การจัดกิจกรรมเรียนรูขึ้นเองในโรงเรียน
3. นํานักเรียนไปเรียนรูที่แหลงเรียนรู
4. มอบหมายงานใหนักเรียนไปเรียนรู/เก็บขอมูลแลวเขียนรายงาน
5. ใหนกั เรียนไปสัมภาษณบุคคลแลวเขียนรายงาน
6. จัดกิจกรรมเรียนรูโดยรวมมือกับชุมชน
7. การจั ด ให มี ก ารเข า ค า ย เช น ค า ยรั ก การอ า น ค า ยวิ ท ยาศาสตร แคมป
ภาษาอังกฤษ ฯลฯ
8. จัดใหนักเรียนเขาฝกปฏิบัติเพื่อหาประสบการณในแหลงเรียนรู
โรงเรียนขนาดเล็ก ไดแก
1. การจัดกิจกรรมเรียนรูขึ้นเองในโรงเรียน
2. เชิญวิทยากรมาใหความรูแ กนักเรียนในโรงเรียน
3. นํานักเรียนไปเรียนรูที่แหลงเรียนรู
4. มอบหมายงานใหนักเรียนไปเรียนรู/เก็บขอมูลแลวเขียนรายงาน
5. จัดกิจกรรมเรียนรูโดยรวมมือกับชุมชน
6. ใหนกั เรียนไปสัมภาษณบุคคลแลวเขียนรายงาน
7. การจั ด ให มี ก ารเข า ค า ย เช น ค า ยรั ก การอ า น ค า ยวิ ท ยาศาสตร แคมป
ภาษาอังกฤษ ฯลฯ
8. จัดใหนักเรียนเขาฝกปฏิบัติเพื่อหาประสบการณในแหลงเรียนรู
ตอนที่ 2 ผลการศึ ก ษาสภาพการดํ า เนิ น งานแหล ง เรี ย นรู ของโรงเรี ย นในอํ า เภอ
บานนาสารในภาพรวมและแตละดาน คือ ดานการวางแผนการใชแหลงเรียนรู ดานการดําเนินการ
ใชแหลงเรียนรู ดานการประเมินผลการใชแหลงเรียนรู ดานการปรับปรุงพัฒนาการใชแหลงเรียนรู
สรุปได ดังนี้
ผลการวิเคราะหการดําเนินงานแหลงเรียนรูของโรงเรียนในอําเภอบานนาสาร จังหวัด
สุราษฎรธานี ในภาพรวมพบวา มีการดําเนินงานแหลงเรียนรูอยูในระดับปานกลาง และเมื่อ
พิจารณาในแตละดาน พบวา อยูในระดับปานกลาง ทุกดานเชนเดียวกัน โดยดานการวางแผนการ
ใช แ หล ง เรี ย นรู มี ค า เฉลี่ ย สู ง สุ ด รองลงมา คื อ ด า นการดํ า เนิ น การใช แ หล ง เรี ย นรู ด า นการ
ประเมินผลการใชแหลงเรียนรู และดานการปรับปรุงพัฒนาการใชแหลงเรียนรูมีคาเฉลี่ยต่ําสุด เมื่อ
พิจารณาเปนรายขอ ปรากฏผลดังนี้
ดานการวางแผนการใชแหลงเรียนรู พบวามีการดําเนินงานอยูในระดับมาก 5 ขอ คือ ขอ
การกําหนดนโยบายการใชแหลงเรียนรูในโรงเรียนในการจัดการศึกษา ขอการกําหนดเปาหมาย
83

การพัฒนาแหลงเรียนรูในโรงเรียน ขอการประชุมครูและคณะกรรมการสถานศึกษาเพื่อสราง
ความตระหนักถึงความสําคัญ ในการจัดและการใชแหลงเรียนรูเพื่อพัฒนาคุณภาพผูเรียน ขอการ
แตงตั้งครูและบุคลากรรับผิดชอบการจัดการและพัฒนาแหลงเรียนรู และขอการมีสวนรวมในการ
วางแผนการใชแหลงเรียนรูของครูและบุคลากรในโรงเรียน ขอที่มีการดําเนินงานอยูในระดับ
ปานกลาง 7 ขอ คือ ขอมีการกําหนดนโยบายการใชแหลงเรียนรูในชุมชนประกอบการจัด
การศึกษา มีการใหความรูหรือสงครูและบุคลากรเขารวม อบรมเกี่ยวกับการจัด/การพัฒนาและใช
แหลงเรียนรู ขอมีการกําหนดมาตรฐานและตัวชี้วัดการพัฒนาและใชแหลงเรียนรู ขอมีการกําหนด
ระยะเวลา/แผนงาน การใช แ หลง เรี ย นรูที่ชั ด เจน ขอ มี การกํ าหนดโครงการใชแ หล ง เรี ย นรู ที่
หลากหลาย ขอมีการจัดสรรงบประมาณในการพัฒนาและใชแหลงเรียนรูที่ชัดเจน ขอชุมชนมี
สวนรวมในการวางแผนการจัดและการพัฒนาการใชแหลงเรียนรู
ดานการดําเนินการใชแหลงเรียนรู พบวามีการดําเนินการอยูในระดับมาก 4 ขอ คือ
ข อครู แ ละบุ คลากรมี สว นรว มในการพัฒ นาแหลง เรีย นรูในโรงเรี ย น ข อมีการจัด แหล ง เรีย นรู
หองสมุดโรงเรียนอยางเปนระบบระเบียบ มีการสงเสริมใหหองสมุดโรงเรียนจัดกิจกรรมสงเสริม
การอานอยางสม่ําเสมอ มีการสงเสริมใหจัดมุมหนังสือและมุมเรียนรูในหองเรียนทุกหอง มีการ
ดําเนินการอยูในระดับปานกลาง 8 ขอ คือ ขอมีการสํารวจและจัดทําทะเบียนแหลงเรียนรูประเภท
ตาง ๆ ในโรงเรียน ขอมีการสํารวจและจัดทําทะเบียนแหลงเรียนรูประเภทตาง ๆ ในชุมชน ขอมี
การสํ า รวจและจั ด ทํ า ทะเบี ย น ภู มิ ป ญ ญาท อ งถิ่ น ข อ มี ก ารประชุ ม ปรึ ก ษาหารื อ ของครู แ ละ
บุคคลากรที่รับผิดชอบการใชแหลงเรียนรูอยางสม่ําเสมอ ขอมีการจัดใหบุคลากรไปศึกษาดูงานการ
ดําเนินงานแหลงเรียนรู ของโรงเรียนอื่นที่ประสบความสําเร็จ ขอมีการจัดใหมีหองพิเศษตาง ๆ
เชน หองดนตรี/นาฏศิลป หองกิจกรรมชุมนุม หองแนะแนว หองกิจกรรมลูกเสือ-เนตรนารี ฯลฯ
ขอมีการสงเสริมใหหองพิเศษตาง ๆ จัดกิจกรรมเรียนรูอยางสม่ําเสมอ ขอมีการสงเสริมใหจัด
บริเวณโรงเรียนเปนแหลงเรียนรู เชน สวนสมุนไพร สวนพฤกษศาสตร ฯลฯ สวนขอที่มีการ
ดําเนินการอยูในระดับนอยมี 2 ขอ คือ ขอชุมชนเขามามีสวนรวมในการจัดและพัฒนาแหลงเรียนรู
และขอมีการระดมทรัพยากรจากชุมชนในการพัฒนาแหลงเรียนรู
ดานการประเมินผลการใชแหลงเรียนรู พบวา มีการดําเนินการอยูในระดับมาก 4 ขอ
คื อ ข อ นั ก เรี ย นได ใ ช ป ระโยชน จ ากการใช แ หล ง เรี ย นรู ในโรงเรี ย นประเภทห อ งปฏิ บั ติ ก าร
วิทยาศาสตร ขอนักเรียนไดใชประโยชนจากการใชแหลงเรียนรูประเภทหองคอมพิวเตอรและ
อินเตอรเน็ต ขอนักเรียนไดใชประโยชนจากการใชแหลงเรียนรูประเภทอื่น ๆ ที่อยูในบริเวณ
โรงเรียน ขอนักเรียนไดใชประโยชนจากการใชแหลงเรียนรูในชุมชน ขอทีมีการดําเนินการอยูใน
ระดับปานกลาง 10 คือ ขอมีการแตงตั้งผูรับผิดชอบการประเมินผลการใชแหลงเรียนรูในโรงเรียน
84

ขอมีการแตงตั้งผูรับผิดชอบการประเมินผลการใชแหลงเรียนรูในชุมชน ขอมีการกําหนดขั้นตอน
การประเมินผลการใชแหลงเรียนรูที่ชัดเจน ขอมีการสรางเครื่องมือเพื่อรวบรวมและวิเคราะหขอมูล
การใชแหลงเรียนรู ขอครูและนักเรียนสวนรวมในการประเมินผลการใชแหลงเรียนรู ขอมีการ
สรุปผลการดําเนินงานแหลงเรียนรูในโรงเรียน ขอมีการสรุปผลการดําเนินงานแหลงเรียนรูใน
ชุมชน ขอมีการจัดทํารายงานและนําเสนอผลการดําเนินงานแหลงเรียนรูในโรงเรียน ขอมีการ
จัดทํารายงานและนําเสนอผลการดําเนินงานแหลงเรียนรูในชุมชน สวนขอที่มีการปฏิบัติอยูใน
ระดับนอย คือ ชุมชนมีสวนรวมในการประเมินผลการใชแหลงเรียนรู มีการดําเนินการอยูในระดับ
นอย 1 ขอ คือ ขอชุมชนมีสวนรวมในการประเมินผลการใชแหลงเรียนรู
ดานการปรับปรุงพัฒนาการใชแหลงเรียนรู พบวามีการดําเนินการอยูในระดับปานกลาง
10 ขอ คือ ขอมีการแตงตั้งผูรับผิดชอบประเมินผลการใชแหลงเรียนรูในชุมชน ขอมีการนําผล
การประเมิ น มาปรั บ ปรุ ง และพั ฒ นาแหล ง เรี ย นรู ใ นชุ ม ชน ข อ มี ก ารแต ง ตั้ ง คณะกรรมการ/
คณะทํางานในการนําผลการดําเนินงานแหลงเรียนรูมาจัดทําเปนแผนงานพัฒนาการดําเนินงาน
แหลงเรียนรู ขอมีการวิเคราะหจุดเดน/จุดดอยการใชแหลงเรียนรูในโรงเรียน ขอมีการวิเคราะห
จุดเดน/จุดดอยการใชแหลงเรียนรูในชุมชน ขอมีการทบทวนแผนงาน การใชหองสมุดโรงเรียน
อยางสม่ําเสมอ ขอมีการทบทวนแผนการใชหองคอมพิวเตอรและอินเตอรเน็ตอยางสม่ําเสมอ ขอมี
การทบทวนแผนการใชหองปฏิบัติการวิทยาศาสตรสม่ําเสมอ ขอมีการทบทวนแผนการใชแหลง
เรียนรูใน บริเวณโรงเรียนอื่น ๆ เชน โรงฝกงาน สวนเกษตร สวนสมุนไพร ฯลฯ อยางสม่ําเสมอ
ขอมีการทบทวนแผนการใชแหลงเรียนรูในชุมชนอยางสม่ําเสมอ การดําเนินงานอยูในระดับนอย 1
ขอ คือ ขอมีการจัดทําคูมือการใชแหลงเรียนรู
ตอนที่ 3 สรุปผลการวิเคราะหเปรียบเทียบสภาพการดําเนินงานแหลงเรียนรูของโรงเรียน
ในอําเภอบานนาสาร จังหวัดสุราษฎรธานี จําแนกตามขนาด โดยภาพรวมและแตละดาน สรุปได
ดังนี้
3.1 โรงเรี ย นขนาดใหญ แ ละโรงเรี ย นขนาดเล็ ก ในอํ า เภอบ า นนาสาร จั ง หวั ด
สุราษฎรธานี มีการดําเนินงานแหลงเรียนรูโดยภาพรวมอยูในระดับปานกลางเหมือนกัน และเมื่อ
พิจารณารายดานก็พบวามีการอยูในระดับปานกลางทุกดาน เชนเดียวกัน
3.2 เมื่อเปรียบเทียบผลการดําเนินงานแหลงเรียนรูพบวา โรงเรียนขนาดใหญและ
ขนาดเล็กมีผลการดําเนินงานไมแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ เมื่อพิจารณารายดาน 4 ดาน
พบวา ดานที่ 1 ถึง 3 มีการดําเนินการไมแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ แตในดานที่ 4 คือ
ดานการปรับปรุงและพัฒนาการใชแหลงเรียนรู มีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ .05
โดยโรงเรียนขนาดใหญมีการดําเนินงานในดานนี้มากกวาโรงเรียนขนาดเล็ก
85

อภิปรายผล

ผลวิจัยเรื่องการศึกษาสภาพการดําเนินงานแหลงเรียนรูเพื่อการจัดการศึกษาของโรงเรียน
ในอําเภอบานนาสาร จังหวัดสุราษฎรธานี ผูวิจัยมีประเด็นที่นํามาอภิปราย ดังนี้
1. ผลการสํารวจขอมูลแหลงเรียนรูประเภทตาง ๆ ในโรงเรียนอําเภอบานนาสาร
จังหวัดสุราษฎรธานี ที่ใชเพื่อการจัดการเรียนการสอนและลักษณะกิจกรรมการเรียนการสอนที่ใช
ประโยชนจากแหลงเรียนรู พบวาโรงเรียนในอําเภอบานนาสารทุกโรงเรียน มีหองสมุดและมี
กิ จ กรรมค น คว า หาความรู ใ นห อ งสมุด และสว นใหญ มีบ ริ ก ารยืม -คื น หนั งสื อ ห อ งสมุ ด และ
กิจกรรมสงเสริมการอาน เชน กิจกรรมแขงขันยอดนักอาน ประกวดเรียงความ คําขวัญ แขงเปด
พจนานุกรม ฯลฯ ซึ่งนับวาเปนขอดีอยางยิ่ง เนื่องจากหองสมุดเปนแหลงเรียนรูที่มีความสําคัญ
มากในโรงเรียน และเปนจุดเริ่มตนของการที่จะปลูกฝงนิสัยรักการอาน การคนควาใหกับนักเรียน
อันจะพัฒนาไปสูการเปนบุคคลแหงการเรียนรู มีนิสัยรักการเรียนรูตลอดชีวิต เปนผูมีปญญา มี
ความสุข เปนทรัพยากรบุคคลที่มีคุณภาพของชาติตอไปในอนาคต ซึ่งการเรียนรูนั้นเราสามารถทํา
ไดตลอดเวลาและตลอดชีวิต ดังคํากลาวของพระธรรมปฎก (ป.อ.ปยุตตโต. 2543 : 27) ที่กลาววา
ชีวิตที่ดีคือชีวิตแหงการเรียนรู (สิกขา) และมนุษยยิ่งเรียนรูก็ยิ่งมีชีวิตที่ดี (จริยะ/มรรค) โรงเรียนจึง
ควรใหความสําคัญกับแหลงเรียนรูในโรงเรียน โดยเฉพาะหองสมุด ควรมีแผนพัฒนาหองสมุดและ
แผนการใชหองสมุดที่ชัดเจนและเปนระบบเพื่อใหเกิดประโยชนสูงสุดในการจัดการศึกษา แตจาก
ผลการสํารวจมีขอนาสังเกตคือโรงเรียนขนาดเล็กในอําเภอบานนาสาร จังหวัดสุราษฎรธานีบางโรง
ไมมีกิจกรรมยืม-คืนหนังสือ ซึ่งอาจเปนไปไดวาเพราะปริมาณหนังสือมีจํานวนจํากัด หรือหนังสือ
อาจไมนาสนใจ ไมหลากหลาย อีกทั้งจํานวนบุคลากรของโรงเรียนมีนอย จึงทําใหไมสามารถจัด
กิจกรรมนี้ได นอกจากนี้พบวามีโรงเรียนประถมศึกษาในอําเภอบานนาสารที่เปนโรงเรียนขนาด
เล็กหลายโรง มี จํานวนนั กเรียนไมถึงรอยคน มี ครู 4 - 5 คนเทานั้น และครูตองสอน 6 ชั้น
เหมื อนโรงเรี ย นประถมศึ ก ษาทั่ ว ไป ทํ าใหค รูมี ภ าระงานมากจึ ง อาจทํา ให ไ ม สามารถจัด ให มี
กิจกรรมแหลงเรียนรูบางกิจกรรมในโรงเรียนได
ขอสังเกตอีกประการก็คือ โรงเรียนขนาดใหญทุกโรงนอกจากมีหองคอมพิวเตอร
แลวยังติดอินเตอรเน็ตทุกโรงอีกดวย ขอนี้นับวาเปนเรื่องดีเพราะทําใหนักเรียนมีชองทางที่จะ
สืบคนขอมูล และศึกษาหาความรูไดมากขึ้น เพราะอินเตอรเน็ตเปรียบเสมือนหองสมุดโลกที่มี
ขอมูลมากมายใหนักเรียนไดเขาไปเรียนรู ซึ่งเปนสิ่งสําคัญของการอยูในโลกยุคปจจุบันที่เปนยุค
แห ง ข อ มู ล ข า วสาร ซึ่ ง ครู จํ า เป น ต อ งดู แ ลควบคุ ม การใช อิ น เตอร เ น็ ต ของนั ก เรี ย นให อ ยู ใ น
ความเหมาะสมดวย จากผลการสํารวจในภาพรวมพบวา จํานวนแหลงเรียนรูในโรงเรียนของ
86

โรงเรียนขนาดใหญมีมากกวาโรงเรียนขนาดเล็กเกือบทุกรายการ ที่เปนเชนนี้ก็นาจะมาจากสาเหตุ
วาโรงเรียนขนาดใหญไดรับการสนับสนุนงบประมาณมากกวาโรงเรียนขนาดเล็ก ทั้งงบอุดหนุนราย
หัวหรืองบอุดหนุนพิเศษ รวมถึงโรงเรียนขนาดใหญมีบุคลากรจํานวนมากกวา ทําใหสามารถดูแล
และจัดการแหลงเรียนรูในโรงเรียนไดมากกวา
2. ผลการสํ า รวจแหล ง เรี ย นรูป ระเภทตา ง ๆ ในชุ ม ชนของโรงเรี ย นในอํา เภอ
บานนาสาร จังหวัดสุราษฎรธานีที่ใชเพื่อการจัดการเรียนการสอน และลักษณะกิจกรรมการเรียน
การสอนที่ใชประโยชนจากแหลงเรียนรูในชุมชน พบวา วัด/ศาสนาสถาน เปนแหลงเรียนรูที่ทุก
โรงเรียนในอําเภอบานนาสารใชประโยชนในการจัดการเรียนการสอน
ผลการสํารวจรูปแบบการใชแหลงเรียนรูในชุมชนเพื่อการจัดการศึกษา ของโรงเรียน
ในอําเภอบานนาสาร จังหวัดสุราษฎรธานี พบวารูปแบบของกิจกรรมที่โรงเรียนขนาดใหญใชมาก
ที่สุด 3 อันดับแรก คือ เชิญวิทยากรมาใหความรูแกนักเรียนในโรงเรียน การจัดกิจกรรมเรียนรู
ขึ้นเองในโรงเรียน นํานักเรียนไปเรียนรูที่แหลงเรียนรู สวนรูปแบบกิจกรรมที่โรงเรียนขนาดเล็ก
ใชมากที่สุด 3 อันดับแรก คือ การจัดกิจกรรมเรียนรูขึ้นเองในโรงเรียน เชิญวิทยากรมาใหความรู
แกนักเรียนในโรงเรียน นํานักเรียนไปเรียนรูที่แหลงเรียนรู และยังพบวาโรงเรียนทั้งสองขนาดมี
รูปแบบใชแหลงเรียนรูในชุมชนใกลเคียงกัน ที่เปนเชนนี้อาจเนื่องมาจากรูปแบบการจัดกิจกรรมขึน้
เองในโรงเรียน และการเชิญวิทยากรมาใหความรูที่โรงเรียน เปนรูปแบบที่สามารถจัดการไดงาย
กวา และมีคาใชจายนอยกวาการนํานักเรียนไปเรียนรูที่แหลงเรียนรู จึงเปนรูปแบบที่มีการใชมาก
ที่สุดของเกือบทุกโรงเรียนในอําเภอบานนาสาร สวนรูปแบบการนํานักเรียนไปเรียนรูที่แหลง
เรียนรูเปนวิธีที่ตองมีการวางแผนและการจัดการที่ดี รวมทั้งตองใชงบประมาณมากกวา จึงเปนวิธที ี่
ไดรับความนิยมนอยกวา สอดคลองกับผลการวิจัยของจริยา ลือชัย (2548 : ข) ที่พบวาปญหา
อุปสรรคที่สําคัญของการนํานักเรียนออกไปใชแหลงเรียนรูในชุมชน คือ โรงเรียนอยูหางไกลจาก
แหลงเรียนรู ขาดพาหนะสําหรับการเดินทางไปแหลงเรียนรู ขาดงบประมาณสนับสนุนการใช
แหลงเรียนรู และสอดคลองกับผลการวิจัยของ สกอโนบีเลน (Schnoebelen. 1990 : 18-21) ที่พบวา
อุปสรรคของการนํานักเรียนออกไปเรียนรูนอกสถานที่ คือ ครูไมมีเวลาในการวางแผน ขาดคน
ที่จะชวยในการจัดและดําเนินกิจกรรม โรงเรียนคิดวาเปนการเสี่ยงตออันตรายในการจัดกิจกรรมนี้
ขาดวิธีการที่ดีและเหมาะสมในการควบคุมชั้นเรียนนอกสถานที่ มีขอจํากัดในการออกนอกสถานที่
โดยขอกําหนดของโรงเรียน ขาดผูนําที่สนับสนุนและสงเสริมการจัด และขนาดของชั้นเรียนใหญ
เกินไปในการศึกษานอกสถานที่ แตผูวิจัยมีความเห็นวา รูปแบบการนํานักเรียนไปเรียนรูในแหลง
เรียนรู เปนวิธีการที่ดีที่สุดจะทําใหนักเรียนไดเรียนรูอยางหลากหลายและ บูรณาการรอบดาน
เพราะมิใชเพียงเปนการไปเรียนรูขอมูลความรูของแหลงเรียนรูเทานั้นแตยังเปนไปเรียนรูชุมชน
87

เรียนรูบุคคลและวิถีชีวิต ไดเรียนรูมากกวาองคความรูคือเรียนรูที่จะเขาใจรากเหงาความเปนมาของ
ตนเองอีกดวย ดังคํากลาวของสุมล อมรวิวัฒน (2541 : 3) ที่กลาววา แกนแทของการเรียนการ
สอน คื อ การเรี ยนรูของผู เ รียน และผูเ รียนเรียนรูไ ดดี จากการสั มผัสและสั มพั น ธชุ มชนและ
ธรรมชาติเปนขุมทรัพยมหาศาลที่เราสามารถคนพบความรูไดไมรูจักหมด เชน ความสัมพันธ
ระหวางกลุมคนตาง ๆ ในชุมชน ประวัติศาสตร ประเพณี พิธีกรรมของชุมชน แหลงเรียนทาง
ศาสนา วัฒนธรรม การอาชีพ การทํามาหากินในชุมชน (สุมล อมรวิวัฒน. 2544 : 67)
3. การดําเนินงานแหลงเรียนรูเพื่อการจัดการศึกษาของโรงเรียนในอําเภอบานนาสาร
จังหวัดสุราษฎรธานี พบวาโดยภาพรวมมีการดําเนินการในระดับปานกลาง เมื่อพิจารณารายดาน
พบวาดานการวางแผนการใชแหลงเรียนรูมีคาเฉลี่ยสูงที่สุด ผลการวิจัยเปนเชนนี้นาจะเปนเพราะ
ผู บ ริ ห ารและครู มี ค วามตระหนั ก ถึ ง ความสํ า คั ญ ของแหล ง เรี ย นรู ว า มี ค วามสํ า คั ญ ต อ การจั ด
การศึกษาใหประสบความสําเร็จ ตามแนวทางของการปฏิรูปการศึกษาและการเรียนการสอนที่เนน
ผูเรียนเปนสําคัญ โรงเรียนสวนใหญจึงมีการกําหนดนโยบายการใชแหลงเรียนรูในโรงเรียน และ
ในชุมชนในการจัดการศึกษา มีการกําหนดเปาหมายการพัฒนาแหลงเรียนรูในโรงเรียน และมีการ
แตงตั้งผูรับผิดชอบในการจัดการและการพัฒนาแหลงเรียนรู จึงทําใหคาเฉลี่ยในดานนี้สูงกวา
ดานอื่น สวนดานที่มีคาเฉลี่ยต่ําสุด คือ ดานการปรับปรุงและพัฒนาแหลงเรียนรู ที่เปนเชนนี้
นาจะเปนเพราะโรงเรียนสวนใหญเนนที่การใชแหลงเรียนรูเพื่อการจัดการศึกษาและประเมินผล
เพียงเบื้องตนเทานั้น ไมไดใหความสําคัญกับการนําขอมูลการประเมินมาวิเคราะหจุดดี/จุดดอย
เพื่ อ วางแผน ปรั บ ปรุ ง พั ฒ นาการทํ า งาน รวมถึ ง การที่ โ รงเรี ย นส ว นใหญ ยั ง ยึ ด ติ ด อยู กั บ
กระบวนการบริหารแบบเดิม ๆ ซึ่งมี 3 ขั้นตอน คือ การวางแผน การดําเนินการตามแผนและ
การประเมินผลเทานั้น (เจนจัด ภักดีไทย. 2548 : 123) ยังขาดความตระหนักในความสําคัญของการ
นําผลการประเมินมาพัฒนาการทํางาน
4. การเปรียบเทียบการดําเนินงานแหลงเรียนรูเพื่อการจัดการศึกษาของโรงเรียน
ในอําเภอบานนาสาร จังหวัดสุราษฎรธานี จําแนกตามตามขนาดของโรงเรียน คือขนาดใหญและ
ขนาดเล็ก พบวาการดําเนินงานแหลงเรียนรูในภาพรวมไมแตกตางกัน แตเมื่อพิจารณาเปนรายดาน
พบวาดานที่ 4 คือดานการปรับปรุงพัฒนาการใชแหลงเรียนรูนั้น โรงเรียนขนาดใหญและขนาดเล็ก
มีการดําเนิ นงานแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ .05 กลาวคื อโรงเรียนขนาดใหญมีการ
ดําเนินงานในดานนี้มากกวา โรงเรียนขนาดเล็ก ซึ่งอาจเปนเพราะวาโรงเรียนขนาดใหญมีจํานวน
บุคลากรและงบประมาณมากกวา ในขณะที่โรงเรียนขนาดเล็ก โดยเฉพาะโรงเรียนประถมศึกษา
ขนาดเล็ ก ซึ่ ง เป นโรงเรีย นสว นใหญใ นอํา เภอบานนาสาร จังหวัด สุ ราษฎรธานี มีบุ ค ลากรและ
88

งบประมาณจํากัด อีกทั้งครูมีภาระงานสอนและงานธุรการชั้นเรียนมาก จึงทําใหมีการดําเนินการ


ดานนี้นอยกวาโรงเรียนขนาดใหญ
หากจะพิจารณาผลการดําเนินงานแหลงเรียนรูของโรงเรียนในอําเภอบานนาสาร
จังหวัดสุราษฎรธานี เปนรายขอของในแตละดานจะพบวา บางขอแมจะมีระดับการดําเนินงานอยู
ในระดับปานกลาง แตก็มีคาเฉลี่ยคอนขางต่ํา เชน ขอมีการกําหนดมาตรฐานและตัวชี้วัดการ
พัฒนาและใชแหลงเรียนรู มีคาเฉลี่ย 2.66 ขอชุมชนมีสวนรวมในการวางแผนการจัดการพัฒนา
การใชแหลงเรียนรู มีคาเฉลี่ย 2.56 ขอมีการวิเคราะหจุดเดน/จุดดอยการใชแหลงเรียนรูในโรงเรียน
มีคาเฉลี่ย 2.67 และขอมีการวิเคราะหจุดเดน/จุดดอยการใชแหลงเรียนรูในชุมชน มีคาเฉลี่ย 2.63
นอกจากนี้ยังมีอีกหลายขอที่มีระดับการดําเนินงานอยูในระดับนอย เชน ขอชุมชนเขามามีสวนรวม
ในการจัดและพัฒนาแหลงเรียนรู มีคาเฉลี่ย 2.50 ขอมีการระดมทรัพยากรจากชุมชนในการพัฒนา
แหลงเรียนรู มีคาเฉลี่ย 2.49 ขอชุมชนมีสวนรวมในการประเมินผลการใชแหลงเรียนรู มีคาเฉลี่ย
2.29 และขอมีการจัดทําคูมือการใชแหลงเรียนรู มีคาเฉลี่ยเพียง 2.00 เทานั้น สิ่งเหลานี้ลวนสะทอน
ใหเห็นถึงสภาพการดําเนินงานแหลงเรียนรูที่ควรจะมีการปรับปรุงพัฒนาขึ้นทั้งสิ้น ซึ่งผูเกี่ยวของ
ไมวาจะเปนผูบริหารสถานศึกษาหรือครูผูปฏิบัติการสอน ควรจะใหความสนใจรวมกันหาแนวทาง
พัฒนาปรับปรุงขอดอยเหลานี้ใหมีความกาวหนาพัฒนาขึ้น ก็จะทําใหการดําเนินงานแหลงเรียนรู
ของโรงเรียนในอําเภอบานนาสาร จังหวัดสุราษฎรธานี ประสบความสําเร็จสามารถตอบสนอง
แนวทางการปฏิรูปการศึกษา ตามเจตนารมณของพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ.2542 ได
อยางแนนอน

ขอเสนอแนะ

การวิ จั ย เรื่ อ ง การศึ ก ษาสภาพการดํ า เนิ น งานแหล ง เรี ย นรู ข องโรงเรี ย น ในอํ า เภอ
บานนาสาร จังหวัดสุราษฎรธานี ผูวิจัยมีขอเสนอแนะดังนี้
ขอเสนอแนะสําหรับการนําผลการวิจัยไปใช
1. ระดับสถานศึกษา
1.1 ควรมี การจัด ทําแผนการใชแหลงเรียนในโรงเรีย น และแหลงเรียนรูใ น
ชุม ชนที่ ชั ด เจน เป น ระบบ โดยจั ด ทํ า เป น แผนรายป ก ารศึ ก ษา แล ว ทํ า แผนย อยเป น แผนราย
ภาคเรียน และแผนปฏิบัติงานรายเดือน ในการจัดทําแผนควรเปดโอกาสใหครูและบุคลากรทุกฝาย
ไดมีสวนรวม ซึ่งจะทําใหเมื่อนําแผนไปสูการปฏิบัติจะมีความเปนไปไดสูง เพราะเปนแผนของ
ทุกคนรวมกันทํา
89

1.2 โรงเรียนควรมีการกําหนดมาตรฐานและตัวชี้วัด ในการใชแหลงเรียนรู


และพัฒนาแหลงเรียนรูที่ชัดเจน แลวใชสิ่งเหลานี้ในการประเมินผลและปรับปรุงพัฒนาการใช
แหลงเรียนรูอยางจริงจัง
1.3 โรงเรียนควรหาวิธีการชักชวนชุมชนใหเขามามีสวนรวมในการดําเนินงาน
แหลงเรียนรูในทุกดาน ไดแก ดานการวางแผนการใชแหลงเรียนรู ดานการดําเนินการใชแหลง
เรียนรู ดานการประเมินผลการใชแหลงเรียนรู ดานการปรับปรุงพัฒนาการใชแหลงเรียนรู
1.4 ควรมีการอบรมใหความรูแกครู เพื่อสรางความตระหนักถึงความสําคัญของ
การใชแหลงเรียนรูในการจัดการเรียนการสอน และเทคนิควิธีการใชแหลงเรียนรูประกอบการเรียน
การสอน เพื่อใหเกิดการเรียนรูที่เนนผูเรียนสําคัญที่สุด
2. ระดับครูผูสอน
2.1 ครู ค วรพั ฒ นาตนเองให เ ป น บุค คลแห ง การเรีย นรู เป น แบบอยา งที่ ดีแ ก
นักเรียนในการเปนผูมีความใฝรูใฝเรียน และการใชทักษะในการแสวงหาความรูดวยตนเอง วิธกี าร
หนึ่งก็คือครูควรนํากระบวนการวิจัยมาใชในการทํางาน
2.2 ครูควรจัดทําแผนการเรียนรูที่ใชแหลงเรียนรูในโรงเรียน ประกอบการเรียน
การสอนอยางสม่ําเสมอ ควรมีการประเมินผลการใชแหลงเรียนรูทุกครั้ง และนําผลการประเมินมา
ปรับปรุงพัฒนาการเรียนการสอน
2.3 การใชแหลงเรียนรูในชุมชนทุกครั้ง ควรมีการบันทึกผลการใชอยางละเอียด
โดยควรจะบันทึกโดยครู รวมกับนักเรียน แลวนําผลการใชแหลงเรียนรูมาวิเคราะหจุดดี จุดดอย
เพื่อนํามาปรับปรุงพัฒนาแผนการใชแหลงเรียนรูในชุมชน เพื่อใหการใชแหลงเรียนรู ไดประโยชน
คุมคายิ่งขึ้น
ขอเสนอแนะสําหรับการวิจัยครั้งตอไป
1. ควรมีการวิจัยเรื่องปจจัยที่สงผลตอการใชแหลงเรียนรูในโรงเรียน และแหลง
เรียนรูในชุมชน เพื่อคนหาวิธีการสงเสริมปจจัยทางบวกและแกไขปจจัยที่มีผลทางลบตอการใช
แหลงเรียนรูเพื่อการจัดการศึกษา
2. ควรศึกษาวิจัยเรื่องประสิทธิภาพการเรียนรู และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของ
นักเรียนที่ใชแหลงเรียนรูประกอบการเรียน เพื่อใหไดรูปแบบการเรียนรูที่เพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการ
เรียนของนักเรียน
3. ควรวิจัยและพัฒนาเพื่อจัดทําคูมือการใชแหลงเรียนรูในโรงเรียน และคูมือการ
จัดการแหลงเรียนรูในชุมชน เปนการเพิ่มประสิทธิภาพในการใชแหลงเรียนรูในการจัดการศึกษา
ใหดียิ่งขึ้น และอาจเปนประโยชนกับสถานศึกษาอื่น ๆ ดวย
บรรณานุกรม
91

บรรณานุกรม

กริศร วานิชกุล. (2543). สถานเพาะชํา. กรุงเทพฯ : เอกสารเผยแพร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร


อันดับ 69 : 2.
กิติยวดี บุญซือ่ และคณะ. (2541). การเรียนรูอยางมีความสุข การปฏิรปู การเรียนรูตามแนวคิด 5
ทฤษฎี. กรุงเทพฯ : สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาแหงชาติ.
เขตพื้นที่การศึกษาสุราษฏรธานี เขต 3, สํานักงาน. (2548). ทะเบียนแหลงเรียนรู สิ่งแวดลอมศึกษา
ภูมิปญญาทองถิ่น. สุราษฎรธานี : เขตพื้นที่การศึกษาสุราษฎรธานี เขต 3.
คณะกรรมการการศึกษาแหงชาติ, สํานักงาน. (2536). ผลการวิจัยทางการศึกษา ปการศึกษา 2535.
กรุงเทพฯ : คุรุสภา.
________. (2545). พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 แกไขเพิ่มเติม พ.ศ. 2545.
กรุงเทพฯ : พริกหวานกราฟฟค จํากัด.
________. (2545). รายงานผลการดําเนินงานโครงการนํารองระดับชาติ เรื่อง การปฏิรูป
กระบวนการเรียนรูในโรงเรียนนํารอง : รูปแบบที่คัดสรร (พิมพครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ :
สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาแหงชาติ.
จริยา ลือชัย. (2546). การใชแหลงเรียนรูในชุมชนประกอบการจัดการเรียนการสอนของครูใน
โรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดกรมสามัญศึกษาจังหวัดชุมพร. วิทยานิพนธ
ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาบริหารการศึกษา สถาบันราชภัฏสุราษฎรธานี.
เจนจัด ภักดีไทย. (2548). การดําเนินงานแหลงเรียนรูในโรงเรียนมัธยมศึกษา จังหวัดสุราษฎรธานี.
วิทยานิพนธครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏ
สุราษฎรธานี.
เจริญ งานไว. (2538). การศึกษาการจัดบรรยากาศและสิ่งแวดลอม ในโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัด
กรมสามัญศึกษา จังหวัดขอนแกน. วิทยานิพนธศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต
มหาวิทยาลัยขอนแกน.
ชาติ แจมนุช. (2527). การใชประโยชนจากแหลงความรูในชุมชนประกอบการเรียนการสอน
ประชากรศึกษา ในระดับมัธยมศึกษาตอนตน ในเขตการศึกษา 1. วิทยานิพนธ
ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต ภาควิชามัธยมศึกษา คณะศิลปศาสตร
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร.
ชนิดา วิสะมิตนันท. (2541). การพัฒนาแหลงเรียนรูในโรงเรียน. สงขลา : หนวยศึกษานิเทศก
กรมสามัญศึกษา เขตการศึกษา.
92

ชํานาญ วัฒนะ. (2529). การศึกษาสภาพการใชแหลงทรัพยากรในชุมชนในการบริหารงานวิชาการ


ของโรงเรียนประถมศึกษาในจังหวัดบุรีรมั ย. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.
ทักษิณคดีศึกษา, สถาบัน. (2528). สารานุกรมภาคใต เลมที่ 2, 5. สงขลา : สถาบันทักษิณคดีศึกษา.
บุญชม ศรีสะอาด. (2543). การวิจัยเบื้องตน (พิมพครั้งที่ 6). กรุงเทพฯ : ชมรมเด็ก.
บรรยงค นีขุนทด. (2546). การศึกษาสภาพและปญหาการใชแหลงวิทยาการในชุมชนเพื่อการจัด
การเรียนการสอนของโรงเรียนนํารองการศึกษาภาคบังคับ 9 ป สังกัดสํานักงาน
การประถมศึกษา จังหวัดนครราชสีมา. วิทยานิพนธศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร.
ประสานและพัฒนาการจัดการศึกษาทองถิ่น, สํานัก กรมสงเสริมการปกครองสวนทองถิ่น. (2548).
สถิติขอมูลการศึกษาทองถิ่น โรงเรียนสังกัดเทศบาลและเมืองพัทยา ปการศึกษา 2548.
กรุงเทพฯ : ชุมนุมสหกรณการเกษตรแหงประเทศไทย.
ประเวศ วะสี. (2543). ปฏิรปู การเรียนรูแกไขความทุกขยากของแผนดิน. กรุงเทพฯ : สํานักงาน
คณะกรรมการการศึกษาแหงชาติ.
พระธรรมปฏก (ป.อ. ปยุตโต.). (2541). ถึงเวลามาปรับรือ้ ระบบพัฒนาคนกันใหม. กรุงเทพฯ :
การศาสนา.
พิสณุ ฟองศรี. (2549). วิทยาการวิจัย. กรุงเทพฯ : เทียนฝาการพิมพ.
ภาษิต สุโพธิ์. (2547). การใชแหลงเรียนรูธ รรมชาติในบริเวณโรงเรียนในการพัฒนาการเรียนรู
เกี่ยวกับการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม. ปริญญานิพนธการศึกษา
มหาบัณฑิต (การมัธยมศึกษา) บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
ประสานมิตร.
ลัดดา ศุขปรีดี.(2524). โสตทัศนศึกษา. กรุงเทพฯ : แพรวทิ ยา.
เลขา ปยะอัจฉริยะ. (2542). การมีสวนรวม : เสนทางสูก ารเรียนรู กระบวนทัศนใหมในการเรียนการ
สอน. กรุงเทพฯ : สํานักงานบริหารโครงการเงินกูธนาคารโลก กรมสามัญศึกษา.
วนิดา เลาหวัฒน. (2546). การใชประโยชนจากแหลงวิทยาการชุมชนของโรงเรียนประถมศึกษาใน
จังหวัดอุบลราชธานี. วิทยานิพนธครุศาสตรมหาบัณฑิต จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.
วิชาการ, กรม. (2544). หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544. กรุงเทพฯ : องคการรับสง
สินคาและพัสดุภณ ั ฑ (ร.ส.พ.)
________. (2544). แนวทางการเรียนรูที่เนนผูเรียนสําคัญที่สุด. กรุงเทพฯ : กรมศาสนา
93

วิโรจน วัฒนานิมิตกูล. (2540). การพัฒนารูปแบบการสอนโดยใชสาระอิงบริบทเพื่อสงเสริมความ


ใฝรูของนักเรียนระดับประถมศึกษา. วิทยานิพนธปริญญาดุษฎีบัณฑิต สาขาหลักสูตร
และการสอน บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.
ศรีสกุล วิบูลยวงศรี. (2544). การศึกษาผลของการเรียนรูข องนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปที่ 1 ใน
รายวิชา ส. 101 ประเทศของเรา ที่สอนโดยการใชแหลงทรัพยากรชุมชนกับการสอน
ปกติ. วิทยานิพนธศกึ ษาศาสตรมหาบัณฑิต ภาควิชาเทคโนโลยีการศึกษา
บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร.
ศึกษานิเทศก, หนวย. กรมสามัญศึกษา. (2544). ผูเรียนบุคคลแหงการเรียนรู. กรุงเทพฯ : หนวย
ศึกษานิเทศ.
สุมน อมรวิวฒ ั น. (2541). แกนแทของการเรียนการสอนคือการเรียนรูของผูเรียน. สํานักงาน
คณะกรรมการการศึกษาแหงชาติ กรุงเทพฯ : สกศ.
________. (2544). ธรรมจักรของกระบวนการเรียนรู หลักบูรณาการทางการศึกษาตามนัยแหง
พุทธรรม. นนทบุรี : มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
สรรค วรอินทร และคณะ. (2546). รายงานการวิจัยเรื่อง การวิจัยเพื่อพัฒนากระบวนการเรียนรูใน
ชุมชน : มิติดานการปฏิรปู การศึกษา. กรุงเทพฯ : สํานักงานสภาสถาบันราชภัฏ.
สุรศักดิ์ ปะตังถาโต. (2543). การพัฒนารูปแบบการสอนโดยใชภูมปิ ญ  ญาทองถิ่นเพื่อพัฒนา
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกลุม สรางเสริมประสบการณชวี ิต (สังคมศึกษา) สําหรับ
นักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 6 โรงเรียนบานสารจอดเกา สังกัดสํานักงานการ
ประถมศึกษาจังหวัดชัยภูมิ. วิทยานิพนธศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาสังคมศึกษา
บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแกน.
สุวิทย มูลคํา และอรทัย มูลคํา. (2545). วิธีจัดการเรียนรู : เพื่อพัฒนาคุณธรรม จริยธรรมคานิยม
และการเรียนรูโดยแสวงหาความรูดวยตนเอง (พิมพครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ : ภาพพิมพ.
เสรี พรหมฤทธิ์. (2546). การศึกษาสภาพการใชแหลงเรียนรูชุมชนเพือ่ การจัดการศึกษาในโรงเรียน
ประถมศึกษาสังกัดสํานักงานการประถมศึกษาจังหวัดชุมพร. วิทยานิพนธ
ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาบริหารการศึกษา สถาบันราชภัฏสุราษฎรธานี.
อุทยานแหงชาติ, กรม. (2549). อุทยานแหงชาติใตรมเย็น [Online]. เขาถึงไดจาก
http://www.dnp.go.th/parkreserve/asp/style1/default.asp?npid=115&lg=1. [ธันวาคม
18].
94

Desta, Azeb. (1976). An Investigation of the Utilization of Community Resources in Elementary


School of Ethiopia to Provide Relevant Basic Education. Dissertation Abstracts
International. 36 ( April 1976) : 6439-6440-A
Ferguson, Harl. R. (1997). The High School Curriculum. New York : The Ronald press.
Gilbertson, K. L. (1991). Environmental Literacy : Outdoor Education Training and its Effect on
Knowledge and Attitude Toward the Environment Phd. Dissertation University of
Ohio. Dissertation Abstracts International.
Lawey, Ragina. F. (1998). Audio Visual Method in Teaching. New York : Holt Rinehart and
Winston.
Olsen, Edward G. (1960). School and Community. New Jersey : Prentice-Hall.
Romine Stephen. (1974). “Student and Faculty Perception of an Effective University Instructional
Climates”, The Journal of Educational Research. 68:139–143 :December.
Schnoebelen, Tom. (1990). Field Work in Secondary Science Education International. No. 4
Voll (December 1990).
Walkorz, V. A. (1972). “A Study of Environmental Ecological Education Program in the
Elementary Grades in Selected Cities of lllinois” Dissertation Abstracts
International. 35 (November 1972) : 1997 A.
ภาคผนวก
96

ภาคผนวก ก
หนังสือขอความอนุเคราะหตรวจเครื่องมือวิจัย
97

ที่ ศธ. ๐๕๖๑๑๑/ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎรธานี


อําเภอเมืองฯ จังหวัดสุราษฎรธานี ๘๔๑๐๐

๑๖ มกราคม ๒๕๕๐

เรื่อง ขอความอนุเคราะหตรวจสอบเครื่องมือวิจัย

เรียน

ดวยนางศศิธร ภิรมยนภา นักศึกษาปริญญาโท หลักสูตรครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขา


การบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎรธานีกําลังทําภาคนิพนธ เรื่อง “การศึกษาสภาพ
การดําเนินงานแหลงเรียนเพื่อการจัดการศึกษาในอําเภอบานนาสาร จังหวัดสุราษฎรธานี” ไดสราง
เครื่องวิจัยเพื่อใชในการทําภาคนิพนธเรื่องดังกลาว และมีความประสงคใหผูเชี่ยวชาญตรวจสอบ
คุณภาพ กอนนําไปดําเนินการขั้นตอนตอไป
ในการนี้ บั ณ ฑิ ต วิ ท ยาลั ย พิ จ ารณาเห็ น ว า ท า นเป น ผู มี ค วามรู ค วามสามารถ จึ ง ขอ
ความอนุเคราะหทานในการตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือวิจัย พรอมทั้งใหขอเสนอแนะแกนักศึกษา
เพื่อเปนประโยชนทางวิชาการตอไป
บัณฑิตวิทยาลัยหวังเปนอยางยิ่งวา คงจะไดรับความอนุเคราะหจากทานดวยดี ขอขอบคุณ
เปนอยางสูงมา ณ โอกาสนี้

ขอแสดงความนับถือ

ชูศักดิ์ เอกเพชร

(รองศาสตราจารย ดร.ชูศักดิ์ เอกเพชร)


คณบดีบัณฑิตวิทยาลัย
บัณฑิตวิทยาลัย
โทรศัพท ๐๗๗-๓๕๕๔๗๐
โทรสาร ๐๗๗-๓๕๕๔๗๐
98

ภาคผนวก ข
หนังสือขออนุญาตเก็บขอมูลเพื่อหาคุณภาพเครื่องมือวิจัย
99

ที่ ศธ ๐๕๖๑๑๑/ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎรธานี


อําเภอเมืองฯ จังหวัดสุราษฎรธานี ๘๔๑๐๐

๑๙ มกราคม ๒๕๕๐

เรื่อง ขออนุญาตเก็บขอมูล

เรียน

ดวยนางศศิธร ภิรมยนภา นักศึกษาปริญญาโท หลักสูตรครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขา


การบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎรธานี กําลังทําภาคนิพนธ เรื่อง “การศึกษาสภาพ
การดําเนินงานแหลงเรียนเพื่อการจัดการศึกษาในอําเภอบานนาสาร จังหวัดสุราษฎรธานี” มีความ
ประสงคจะเก็บขอมูลวิจัย เพื่อนําไปหาคุณภาพของเครื่องมือวิจัย
ในการนี้ เพื่องานวิจัยที่จะเปนประโยชนทางวิชาการตอไป จึงขอความอนุเคราะหมายัง
ทานพิจารณาอนุญาตใหนักศึกษาตามรายชื่อขางตน ดําเนินการเก็บขอมูลวิจัยในสถานศึกษาแหงนี้
ดวย
บั ณ ฑิ ต วิ ท ยาลั ย หวั ง เป น อย า งยิ่ ง ว า คงจะได รั บ ความอนุ เ คราะห จ ากท า นด ว ยดี
ขอขอบคุณ เปนอยางสูงมา ณ โอกาสนี้

ขอแสดงความนับถือ

ชูศักดิ์ เอกเพชร

(รองศาสตราจารย ดร.ชูศักดิ์ เอกเพชร)


คณบดีบัณฑิตวิทยาลัย

บัณฑิตวิทยาลัย
โทรศัพท ๐๗๗-๓๕๕๔๗๐
100

โทรสาร ๐๗๗-๓๕๕๔๗๐

ภาคผนวก ค
หนังสือขออนุญาตเก็บขอมูลวิจัย
101

ที่ ศธ ๐๕๖๑๑๑/ว๐๔๕๘ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎรธานี


อําเภอเมืองฯ จังหวัดสุราษฎรธานี ๘๔๑๐๐

๑๙ มกราคม ๒๕๕๐

เรื่อง ขออนุญาตเก็บขอมูล

เรียน

ดวยนางศศิธร ภิรมยนภา นักศึกษาปริญญาโท หลักสูตรครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขา


การบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎรธานี กําลังทําภาคนิพนธ เรื่อง “การศึกษาสภาพ
การดําเนินงานแหลงเรียนเพื่อการจัดการศึกษาในอําเภอบานนาสาร จังหวัดสุราษฎรธานี” ขณะนี้
ไดดําเนินการถึงขั้นตอนการเก็บขอมูลวิจัยจากกลุมตัวอยางเพื่อนําไปวิเคราะหผลการวิจัย
ในการนี้ เพื่องานวิจัยที่จะเปนประโยชนทางวิชาการตอไป บัณฑิตวิทยาลัยจึงขอความ
อนุเคราะหมายังทานพิจารณาอนุญาตใหนักศึกษาตามรายชื่อขางตน ดําเนินการเก็บขอมูลวิจัยใน
หนวยงานแหงนี้ ซึ่งเปนกลุมตัวอยางที่ใชในการวิจัย
บั ณ ฑิ ต วิ ท ยาลั ย หวั ง เป น อย า งยิ่ ง ว า คงจะได รั บ ความอนุ เ คราะห จากท า นด ว ยดี
ขอขอบคุณ เปนอยางสูงมา ณ โอกาสนี้

ขอแสดงความนับถือ

ชูศักดิ์ เอกเพชร

(รองศาสตราจารย ดร.ชูศักดิ์ เอกเพชร)


คณบดีบัณฑิตวิทยาลัย
บัณฑิตวิทยาลัย
โทรศัพท ๐๗๗-๓๕๕๔๗๐
โทรสาร ๐๗๗-๓๕๕๔๗๐
102

ภาคผนวก ง
แบบสอบถามเพื่อการวิจัย
103

แบบสอบถามเพื่อการวิจัย
เรื่อง การศึกษาสภาพการใชแหลงเรียนรูในการจัดการศึกษาของโรงเรียน
ในอําเภอบานนาสาร จังหวัดสุราษฎรธานี
(สําหรับผูบริหาร)

ตอนที่ 1 สถานภาพของผูตอบแบบสอบถาม
ตําแหนง ( ) ผูบริหาร

ขนาดของโรงเรียนที่ผูตอบปฏิบัติงาน
( ) ขนาดเล็ก (นักเรียนไมเกิน 300 คน)
( ) ขนาดใหญ (นักเรียน 301 คนขึ้นไป)

ระดับชั้นที่เปดสอน (ตอบไดมากกวา 1 ขอ)


( ) ปฐมวัย ( ) ชวงชัน้ ที่ 1 ( ) ชวงชัน้ ที่ 2 ( ) ชวงชั้นที่ 3 ( ) ชวงชั้นที่ 4

ตอนที่ 2 ขอมูลสภาพการใชแหลงเรียนรูในโรงเรียนในการจัดการศึกษา
คําชี้แจง โปรดทําเครื่องหมาย 9ลงในชองที่ตรงกับสภาพการใชแหลงเรียนรูเพือ่ การจัด
การศึกษาในโรงเรียนของทาน

2.1 แหลงเรียนรูที่มีอยูในโรงเรียนของทาน (ตอบไดมากกวา 1 ขอ)


( ) หองสมุด ( ) มุมหนังสือในหองเรียน ( ) หองปฏิบตั ิการวิทยาศาสตร
( ) หองดนตรี/นาฏศิลป ( ) หองปฏิบตั ิการทางภาษา ( ) หองโสตทัศนศึกษา
( ) หองพลศึกษา ( ) หองการงานอาชีพ ( ) หองกิจกรรมชุมนุม
( ) หองคอมพิวเตอร ( ) อินเตอรเน็ต ( ) เสียงตามสาย
( ) หองลูกเสือ ( ) หองแนะแนว ( ) หองหมวดวิชาอื่น ๆ
( ) แปลงเกษตร ( ) เรือนเพาะชํา ( ) บอเลี้ยงปลา
( ) โรงเพาะเห็ด ( ) โรงฝกงาน ( ) สวนพฤกษศาสตร
( ) สวนสมุนไพร ( ) ปายนิเทศตาง ๆ ( ) อื่นๆระบุ.........................
( ) ระบุ............................ ( ) ระบุ............................... ( ) ระบุ................................
104

2.2 การจัดกิจกรรมการเรียนรูโดยใชแหลงเรียนรูในโรงเรียน (ตอบไดมากกวา 1 ขอ)


หองสมุดโรงเรียน
( ) บริการยืม-คืนหนังสือหองสมุด ( ) กิจกรรมคนควาเพิ่มเติมในหองสมุด
( ) กิจกรรมแนะนําหนังสือใหม ( ) กิจกรรมสํารวจหองสมุด
( ) การจัดกิจกรรมสงเสริมการอาน เชน แขงขันยอดนักอาน แขงขันตอบปญหา ฯลฯ
( ) อื่นๆ (ระบุ)......................................
หองปฏิบตั ิการวิทยาศาสตร
( ) การทดลองทางวิทยาศาสตร ( ) การทําโครงงานวิทยาศาสตร
( ) การจัดนิทรรศการวิทยาศาสตร ( ) ปายนิเทศสาระความรูวิทยาศาสตร
( ) อื่น ๆ (ระบุ)......................................
หองคอมพิวเตอรและอินเตอรเน็ต
( ) การสืบคนขอมูลจากอินเตอรเน็ต ( ) การทําใบงาน-รายงานโดยใชคอมพิวเตอร
( ) เกมคอมพิวเตอร ( ) การเก็บขอมูลสารสนเทศ
( ) กิจกรรมอื่น ๆ (ระบุ).................................
แหลงเรียนรูในโรงเรียนอื่น ๆ
( ) การสํารวจพืช /สัตวในบริเวณโรงเรียน ( ) การสํารวจสภาพแวดลอมของโรงเรียน
( ) การจัดทําแผนที่/แผนผังโรงเรียน ( ) การฝกปฏิบัติงานเกษตร
( ) การฝกปฏิบัติงานในโรงฝกงาน ( ) กิจกรรมอื่น ๆ (ระบุ).....................
105

ตอนที่ 3 ขอมูลสภาพการใชแหลงเรียนรูในชุมชนในการจัดการศึกษา
คําชี้แจง โปรดทําเครื่องหมาย 9 ลงในชองที่ตรงกับสภาพการใชแหลงเรียนรูในชุมชน
เพื่อการจัดการศึกษาในโรงเรียนของทาน

3.1 แหลงเรียนรูในชุมชนทีโ่ รงเรียนของทานใชในการจัดการศึกษา (ตอบไดมากกวา 1 ขอ)


แหลงเรียนรูประเภทบุคคล
( ) นักบวช/พระสงฆ ( ) ภูมิปญญาทองถิ่น ( ) ผูนําชุมชน
( ) ตํารวจ ( ) ทหาร ( ) แพทย/พยาบาล
( ) ขาราชการหนวยงานอืน่ ๆ (ระบุ)........................................ ( ) ระบุ...................
( ) บุคลากรจากภาคเอกชน (ระบุ)............................................. ( ) ระบุ...................
แหลงเรียนรูประเภททรัพยากรธรรมชาติในทองถิ่น
( ) อุทยานแหงชาติใตรมเย็น ( ) น้ําตกดาดฟา ( ) น้ําตกเหมืองทวด
( ) คลองฉวาง ( ) ถ้ําขมิ้น ( ) บอน้ํารอน
( ) โครงการจุฬาภรณพัฒนา ( ) สวนปา ( ) สวนเกษตร
( ) อื่น ๆ (ระบุ).............................
แหลงเรียนรูประเภทที่มนุษยสรางขึน้
( ) วัด / ศาสนสถาน ( ) สวนสาธารณะไตรคีรี ( ) โรงงานอุตสาหกรรม
( ) รานคา/ บริษัท ( ) สถานประกอบการ ( ) โรงพยาบาล
( ) สถานีอนามัย/สาธารณสุข ( ) เทศบาล ( ) สถานีตํารวจ
( ) ศูนยกฬี าและนันทนาการ ( ) หองสมุดประชาชน ( ) อนุสรณสถานเขาชองชาง
( ) หนวยราชการอื่น ๆ (ระบุ)........................................ ( ) อื่น ๆ ระบุ..........
แหลงเรียนรูประเภทวัฒนธรรม
( ) งานศพ ( ) งานแตงงาน ( ) งานบวช
( ) งานทอดกฐิน / ผาปา ( ) ตักบาตรเทโว ( ) วันปใหม
( ) วันสงกรานต ( ) วันลอยกระทง ( ) การละเลนพื้นบาน
( ) เทศกาลเงาะโรงเรียน ( ) เทศกาลอาหารพื้นเมือง ( ) งานบุญเดือนสิบ
( ) อื่น ๆ (ระบุ)................................................
106

3.2 รูปแบบการใชแหลงเรียนรูในชุมชนในการจัดการศึกษา (ใสหมายเลข 1 – 10 เรียงตามลําดับ


การใชจากมากไปหานอย)
( ) เชิญวิทยากรมาใหความรูแกนักเรียนในโรงเรียน
( ) นํานักเรียนไปเรียนรูทแี่ หลงเรียนรู
( ) มอบหมายงานใหนกั เรียนไปเรียนรู/เก็บขอมูลแลวเขียนรายงาน
( ) ใหนักเรียนไปสัมภาษณบุคคลแลวเขียนรายงาน
( ) จัดกิจกรรมเรียนรูขึ้นเองภายในโรงเรียน
( ) จัดกิจกรรมเรียนรูโดยรวมมือกับชุมชน
( ) การจัดใหมีการเขาคาย เชน คายรักการอาน คายวิทยาศาสตร แคมปภาษาอังกฤษ ฯลฯ
( ) จัดใหนกั เรียนเขาไปฝกปฏิบัติเพื่อหาประสบการณในแหลงเรียนรู
( ) อื่น ๆ (ระบุ)..........................................................................................
( ) อื่น ๆ (ระบุ)..........................................................................................
107

ตอนที่ 4 ขอมูลการดําเนินงานแหลงเรียนรูทั้งในโรงเรียนและในชุมชน จํานวน 4 ดาน


1. ดานการวางแผนการใชแหลงเรียนรู
2. ดานการดําเนินการใชแหลงเรียนรู
3. ดานการประเมินผลการใชแหลงเรียนรู
4. ดานการปรับปรุงพัฒนาการใชแหลงเรียนรู
คําชี้แจง โปรดทําเครื่องหมาย 9 ลงในชองที่ตรงกับสภาพการใชแหลงเรียนรูในโรงเรียน
และในชุมชนเพื่อที่ตรงกับระดับปฏิบัตใิ นโรงเรียนของทานมากทีส่ ุด

ระดับการดําเนินงาน
ขอ รายการ
มากที่สุด มาก ปานกลาง นอย นอยที่สุด
ดานการวางแผนการใชแหลงเรียนรู
1 มีการกําหนดนโยบายการใชแหลงเรียนรู
ในโรงเรียนประกอบการเรียนการสอน
2 มีการกําหนดนโยบายการใชแหลงเรียนรู
ในชุมชนประกอบการเรียนการสอน
3 มีการกําหนดเปาหมายการพัฒนาแหลงเรียนรูใน
โรงเรียน
4 มีการประชุมครูและคณะกรรมการสถานศึกษา
เพื่อสรางความตระหนักถึงความสําคัญ
ในการจัดและการใชแหลงเรียนรูเพื่อพัฒนา
คุณภาพผูเรียน
5 มีการใหความรูหรือสงครูและบุคลากร
เขารวมอบรมเกี่ยวกับการจัด / การพัฒนา
และใชแหลงเรียนรู
6 มีการแตงตั้งครูและบุคลากรรับผิดชอบ
การจัดการและพัฒนาแหลงเรียนรู
7 มีการกําหนดมาตรฐานและตัวชี้วดั การพัฒนา
และใชแหลงเรียนรู
8 มีการกําหนดระยะเวลา / แผนงาน การใช
แหลงเรียนรูที่ชัดเจน
108

ระดับการดําเนินงาน
ขอ รายการ
มากที่สุด มาก ปานกลาง นอย นอยที่สุด
9 การมีสวนรวมในการวางแผน การใช
แหลงเรียนรูของครูและบุคลากรในโรงเรียน
10 มีการกําหนดโครงการใชแหลงเรียนรู
ที่หลากหลาย
11 มีการจัดสรรงบประมาณในการพัฒนา และ
ใชแหลงเรียนรูที่ชัดเจน
12 ชุมชนมีสวนรวมในการวางแผนการจัด
การพัฒนา และการใชแหลงเรียนรู
ดานการดําเนินการใชแหลงเรียนรู
13 มีการสํารวจและจัดทําทะเบียนแหลงเรียนรู
ประเภทตาง ๆ ในโรงเรียน
14 มีการสํารวจและจัดทําทะเบียนแหลงเรียนรู
ประเภทตาง ๆ ในชุมชน
15 มีการสํารวจและจัดทําทะเบียน ภูมปิ ญญาทองถิ่น
16 มีการประชุม/ปรึกษาหารือของครูและบุคคลากร
ที่รับผิดชอบการใชแหลงเรียนรู
อยางสม่ําเสมอ
17 มีการจัดใหบุคลากรไปศึกษาดูงานการดําเนินงาน
แหลงเรียนรูของโรงเรียนอื่น
ที่ประสบความสําเร็จ
18 ครูและบุคลากรมีสวนรวมในการพัฒนาแหลง
เรียนรูในโรงเรียน
19 มีการจัดแหลงเรียนรูหองสมุดโรงเรียนอยางเปน
ระบบระเบียบ
20 มีการสงเสริมใหหองสมุดโรงเรียนจัดกิจกรรม
สงเสริมการอานอยางสม่ําเสมอ
21 มีการสงเสริมใหจดั มุมหนังสือและมุมเรียนรูใน
หองเรียนทุกหอง
109

ระดับการดําเนินงาน
ขอ รายการ
มากที่สุด มาก ปานกลาง นอย นอยที่สุด
22 มีการจัดใหมหี องพิเศษตาง ๆ เชน หองดนตรี/
นาฏศิลป หองกิจกรรมชุมนุม หองแนะแนว
หองกิจกรรมลูกเสือ-เนตรนารี ฯลฯ
23 มีการสงเสริมใหหองพิเศษตาง ๆ จัดกิจกรรม
เรียนรูอยางสม่ําเสมอ
24 มีการสงเสริมใหจดั บริเวณโรงเรียนเปนแหลง
เรียนรู เชน สวนสมุนไพร สวนพฤกษศาสตร
ฯลฯ
25 ชุมชนเขามามีสวนรวมในการจัดและพัฒนา
แหลงเรียนรู
26 มีการระดมทรัพยากรจากชุมชนในการพัฒนา
แหลงเรียนรู
ดานประเมินผลการใชแหลงเรียนรู
27 มีการแตงตั้งผูร ับผิดชอบการประเมินผลการใช
แหลงเรียนรูในโรงเรียน
28 มีการแตงตั้งผูร ับผิดชอบการประเมินผลการใช
แหลงเรียนรูในชุมชน
29 มีการกําหนดขั้นตอนการประเมินผลการใชแหลง
เรียนรูที่ชัดเจน
30 มีการสรางเครื่องมือเพื่อรวบรวมและวิเคราะห
ขอมูลการใชแหลงเรียนรู
31 ครูและนักเรียนมีสวนรวมในการประเมินผลการ
ใชแหลงเรียนรู
32 ชุมชนมีสวนรวมในการประเมินผลการใชแหลง
เรียนรู
33 นักเรียนไดใชประโยชนจากการแหลงเรียนรู
ในโรงเรียนประเภทหองสมุด
110

ระดับการดําเนินงาน
ขอ รายการ
มากที่สุด มาก ปานกลาง นอย นอยที่สุด
34 นักเรียนไดใชประโยชนจากการแหลงเรียนรู
ในโรงเรียนประเภทหองปฏิบัติการวิทยาศาสตร
35 นักเรียนไดใชประโยชนจากการแหลง
เรียนรูประเภทหองคอมพิวเตอร/อินเตอรเน็ต
36 นักเรียนไดใชประโยชนจากการแหลงเรียนรู
ประเภทอื่น ๆ ที่อยูในบริเวณโรงเรียน
37 นักเรียนไดใชประโยชนจากการแหลงเรียนรู
ในชุมชน
38 มีการสรุปผลการดําเนินงานแหลงเรียนรูใ น
โรงเรียน
39 มีการสรุปผลการดําเนินงานแหลงเรียนรูใ นชุมชน
40 มีการจัดทํารายงานและนําเสนอผล
การดําเนินงานแหลงเรียนรูใ นโรงเรียน
41 มีการจัดทํารายงานและนําเสนอผล
การดําเนินงานแหลงเรียนรูใ นชุมชน
ดานการปรับปรุงพัฒนาการใชแหลงเรียนรู
42 มีการนําผลการประเมินมาปรับปรุงและพัฒนา
แหลงเรียนรูในโรงเรียน
43 มีการนําผลการประเมินมาปรับปรุงและพัฒนา
การใชแหลงเรียนรูในชุมชน
44 มีการแตงตั้งคณะกรรมการ / คณะทํางาน
ในการนําผลการดําเนินงานแหลงเรียนรูมาจัดทํา
เปนแผนงานพัฒนาการดําเนินงานแหลงเรียนรู
45 มีการวิเคราะหจุดเดน / จุดดอย
ในการดําเนินงานแหลงเรียนรูในโรงเรียน
46 มีการวิเคราะหจุดเดน/จุดดอย
ในการดําเนินงานแหลงเรียนรูในชุมชน
111

ระดับการดําเนินงาน
ขอ รายการ
มากที่สุด มาก ปานกลาง นอย นอยที่สุด
47 มีการทบทวนตรวจสอบแผนงาน การใชแหลง
เรียนรูหองสมุดโรงเรียนอยางสม่ําเสมอ
48 มีการทบทวนตรวจสอบแผนงานการใช
แหลงเรียนรูหอ งคอมพิวเตอรและอินเตอรเน็ต
อยางสม่ําเสมอ
49 มีการทบทวนตรวจสอบแผนงาน การใชแหลง
เรียนรูหองปฏิบัติการวิทยาศาสตรอยางเสมอ
สม่ําเสมอ
50 มีการทบทวนตรวจสอบแผนงาน การใชแหลง
เรียนรูในบริเวณโรงเรียนอื่น ๆ เชน โรงฝกงาน
สวนเกษตร สวนสมุนไพร หองพิเศษ ฯลฯ
อยางสม่ําเสมอ
51 มีการทบทวนตรวจสอบแผนงาน การใชแหลง
เรียนรูในชุมชนอยางสม่ําเสมอ
52 มีการจัดทําคูมอื การใชแหลงเรียนรู
112

แบบสอบถามเพื่อการวิจัย
เรื่อง การศึกษาสภาพการใชแหลงเรียนรูในการจัดการศึกษาของโรงเรียน
ในอําเภอบานนาสาร จังหวัดสุราษฎรธานี
(สําหรับครู)

ตอนที่ 1 สถานภาพของผูตอบแบบสอบถาม
ตําแหนง ( ) ครูปฏิบัติการสอน ชวงชั้นที่สอน..........................

ขนาดของโรงเรียนที่ผูตอบปฏิบัติงาน
( ) ขนาดเล็ก (นักเรียนไมเกิน 300 คน)
( ) ขนาดใหญ (นักเรียน 301 คนขึ้นไป)

ระดับชั้นที่เปดสอน (ตอบไดมากกวา 1 ขอ)


( ) ปฐมวัย ( ) ชวงชัน้ ที่ 1 ( ) ชวงชัน้ ที่ 2 ( ) ชวงชั้นที่ 3 ( ) ชวงชั้นที่ 4

ตอนที่ 2
คําชี้แจง โปรดทําเครื่องหมาย 9 ลงในชองที่ตรงกับสภาพการใชแหลงเรียนรูเพือ่ การจัด
การศึกษาในโรงเรียนของทานมากที่สุด

ระดับการดําเนินงาน
ขอ รายการ
มากที่สุด มาก ปานกลาง นอย นอยที่สุด
ดานการวางแผนการใชแหลงเรียนรู
1 มีการกําหนดนโยบายการใชแหลงเรียนรูใน
โรงเรียนประกอบการเรียนการสอน
2 มีการกําหนดนโยบายการใชแหลงเรียนรูใน
ชุมชนประกอบการเรียนการสอน
3 มีการกําหนดเปาหมายการพัฒนาแหลงเรียนรูใน
โรงเรียน
4 มีการประชุมครูและคณะกรรมการสถานศึกษา
เพื่อสรางความตระหนักถึงความสําคัญในการจัด
และการใชแหลงเรียนรูเพื่อพัฒนาคุณภาพผูเรียน
113

ระดับการดําเนินงาน
ขอ รายการ
มากที่สุด มาก ปานกลาง นอย นอยที่สุด
5 มีการใหความรูหรือสงครูและบุคลากร
เขารวมอบรมเกี่ยวกับการจัด / การพัฒนา
และใชแหลงเรียนรู
6 มีการแตงตั้งครูและบุคลากรรับผิดชอบ
การจัดการและพัฒนาแหลงเรียนรู
7 มีการกําหนดมาตรฐานและตัวชี้วดั การพัฒนา
และใชแหลงเรียนรู
8 มีการกําหนดระยะเวลา / แผนงาน
การใชแหลงเรียนรูที่ชัดเจน
9 การมีสวนรวมในการวางแผน การใช
แหลงเรียนรูของครูและบุคลากรในโรงเรียน
10 มีการกําหนดโครงการใชแหลงเรียนรู
ที่หลากหลาย
11 มีการจัดสรรงบประมาณในการพัฒนา และ
ใชแหลงเรียนรูที่ชัดเจน
12 ชุมชนมีสวนรวมในการวางแผนการจัด
การพัฒนา และการใชแหลงเรียนรู
ดานการดําเนินการใชแหลงเรียนรู
13 มีการสํารวจและจัดทําทะเบียนแหลงเรียนรู
ประเภทตาง ๆ ในโรงเรียน
14 มีการสํารวจและจัดทําทะเบียนแหลงเรียนรู
ประเภทตาง ๆ ในชุมชน
15 มีการสํารวจและจัดทําทะเบียน ภูมปิ ญญาทองถิ่น
16 มีการประชุม/ปรึกษาหารือของครูและบุคคลากร
ที่รับผิดชอบการใชแหลงเรียนรูอยางสม่ําเสมอ
17 มีการจัดใหบุคลากรไปศึกษาดูงานการดําเนินงาน
แหลงเรียนรูของโรงเรียนอื่นที่ประสบความสําเร็จ
114

ระดับการดําเนินงาน
ขอ รายการ
มากที่สุด มาก ปานกลาง นอย นอยที่สุด
18 ครูและบุคลากรมีสวนรวมในการพัฒนาแหลง
เรียนรูในโรงเรียน
19 มีการจัดแหลงเรียนรูหองสมุดโรงเรียนอยางเปน
ระบบระเบียบ
20 มีการสงเสริมใหหองสมุดโรงเรียนจัดกิจกรรม
สงเสริมการอานอยางสม่ําเสมอ
21 มีการสงเสริมใหจดั มุมหนังสือและมุมเรียนรู
ในหองเรียนทุกหอง
22 มีการจัดใหมหี องพิเศษตาง ๆ เชน หองดนตรี/
นาฏศิลป หองกิจกรรมชุมนุม หองแนะแนว
หองกิจกรรมลูกเสือ-เนตรนารี ฯลฯ
23 มีการสงเสริมใหหองพิเศษตาง ๆ จัดกิจกรรม
เรียนรูอยางสม่ําเสมอ
24 มีการสงเสริมใหจดั บริเวณโรงเรียนเปน
แหลงเรียนรู เชน สวนสมุนไพร
สวนพฤกษศาสตร ฯลฯ
25 ชุมชนเขามามีสวนรวมในการจัดและพัฒนา
แหลงเรียนรู
26 มีการระดมทรัพยากรจากชุมชนในการพัฒนา
แหลงเรียนรู
ดานประเมินผลการใชแหลงเรียนรู
27 มีการแตงตั้งผูร ับผิดชอบการประเมินผลการใช
แหลงเรียนรูในโรงเรียน
28 มีการแตงตั้งผูร ับผิดชอบการประเมินผลการใช
แหลงเรียนรูในชุมชน
29 มีการกําหนดขั้นตอนการประเมินผลการใชแหลง
เรียนรูที่ชัดเจน
115

ระดับการดําเนินงาน
ขอ รายการ
มากที่สุด มาก ปานกลาง นอย นอยที่สุด
30 มีการสรางเครื่องมือเพื่อรวบรวมและวิเคราะห
ขอมูลการใชแหลงเรียนรู
31 ครูและนักเรียนมีสวนรวมในการประเมินผลการ
ใชแหลงเรียนรู
32 ชุมชนมีสวนรวมในการประเมินผลการใชแหลง
เรียนรู
33 นักเรียนไดใชประโยชนจากการแหลงเรียนรู
ในโรงเรียนประเภทหองสมุด
34 นักเรียนไดใชประโยชนจากการแหลงเรียนรูใน
โรงเรียนประเภทหองปฏิบัตกิ ารวิทยาศาสตร
35 นักเรียนไดใชประโยชนจากการแหลง
เรียนรูประเภทหองคอมพิวเตอร/อินเตอรเน็ต
36 นักเรียนไดใชประโยชนจากการแหลงเรียนรู
ประเภทอื่น ๆ ที่อยูในบริเวณโรงเรียน
37 นักเรียนไดใชประโยชนจากการแหลงเรียนรู
ในชุมชน
38 มีการสรุปผลการดําเนินงานแหลงเรียนรู
ในโรงเรียน
39 มีการสรุปผลการดําเนินงานแหลงเรียนรูใ นชุมชน
40 มีการจัดทํารายงานและนําเสนอผล
การดําเนินงานแหลงเรียนรูใ นโรงเรียน
ดานการปรับปรุงพัฒนาการใชแหลงเรียนรู
42 มีการนําผลการประเมินมาปรับปรุงและพัฒนา
แหลงเรียนรูในโรงเรียน
43 มีการนําผลการประเมินมาปรับปรุงและพัฒนา
การใชแหลงเรียนรูในชุมชน
116

ระดับการดําเนินงาน
ขอ รายการ
มากที่สุด มาก ปานกลาง นอย นอยที่สุด
44 มีการแตงตั้งคณะกรรมการ / คณะทํางาน
ในการนําผลการดําเนินงานแหลงเรียนรูมาจัดทํา
เปนแผนงานพัฒนาการดําเนินงานแหลงเรียนรู
45 มีการวิเคราะหจุดเดน / จุดดอย ในการดําเนินงาน
แหลงเรียนรูในโรงเรียน
46 มีการวิเคราะหจุดเดน/จุดดอย ในการดําเนินงาน
แหลงเรียนรูในชุมชน
47 มีการทบทวนตรวจสอบแผนงาน การใช
แหลงเรียนรูหอ งสมุดโรงเรียนอยางสม่ําเสมอ
48 มีการทบทวนตรวจสอบแผนงานการใชแหลง
เรียนรูหองคอมพิวเตอรและอินเตอรเน็ต
อยางสม่ําเสมอ
49 มีการทบทวนตรวจสอบแผนงาน การใช
แหลงเรียนรูหอ งปฏิบัติการวิทยาศาสตร
อยางเสมอสม่ําเสมอ
50 มีการทบทวนตรวจสอบแผนงาน การใช
แหลงเรียนรูในบริเวณโรงเรียนอื่น ๆ เชน
โรงฝกงาน สวนเกษตร สวนสมุนไพร หองพิเศษ
ฯลฯ อยางสม่าํ เสมอ
51 มีการทบทวนตรวจสอบแผนงาน การใชแหลง
เรียนรูในชุมชนอยางสม่ําเสมอ
52 มีการจัดทําคูมอื การใชแหลงเรียนรู
117

ภาคผนวก จ
รายชื่อผูเชี่ยวชาญ
118

รายชื่อผูเชี่ยวชาญ

1. นางนงนุช ลําพูน ผูอํานวยการ ระดับ 9 โรงเรียนเทศบาล 1 (หวยมุด)


จังหวัดสุราษฎรธานี
ครุศาสตรมหาบัณฑิต (การบริหารการศึกษา)
มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎรธานี

2. นางสาววนิดา วรรณโชติ ศึกษานิเทศกชาํ นาญการพิเศษ 8 สํานักงานเขตพื้นทีก่ ารศึกษา


สุราษฎรธานี เขต 3
การศึกษามหาบัณฑิต (การประถมศึกษา)
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร

3. นายมานะ ชัยชนะ ศึกษานิเทศกชาํ นาญการพิเศษ 8 สํานักงานเขตพื้นทีก่ ารศึกษา


สุราษฎรธานี เขต 3
การศึกษาบัณฑิต (คณิตศาสตร) มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร

4. นางจุนิตา รัตนประทีป ครูชํานาญการพิเศษ โรงเรียนเทศบาล 5 (วสุธราภิวัตก)


อําเภอบานนาสาร จังหวัดสุราษฎรธานี
การศึกษามหาบัณฑิต (หลักสูตรและการสอน)
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร

5. นายสาวสุกญ
ั ญา ขอรัตน ครูชํานาญการ โรงเรียนบานทับวัง อําเภอหลังสวน จังหวัดชุมพร
การศึกษามหาบัณฑิต (ภาษาไทย) มหาวิทยาลัยทักษิณ
แบบสอบถามเพื่อการวิจัย
เรื่อง การศึกษาสภาพการใชแหลงเรียนรูในการจัดการศึกษาของโรงเรียน
ในอําเภอบานนาสาร จังหวัดสุราษฎรธานี
(สําหรับครู)

ตอนที่ 1 สถานภาพของผูตอบแบบสอบถาม
ตําแหนง ( ) ครูปฏิบตั กิ ารสอน ชวงชั้นที่สอน..........................
ขนาดของโรงเรียนที่ผูตอบปฏิบัติงาน
( ) ขนาดเล็ก (นักเรียนไมเกิน 300 คน)
( ) ขนาดใหญ (นักเรียน 301 คนขึน้ ไป)
ระดับชั้นที่เปดสอน (ตอบไดมากกวา 1 ขอ)
( ) ปฐมวัย ( ) ชวงชัน้ ที่ 1 ( ) ชวงชัน้ ที่ 2 ( ) ชวงชั้นที่ 3 ( ) ชวงชัน้ ที่ 4

ตอนที่ 2
คําชี้แจง โปรดทําเครื่องหมาย 9 ลงในชองที่ตรงกับสภาพการใชแหลงเรียนรูเพื่อการจัดการศึกษาใน
โรงเรียนของทานมากที่สุด

ระดับการดําเนินงาน
มาก ปาน นอย
ขอ รายการ มาก นอย
ที่สุด กลาง ที่สุด

ดานการวางแผนการใชแหลงเรียนรู
1 มีการกําหนดนโยบายการใชแหลงเรียนรู
ในโรงเรียนประกอบการเรียนการสอน
2 มีการกําหนดนโยบายการใชแหลงเรียนรู
ในชุมชนประกอบการเรียนการสอน
3 มีการกําหนดเปาหมายการพัฒนาแหลงเรียนรูใน
โรงเรียน
4 มีการประชุมครูและคณะกรรมการสถานศึกษา
เพื่อสรางความตระหนักถึงความสําคัญในการจัด
และการใชแหลงเรียนรูเพื่อพัฒนาคุณภาพผูเรียน
112

ระดับการดําเนินงาน
มาก ปาน นอย
ขอ รายการ มาก นอย
ที่สุด กลาง ที่สุด

5 มีการใหความรูหรือสงครูและบุคลากร
เขารวมอบรมเกี่ยวกับการจัด / การพัฒนา
และใชแหลงเรียนรู
6 มีการแตงตั้งครูและบุคลากรรับผิดชอบ
การจัดการและพัฒนาแหลงเรียนรู
7 มีการกําหนดมาตรฐานและตัวชี้วดั การพัฒนา
และใชแหลงเรียนรู
8 มีการกําหนดระยะเวลา / แผนงาน
การใชแหลงเรียนรูที่ชัดเจน
9 การมีสวนรวมในการวางแผน การใช
แหลงเรียนรูของครูและบุคลากรในโรงเรียน
10 มีการกําหนดโครงการใชแหลงเรียนรู
ที่หลากหลาย
11 มีการจัดสรรงบประมาณในการพัฒนา และ
ใชแหลงเรียนรูที่ชัดเจน
12 ชุมชนมีสวนรวมในการวางแผนการจัด
การพัฒนา และการใชแหลงเรียนรู
ดานการดําเนินการใชแหลงเรียนรู
13 มีการสํารวจและจัดทําทะเบียนแหลงเรียนรู
ประเภทตาง ๆ ในโรงเรียน
14 มีการสํารวจและจัดทําทะเบียนแหลงเรียนรู
ประเภทตาง ๆ ในชุมชน
15 มีการสํารวจและจัดทําทะเบียน ภูมปิ ญญาทองถิ่น
16 มีการประชุม/ปรึกษาหารือของครูและบุคคลากร
ที่รับผิดชอบการใชแหลงเรียนรูอยางสม่ําเสมอ
113

ระดับการดําเนินงาน
มาก ปาน นอย
ขอ รายการ มาก นอย
ที่สุด กลาง ที่สุด

17 มีการจัดใหบุคลากรไปศึกษาดูงาน
การดําเนินงานแหลงเรียนรูข องโรงเรียนอื่น
ที่ประสบความสําเร็จ
18 ครูและบุคลากรมีสวนรวมในการพัฒนา
แหลงเรียนรูในโรงเรียน
19 มีการจัดแหลงเรียนรูหองสมุดโรงเรียน
อยางเปนระบบระเบียบ
20 มีการสงเสริมใหหองสมุดโรงเรียนจัดกิจกรรม
สงเสริมการอานอยางสม่ําเสมอ
21 มีการสงเสริมใหจดั มุมหนังสือและมุมเรียนรู
ในหองเรียนทุกหอง
22 มีการจัดใหมหี องพิเศษตางๆ เชน หองดนตรี/
นาฎศิลป หองกิจกรรมชุมนุม หองแนะแนว
หองกิจกรรมลูกเสือ-เนตรนารี ฯลฯ
23 มีการสงเสริมใหหองพิเศษตางๆ จัดกิจกรรม
เรียนรูอยางสม่ําเสมอ
24 มีการสงเสริมใหจดั บริเวณโรงเรียนเปน
แหลงเรียนรู เชน สวนสมุนไพร
สวนพฤษศาสตร ฯลฯ
25 ชุมชนเขามามีสวนรวมในการจัดและพัฒนา
แหลงเรียนรู
26 มีการระดมทรัพยากรจากชุมชนในการพัฒนา
แหลงเรียนรู
ดานประเมินผลการใชแหลงเรียนรู
27 มีการแตงตั้งผูร ับผิดชอบการประเมินผลการใช
แหลงเรียนรูในโรงเรียน
114

ระดับการดําเนินงาน
มาก ปาน นอย
ขอ รายการ มาก นอย
ที่สุด กลาง ที่สุด

28 มีการแตงตั้งผูร ับผิดชอบการประเมินผลการใช
แหลงเรียนรูในชุมชน
29 มีการกําหนดขั้นตอนการประเมินผล
การใชแหลงเรียนรูที่ชัดเจน
30 มีการสรางเครื่องมือเพื่อรวบรวมและวิเคราะห
ขอมูลการใชแหลงเรียนรู
31 ครูและนักเรียนมีสวนรวมในการประเมินผลการ
ใชแหลงเรียนรู
32 ชุมชนมีสวนรวมในการประเมินผลการใชแหลง
เรียนรู
33 นักเรียนไดใชประโยชนจากการแหลงเรียนรู
ในโรงเรียนประเภทหองสมุด
34 นักเรียนไดใชประโยชนจากการแหลงเรียนรูใน
โรงเรียนประเภทหองปฏิบัตกิ ารวิทยาศาสตร
35 นักเรียนไดใชประโยชนจากการแหลง
เรียนรูประเภทหองคอมพิวเตอร/อินเตอรเน็ต
36 นักเรียนไดใชประโยชนจากการแหลงเรียนรู
ประเภทอื่นๆ ที่อยูในบริเวณโรงเรียน
37 นักเรียนไดใชประโยชนจากการแหลงเรียนรู
ในชุมชน
38 มีการสรุปผลการดําเนินงานแหลงเรียนรู
ในโรงเรียน
39 มีการสรุปผลการดําเนินงานแหลงเรียนรู
ในชุมชน
40 มีการจัดทํารายงานและนําเสนอผล
การดําเนินงานแหลงเรียนรูใ นโรงเรียน
115

ระดับการดําเนินงาน
มาก ปาน นอย
ขอ รายการ มาก นอย
ที่สุด กลาง ที่สุด

ดานการปรับปรุงพัฒนาการใชแหลง
เรียนรู
42 มีการนําผลการประเมินมาปรับปรุงและพัฒนา
แหลงเรียนรูในโรงเรียน
43 มีการนําผลการประเมินมาปรับปรุงและ
พัฒนาการใชแหลงเรียนรูในชุมชน
44 มีการแตงตั้งคณะกรรมการ / คณะทํางาน
ในการนําผลการดําเนินงานแหลงเรียนรูมาจัดทํา
เปนแผนงานพัฒนาการดําเนินงานแหลงเรียนรู
45 มีการวิเคราะหจุดเดน / จุดดอย ในการดําเนินงาน
แหลงเรียนรูในโรงเรียน
46 มีการวิเคราะหจุดเดน/จุดดอย ในการดําเนินงาน
แหลงเรียนรูในชุมชน
47 มีการทบทวนตรวจสอบแผนงาน การใช
แหลงเรียนรูหอ งสมุดโรงเรียนเอยาง สม่ําเสมอ
48 มีการทบทวนตรวจสอบแผนงานการใชแหลง
เรียนรูหองคอมพิวเตอรและอินเตอรเน็ต
อยางสม่ําเสมอ
49 มีการทบทวนตรวจสอบแผนงาน การใช
แหลงเรียนรูหอ งปฏิบัติการวิทยาศาสตร
อยางเสมอสม่ําเสมอ
50 มีการทบทวนตรวจสอบแผนงาน การใช
แหลงเรียนรูในบริเวณโรงเรียนอื่นๆ เชน
โรงฝกงาน สนเกษตร สวนสมุนไพร หองพิเศษ
ฯลฯ อยางสม่าํ เสมอ
116

ระดับการดําเนินงาน
มาก ปาน นอย
ขอ รายการ มาก นอย
ที่สุด กลาง ที่สุด

51 มีการทบทวนตรวจสอบแผนงาน การใชแหลง
เรียนรูในชุมชนอยางสม่ําเสมอ
52 มีการจัดทําคูมอื การใชแหลงเรียนรู

ขอขอบคุณที่ใหขอมูล
แบบสอบถามเพื่อการวิจัย
เรื่อง การศึกษาสภาพการใชแหลงเรียนรูในการจัดการศึกษาของโรงเรียน
ในอําเภอบานนาสาร จังหวัดสุราษฎรธานี
(สําหรับผูบริหาร)

ตอนที่ 1 สถานภาพของผูตอบแบบสอบถาม
ตําแหนง ( ) ผูบริหาร

ขนาดของโรงเรียนที่ผูตอบปฏิบัติงาน
( ) ขนาดเล็ก (นักเรียนไมเกิน 300 คน)
( ) ขนาดใหญ (นักเรียน 301 คนขึน้ ไป)

ระดับชั้นที่เปดสอน (ตอบไดมากกวา 1 ขอ)


( ) ปฐมวัย ( ) ชวงชัน้ ที่ 1 ( ) ชวงชัน้ ที่ 2 ( ) ชวงชั้นที่ 3 ( ) ชวงชัน้ ที่ 4

ตอนที่ 2 ขอมูลสภาพการใชแหลงเรียนรูในโรงเรียนในการจัดการศึกษา
คําชี้แจง โปรดทําเครื่องหมาย 9 ลงในชองที่ตรงกับสภาพการใชแหลงเรียนรูเพื่อการจัด
การศึกษาในโรงเรียนของทาน

2.1 แหลงเรียนรูที่มีอยูในโรงเรียนของทาน (ตอบไดมากกวา 1 ขอ)


( ) หองสมุด ( ) มุมหนังสือในหองเรียน ( ) หองปฎิบตั ิการวิทยาศาสตร
( ) หองดนตรี/นาฎศิลป ( ) หองปฏิบตั ิการทางภาษา ( ) หองโสตทัศนศึกษา
( ) หองพลศึกษา ( ) หองการงานอาชีพ ( ) หองกิจกรรมชุมนุม
( ) หองคอมพิวเตอร ( ) อินเตอรเน็ต ( ) เสียงตามสาย
( ) หองลูกเสือ ( ) หองแนะแนว ( ) หองหมวดวิชาอื่นๆ
( ) แปลงเกษตร ( ) เรือนเพาะชํา ( ) บอเลี้ยงปลา
( ) โรงเพาะเห็ด ( ) โรงฝกงาน ( ) สวนพฤกษศาสตร
( ) สวนสมุนไพร ( ) ปายนิเทศตาง ๆ ( ) อืน่ ๆระบุ...............................
( ) ระบุ............................. ( ) ระบุ............................... ( ) ระบุ......................................
103

2.2 การจัดกิจกรรมการเรียนรูโดยใชแหลงเรียนรูในโรงเรียน (ตอบไดมากกวา 1 ขอ)


หองสมุดโรงเรียน
( ) บริการยืม-คืนหนังสือหองสมุด ( ) กิจกรรมคนควาเพิ่มเติมในหองสมุด
( ) กิจกรรมแนะนําหนังสือใหม ( ) กิจกรรมสํารวจหองสมุด
( ) การจัดกิจกรรมสงเสริมการอาน เชน แขงขันยอดนักอาน แขงขันตอบปญหา ฯลฯ
( ) อื่นๆ (ระบุ)......................................
หองปฏิบตั ิการวิทยาศาสตร
( ) การทดลองทางวิทยาศาสตร ( ) การทําโครงงานวิทยาศาสตร
( ) การจัดนิทรรศการวิทยาศาสตร ( ) ปายนิเทศสาระความรูวิทยาศาสตร
( ) อื่น ๆ (ระบุ)......................................
หองคอมพิวเตอรและอินเตอรเน็ต
( ) การสืบคนขอมูลจากอินเตอรเน็ต ( ) การทําใบงาน-รายงานโดยใชคอมพิวเตอร
( ) เกมคอมพิวเตอร ( ) การเก็บขอมูลสารสนเทศ
( ) กิจกรรมอื่น ๆ (ระบุ).................................
แหลงเรียนรูในโรงเรียนอื่นๆ
( ) การสํารวจพืช /สัตวในบริเวณโรงเรียน ( ) การสํารวจสภาพแวดลอมของโรงเรียน
( ) การจัดทําแผนที่/แผนผังโรงเรียน ( ) การฝกปฏิบัติงานเกษตร
( ) การฝกปฏิบัติงานในโรงฝกงาน ( ) กิจกรรมอื่น ๆ (ระบุ)............................

ตอนที่ 3 ขอมูลสภาพการใชแหลงเรียนรูในชุมชนในการจัดการศึกษา
คําชี้แจง โปรดทําเครื่องหมาย 9 ลงในชองที่ตรงกับสภาพการใชแหลงเรียนรูในชุมเพื่อการ
จัดการศึกษาในโรงเรียนของทาน
3.1 แหลงเรียนรูในชุมชนทีโ่ รงเรียนของทานใชในการจัดการศึกษา (ตอบไดมากกวา 1 ขอ)
แหลงเรียนรูประเภทบุคคล
( ) นักบวช/พระสงฆ ( ) ภูมิปญญาทองถิ่น ( ) ผูนําชุมชน
( ) ตํารวจ ( ) ทหาร ( ) แพทย/พยาบาล
( ) ขาราชการหนวยงานอืน่ ๆ (ระบุ).............................................. ( ) ระบุ...........................
( ) บุคลากรจากภาคเอกชน (ระบุ)................................................. ( ) ระบุ...........................
104

แหลงเรียนรูประเภททรัพยากรธรรมชาติในทองถิ่น
( ) อุทยานแหงชาติใตรมเย็น ( ) น้ําตกดาดฟา ( ) น้ําตกเหมืองทวด
( ) คลองฉวาง ( ) ถ้ําขมิ้น ( ) บอน้ํารอน
( ) โครงการจุฬาภรณพัฒนา ( ) สวนปา ( ) สวนเกษตร
( ) อื่นๆ (ระบุ).............................
แหลงเรียนรูประเภทที่มนุษยสรางขึน้
( ) วัด / ศาสนสถาน ( ) สวนสาธารณะไตรคีรี ( ) โรงงานอุตสาหกรรม
( ) รานคา/ บริษัท ( ) สถานประกอบการ ( ) โรงพยาบาล
( ) สถานีอนามัย/สาธารณสุข ( ) เทศบาล ( ) สถานีตํารวจ
( ) ศูนยกฬี าและนันทนาการ ( ) หองสมุดประชาชน ( ) อนุสรณสถานเขาชองชาง
( ) หนวยราชการอื่น ๆ (ระบุ)........................................ ( ) อื่น ๆ ระบุ............................
แหลงเรียนรูประเภทวัฒนธรรม
( ) งานศพ ( ) งานแตงงาน ( ) งานบวช
( ) งานทอดกฐิน / ผาปา ( ) ตักบาตรเทโว ( ) วันปใหม
( ) วันสงกรานต ( ) วันลอยกระทง ( ) การละเลนพื้นบาน
( ) เทศกาลเงาะโรงเรียน ( ) เทศกาลอาหารพื้นเมือง ( ) งานบุญเดือนสิบ
( ) อื่น ๆ (ระบุ)................................................

3.2 รูปแบบการใชแหลงเรียนรูในชุมชนในการจัดการศึกษา ( ใสหมายเลข 1 – 10 เรียงตามลําดับการใช


จากมากไปหานอย)
( ) เชิญวิทยากรมาใหความรูแกนักเรียนในโรงเรียน
( ) นํานักเรียนไปเรียนรูทแี่ หลงเรียนรู
( ) มอบหมายงานใหนกั เรียนไปเรียนรู/เก็บขอมูลแลวเขียนรายงาน
( ) ใหนักเรียนไปสัมภาษณบุคคลแลวเขียนรายงาน
( ) จัดกิจกรรมเรียนรูขึ้นเองภายในโรงเรียน
( ) จัดกิจกรรมเรียนรูโดยรวมมือกับชุมชน
( ) การจัดใหมีการเขาคาย เชน คายรักการอาน คายวิทยาศาสตร แคมปภาษาอังกฤษ ฯลฯ
( ) จัดใหนกั เรียนเขาไปฝกปฏิบัติเพื่อหาประสบการณในแหลงเรียนรู
( ) อื่นๆ (ระบุ)..........................................................................................
( ) อื่นๆ (ระบุ)..........................................................................................
105

ตอนที่ 4 ขอมูลการดําเนินงานแหลงเรียนรูทั้งในโรงเรียนและในชุมชน จํานวน 4 ดาน


1. ดานการวางแผนการใชแหลงเรียนรู
2. ดานการดําเนินการใชแหลงเรียนรู
3. ดานการประเมินผลการใชแหลงเรียนรู
4. ดานการปรับปรุงพัฒนาการใชแหลงเรียนรู
คําชี้แจง โปรดทําเครื่องหมาย 9 ลงในชองที่ตรงกับสภาพการใชแหลงเรียนรูในโรงเรียนและใน
ชุมชนเพื่อที่ตรงกับระดับปฏิบัติในโรงเรียนของทานมากที่สุด

ระดับการดําเนินงาน
มาก ปาน นอย
ขอ รายการ มาก นอย
ที่สุด กลาง ที่สุด

ดานการวางแผนการใชแหลงเรียนรู
1 มีการกําหนดนโยบายการใชแหลงเรียนรู
ในโรงเรียนประกอบการเรียนการสอน
2 มีการกําหนดนโยบายการใชแหลงเรียนรู
ในชุมชนประกอบการเรียนการสอน
3 มีการกําหนดเปาหมายการพัฒนาแหลงเรียนรูใน
โรงเรียน
4 มีการประชุมครูและคณะกรรมการสถานศึกษา
เพื่อสรางความตระหนักถึงความสําคัญ
ในการจัดและการใชแหลงเรียนรูเพื่อพัฒนา
คุณภาพผูเรียน
5 มีการใหความรูหรือสงครูและบุคลากร
เขารวมอบรมเกี่ยวกับการจัด / การพัฒนา
และใชแหลงเรียนรู
6 มีการแตงตั้งครูและบุคลากรรับผิดชอบ
การจัดการและพัฒนาแหลงเรียนรู
106

ระดับการดําเนินงาน
มาก ปาน นอย
ขอ รายการ มาก นอย
ที่สุด กลาง ที่สุด

7 มีการกําหนดมาตรฐานและตัวชี้วดั การพัฒนา
และใชแหลงเรียนรู
8 มีการกําหนดระยะเวลา / แผนงาน การใช
แหลงเรียนรูที่ชัดเจน
9 การมีสวนรวมในการวางแผน การใช
แหลงเรียนรูของครูและบุคลากรในโรงเรียน
10 มีการกําหนดโครงการใชแหลงเรียนรู
ที่หลากหลาย
11 มีการจัดสรรงบประมาณในการพัฒนา และ
ใชแหลงเรียนรูที่ชัดเจน
12 ชุมชนมีสวนรวมในการวางแผนการจัด
การพัฒนา และการใชแหลงเรียนรู
ดานการดําเนินการใชแหลงเรียนรู
13 มีการสํารวจและจัดทําทะเบียนแหลงเรียนรู
ประเภทตาง ๆ ในโรงเรียน
14 มีการสํารวจและจัดทําทะเบียนแหลงเรียนรู
ประเภทตาง ๆ ในชุมชน
15 มีการสํารวจและจัดทําทะเบียน ภูมปิ ญญาทองถิ่น
16 มีการประชุม/ปรึกษาหารือของครูและบุคคลากร
ที่รับผิดชอบการใชแหลงเรียนรู
อยางสม่ําเสมอ
17 มีการจัดใหบุคลากรไปศึกษาดูงานการดําเนินงาน
แหลงเรียนรูของโรงเรียนอื่น
ที่ประสบความสําเร็จ
107

ระดับการดําเนินงาน
มาก ปาน นอย
ขอ รายการ มาก นอย
ที่สุด กลาง ที่สุด

18 ครูและบุคลากรมีสวนรวมในการพัฒนาแหลง
เรียนรูในโรงเรียน
19 มีการจัดแหลงเรียนรูหองสมุดโรงเรียนอยางเปน
ระบบระเบียบ
20 มีการสงเสริมใหหองสมุดโรงเรียนจัดกิจกรรม
สงเสริมการอานอยางสม่ําเสมอ
21 มีการสงเสริมใหจดั มุมหนังสือและมุมเรียนรูใน
หองเรียนทุกหอง
22 มีการจัดใหมหี องพิเศษตางๆ เชน หองดนตรี/
นาฎศิลป หองกิจกรรมชุมนุม หองแนะแนว
หองกิจกรรมลูกเสือ-เนตรนารี
ฯลฯ
23 มีการสงเสริมใหหองพิเศษตางๆ จัดกิจกรรม
เรียนรูอยางสม่ําเสมอ
24 มีการสงเสริมใหจดั บริเวณโรงเรียนเปนแหลง
เรียนรู เชน สวนสมุนไพร สวนพฤกษศาสตร
ฯลฯ
25 ชุมชนเขามามีสวนรวมในการจัดและพัฒนา
แหลงเรียนรู
26 มีการระดมทรัพยากรจากชุมชนในการพัฒนา
แหลงเรียนรู
ดานประเมินผลการใชแหลงเรียนรู
27 มีการแตงตั้งผูร ับผิดชอบการประเมินผลการใช
แหลงเรียนรูในโรงเรียน
108

ระดับการดําเนินงาน
มาก ปาน นอย
ขอ มาก นอย
รายการ ที่สุด กลาง ที่สุด

28 มีการแตงตั้งผูร ับผิดชอบการประเมินผลการใช
แหลงเรียนรูในชุมชน
29 มีการกําหนดขั้นตอนการประเมินผลการใชแหลง
เรียนรูที่ชัดเจน
30 มีการสรางเครื่องมือเพื่อรวบรวมและวิเคราะห
ขอมูลการใชแหลงเรียนรู
31 ครูและนักเรียนมีสวนรวมในการประเมินผลการ
ใชแหลงเรียนรู
32 ชุมชนมีสวนรวมในการประเมินผลการใชแหลง
เรียนรู
33 นักเรียนไดใชประโยชนจากการแหลงเรียนรู
ในโรงเรียนประเภทหองสมุด
34 นักเรียนไดใชประโยชนจากการแหลงเรียนรู
ในโรงเรียนประเภทหองปฏิบัติการวิทยาศาสตร
35 นักเรียนไดใชประโยชนจากการแหลง
เรียนรูประเภทหองคอมพิวเตอร/อินเตอรเน็ต
36 นักเรียนไดใชประโยชนจากการแหลงเรียนรู
ประเภทอื่น ๆ ที่อยูในบริเวณโรงเรียน
37 นักเรียนไดใชประโยชนจากการแหลงเรียนรู
ในชุมชน
38 มีการสรุปผลการดําเนินงานแหลงเรียนรู
ในโรงเรียน
39 มีการสรุปผลการดําเนินงานแหลงเรียนรู
ในชุมชน
109

ระดับการดําเนินงาน
มาก ปาน นอย
ขอ มาก นอย
รายการ ที่สุด กลาง ที่สุด

40 มีการจัดทํารายงานและนําเสนอผล
การดําเนินงานแหลงเรียนรูใ นโรงเรียน
41 มีการจัดทํารายงานและนําเสนอผล
การดําเนินงานแหลงเรียนรูใ นชุมชน
ดานการปรับปรุงพัฒนาการใชแหลง
เรียนรู
42 มีการนําผลการประเมินมาปรับปรุงและพัฒนา
แหลงเรียนรูในโรงเรียน
43 มีการนําผลการประเมินมาปรับปรุงและ
พัฒนาการใชแหลงเรียนรูในชุมชน

44 มีการแตงตั้งคณะกรรมการ / คณะทํางาน
ในการนําผลการดําเนินงานแหลงเรียนรูมาจัดทํา
เปนแผนงานพัฒนาการดําเนินงานแหลงเรียนรู
45 มีการวิเคราะหจุดเดน / จุดดอย
ในการดําเนินงานแหลงเรียนรูในโรงเรียน
46 มีการวิเคราะหจุดเดน/จุดดอย
ในการดําเนินงานแหลงเรียนรูในชุมชน
47 มีการทบทวนตรวจสอบแผนงาน
การใชแหลงเรียนรูหองสมุดโรงเรียน
อยางสม่ําเสมอ
48 มีการทบทวนตรวจสอบแผนงานการใช
แหลงเรียนรูหอ งคอมพิวเตอรและอินเตอรเน็ต
อยางสม่ําเสมอ
110

ระดับการดําเนินงาน
มาก ปาน นอย
ขอ มาก นอย
รายการ ที่สุด กลาง ที่สุด

49 มีการทบทวนตรวจสอบแผนงาน การใชแหลง
เรียนรูหองปฏิบัติการวิทยาศาสตรอยางเสมอ
สม่ําเสมอ
50 มีการทบทวนตรวจสอบแผนงาน การใชแหลง
เรียนรูในบริเวณโรงเรียนอื่นๆ เชน โรงฝกงาน
สนเกษตร สวนสมุนไพร หองพิเศษ ฯลฯ อยาง
สม่ําเสมอ
51 มีการทบทวนตรวจสอบแผนงาน การใชแหลง
เรียนรูในชุมชนอยางสม่ําเสมอ
52 มีการจัดทําคูมอื การใชแหลงเรียนรู

ขอขอบคุณที่ใหขอมูล
ประวัติผูทําภาคนิพนธ

ชื่อ- สกุล นางศศิธร ภิรมยนภา

วัน เดือนปเกิด 26 ตุลาคม 2508

สถานที่อยูปจจุบัน 12 ซอยสุดเลิศ ถนนสวนมังคุด ตําบลนาสาร อําเภอบานนาสาร


จังหวัดสุราษฎรธานี

ประวัติการศึกษา
พ.ศ. 2545 ศึกษาศาสตรบัณฑิต (ศษ.บ.) (มัธยมศึกษา-วิทยาศาสตรทั่วไป)
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช กรุงเทพฯ
พ.ศ. 2543 ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (ศศ.บ.) (สังคมวิทยามนุษยวิทยา)
มหาวิทยาลัยรามคําแหง กรุงเทพฯ

ประสบการณการทํางาน
พ.ศ. 2537 ครูอาสาสมัครการศึกษานอกโรงเรียน จังหวัดตรัง
พ.ศ. 2546 อาจารย 1 ระดับ 3 โรงเรียนเทศบาล 2 (บานอูมาด) อําเภอบานนาสาร
จังหวัดสุราษฎรธานี

ตําแหนงหนาที่ ครู คส.1

สถานที่ทํางานปจจุบัน โรงเรียนเทศบาล 2 (บานอูมาด) อําเภอบานนาสาร จังหวัดสุราษฎรธานี


84120

You might also like