You are on page 1of 110

บทที่ 3

เจดียในประเทศไทยหลัง พ.ศ. 2475 : ประวัติ และรูปแบบงานชาง

หลัง พ.ศ. 2475 ไดมีการยอนกลับไปเอารูปแบบตางๆ ของเจดียโบราณนํามาผสมผสาน


ปรับปรุงสรางดวยรสนิยมของยุคสมัยทีส่ ราง คือ การผสมผสานลักษณะบางประการไวกบั แบบอยาง
ทีย่ อ นกลับไปเอามา ตอไปนีจ้ ะวิเคราะหลกั ษณะทีเ่ ปนตนแบบ ซึง่ มีลกั ษณะใหมๆ ตามรสนิยม หรือ
ตามความตองการของผูส ราง โดยเลือกเจดียต ามลําดับยุคสมัยตัง้ แตในศิลปะทวารวดีลงมาโดยลําดับ
แรงบันดาลใจจากเจดียในศิลปะทวารวดี
หลักฐานทีเ่ หลือของเจดียใ นศิลปะทวารวดีนนั้ มีเฉพาะสวนฐานชัน้ ลางเทานัน้ โดยรูปแบบ
สวนใหญจะพังทลายไปหมด แตการที่พบหลักฐานรูปทรงเจดียจําลองทําจากวัสดุตางๆ ในแหลง
วัฒนธรรมทวารวดี อาทิ เจดียสําริด เจดียสลักนูนบนศิลา ฯลฯ ที่มีความหลากหลายรูปแบบใน
ศิลปะทวารวดี ก็ยังใหแรงบันดาลใจสําหรับงานออกแบบของชางในปจจุบัน
พระธาตุนาดูน ตําบลพระธาตุ อําเภอนาดูน มหาสารคาม
บริเวณที่ตั้งอําเภอนาดูนจากการขุดคนทางโบราณคดี พบวาเปนชุมชนโบราณ เรียกวา
เมืองนครจําปาศรี ที่มีคูน้ําคันดินลอมรอบขนาดใหญ มีอายุสมัยในชวงวัฒนธรรมทวารวดี กรม-
ศิลปากรทําการศึกษาและขุดแตงโบราณสถานทัง้ ในบริเวณนอกเมืองและในเมืองตัง้ แต ป พ.ศ. 2514
พบวามีซากฐานเจดียถึง 25 องค ซึ่งอยูในสภาพถูกทําลายเปนสวนใหญ ตอมาใน ป พ.ศ. 2522
กรมศิลปากรไดดําเนินการขุดคนโบราณสถานนอกเมืองนครจําปาศรีอีกแหงหนึ่งไดพบพระพิมพ
ดินเผาเปนจํานวนมาก การพบ พระพิมพนาดูน มีผลทําใหเกิดการลักลอบขุดหากันอยางขนานใหญ
เดือนมิถนุ ายน 2522 เจาหนาทีห่ นวยศิลปากรที่ 7 ไดขดุ พบโบราณสถานวัตถุทสี่ าํ คัญยิง่
คือ ยอดเจดีย (สถูป) จําลองทําจากสําริด 1 ชิ้น แตไมพบตัวองคเจดีย เพราะปรากฏวามีราษฎร
ขุดพบและ นําออกไปกอนเจาหนาที่แลว จนกระทั่ง นายบุญจันทร เกษแสนศรี นักการสํานักงาน
ทีด่ นิ อําเภอนาดูน ไดกลับใจนําองคเจดียพ รอมดวยตลับบรรจุพระบรมสารีรกิ ธาตุมามอบใหนายอําเภอ
นาดูน และนายธีรยุทธ พลีสิงห นําแผนโลหะคลายถาดกลม มีรูปกลีบบัวโดยรอบซึ่งขุดพบใน
บริเวณเดียวกัน คือแผนรองรับฐานองคเจดียจําลอง มามอบใหนายอําเภอนาดูนเก็บรักษาไวจึงครบ
ทุกชิ้นสวน1 (ภาพที่ 35) มีบุคคลสําคัญในทองถิ่นและนักวิชาการไปขอดูพระบรมสารีริกธาตุ ดู

1
คณะกรรมการอํานวยการจัดงานเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว, วัฒนธรรม พัฒนาการทาง
ประวัติศาสตรเอกลักษณและภูมิปญญาจังหวัดมหาสารคาม (กรุงเทพฯ : คณะกรรมการฯ, 2542), 69-79.
37

ลักษณะแลวสันนิษฐานวาเปนพระบรมสารีริกธาตุจริง โดยเก็บรักษาไวที่สถานีตํารวจภูธรอําเภอ
นาดูน ทางจังหวัดมหาสารคามและประชาชนชาวอําเภอนาดูน เห็นวาสมควรจะจัดสรางเจดียองค
ใหญเพื่อบรรจุพระบรมสารีริกธาตุประดิษฐานไว ณ อําเภอนาดูน2

ภาพที่ 35 เจดียสําริดจําลอง พบที่อําเภอนาดูน มหาสารคาม ศิลปะทวารวดี


ที่มา : ศรีศักร วัลลิโภดม, ความหมายพระบรมธาตุในอารยธรรมสยามประเทศ, พิมพครั้งที่ 2
(กรุงเทพฯ : สํานักพิมพเมืองโบราณ, 2539), 42.

พลเอกเปรม ติณสูลานนท นายกรัฐมนตรีในขณะนั้น ไดประกอบพิธีวางศิลาฤกษ


พระธาตุนาดูน ในวันที่ 21 ธันวาคม 2528 โดยทางรัฐบาลจัดสรางตามลักษณะเจดียสําริดจําลอง
ออกแบบโดยกรมศิลปากร3 สรางเสร็จ พฤศจิกายน 2529 พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวภูมิพล-
อดุลยเดชไดทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ใหสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชเจาฟามหาวชิราลงกรณ สยาม-
มกุฎราชกุมาร เสด็จพระราชดําเนินแทนพระองคมาทรงประกอบพิธีอัญเชิญพระบรมสารีริกธาตุ
ประดิษฐานในองคพระธาตุนาดูนพรอมดวยเจดียสําริดจําลอง เมื่อวันที่ 12 พฤศจิกายน 25304

2
ทรงรัตน ธนมาลาพงศ, “พิธีกรรมที่เกี่ยวกับพระธาตุนาดูน อําเภอนาดูน จังหวัดมหาสารคาม.” (วิทยา
นิพนธปริญญามหาบัณฑิตสาขาวิชาไทยคดีศึกษา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 2542), 51.
3
พระธาตุนาดูน ออกแบบโดยคุณประเสริฐ สุนทโรวาท สถาปนิกกรมศิลปากร
4
วีรพงษ สิงหบญ
ั ชา, “พระธาตุนาดูนและการบรรจุพระบรมสารีรกิ ธาตุ,” ใน พระธาตุนาดูนพุทธมณฑลอีสาน
นครจําปาศรี อําเภอนาดูน จังหวัดมหาสารคาม, พิมพครั้งที่ 3 (มหาสารคาม : อภิชาติการพิมพ, 2539), 73-79.
38

ลักษณะทั่วไป
พระธาตุนาดูน สรางบนทีร่ าบสูงกวางใหญ หางจากจุดทีข่ ดุ คนราว 2 กิโลเมตร ความสูง
จากฐานถึงยอด 50.50 เมตร ฐานชั้นลางเปนสี่เหลี่ยมจัตุรัสยาวดานละ 35.70 เมตร โครงสรางเปน
คอนกรีตเสริมเหล็ก ผนังภายนอกทัง้ หมดเปนหินลางประดับตกแตงดวยกระเบือ้ งดินเผา (ภาพที่ 36)

ภาพที่ 36 พระธาตุนาดูน ตําบลพระธาตุ อําเภอนาดูน มหาสารคาม

สวนฐาน มี 3 ชัน้ คือ ชัน้ ที่ 1 เปนฐานเขียงสีเ่ หลีย่ มจัตรุ สั มีบนั ไดขึน้ ตรงกลางทัง้ สีด่ า น
รอบๆ ฐานประดับดวยรูปยักษแบกปูนปน ชัน้ ที่ 2 เปนฐานบัวเพิม่ มุมยีส่ บิ มีทางเดินปูดว ยกระเบือ้ ง
โดยรอบชัน้ นี้ ตรงกลางของแตละดานมีซมุ ประตูหลอก แตละชวงของมุมทีท่ อ งไมของฐานตกแตง
ดวยพระพิมพดินเผานาดูนจําลองขนาดใหญกวาองคจริง มุมทั้งสี่ของชั้นที่ 2 มีเจดียขนาดเล็กซึ่ง
จําลองมาจากองคใหญตั้งอยูประจําในทิศเฉียง ชั้นที่ 3 เปนฐานบัวเพิ่มมุมยี่สิบเชนเดียวกับชั้นที่ 2
ซอนลดหลั่นกัน ตรงกลางของแตละดานมีซุมจระนําประดิษฐานพระพุทธรูป แตละชวงของมุมที่
ทองไมของฐานทําเปนเสาเหลี่ยมประดับบัวหัวเสา มีเจดียขนาดเล็กตั้งประจําในทิศเฉียงทั้งสี่
39

สวนกลาง กอนถึงทรงระฆังจะเปนฐานแปดเหลีย่ ม ถัดขึน้ ไปเปนฐานประดับดวยบัวหงาย


ในผังกลมรองรับทรงระฆัง
สวนยอด เหนือทรงระฆังเปนบัลลังกสี่เหลี่ยมรับทรงหมอน้ําประดับกลีบบัวหงาย ตอ
ดวยปลองไฉน ตอเนื่องขึ้นไปคือปลี และปลียอดที่คั่นกลางดวยวงแหวน (ลูกแกว) เหนือปลียอด
คือลูกแกวและฉัตรประดับกระจกสีทอง (ภาพลายเสนที่ 2)

ภาพลายเสนที่ 2 พระธาตุนาดูน ตําบลพระธาตุ อําเภอนาดูน มหาสารคาม


ที่มา : งานพระราชทานเพลิงศพนายประเสริฐ สุนทโรวาท ณ เมรุวัดเทพศิรินทราวาส
วันอังคารที่ 8 มีนาคม พ.ศ. 2537 (กรุงเทพฯ : บริษทั เสริมดวง จํากัด, 2537), 20.
40

ลักษณะที่หยิบยืมมาจากศิลปะทวารวดี
ลักษณะที่เปนแรงบันดาลใจเดนชัด คือ การออกแบบทรงระฆังโดยถายแบบในลักษณะ
การประยุกตเอารูปทรงของเจดียสําริดจําลองที่บรรจุพระบรมสารีริกธาตุที่ขุดคนพบที่อําเภอนาดูน
เปนตนแบบ อนึง่ ในป พ.ศ. 2540 ไดมกี ารขุดพบใบเสมาหินทรายใบใหมทมี่ ภี าพสลักเปนรูป (สถูป)
เจดียนูนสูง สวนฐานแกะสลักเปนฐานบัวที่สําคัญคือมีรูปทรงคลายคลึงกับเจดียสําริดจําลองบรรจุ
พระบรมสารีริกธาตุที่พบที่อําเภอนาดูนเมื่อป พ.ศ. 25225 (ภาพที่ 37) เปนอีกหลักฐานใหมที่อาจ
จะเสริมในความสอดคลองกับรูปแบบพระธาตุนาดูนที่สรางเสร็จเรียบรอยแลว

ภาพที่ 37 ใบเสมาสลักนูนสูงรูปเจดีย อําเภอนาดูน มหาสารคาม ศิลปะทวารวดี


ที่มา : ศิริพันธ ตาบเพ็ชร, “ใบเสมารูปสถูปใบใหมจากเมืองจําปาศรี อําเภอนาดูน จังหวัดมหาสารคาม,”
เมืองโบราณ 23, 1 (มกราคม – มีนาคม 2540) : 167.

นอกจากนีร้ ปู แบบการทําฐานสีเ่ หลีย่ มจัตรุ สั มีการประดับดวยรูปยักษแบก และการประดับ


เจดียจําลองที่มุมทั้งสี่ หรือการประดับตกแตงลวดลายซุมจระนํา ตลอดจนการประดับพระพิมพ
ดินเผานาดูนจําลองขนาดใหญกวาองคจริง (ภาพที่ 38) เพื่อใหสอดคลองและเหมาะสมกับขนาด
ของพระธาตุนาดูน ก็สะทอนการออกแบบที่หยิบยืมมาจากศิลปะทวารวดี

5
ศิริพัน ธ ตาบเพ็ชร, “ใบเสมารูปสถูปใบใหมจากเมืองจําปาศรี อําเภอนาดูน จังหวัด มหาสารคาม,”
เมืองโบราณ 23, 1 (มกราคม-มีนาคม 2540) : 166-168.
41

ภาพที่ 38 พระพิมพดินเผานาดูนจําลองขนาดใหญกวาองคจริง ประดับที่ฐานของพระธาตุนาดูน

ลักษณะที่เพิ่มเติมผสมผสาน
โดยสรุปลักษณะเจดียในศิลปะทวารวดีที่มีลักษณะพิเศษเปนรูปแบบเฉพาะ คือ การทํา
ฐานที่นิยมการยกเก็จหรือยกกระเปาะอยางมาก การยกเก็จหรือยกกระเปาะนี้ทําใหผนังอาคารเกิด
เปนชองทําใหเกิดความสวยงาม และคงมีวัตถุประสงคเพื่อการประดับงานประติมากรรมอีกดวย6
แตพระธาตุนาดูนมีการออกแบบฐานเปนฐานเพิม่ มุมยีส่ บิ อันเปนรูปแบบฐานทีน่ ยิ มสรางในสมัยหลัง
ซึ่งเปนการเพิ่มเติมลักษณะใหมตามความนิยมของยุคสมัยที่สอดคลองกับเทคโนโลยีการกอสราง
ดวยคอนกรีตเสริมเหล็กในโครงสรางของเจดียข นาดใหญ เปนการแสดงถึงความศรัทธาตอพระบรม-
สารีริกธาตุ และพื้นที่ประดิษฐานพระธาตุนาดูนในเนื้อที่ 902 ไร อันเปนศูนยกลางทางศาสนาและ
ศิลปวัฒนธรรมทางราชการจึงจัดตั้งเปน พุทธมณฑลอีสาน

พระมหาธาตุเจดียศรีจันเสน วัดจันเสน ตําบลจันเสน อําเภอตาคลี นครสวรรค


ผลการขุดคนทางโบราณคดีบริเวณเนินดินที่เรียกวาโคกจันเสน ที่อยูภายในบริเวณที่
ลอมรอบดวยคูน้ําคันดินของเมืองโบราณจันเสน ในทองที่ตําบลจันเสน อําเภอตาคลี นครสวรรค
โดยกรมศิลปากรและนักโบราณคดีอเมริกาจากมหาวิทยาลัยเพนซิลวาเนียพบวาเปนเมืองโบราณ
สมัยทวารวดีทเี่ กาแกแหงหนึง่ ในลุม แมนา้ํ เจาพระยา พัฒนาขึน้ มาจากชุมชนสมัยกอนประวัตศิ าสตร
(ยุคโลหะ) อนึ่ง เมื่อคณะทํางานขุดเสร็จแลวเมืองโบราณจันเสนก็ถูกทิ้งอยูเชนเดิม ยิ่งกวานั้นยังมี
การขุดทําลายโดยชาวบานเพื่อคนหาสมบัติตามเนินดินที่เปนแหลงโบราณคดี เพราะเกิดเปนรายได

6
ศักดิ์ชัย สายสิงห, ทวารวดี : ศิลปกรรมยุคแรกเริ่มในดินแดนไทย (กรุงเทพฯ : โรงพิมพมหาวิทยาลัย
ศิลปากร, 2543), 67.
42

ขึน้ จากการซือ้ ขายโบราณวัตถุ แตกน็ บั วาโชคดีทที่ างวัดจันเสนซึง่ เปนวัดสําคัญของชุมชนมีชาวบาน


บางสวนนํามาถวายวัดทําใหยงั สามารถรวบรวมบรรดาโบราณวัตถุทพี่ บในเมืองจันเสน โดยมีพระครู-
นิสัยจริยคุณ หรือหลวงพอโอด เปนผูมองการณไกลหวังที่จะจัดตั้งพิพิธภัณฑขึ้นเพื่อเปนที่จัดแสดง
โบราณวัตถุเหลานี้ และหลวงพอโอดยังดําริทจี่ ะสรางเจดียส าํ หรับบรรจุพระธาตุซงึ่ ทานมีเก็บรักษาไว
จนกระทัง่ มีการติดตอ อาจารยวนิดา พึง่ สุนทร แหงคณะสถาปตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัย
ศิลปากรเปนผูอ อกแบบ เจดียท มี่ ปี ระโยชนใชงานทัง้ เปนทีบ่ รรจุพระธาตุรวมถึงพิพธิ ภัณฑเมืองจันเสน
เขาไวดวยกันเปนแบบที่ชอบใจของหลวงพออยางยิ่ง อนึ่ง หลวงพอโอดไดมรณภาพกอนจะสราง
พระครูนิวิฐธรรมขันธ เจาอาวาสองคปจจุบัน ศิษยหลวงพอโอดดําเนินการกอสรางจนเสร็จโดยใช
เวลายาวนานกวา 7 ป (พ.ศ. 2532 – 2539) การจัดการพิพิธภัณฑทอ งถิ่น ไดเชิญนักวิชาการจาก
คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร มีอาจารยศรีศักร วัลลิโภดม เปนหัวหนาคณะนักวิชาการ
ดําเนินงานจัดพิพิธภัณฑ7
พระมหาธาตุเจดียศรีจันเสน (ภาพที่ 39) หรือพิพิธภัณฑจันเสน จนถึงปจจุบันมีการ
ดําเนินงานพิพิธภัณฑที่นาสนใจ อาทิ การจัดกลุมมัคคุเทศกนอยในการตอนรับและนําชม เปน
การใหการศึกษานอกระบบโรงเรียน เพื่อความเขาใจในทองถิ่นและชุมชนจันเสนอยางนาสนใจ8

ภาพที่ 39 พระมหาธาตุเจดียศรีจันเสน วัดจันเสน ตําบลจันเสน อําเภอตาคลี นครสวรรค

7
ขอมูลตางๆ ของเมืองโบราณจันเสนดูใน สุจิตต วงษเทศ, บรรณาธิการ, สังคมและวัฒนธรรมจันเสน
เมืองแรกเริ่มในลุมลพบุรี – ปาสัก (กรุงเทพฯ : เรือนแกวการพิมพ, 2539).
8
ดูสารคดีหรือบทความเกีย่ วกับพิพธิ ภัณฑจนั เสน อาทิใน ธเนศ งามสม, “พิพธิ ภัณฑจนั เสน สายใย สาย
วัฒนธรรมแหงลุมน้ําเจาพระยา,” วารสารทองถิ่นไทย 1, 3 (ตุลาคม-พฤศจิกายน 2544) : 59-68.
43

ลักษณะทั่วไป
พระมหาธาตุเจดียศรีจันเสน ตั้งอยูภายในบริเวณวัดจันเสน อาจารยวนิดา พึ่งสุนทร
ผูอ อกแบบไดกาํ หนดรูปทรงของเจดียใ หสอดคลองกับประวัตขิ องชุมชนจันเสน ทีเ่ ปนชุมชนโบราณ
สมัยทวารวดี รูปแบบใหมนจี้ ะตองสนองประโยชนใชสอยไดอยางเหมาะสมกับความตองการในยุค
ปจจุบนั เปนลักษณะอาคารมณฑปยอดเจดีย 9 อนึง่ รูปทรงเจดียน ผี้ วู จิ ยั ขอเรียก เจดียท รงปราสาทยอด
ในการวิเคราะห เจดียม คี วามสูงจากฐานถึงยอดประมาณ 22 เมตร ฐานชัน้ ลางเปนฐานสูงรูปสีเ่ หลีย่ ม
จัตรุ สั เพิม่ มุมสิบสอง ตรงกลางดานทิศตะวันออกเปนมุขยืน่ ออกมาเพือ่ เปนบันไดทางขึน้ ฐานประทักษิณ
รอบองคเจดีย ฐานกวางโดยประมาณดานละ 28 เมตร โครงสรางเปนคอนกรีตเสริมเหล็ก ผนัง
ภายนอกสวนใหญเปน หินลางแตเฉพาะองคระฆังถึงสวนยอดเจดียประดับโมเสกสีทอง
สวนฐาน มี 2 ชั้น คือชั้นที่ 1 เปนฐานสูงสี่เหลี่ยมจัตุรัสคลายกับฐานบัวลูกฟกในผัง
เพิ่มมุมสิบสอง มีการเจาะชองหนาตางเปนลูกกรงและทําประตูเพื่อเขาสูพื้นที่สวนภายในฐานที่จัด
ใหเปนพิพิธภัณฑจันเสน ตรงกลางดานทิศตะวันออกเปนมุขยื่นออกมาเพื่อเปนบันไดทางขึ้นลาน
ประทักษิณรอบองคเจดีย และมีซุมระฆังทรงมณฑปตั้งอยูที่สวนเพิ่มมุมทั้งสี่ของลานประทักษิณ
สวนชั้นที่ 2 เปนฐานบัวรองรับฐานบัวลูกฟกเพิ่มมุมสิบสอง คือจํานวนเดียวกับมุมของฐานชั้นที่ 1
ที่เพิ่งกลาวมา ถัดขึ้นไปเปนเรือนธาตุของเจดียทรงปราสาทยอด10 ฐานชั้นที่ 2 มีการประดับรูป
คนแคระและรูปสัตวแบกสลักจากหินทราย
สวนกลาง ถัดจากฐานชัน้ ที่ 2 เปนเรือนธาตุซงึ่ มีคหู าภายในโดยมีบนั ไดทางเขาซุม ประตู
ทางดานทิศตะวันออก ใต และเหนือ สวนดานทิศตะวันตกเปนซุมจระนําประดิษฐานพระพุทธรูป
ภายในคูหาประดิษฐานพระพุทธรูปนาคปรก11
สวนยอด กอนถึงทรงระฆังเปนบัวปากระฆังรูปกลีบบัวคว่ํา บัวหงายใตทรงระฆัง
เหนือทรงระฆังเปนบัลลังกสี่เหลี่ยมตอยอดเปนบัวหงาย ปลองไฉนสลับกันสุดที่ยอดรูปดอกบัวตูม
(ภาพลายเสนที่ 3)

9
วนิดา พึ่งสุนทร, “ออกแบบและกอสรางพระมหาธาตุเจดียศรีจันเสน,” ใน สังคมและวัฒนธรรมจันเสน
เมืองแรกเริม่ ในลุม ลพบุร-ี ปาสัก (กรุงเทพฯ : เรือนแกวการพิมพ, 2539), 284-300; อรศิริ ปาณินท และคณะ, สรรคสราง
อยางไทย : ผลงานสรางสรรคสถาปตยกรรมไทยฝมือ วนิดา พึ่งสุนทร (กรุงเทพฯ : โรงพิมพมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร,
2540), 9-19.
10
อาจารยวนิดา พึ่งสุนทร ผูออกแบบพระมหาธาตุเจดียศรีจันเสนเรียกรูปแบบเจดียนี้วา อาคารทรงมณฑป
ยอดเจดีย อนึ่ง ผูวิจัยขอเรียก เจดียทรงปราสาทยอด ที่เปนลักษณะของเรือนยอดเชนกัน
11
เปนพระพุทธรูปสลักจากหินทรายที่จําลองรูปแบบจาก หลวงพอนาคที่เปนพระพุทธรูปนาคปรกหินทราย
โบราณ ที่นํามาจากลพบุรีเมื่อเริ่มสรางวัดจันเสน ปจจุบันประดิษฐานอยูในอุโบสถ
44

ภาพลายเสนที่ 3 พระมหาธาตุเจดียศรีจันเสน วัดจันเสน ตําบลจันเสน อําเภอตาคลี นครสวรรค


ที่มา : อรศิริ ปาณินท และคณะ, สรรคสรางอยางไทย : ผลงานสรางสรรคสถาปตยกรรมไทยฝมอื วนิดา พึง่ สุนทร
(กรุงเทพฯ : โรงพิมพมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร, 2540), 18.

ลักษณะที่หยิบยืมมาจากศิลปะทวารวดี
จากการขุดคนทางโบราณคดีในเมืองโบราณจันเสนพบโบราณวัตถุในศิลปะทวารวดี
เปนจํานวนมาก แตไมพบรองรอยของเจดียเลย อนึ่ง การพบเศษอิฐโบราณขนาดใหญ อาจพอระบุ
ไดวาในอดีตกอนการขุดคนนาจะมีซากฐานเจดียปรากฏอยูซึ่งยังมิไดถูกทําลายจากการพัฒนา การ
ที่ไมพบหลักฐานที่เปนตัวสถาปตยกรรมสมัยทวารวดี อาจารยวนิดา พึ่งสุนทร ผูออกแบบพระ-
มหาธาตุเจดียศรีจันเสน จึงใชลักษณะของเจดียในศิลปะทวารวดีที่คนพบที่อื่นๆ เปนพื้นฐานในการ
พัฒนารูปแบบโดยนําลวดลายประดับตกแตงที่พบในเขตจันเสน และแหลงโบราณวัตถุสถานอื่น
สมัยทวารวดีมาออกแบบ12 อาทิเชน การประดับตกแตงลวดลายซุมประตูทางเขาคูหาเจดียไดนํา
แรงบันดาลใจจากซุมประดับตกแตงสมัยทวารวดีที่ขุดพบในเมืองโบราณคูบัว ราชบุรี และลวดลาย

12
แนวคิดการออกแบบเจดียด ใู น วนิดา พึง่ สุนทร, “ออกแบบและกอสรางพระมหาธาตุเจดียศ รีจนั เสน,” ใน
สังคมและวัฒนธรรมจันเสน เมืองแรกเริ่มในลุมลพบุรี-ปาสัก (กรุงเทพฯ : เรือนแกวการพิมพ, 2539), 284-300.
45

บานประตูไมแกะสลัก นําลวดลายแบบกานขดและรูปคนแคระแบกที่ฐานเจดียสมัยทวารวดี
เขาคลังใน เมืองศรีเทพ เพชรบูรณ มาออกแบบ สวนรูปสิงหหินทรายหนาบันไดทางเขาคูหา
เจดีย ผูออกแบบนํารูปแบบจากรูปสิงหดินเผาขนาดเล็กที่พบในเมืองโบราณจันเสน ซึ่งมีลักษณะ
เดนที่หนาตาเปนเอกลักษณพิเศษที่แตกตางไปจากสิงหที่พบในแหลงโบราณสถานทวารวดีแหงอื่น
(ภาพที่ 40) มาตกแตง

ภาพที่ 40 ลวดลายประดับตกแตง พระมหาธาตุเจดียศรีจันเสน

บริเวณฐานชั้นที่ 2 บนลานประทักษิณรอบองคเจดียก็ตกแตงดวยการประดับรูปคน
แคระและสัตวแบกสลักจากหินทราย (ภาพที่ 41) ก็สะทอนการออกแบบที่หยิบยืมจากฐานเจดีย
เมืองศรีเทพ เพชรบูรณ ในสวนยอดของเจดียไดแรงบันดาลใจจากรูปแบบที่หลากหลายของกลุม
ใบเสมาสลักนูนสูงรูปเจดียในศิลปะทวารวดี ที่พบมากในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ หรือภาคอีสาน
ที่เปนแหลงวัฒนธรรมทวารวดีที่สําคัญเชนกัน13

13
เรื่องเดียวกัน, 290.
46

ภาพที่ 41 ภาพคนแคระและสัตวแบกสลักจากหินทราย ประดับที่ฐานชั้นที่ 2 พระมหาธาตุเจดียศรีจันเสน

ลักษณะที่เพิ่มเติมผสมผสาน
กลาวถึงการสรางฐานพระมหาธาตุเจดียศรีจันเสนสะทอนแนวคิดและความนิยมการ
ออกแบบฐานในลักษณะเพิ่มมุมเชนเดียวกับฐานพระธาตุนาดูนที่กลาวถึงไปแลว แตลักษณะเฉพาะ
ของพระมหาธาตุเจดียศรีจันเสนที่เพิ่มเติมรูปแบบที่สังเกตไดคือ การทําฐานเปนฐานบัวลูกฟกซึ่ง
เปนฐานทีน่ ยิ มสรางในศิลปะขอมหรือเจดียท รงปรางคของศิลปะอยุธยายุคสมัยตนๆ อันสะทอนการ
ผสมผสานรูปแบบในเจดียสมัยใหมองคนี้ แตลักษณะที่เพิ่มเติมผสมผสานอยางสําคัญคือ การเพิ่ม
ประโยชนใชสอยของเจดียโ ดยการทําฐานสูงชัน้ ที่ 1 ใหพนื้ ทีภ่ ายในโลงสําหรับจัดแสดงโบราณวัตถุ
และประวัติเมืองโบราณจันเสนจากอดีตถึงปจจุบัน มีการประดิษฐานรูปหลอหลวงพอโอดและ
สวนทํากิจกรรมทางพุทธศาสนา (ภาพที่ 42) พระมหาธาตุเจดียจ นั เสน หรือพิพธิ ภัณฑจนั เสน สําเร็จ
ลุลวงดวยความรวมมือจากประชาชนชาวจันเสน และคณะวิชาการโดยใชเงินทุนจากความศรัทธา
ประชาชนทัง้ ในและนอกพืน้ ทีใ่ นการดําเนินงานกอสรางและตกแตงเจดีย อนึง่ ภายในพืน้ ทีจ่ ดั แสดง
ของพิพิธภัณฑจันเสนมีการเขียนภาพจิตรกรรมเลาเรื่องพุทธประวัติบนแผงขื่อรองรับเพดานสวน
ภายในฐานดวย14

14
สันติ เล็กสุขุม, “จิตรกรรมที่มหาธาตุเจดียศรีจันเสน,” ใน สังคมและวัฒนธรรมจันเสน เมืองแรกเริ่มใน
ลุมลพบุรี-ปาสัก (กรุงเทพฯ : เรือนแกวการพิมพ, 2539), 302-311.
47

ภาพที่ 42 สวนภายในฐานชั้นที่ 1 ที่จัดเปนพิพิธภัณฑจันเสน

แมหลักฐานโบราณวัตถุสถานในศิลปะทวารวดีโดยเฉพาะรูปทรงเจดียสวนใหญไมเคย
พบหลักฐานทีเ่ ปนเจดียเ ต็มองคเหลือใหศกึ ษาเลย การศึกษาเปรียบเทียบหรือสันนิษฐานจึงตองอาศัย
หลักฐานจากรูปแบบที่พบหลากหลายของเจดียจําลองทําจากวัสดุตางๆ ตามแหลงของวัฒนธรรม
ทวารวดี ซึ่งหลักฐานเหลานี้เปนแรงบันดาลใจสําคัญในการหยิบยืมนํามาประยุกตออกแบบสราง
รูปแบบเจดียขึ้นใหมตามเงื่อนไขและความนิยมของยุคสมัยปจจุบัน15

15
ขอมูลเจดียสรางขึ้นใหมตามแรงบันดาลใจของยุคสมัยศิลปะ จากการสํารวจภาคสนามจํานวนเจดียที่เลือก
มาเปนตัวอยางอาจไมเทากันในแตละยุคสมัยทีน่ าํ มาวิเคราะห ซึง่ เปนขอจํากัดของความทัว่ ถึงในการวิจยั อนึง่ ตัวอยางเจดีย
ทีค่ ดั เลือกเปนประเด็นศึกษาวิเคราะหกเ็ พือ่ ความเขาใจประเด็นความหมาย ความศรัทธาและรูปแบบของเจดียท เี่ ปลีย่ นแปลง
อันเปนสวนสําคัญของผลการวิจยั นี้
48

แรงบันดาลใจจากเจดียในศิลปะภาคใต (ที่เรียกกันวาศิลปะศรีวิชัย)

อดีตสมัยทางภาคใตของประเทศไทย มีปรากฏเจดียเหลือเปนหลักฐานนอยอาจกลาวได
วามี 2 องคสําคัญ คือ พระบรมธาตุไชยา วัดมหาธาตุ สุราษฎรธานี16 ซึ่งเกี่ยวของกับอิทธิพล
ศิลปะชวาภาคกลาง อันเปนทีม่ าของชือ่ เรียกวาศิลปะศรีวชิ ยั และพระบรมธาตุเจดียข องวัดพระมหาธาตุ-
วรมหาวิหาร อําเภอเมือง นครศรีธรรมราช ที่ไดรับแรงบันดาลใจจากเจดียแบบศิลปะลังกาโดย
เฉพาะพระบรมธาตุเจดีย นครศรีธรรมราช (ภาพที่ 4) (ภาพลายเสนที่ 4) จากการสํารวจภาคสนาม
พบวาเปนเจดีย ตนแบบสําคัญที่เจดียสรางใหมในภาคใตยอนกลับไปนํารูปแบบมาสรางมากที่สุด

ภาพลายเสนที่ 4 พระบรมธาตุเจดีย วัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร อําเภอเมือง นครศรีธรรมราช


ที่มา : คัดลอกปรับปรุงจาก นงคราญ ศรีชาย, “มีอะไรอยูในพระบรมธาตุเจดีย เมืองนครศรีธรรมราช,”
ศิลปากร 44, 3 (พฤษภาคม – มิถุนายน 2544), 40.

16
เจดียที่ไดรับแรงบันดาลใจจากพระบรมธาตุไชยา มีขอจํากัดดานขอมูลจึงมิไดนํามาศึกษาในงานวิจัยนี้
49

เจดียวัดสระน้ําขาว ตําบลบานใหม อําเภอปากพนัง นครศรีธรรมราช


คุณตาของผูวิจัย ตาขุน สิทธิจําเริญคุณ ชาวปากพนังเลาประวัติเจดียวัดสระน้ําขาววา
“ชื่อวัดสระน้ําขาวไดมาจากที่บริเวณวัดมีสระที่มีน้ําจืดขาวใส สมัยกอนถาน้ําจืดไมมีดื่ม ฝนไมตก
จะตองมาตักน้ําใสตุมขนลงเรือไปตามบาน เพราะลุมน้ําปากพนังอยูใกลทะเลทําใหน้ําจืดที่บริโภค
ไดมีจํากัด วัดสระน้ําขาวตั้งอยูใกลแมน้ําปากพนังเดิมเปนวัดรางมีการบูรณปฏิสังขรณ พ.ศ. 2482
โดยแมหนูพิน วัฒนพานิช เจาของโรงสีขาวและกิจการขายเครื่องมือวัสดุกอสรางที่อําเภอปากพนัง
โรงสีขาวตั้งอยูบริเวณขางหลังวัดริมคลองบางไทรที่แยกจากแมน้ําปากพนัง เลากันวาแมหนูพินได
พระธาตุมาจากอินเดีย จึงคิดสรางเจดียขึ้นประมาณ พ.ศ. 2495 แลวเสร็จใน 4 ปตอมาโดยบรรจุ
พระธาตุ พ.ศ. 2499 วัดสระน้ําขาวมีพระและแมชีอยูกันมาก โดยเฉพาะแมชี แมหนูพินจะบริจาค
ขาวสารใหทางวัดตลอด แตหลังจากป พ.ศ. 2505 ที่เกิดเหตุการณวาตภัยพายุพัดเขาแหลมตะลุมพุก
ทําใหกําแพงรอบองคเจดียยกเวนดานหนาพังทลายตามแรงลม แตเจดียมิไดพังทําใหวัดสระน้ําขาว
เปนวัดรางมีพระอยูบางแตนอย” สภาพของเจดียป จ จุบนั จากขอความปูนปน ระบุวา คณะแมชี ก.ท.ม.
และคณะญาติโยมปฏิสังขรณ 2 ธ.ค. 2542 เมื่อสอบถามตาขุนไดความวา “รูปแบบองคประกอบ
ทุกอยางของเจดียย งั เปนการบูรณะตามสภาพเดิมของเกาตัง้ แตสมัยสราง”17 รูปแบบเจดียว ดั สระน้าํ ขาว
ปจจุบันอาจกลาวไดวาไมมีการเปลี่ยนแปลงมากคงบูรณะเสริมความแข็งแรงและทาสีในสวนตางๆ
ของเจดียใหม
ลักษณะทั่วไป
เจดียวัดสระน้ําขาว เปนเจดียทรงระฆังปอมขนาดสูงประมาณ 21 เมตร รูปทรงปจจุบัน
ผานการบูรณปฏิสังขรณ พ.ศ. 2542 ตามสภาพเดิม
สวนฐาน เปนฐานเขียง 1 ฐานในผังกลม ถัดขึน้ ไปเปนฐานบัว ( ? ) ยืดสูงบริเวณทองไม
ทําเปนซุมจระนําภายในมีชางปูนปนรวม 8 ซุม ระหวางซุมปนรูปชางปูนปนนูนสูง 8 ตัว รวมชาง
ปูนปน 16 ตัว
สวนกลาง กอนถึงทรงระฆังปอมเปนฐานบัวหรือฐานบัวลูกแกว ( ? ) 2 ฐานตอดวย
บัวปากระฆังรองรับทรงระฆัง18
สวนยอด เหนือทรงระฆังเปนบัลลังกสี่เหลี่ยม 2 ชั้น คลายกับระเบียงแตละมุมของ
บัลลังกกม็ รี ปู เทวดานัง่ พนมมือ บัลลังกชนั้ ที่ 2 นอกจากมีเทวดาทีป่ รากฏเดนคือ รูปปูนปน พระสงฆ

17
สัมภาษณ คุณขุน สิทธิจําเริญคุณ, คุณตาผูวิจัย, 12 เมษายน 2545.
18
รูปแบบฐานอาจระบุไมไดชัดเจนนักเนื่องจากเปนงานชางทองถิ่น แตถายอนกลับไปพิจารณาระเบียบของ
ฐานเจดียพระบรมธาตุเจดีย วัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร อําเภอเมือง นครศรีธรรมราชก็อาจพอพิจารณาได
50

สาวกพนมมืออยูสี่มุมบัลลังก แสดงลักษณะเดินเวียนประทักษิณรอบเสาหานรองรับปทมบาท ตอ


ดวยยอดปลองไฉน และบัวหงายตอเนื่องขึ้นไปคือพรหมสี่หนา ปลีและวัชระ ( ? ) (ภาพที่ 43)

ภาพที่ 43 เจดียวัดสระน้ําขาว ตําบลบานใหม อําเภอปากพนัง นครศรีธรรมราช

ลักษณะที่หยิมยืมมาจากพระบรมธาตุเจดีย นครศรีธรรมราช
เจดียท เี่ ปนตนแบบของเจดียว ดั สระน้าํ ขาว คือ พระบรมธาตุเจดีย นครศรีธรรมราช
พิจารณาจากการสรางเจดียวัดสระน้ําขาวมีลักษณะการทํารูปทรงเปนทรงระฆังปอมขนาดใหญ
รวมถึงการหยิบยืมผสมผสานรูปแบบฐานรองรับทรงระฆังรอบลานประทักษิณ (ภาพที่ 44) และ
ซุมจระนําประดิษฐานรูปชางที่ฐานชั้นลางภายในระเบียงรอบพระบรมธาตุเจดีย (ภาพที่ 45) นํามา
ประยุกตออกแบบเปนสวนฐานเจดียวัดสระน้ําขาว (ภาพที่ 46)
51

ภาพที่ 44 ชุดฐานบัวลูกแกว 3 ฐาน รองรับทรงระฆัง ภาพที่ 45 ซุมจระนําประดิษฐานรูปชาง รอบฐานชั้นลาง


พระบรมธาตุเจดีย นครศรีธรรมราช ศิลปะภาคใต พระบรมธาตุเจดีย นครศรีธรรมราช ศิลปะภาคใต

ภาพที่ 46 สวนฐานเจดียวัดสระน้ําขาว อําเภอปากพนัง นครศรีธรรมราช


52

ลักษณะที่เพิ่มเติมผสมผสาน
พระบรมธาตุเจดียนครศรีธรรมราชมีขนาดใหญและระเบียบของการออกแบบมีลักษณะ
เฉพาะ อาทิ การทําเจดียจําลองประจํามุมบนลานประทักษิณ หรือการมีระเบียงรอบฐานชั้นลาง
ของเจดีย ดังนั้นเจดียวัดสระน้ําขาวซึ่งมีขนาดเล็กจึงเพิ่มเติมรูปแบบลักษณะใหมที่ยังสะทอนให
เห็นถึงลักษณะเฉพาะของพระบรมธาตุเจดีย คือ การทําเปนกําแพงลอมรอบพื้นที่ประดิษฐานเจดีย
ซึ่งปจจุบันคงเหลือเพียงบางสวนของกําแพงที่ยังติดกับซุมประตูทางเขาทางทิศตะวันออกที่ตอยื่น
เปนหลังคามาถึงองคเจดีย บริเวณติดกับฐานองคเจดียทําเปนฐานชุกชีประดิษฐานพระพุทธรูป และ
บริเวณมุมของแนวกําแพงที่พังทลายไปก็ยังคงมีเจดียจําลองตั้งอยูประจํามุม (ภาพที่ 47) ทั้งหมด
บางสวนผานการบูรณปฏิสังขรณ พ.ศ. 2542 อนึ่ง กําแพงที่ยังเหลืออยูนาสนใจในแนวคิดการ
ออกแบบ คือ การทําผนังกําแพงเปนชองสามเหลี่ยมไวประดิษฐานพระพุทธรูปเรียกเปนภาษาใตวา
พระดาน คือทุกๆ ดานมีพระพุทธรูปตั้งอยู ซึ่งหลังวาตภัยแหลมตะลุมพุกก็พังและสูญหายไป
เกือบหมด19 (ภาพที่ 48)
ลักษณะที่เพิ่มเติมผสมผสานออกแบบใหมที่พิเศษของเจดียวัดสระน้ําขาวอีกประเด็น
หนึ่งคือ การออกแบบบัลลังกตลอดขึ้นไปถึงสวนยอดของเจดีย (ภาพที่ 49) ซึ่งสะทอนรูปแบบ
ใหมๆ และแนวคิดความสมจริงมากขึ้นนั้นคือการทํารูปปูนปนพระสงฆพนมมือแสดงความเคารพ
โดยเดินเวียนประทักษิณ (ภาพที่ 50) ถาการบูรณะมิไดเพิ่มเติมหรือเปลี่ยนแปลงดังขอมูลที่กลาวไป

ภาพที่ 47 แนวกําแพงที่ติดกับซุมที่ตอยื่นเปนหลังคา และเจดียมุมวัดสระน้ําขาว

19
สัมภาษณ คุณขุน สิทธิจําเริญคุณ, คุณตาผูวิจัย, 12 เมษายน 2545.
53

ภาพที่ 48 พระดาน ประดิษฐานภายในผนังกําแพงที่เหลืออยูรอบเจดียวัดสระน้ําขาว

แลวยอมสะทอนแนวคิดการออกแบบที่สมจริงอยางนาสนใจ อนึ่ง การบูรณะรูปพระสงฆพนมมือ


พิจารณาโดยใกลชว ยใหตงั้ ขอสังเกตวาอาจเปนรูปปน ภิกษุณี มาจากขอมูลทีค่ ณะผูท าํ การปฏิสงั ขรณ
เปนคณะแมชี และในอดีตผูสรางเจดียวัด สระน้ําขาว แมหนูพิน ก็เปนผูห ญิง ที่มีศ รัท ธาใน
พระพุทธศาสนาอันเปนขอสังเกตเทานั้น

ภาพที่ 49 สวนยอดเจดียวัดสระน้ําขาว อําเภอปากพนัง นครศรีธรรมราช


54

ภาพที่ 50 รายละเอียดรูปปูนปนพระสงฆสาวกพนมมือบนบัลลังกของสวนยอดเจดียวัดสระน้ําขาว

พระธาตุนอย วัดจันดี ตําบลชางกลาง อําเภอฉวาง นครศรีธรรมราช


พระธาตุนอย หรือเจดียพอทานคลาย เปนเจดียทรงระฆังขนาดใหญที่สรางขึ้นโดยดําริ
ของ พระครูพิศิษฐอรรถการ หรือหลวงพอทานคลาย จันทสุวัณโณ อดีตเจาอาวาสวัดสวนขัน
ตําบลละอาย อําเภอฉวาง นครศรีธรรมราช พระภิกษุสงฆอีกทานหนึ่งที่เปนที่เลื่อมใสศรัทธามาก
ของประชาชนชาวภาคใต โดยเจดียสรางขึ้นในที่ดินแปลงที่ ผูใหญกลับ งามพรอม อดีตผูใหญ
บานหมูที่ 9 ตําบลชางกลาง อําเภอฉวาง ไดถวายหลวงพอมีเนื้อที่ 40 ไร ที่ดินแปลงนี้ตั้งอยูใกล
กับสถานีรถไฟคลองจันดี และวัดจันดี เริ่มการกอสรางวางศิลาฤกษเจดียเมื่อ 14 มกราคม 2505
เพื่อจะบรรจุพระธาตุ ที่นายประคอง ชวยพันธ ถวายจากกวานพะเยา เชียงราย
เจดียอ งคนสี้ รางจําลองแบบพระบรมธาตุเจดีย วัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร อําเภอเมือง
นครศรีธรรมราช เจดียจะมองเห็นเดนอยูแตไกล ถานั่งรถไฟสายใตเขาสูกรุงเทพฯ กอนที่ขบวน
รถไฟจะถึงสถานีคลองจันดี จะมองเห็นเจดียเ ดนอยูท างซายมือ เพราะเหตุทจี่ าํ ลองมาจากพระบรม-
ธาตุเจดีย จึงมีอักษรเขียนไวที่ประตูเขาสูบริเวณเจดียวา “พระธาตุนอยหลวงพอคลาย” แตชาวบาน
มักจะเรียกวา “พระธาตุนอยหรือเจดียพอทานคลาย” พ.ศ. 2513 หลวงพอทานคลาย มรณภาพ
เสียกอนที่การกอสรางพระธาตุนอยจะแลวเสร็จเรียบรอย20 ยังคงเหลือการตกแตงองคเจดียบางสวน

20
ประวัติหลวงพอทานคลาย และประวัติการสรางเจดียดูใน พระราชวราภรณ, ประวัติทานพระครูพิศิษฐ-
อรรถการ (พอทานคลาย จันทสุวัณโณ วัดจันดี) อดีตเจาอาวาสวัดสวนขัน (กรุงเทพฯ : โรงพิมพองคการสงเคราะห
ทหารผานศึก, 2521). หลวงพอทานคลาย มรณภาพวันที่ 5 ธันวาคม 2513 ศิริอายุได 96 ป พรรษา 75
55

การสรางเจดียอาจระบุวาเสร็จสมบูรณในป พ.ศ. 2544 โดย พระพิพัฒนกิจจาภรณ เจาอาวาสวัด-


จันดี เปนผูดําเนินการกอสรางตอที่สําคัญคือ การสรางเจดียจําลองประจํามุมที่บริเวณฐานลางของ
พระธาตุนอยมุมละ 3 องค รวมทั้งสิ้น 12 องค ซึ่งเปนการสรางเพิ่มเติมในป พ.ศ. 2538 เสร็จ
เรียบรอย พ.ศ. 2544 (ภาพที่ 51)
พระธาตุนอ ยปจจุบนั ตัง้ ประดิษฐานในการดูแลของวัดจันดี หรือเรียกอีกชือ่ วา วัดธาตุนอ ย
อนึ่ง ในอดีตมีผูเรียนถามหลวงพอวาเมื่อทานสรางเจดียแลวจะใหขึ้นตรงตอวัดไหน ทานหัวเราะ
แลวพูดวา “เจตนาของทานจะใหขนึ้ ตรงตอวัดในอําเภอฉวาง หรือของพุทธศาสนิกชนชาวใตทงั้ หมด
วัดไหนพุทธศาสนิกชนคณะใด มีศรัทธาปสาทะชวยกันเสริมสรางใหแลวเสร็จ หรือชวยกันบูรณ-
ปฏิสังขรณใหสถิตสถาพรอยูมั่นคงตลอดไป ทานยินดีอนุโมทนาสาธุการทั้งนั้น”21

ภาพที่ 51 พระธาตุนอย วัดจันดี ตําบลชางกลาง อําเภอฉวาง นครศรีธรรมราช

ลักษณะทั่วไป
พระธาตุนอ ย มีลกั ษณะเปนเจดียท รงระฆังปอมตัง้ บนฐานทีเ่ ปนอาคารมีพนื้ ทีโ่ ลงภายใน
อาคารเปนรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส กวางดานละ 27 เมตร ความสูงจากฐานลางถึงยอดเจดียประมาณ 50
เมตร

21
เรื่องเดียวกัน, 27-28.
56

สวนฐาน มี 3 ชั้น คือ ชั้นที่ 1 และ 2 เปนฐานสี่เหลี่ยมจัตุรัส ซึ่งอาจเรียกไดวาเปน


อาคารมี 3 ชั้น มีบันไดทางขึ้นชั้น 2 ทุกดาน ชั้นที่ 1 ตรงกลางดานทุกดานทําเปนคูหาประดิษฐาน
พระพุทธรูป สวนชั้นที่ 2 สรางเปนอาคารภายในมีพื้นที่โลง มีระเบียงเดินไดรอบอาคารชั้นที่ 2
ภายในอาคารประดิษฐานพระพุทธรูปและพื้นที่ตรงกลางกอเปนผนังในผังกลมเพื่อรองรับองคเจดีย
ดานบน ซึ่งในผนังทําเปนคูหาประดิษฐานหุนขี้ผึ้งพอทานคลาย สวนทางขึ้นชั้นที่ 3 สูองคเจดียมี
เพียงบันไดทางขึ้นดานทิศตะวันออก ชั้นที่ 3 เปนลานประทักษิณรอบองคเจดียทรงระฆังโดยฐาน
ชั้นที่ 3 เปนฐานบัวแปดเหลี่ยม อนึ่ง แตละมุมของอาคารชั้นที่ 1 ที่สรางเปนเจดียจําลองมุมละ 3
องค เจดียจําลองทั้งหมดตั้งบนฐานบัว 2 ชั้น
สวนกลาง กอนถึงทรงระฆังเปนฐานบัวแปดเหลีย่ ม ถัดขึน้ ไปเปนฐานบัวคว่าํ ในผังกลม
รองรับทรงระฆัง องคเจดียเปนคูหาวางโลงสูงขึ้นไปตามรูปทรงขององคระฆัง มีซุมประตูทางเขา
ดานทิศตะวันออกและตะวันตก ภายในคูหาประดิษฐานพระธาตุและบรรจุรางหลวงพอทานคลาย
ภายในโลงแกว
สวนยอด เหนือองคระฆังเปนบัลลังกแปดเหลี่ยม ตอดวยเสาหานมีรูปปูนปนพระสงฆ
พนมมือติดที่เสาที่ตั้งเรียงบนบัลลังกรองรับปลองไฉน ตอเนื่องขึ้นไปคือปทมบาท และปลี
ลักษณะที่หยิบยืมมาจากพระบรมธาตุเจดีย นครศรีธรรมราช
ลักษณะที่เดนชัดที่หยิบยืมมาจากเจดียตนแบบพระบรมธาตุเจดีย นครศรีธรรมราช นา
จะระบุไดวามีเพียงประเด็นเดียวและเปนลักษณะสําคัญคือ การสรางเจดียมีลักษณะทรงระฆังปอม
ขนาดใหญ (ภาพที่ 52) สวนองคประกอบเจดียอ นื่ ๆ มีการเพิม่ เติมผสมผสานอยูม ากดังจะกลาวตอไป

ภาพที่ 52 ลักษณะทรงระฆังปอมขนาดใหญของพระธาตุนอย
57

ลักษณะที่เพิ่มเติมผสมผสาน
พระธาตุนอ ย หรือเจดียพ อ ทานคลายมีลกั ษณะทีเ่ พิม่ เติมผสมผสานอยางสําคัญ คือ การ
เพิม่ ประโยชนใชสอยของเจดียโ ดยการทําฐานสูงรองรับองคเจดียเ ปนลักษณะของอาคารรูปสีเ่ หลีย่ ม-
จัตุรัส อนึ่ง การสรางเจดียประจํามุมที่ฐานมุมละ 3 องค (ภาพที่ 53) ในภายหลังก็เปนการเพิ่มเติม
องคประกอบใหมทลี่ งตัว การทําอาคารชัน้ ที่ 2 ใหพนื้ ทีภ่ ายในโลงก็เพือ่ ประโยชนในการทํากิจกรรม
ทางพุทธศาสนา และยังประดิษฐานพระพุทธรูปและรูปหุน ขีผ้ งึ้ พอทานคลาย (ภาพที่ 54) สวนระเบียง
ทางเดินโดยรอบชั้นที่ 2 ผนังอาคารระหวางชองหนาตางมีการวาดภาพจิตรกรรมเรื่องทศชาติชาดก
(ภาพที่ 55) โดยรอบ

ภาพที่ 53 ฐานอาคารรองรับเจดียทรงระฆัง และเจดียจําลองประจํามุม พระธาตุนอย

ภาพที่ 54 บริเวณสวนภายในชั้นที่ 2 ที่ประดิษฐานพระพุทธรูป และหุนขี้ผึ้งพอทานคลาย


58

ภาพที่ 55 ภาพจิตรกรรมทศชาติชาดกรอบระเบียงทางเดินชั้นที่ 2

สวนชั้นที่ 3 เปนลานประทักษิณรอบองคเจดีย ลักษณะที่เพิ่มเติมเปลี่ยนแปลง คือ การ


ทําฐานรองรับทรงระฆังเปนฐานบัวแปดเหลี่ยมและมีประตูเขาไปสูภายในคูหาของเจดีย (ภาพที่ 56)
ซึ่งสวนของบัลลังกรองรับสวนยอดก็ทําเปนบัลลังกแปดเหลี่ยมเปลี่ยนแปลงจากบัลลังกเหลี่ยมของ
เจดียตนแบบพระบรมธาตุเจดีย นครศรีธรรมราช ภายในคูหาที่วางโลงสูงขึ้นไปตามองคระฆังนั้น
สะทอนการสรางเพื่อประโยชนใชสอย ซึ่งในปจจุบันไดประดิษฐานพระธาตุภายในบุษบก และ
บรรจุรางหลวงพอทานคลายภายในโลงแกว (ภาพที่ 57) ศพหลวงพอทานคลายถึงปจจุบันยังไมได
มีผใู ดริเริม่ การขอพระราชทานเพลิงศพ มีประชาชนผูเ คารพนับถือศรัทธายังคงไปสักการบูชามิไดขาด

ภาพที่ 56 ฐานบัวแปดเหลี่ยมรองรับทรงระฆัง พระธาตุนอย ภาพที่ 57 ภายในคูหาองคระฆัง พระธาตุนอย


59

เจดียวัดเขาสุวรรณประดิษฐ บานหาดวังหิน อําเภอดอนสัก สุราษฎรธานี


วัดเขาสุวรรณประดิษฐ เปนวัดที่พระครูกิตติมงคลพิพัฒนประดิษฐ หรือหลวงพอจอย
พระภิกษุสงฆชื่อดังของภาคใตเปนผูบุกเบิกสราง โดยหลวงพอจอยไดสรางเจดียไวบนยอดเขาลาน
เพือ่ ประดิษฐานพระบรมสารีรกิ ธาตุ ทีค่ ณุ เปรมฤดี แยมบุตร ไปติดตอขออัญเชิญพระบรมสารีรกิ ธาตุ
มาจากวัดเกียรติ อําเภอฮอด เชียงใหม22 เจดียส รางบนยอดเขาลานมีทางราดยางขึ้นไปถึง จาก
ปายจารึกระบุวาเจดียเริ่มดําเนินการกอสรางเมื่อเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2525 แลวเสร็จและบรรจุ
พระบรมสารีริกธาตุในองคเจดีย 20 เมษายน 2528 ซึ่งใชเวลาสราง 3 ป บริเวณรอบองคเจดียบน
ยอดเขาลานมีความรมรื่น และยังเปนจุดชมทิวทัศนของทะเลบริเวณอาวบานดอนที่สวยงาม
พระครูกิตติมงคลพิพัฒนประดิษฐทานเปนพระสงฆนักปฏิบัติกรรมฐานอยางเครงครัด
ควบคูก บั การเปนพระนักพัฒนานําความเจริญใหกบั ทองถิน่ เปนทีเ่ คารพศรัทธาของชาวภาคใต อนึง่
ทานไดมรณภาพเมื่อ 15 กุมภาพันธ 253623 แตเจดียบรรจุพระบรมสารีริกธาตุที่ทานไดสรางไวยัง
คงเปนเจดียสรางใหมสําคัญองคหนึ่งของภาคใต
ลักษณะทั่วไป
เจดียว ดั เขาสุวรรณประดิษฐ ทําเลทีต่ งั้ อยูบ นยอดเขาลานริมทะเลทําใหองคเจดียเ ดนสงา
เจดียท รงระฆังองคนตี้ ามรูปทรงนาจะไดรบั แรงบันดาลใจจาก พระบรมธาตุเจดีย นครศรีธรรมราช
โดยองคเจดียตั้งอยูบนฐานที่เปนอาคารวิหารจัตุรมุขที่กวางยาวดานละ 28 เมตร มีความสูงจากฐาน
ถึงยอด 45 เมตร (ภาพที่ 58)
สวนฐาน มี 2 ชั้น คือชั้นที่ 1 เปนฐานที่อาจเรียกวาวิหารจัตุรมุข โดยพื้นที่สวนภายใน
วิหารเปนที่ประดิษฐานพระบรมสารีริกธาตุ สวนฐานชั้นที่ 2 เปนฐานบัวสี่เหลี่ยมจัตุรัสตั้งบน
หลังคาวิหาร ถัดขึ้นไปเปนฐานสิงหเพิ่มมุมสิบสอง
สวนกลาง ถัดจากฐานสิงหเพิ่มมุมสิบสองเปนบัวปากระฆังที่รองรับทรงระฆังปอม
สวนยอด เหนือทรงระฆังเปนบัลลังกสี่เหลี่ยม ตอเนื่องขึ้นไปเปนเสาหานตั้งเรียงบน
บัลลังกรองรับปลองไฉน ตอดวยปทมบาท และปลี
ลักษณะที่หยิบยืมมาจากพระบรมธาตุเจดีย นครศรีธรรมราช
เจดียทรงระฆังปอมวัดเขาสุวรรณประดิษฐ ลักษณะของทรงระฆังตอเนื่องไปถึงสวน
ยอดเปนลักษณะของการไดรับแรงบันดาลใจและหยิบยืมมาจากรูปทรงของพระบรมธาตุเจดีย
นครศรีธรรมราช นํามาประยุกตออกแบบใหมตามความเหมาะสมกับยุคสมัย

22
ไพโรจน เสรีรัก ษ, พุทธศาสนคดี ไปไหวพระบรมสารีริก ธาตุทั่ว เมือ งไทย (กรุงเทพฯ : สํานักพิม พ
โอเดียนสโตร, 2537), 323.
23
เรื่องเดียวกัน.
60

ภาพที่ 58 เจดียวัดเขาสุวรรณประดิษฐ อําเภอดอนสัก สุราษฎรธานี

ลักษณะที่เพิ่มเติมผสมผสาน
เจดียวัดเขาสุวรรณประดิษฐเปนเจดียอีกองคหนึ่งที่มีลักษณะที่เพิ่มเติมเดนมากในดาน
ของประโยชนใชงานภายในเจดีย ซึ่งสวนฐานหรือเรียกวาวิหารจัตุรมุข (ภาพที่ 59) ภายในวิหาร
เปนพื้นที่โลงสามารถทํากิจกรรมทางพุทธศาสนา และสวนตรงกลางวิหารกอผนังเปนผังสี่เหลี่ยม-
จัตุรัสเปนคูหาภายในประดิษฐานพระบรมสารีริกธาตุ โดยผนังนี้ยังเปนสวนรับน้ําหนักเจดียเชน
เดียวกับเสาคอนกรีตจํานวน 101 ตนภายในวิหาร (ภาพที่ 60)
อีกประเด็นทีเ่ พิม่ เติมผสมผสานของเจดียอ งคนี้ คือ การทําฐานสิงหเพิม่ มุมสิบสองรองรับ
ทรงระฆัง (ภาพที่ 61) โดยลักษณะการออกแบบอาจเรียกเจดียอ งคนวี้ า เจดียว หิ าร อนึง่ การกอสราง
เจดียยงั แสดงถึงงานชางที่มีฝมือ
61

ภาพที่ 59 สวนฐานที่เปนวิหารจัตุรมุขรองรับเจดียวัดเขาสุวรรณประดิษฐ

ภาพที่ 60 ภายในสวนฐานเจดียวัดเขาสุวรรณประดิษฐ ที่ประดิษฐานพระบรมสารีริกธาตุ

ภาพที่ 61 ฐานสิงหเพิ่มมุมสิบสองรองรับทรงระฆังเจดียวัดเขาสุวรรณประดิษฐ
62

เจดียวัดเขาปูน ตําบลพรหมโลก อําเภอพรหมคีรี นครศรีธรรมราช


เจดียทรงระฆังองคนี้ตั้งประดิษฐานบนเขาปูน ซึ่งเปนเขาที่ตั้งอยูหลังวัดเขาปูน ปาย
ทางขึน้ ยอดเขาระบุชอื่ เจดียว า “พระธาตุชยั มณีศรีฆะโลก” เปนเจดียท รงระฆังปอมขนาดใหญสราง
ขึ้นโดยแนวคิดของ พระครูสมุหแกว หรือหลวงพอทานแกว บุญญภาโค รองเจาอาวาสวัดเขาปูน
เริ่มสรางเมื่อ 9 สิงหาคม 2529 มาเสร็จสมบูรณ พ.ศ. 2532 ใชเวลาสราง 3 ป เจดียองคนี้มีคูหา
ภายในซึง่ มีภาพจิตรกรรมฝาผนังประวัตพิ อ ทานแกว ผูส รางเจดียเ ขียนขอความวา “พอทานนัง่ สมาธิ
สนทนากับคนลับแลและคนธรรพเรื่องการกอสรางพระธาตุบนภูเขาแลวไดนิมิตภาพแปลนลอย
มา พอทานไดสนทนาเรื่องการสรางพระธาตุใหญาติโยมฟง มีผูคนจากทุกสารทิศมาถวายปจจัยใน
การสราง” อนึ่ง บนยอดเขาปูนยังเปนที่ประดิษฐานพระบรมรูปพระเจาตากสิน และพระบรมรูป
พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว ใหประชาชนไดสักการบูชา
ลักษณะทั่วไป
เจดียวัดเขาปูน หรือพระธาตุชัยมณีศรีฆะโลก สรางบนยอดเขาปูนที่อยูหลังวัดเขาปูน
เจดียท รงระฆังปอมขนาดใหญนท้ี รงระฆังประดับดวยกระเบือ้ งหินออน ความสูงจากฐานถึงยอดเจดีย
ประมาณ 21 เมตร บนยอดเขาปูนมีลานกวางรอบเจดียป พู นื้ ดวยกระเบือ้ งหินออนโดยทัว่ (ภาพที่ 62)

ภาพที่ 62 เจดียวัดเขาปูน ตําบลพรหมโลก อําเภอพรหมคีรี นครศรีธรรมราช


63

สวนฐาน เปนฐานเขียงในผังกลมเตี้ยๆ 2 ฐานรองรับทรงระฆัง


สวนกลาง ทรงระฆังปอมขนาดใหญมีซุมประตูทางเขาคูหาทางทิศตะวันออกภายใน
เปนพื้นที่วางโลงขึ้นไปตามรูปทรงระฆัง (ภาพที่ 63) คูหาเจดียประดิษฐานพระพุทธรูป และมีการ
เขียนภาพจิตรกรรมฝาผนังประวัติผูสรางเจดีย
สวนยอด เหนือทรงระฆังออกแบบเปนรั้วเตี้ยๆ ในผังหาเหลี่ยมลอมกานฉัตรที่
ประดิษฐานพระพุทธรูปโดยรอบ และมีเสาหานที่ตั้งรองรับสวนยอดเปนหลังคาหาเหลี่ยม ถัดขึ้น
ไปเปนปูนปนกลีบบัว ปลองไฉน และปลีที่ทําเปนกลีบบัวคว่ํา บัวหงาย ตอดวยฉัตร (ภาพที่ 64)
ลักษณะที่หยิบยืมมาจากพระบรมธาตุเจดีย นครศรีธรรมราช
ภาพแปลนที่หลวงพอแกว ไดนิมิตลอยมาคงไดแรงบันดาลใจจากขนาดทรงระฆังปอม
ใหญของเจดียตนแบบ พระบรมธาตุเจดีย นครศรีธรรมราช มาผสมผสานออกแบบสรางขึ้นใหม
นาจะเปนประเด็นเดียวและเปนลักษณะสําคัญที่หยิบยืมมาจากเจดียตนแบบดังกลาวมา

ภาพที่ 63 ซุมประตูทางเขาคูหาเจดีย และสวนฐานเจดียวัดเขาปูน


64

ภาพที่ 64 สวนยอดเจดียวัดเขาปูน

ลักษณะที่เพิ่มเติมผสมผสาน
เจดียว ดั เขาปูน มีลกั ษณะทีเ่ พิม่ เติมผสมผสาน คือ วัสดุทใี่ ชประดับตกแตงทรงระฆังทีเ่ ปน
กระเบื้องหินออนสะทอนความนิยมของยุคสมัย และการออกแบบที่เพิ่มสวนพื้นที่ภายในคูหาเจดีย
เพื่อประโยชนในการทํากิจกรรมทางพุทธศาสนา นอกจากจะประดิษฐานพระพุทธรูปแลวภายใน
คูหาที่สูงโลงยังทําเปนชั้นลอยมีบันไดขึ้นไปเปนหอง ซึ่งนาจะเปนที่พกั พระภิกษุสงฆ อนึ่งการ
ออกแบบสวนยอดเจดียในลักษณะเปนรั้วเตี้ยๆ ในผังหาเหลี่ยมลอมกานฉัตรโดยรอบ อาจพิจารณา
ถึงการเพิ่มเติมในลักษณะหยิบยืมมาจากรูปแบบรั้วเตี้ยๆ ลอมฉัตรที่ปรากฏอยูในเจดียแบบดั้งเดิม
ระยะแรกของอินเดีย เชน มหาสถูปที่สาญจี ซึ่งสะทอนถึงการผสมผสานตามแนวคิดผูสรางเจดีย
อันมิไดเกิดจากวิวัฒนาการดานงานชาง
65

พระมหาธาตุเจดียพุทธธรรมบันลือ วัดราษฎรอุปถัมภ ตําบลบางเหรียง อําเภอทับปุด พังงา


วัดราษฎรอุปถัมภ หรือชื่อที่ชาวบานเรียกกันโดยทั่วไปวา วัดบางเหรียง เปนวัดที่ตั้ง
ประดิษฐาน “พระมหาธาตุเจดียพ ทุ ธธรรมบันลือ” นามพระราชทานจากพระบาทสมเด็จพระเจาอยูห วั
ภูมิพลอดุลยเดชไดทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ พระราชทานเมื่อ 24 ตุลาคม 2539 ในโอกาสฉลอง
สิริราชสมบัติครบ 50 ป พ.ศ. 2539
พระมหาธาตุเจดียพุทธธรรมบันลือ ดําเนินการกอสรางโดยพระครูพิศาล ปุรินทโก
เจาอาวาสวัดราษฎรอุปถัมภ ประดิษฐานอยูบนลานยอดเขาลาน ซึ่งเขาลานเปนเขาดินดานสูงจาก
พืน้ ราบประมาณ 150 เมตร เริม่ การกอสรางขึน้ ในขัน้ แรกเปนการทําถนนคอนกรีตเสริมเหล็กขึน้ เขา
และปรับพื้นบนยอดเขาเพื่อกอสรางเจดียเมื่อ พ.ศ. 2529 โดยสรางเปนเจดียทรงระฆังขนาดใหญ
เพื่อประดิษฐานพระบรมสารีริกธาตุที่หลวงพอไดมาจากการออกธุดงคไปทางภาคเหนือในเขต
อําเภอศรีสําโรง สุโขทัย ซึ่งเกิดจากนิมิตวามีคนมามอบใหทานนําไปเก็บรักษา ซึ่งหลวงพอก็พบ
พระบรมสารีริกธาตุในเนินดินดังภาพนิมิต เมื่อหลวงพอไดมาเปนเจาอาวาสวัดราษฎรอุปถัมภ
ทานไดเกิดนิมติ ขึน้ อีกครัง้ ในนิมติ ทานเห็นถนนขึน้ ไปสูย อดเขาลาน หางจากวัดไปทางทิศตะวันออก
ประมาณ 1 กิโลเมตร บนยอดเขาปรากฏมีองคเจดียอ นั วิจติ รองคใหญ ทําใหหลวงพอคิดวาพระบรม-
สารีริกธาตุที่ทานอัญเชิญมาจากเมืองเกาโบราณ ที่อําเภอศรีสําโรง สุโขทัย แตครั้งนั้นไดแสดง
ปาฏิหารยประสงคบอกใหทานทราบ เพื่อทําการสรางพระเจดียบนยอดเขาลานแหงนี24้ ชื่อเจดีย
กอนจะไดรับพระราชทานนาม จึงเรียกกันวา “พระธาตุเจดียนิมิต”
หลังจากตัดถนนขึ้นเขาลานเรียบรอยแลวจึงดําเนินการกอสรางเจดียในป พ.ศ. 2531
เสร็จเรียบรอย พ.ศ. 2539 ใชเวลากอสราง 8 ป สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาสยามบรมราชกุมารี
เสด็จฯ เปนองคประธานประกอบพิธีบรรจุพระบรมสารีริกธาตุ เมื่อวันที่ 25 เมษายน 2543
ลักษณะทั่วไป
พระมหาธาตุเจดียพ ทุ ธธรรมบันลือ ทําเลทีต่ งั้ อยูบ นยอดเขาลานทีต่ งั้ แตเชิงเขาขึน้ ไปเปน
สวนยางพาราของชาวบานสลับกับปาไมธรรมชาตินานาพันธุ ทําใหองคเจดียสูงเดนในหมูแมกไม
มีระเบียงคดผังรูปแปดเหลี่ยมรอบเจดีย ความสูงจากฐานถึงยอดเจดียประมาณ 60 เมตร (ภาพที่ 65)
สวนฐาน มี 2 ชั้น คือชั้นที่ 1 เปนฐานบัว 1 ฐานประดับปูนปนรูปยักษแบกในผังแปด
เหลี่ยม รองรับอาคารทรงแปดเหลี่ยมภายในเปนคูหาโลง โดยมีซุมประตูทางเขาทางทิศตะวันออก
แตละดานมีชองหนาตางรอบอาคารมีรูปปูนปนครุฑโดยรอบ มุมทั้ง 8 มุมของอาคารไดกอปูนปน
รูปสิงหยนื ติดกัน 3 ตัว เหนือหลังสิงหเปนชาง 3 เศียร ฐานชัน้ ที่ 1 มีลานประทักษิณและระเบียงคด

24
ประวัติพระครูพิศาล ปุรินทโก และประวัติการสรางเจดียดูใน เรื่องเดียวกัน, 353-360.
66

รูปแปดเหลี่ยมประดิษฐานพระพุทธรูปโดยรอบ (ภาพที่ 66) ภายในคูหาผนังโดยรอบวาดภาพ


จิตรกรรมฝาผนังพุทธประวัติตรงกลางกอเปนผนังแปดเหลี่ยมมีคูหาสําหรับประดิษฐานพระบรม-
สารีริกธาตุบรรจุไวภายในบุษบก ฐานชั้นที่ 2 มีบันไดทางขึ้นไปยังลานประทักษิณรอบองคเจดีย
ทางทิศเหนือ ลานประทักษิณ เปนผังแปดเหลี่ยมเชนเดียวกับฐานอาคารชั้นที่ 1 โดยที่มุมทั้งแปด
ไดสรางเจดียจําลองในฐานบัวแปดเหลี่ยม ฐานชั้นที่ 2 เปนฐานบัวแปดเหลี่ยมรองรับทรงระฆัง
สวนกลาง ถัดจากฐานบัวแปดเหลี่ยมรองรับทรงระฆังปอมขนาดใหญเปนบัวปากระฆัง
โดยรอบทรงระฆังกอเปนซุมประดิษฐานพระพุทธรูปปางสมาธิทั้งหมด 68 องค และกอเปนพระ-
พุทธรูปยืนปางตางๆ ภายในซุม พญานาค 3 เศียรใตฐานซุม เปนยักษแบกและครุฑแบกประจําทัง้ 4 ทิศ
สวนยอด เหนือทรงระฆังเปนบัลลังกสี่เหลี่ยม ตอเนื่องขึ้นไปเปนเสาหานมีรูปปูนปน
พระสงฆสาวกพนมมือติดที่เสาที่ตั้งเรียงบนบัลลังกรองรับปลองไฉน ตอดวยปทมบาท และปลี
(ภาพที่ 67)

ภาพที่ 65 พระมหาธาตุเจดียพุทธธรรมบันลือ วัดราษฎรอุปถัมภ ตําบลบางเหรียง อําเภอทับปุด พังงา


67

ภาพที่ 66 ระเบียงคด และการตกแตงฐาน ภาพที่ 67 เจดียจําลอง ทรงระฆังและสวนยอด


พระมหาธาตุเจดียพุทธธรรมบันลือ พระมหาธาตุเจดียพุทธธรรมบันลือ

ลักษณะที่หยิบยืมมาจากพระบรมธาตุเจดีย นครศรีธรรมราช
พระมหาธาตุเจดียพุทธธรรมบันลือ สรางขึ้นโดยแนวคิดของพระครูพิศาล ปุรินทโก
ที่ นิ มิ ต เห็ น บอกให ช า งเขี ย นแบบแปลนไว มี ลั ก ษณะผสมระหว า งพระบรมธาตุ เ จดี ย
นครศรีธรรมราช กับเจดียท างภาคเหนือ ดวยเหตุทวี่ า พระบรมสารีรกิ ธาตุไดมาจาก อําเภอศรีสาํ โรง
สุโขทัย สวนตัวทานเปนคนใตและเคารพในพระบรมธาตุเจดีย นครศรีธรรมราชเปนที่สุด ซึ่ง
ทรงระฆังปอมขนาดใหญตอเนื่องเปนบัลลังกเหลี่ยมและสวนยอดก็เดนชัดในลักษณะที่หยิบยืมมา
สวนที่เพิ่มเติมผสมผสานจะกลาวในประเด็นตอไป
ลักษณะที่เพิ่มเติมผสมผสาน
การสรางพระมหาธาตุเจดียพุทธธรรมบันลือ นอกจากจะเดนสงาจากการตั้งบนยอดเขา
แลว องคประกอบการตกแตงที่เพิ่มเติมก็ทําใหเกิดลักษณะการออกแบบใหมดวย เชนการกอสราง
ระเบียงคดในผังรูปแปดเหลี่ยมลอมรอบเจดีย (ภาพที่ 68) ซึ่งเหนือฐานระเบียงผนังดานนอก
ประดับปูนปนแถวพระสงฆสาวกพนมมือสะทอนการเพิ่มเติมผสมผสานแนวคิดการประดับตกแตง
ที่ไดรับแรงบันดาลใจจากงานปูนปนประดับผนังฐานไพทีของเจดียประธานทรงยอดดอกบัวตูม วัด
พระศรีมหาธาตุ สุโขทัย (ภาพที่ 69) เปนสวนหนึ่งที่สังเกตไดวาเกี่ยวของกับงานประดับตกแตงที่
สอดคลองกับสถานที่ที่หลวงพอนิมิตพบพระบรมสารีริกธาตุ
68

ภาพที่ 68 รูปปูนปนพระสงฆสาวกพนมมือประดับระเบียงคด พระมหาธาตุเจดียพุทธธรรมบันลือ

ภาพที่ 69 รูปปูนปนพระสงฆสาวกพนมมือประดับฐานไพทีเจดียประธาน วัดพระศรีมหาธาตุ สุโขทัย

การออกแบบที่เพิ่มเติมผสมผสานอีกลักษณะหนึ่งที่อาจกลาวไดวาทําใหทรงระฆังปอม
ขนาดใหญดูเดนขึ้น คือ การมีซุมประดิษฐานพระพุทธรูปปางสมาธิเปนชั้นๆ รอบทรงระฆัง และ
การออกแบบซุมพญานาค 3 เศียรที่ประดิษฐานพระพุทธรูปยืนปางตางๆ โดยที่ฐานพระพุทธรูปมี
ยักษแบกและครุฑแบกประจําทั้ง 4 ทิศ (ภาพที่ 70) ลักษณะแบบนี้มีปรากฏอยูในการออกแบบเจดีย
ทรงระฆังสําริดจําลองในศิลปะอินเดียหลายองค อนึ่ง ประโยชนใชสอยภายในฐานเจดียก็เปนอีก
ลักษณะที่เพิ่มเติมเขาไป
69

ภาพที่ 70 การตกแตงซุมพระพุทธรูปรอบทรงระฆัง พระมหาธาตุเจดียพุทธธรรมบันลือ

เจดียสํานักวิปสสนาดอยเจดีย วัดทายาง อําเภอทุงใหญ นครศรีธรรมราช


เจดียทรงระฆังอยูบนยอดเขาหลังวัดทายาง เปนที่ตั้งของสํานักวิปสสนาดอยเจดีย ซึ่งมี
พระใบฏีกาพุม กตปุญโญ เปนเจาอาวาสสํานักฯ การสรางเจดียของหลวงตาเพื่อจะบรรจุพระธาตุ
ในองคระฆัง หลวงตาทานเลาวา “เจดียส ราง ป พ.ศ. 2532 ถึงปจจุบนั ป พ.ศ. 2545 เจดียย งั ตกแตง
ไมเรียบรอยดี ปจจัยการกอสรางก็ไดมาจากลูกๆ หลานๆ”25 และหลวงตาทานบอกวาทําไมไหวแลว
ซึ่งทานก็อายุมากแลว อายุ 92 ป พรรษา 2026 แรงบันดาลใจในการสรางเจดียของหลวงตามาจาก
พระบรมธาตุเจดีย นครศรีธรรมราช สวนพระธาตุยังประดิษฐานในศาลา จะบรรจุในองคระฆัง
ภายหลัง
ลักษณะทั่วไป
เจดียสํานักวิปสสนาดอยเจดีย เปนเจดียทรงระฆังปอม มีการสรางองคเจดียบนฐานที่
เปนอาคาร ความสูงจากฐานถึงยอดประมาณ 22 เมตร (ภาพที่ 71)

25
สัมภาษณ พระใบฏีกาพุม กตปุญโญ, เจาอาวาสสํานักวิปสสนาดอยเจดีย, 11 เมษายน 2545.
26
ปจจัยสําคัญที่ผูวิจัยคิดวามีสวนทําใหการสรางเจดียใชเวลานานและยังไมเรียบรอย นาจะมาจากถนนทาง
ขึ้นสํานักฯ บนยอดเขายังไมสะดวกในการเดินทางมาทําบุญของพุทธศาสนิกชน
70

ภาพที่ 71 เจดียสํานักวิปสสนาดอยเจดีย วัดทายาง อําเภอทุงใหญ นครศรีธรรมราช

สวนฐาน มี 2 ชั้น คือ ชั้นที่ 1 เปนฐานที่เปนอาคารมีทางเขาทางทิศตะวันออก เหนือ


และใตภายในประดิษฐานพระพุทธรูป มีบันไดทางขึ้นชั้นที่ 2 จากภายในอาคารออกไปยังลาน
ประทักษิณรอบองคเจดีย โดยฐานชั้นที่ 2 เปนฐานบัว ( ? ) รูปแปดเหลี่ยมเพื่อรองรับเจดีย
สวนกลาง ลักษณะคลายมาลัยเถา 3 ชัน้ ยืดสูง โดยภายในกอใหโลงถึงทรงระฆัง ชองวาง
ระหวางมาลัยเถาเจาะเปนชองหนาตาง ถัดขึ้นไปเปนบัวปากระฆัง ( ? )
สวนยอด ถัดจากทรงระฆังที่ภายในโลงและมีบันไดเวียนขึ้นไปไดถึงภายในองคระฆัง
เปนกานฉัตรที่ไมมีบัลลังกรองรับ รอบกานฉัตรมีเสาหานและพระพุทธรูปลีลา เสาหานรองรับฝา
ละมีรูปแปดเหลี่ยมถัดขึ้นไปเปนปลีและลูกแกว บนสุดคือฉัตร
ลักษณะที่หยิบยืมมาจากพระบรมธาตุเจดีย นครศรีธรรมราช
ลักษณะที่หยิบยืมอาจกลาวไดวาเปนลักษณะของความเปนเจดียทรงระฆังของพระ-
บรมธาตุเจดีย นครศรีธรรมราช โดยหลวงตาไดออกแบบใหมตามแนวคิดของทาน ในลักษณะ
ทรงระฆังปอมที่เล็กลงตามขนาดฐานที่ยืดสูงขึ้น
71

ลักษณะที่เพิ่มเติมผสมผสาน
เปนอีกเจดียองคหนึ่งที่ลักษณะที่เพิ่มเติมผสมผสานนั้นพิจารณาจากประโยชนใชสอย
ไดของภายในองคเจดียเปนสําคัญ ซึ่งในสวนนี้ก็ทําใหรูปแบบทางงานชางของเจดียถูกเพิ่มเติม
เปลี่ยนแปลง เพื่อสอดคลองกับประโยชนใชสอยของเจดีย (ภาพที่ 72) ตามฝมือและรูปแบบของ
งานชางทองถิ่น

ภาพที่ 72 สวนยอดเจดียสํานักวิปสสนาดอยเจดีย มีบันไดเวียนขึ้นถึงภายในองคระฆัง

พระบรมธาตุเจดียเฉลิมพระเกียรติ วัดบานสวน ตําบลมะกอกเหนือ อําเภอควนขนุน พัทลุง


พระครูขันตยาภรณ เจาอาวาสวัดบานสวน ผูออกแบบและดําเนินการสรางเจดีย ทาน
เลาประวัติการสรางเจดียวา “เจดียวัดบานสวนไดดําเนินการกอสรางป พ.ศ. 2535 เพื่อจะบรรจุ
พระบรมธาตุที่พระครูพิพัฒนสิริธร หรือหลวงพอคง อดีตเจาอาวาสวัดบานสวนไดรับมาจากฑูต
ประเทศอินเดียถวายมาเมื่อครั้งทานเดินทางไปนมัสการสังเวชนียสถาน 4 ตําบล ณ ประเทศอินเดีย
และหลวงพอคงทานดําริ จะสรางเจดียไวที่วัดบานสวนเพื่อบรรจุพระบรมธาตุนี้ไวสักการะบูชาของ
สาธุชนทั้งใกลและไกล แตหลวงพอคงทานมรณภาพไปเสียกอนเมื่อ พ.ศ.2517” เมื่อพระครู-
ขันยาภรณไดเปนเจาอาวาสวัดบานสวน ทานก็ตั้งใจตลอดวาจะตองสรางเจดียเพื่อทดแทนคุณและ
72

สนองเจตนารมยของหลวงพอคงที่ทานไดปรารภไว จนเวลาลวงมาถึงป พ.ศ. 2535 จึงดําเนินการ


สรางเจดียดังกลาวมา “ในป พ.ศ. 2539 การกอสรางแลวเสร็จประมาณ 70% และปนี้เปนปที่เปน
มหามงคลที่พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวทรงครองสิริราชสมบัติครบ 50 ป ซึ่งเปนปกาญจนาภิเษก
ทางวัดบานสวนไดขออนุญาตจากสํานักราชเลขาธิการพระบรมมหาราชวังเพื่อเฉลิมพระเกียรติ
พระบาทสมเด็จพระเจาอยูห วั และไดรบั อนุญาตใหใชตราสัญลักษณงานฉลองสิรริ าชสมบัตคิ รบ 50 ป
ประดิษฐานทีซ่ มุ หนาพระธาตุเจดีย พรอมทัง้ ใหใชชอื่ เจดียว า พระบรมธาตุเจดียเ ฉลิมพระเกียรติ”27
ปจจุบัน (พ.ศ. 2545) การกอสรางเจดียเสร็จไปประมาณ 90% เหลือการตกแตงภายใน
บางสวน วันที่ 7 กรกฎาคม 2545 นายชวน หลีกภัย อดีตนายกรัฐมนตรี จะมาเปนประธานในพิธี
ยกฉัตรขึ้นพระบรมธาตุเจดียเฉลิมพระเกียรติ หลวงพอเจาอาวาสระบุวา “ไดรับแรงบันดาลใจใน
การออกแบบเจดียมาจาก พระบรมธาตุเจดีย นครศรีธรรมราช แลวไดมาจากตางประเทศเจดียที่
เปนชัน้ ๆ (เจดียแ บบจีนทีเ่ รียกวา ถะ : ผูว จิ ยั ) หลวงพอไดเดินทางไปจีนและญีป่ นุ จึงคิดนํามาประยุกต
ในการออกแบบ” พระธาตุเจดียนี้หลวงพอทานคุมงาน ออกแบบและลงมือสรางเอง อาทิการปน
และสลักลวดลาย การประดับกระเบื้อง ซึ่งการกอสรางเปนฝมือของชางทองถิ่น
ลักษณะทั่วไป
พระบรมธาตุเจดียเฉลิมพระเกียรติ เปนเจดียทรงระฆังประดับกระเบื้องเซรามิกส
ลักษณะฐานเปนอาคารชั้นซอนที่ความสูงจากฐานถึงยอดเจดียประมาณ 40 เมตร (ภาพที่ 73)
สวนฐาน เปนฐานที่สรางเปนอาคาร 4 ชั้น คือ ชั้นที่ 1 อาคารสี่เหลี่ยมผืนผาภายใน
พื้นที่โลงเปนกุฏิเจาอาวาส มีบันไดทางขึ้นชั้นที่ 2 ทางดานทิศเหนือและใต อาคารชั้นที่ 2 เปน
อาคารสี่เหลี่ยมจัตุรัส พื้นที่ภายในโลงมีประตูทางเขาภายในทางทิศตะวันออก เหนือ และใต ดาน
ทิศตะวันตกสรางเปนบันไดขึ้นอาคารชั้นที่ 3 และ 4 รอบอาคารชั้นที่ 2 เปนลานประทักษิณ
มุมอาคารกอรูปปูนปนชางหมอบชูดอกบัว (ภาพที่ 74) อาคารสี่เหลี่ยมจัตุรัสชั้นที่ 3 ประดิษฐาน
พระพุทธมหามงคลกาญจนาภิเษก ชั้นที่ 3 มีระเบียงโดยรอบ ประตูทางเขาทิศทางเดียวกับชั้นที่ 2
ชั้นที่ 4 เปนอาคารในผังกลมภายในจะประดิษฐานพระบรมธาตุ ผนังอาคารทําเปนชองเวา
ประดิษฐานพระพุทธรูปปางอุมบาตรโดยรอบอาคาร ชั้นที่ 4 มีระเบียงโดยรอบเชนกัน
สวนกลาง ถัดจากฐานที่เปนอาคาร 4 ชั้น ซอนลดหลั่นกันโดยอาคารชั้นที่ 4 เปน
ผังกลมเพื่อรองรับบัวปากระฆัง และทรงระฆังประดับกระเบื้อง
สวนยอด เหนือทรงระฆังเปนบัลลังกเหลี่ยม ตอดวยกานฉัตร ที่โดยรอบกานฉัตรทํา
เปนชองเวาประดิษฐานพระพุทธรูป ถัดขึ้นไปคือปทมบาท ปลองไฉน และปลี

27
สัมภาษณ พระครูขันตยาภรณ, เจาอาวาสวัดบานสวน, 22 มิถุนายน 2545.
73

ภาพที่ 73 พระบรมธาตุเจดียเฉลิมพระเกียรติ วัดบานสวน ตําบลมะกอกเหนือ อําเภอขวนขนุน พัทลุง

ภาพที่ 74 สวนฐานที่เปนอาคารชั้นที่ 2 และลานประทักษิณโดยรอบ


74

ลักษณะที่หยิบยืมมาจากพระบรมธาตุเจดีย นครศรีธรรมราช
เจดียท เี่ ปนตนแบบแรงบันดาลใจของพระบรมธาตุเจดียเ ฉลิมพระเกียรติ วัดบานสวน คือ
พระบรมธาตุเจดีย นครศรีธรรมราช แตการออกแบบเจดียข นึ้ ใหมตามแนวคิดของพระครูขนั ตยาภรณ
เจาอาวาสวัดบานสวน ทําใหมีลักษณะผสมผสานเพิ่มเติมมากกวาเจดียตนแบบ ดังจะกลาวตอไป

ลักษณะที่เพิ่มเติมผสมผสาน
ลักษณะที่เพิ่มเติมผสมผสานออกแบบใหมของพระบรมธาตุเจดียเฉลิมพระเกียรติ คือ
การออกแบบชั้นฐานเปนอาคารที่มีพื้นที่ภายในโลงใหเกิดประโยชนใชสอยไดภายใน โดยแตละ
ชั้นซอนลดหลั่นกัน (ภาพที่ 75) ซึ่งพระครูขันตยาภรณกลาววา “ตองการออกแบบใหเจดียเปน
ชั้นๆ เหมือนเจดียจีน ญี่ปุน และมีพื้นที่ใชงานไดภายในแตละชั้น ชั้นลางเมื่อกอนเปนกุฏิเกาของ
หลวงพอคง ก็รื้อปรับปรุงเปนฐานของเจดียและใหยังคงเปนกุฏิเจาอาวาสดวย”28 (ภาพที่ 76) ซึ่ง
สะทอนรูปแบบใหมๆ ที่เพิ่มเติมผสมผสานอยูมากกวาเจดียต น แบบตามแนวคิดทีค่ าํ นึงถึงประโยชน
ใชสอยของผูสรางเจดีย

ภาพที่ 75 สวนฐานพระบรมธาตุเจดียเฉลิมพระเกียรติ เปนอาคารชั้นซอน

28
สัมภาษณ พระครูขันตยาภรณ, เจาอาวาสวัดบานสวน, 22 มิถุนายน 2545.
75

ภาพที่ 76 ภายในสวนฐานพระบรมธาตุเจดียเฉลิมพระเกียรติ เปนกุฏิเจาอาวาส

พระบรมธาตุเจดีย นครศรีธรรมราช เปนเจดียตนแบบในศิลปะภาคใตหรือที่เรียกกัน


วาศิลปะศรีวิชัยอันเปนแรงบันดาลใจสําคัญในการหยิบยืมรูปแบบมาประยุกตออกแบบเจดียสราง
ขึ้นใหมในภาคใตบนความหลากหลายรูปแบบที่เพิ่มเติมผสมผสานอยูมาก และที่สําคัญพระบรม-
ธาตุเจดีย นครศรีธรรมราช เปนพื้นฐานของศูนยกลางทางความเชื่อและความศรัทธาของผูคนใน
ภาคใต จนกลายเปนเจดียเอกลักษณของทองถิ่นภาคใตในปจจุบัน
76

แรงบันดาลใจจากเจดียในศิลปะหริภุญไชย
เจดียในศิลปะหริภุญไชยเหลือหลักฐานนอยมากองคที่สําคัญคือ เจดียกูกุด (ภาพที่ 5)
(ภาพลายเสนที่ 5) จากการสํารวจภาคสนามพบวายังมีการยอนกลับไปหยิบยืมรูปแบบมาสรางเจดีย
สมัยใหมดว ย 1 องค ณ วัดสันติธรรม อําเภอเมือง เชียงใหม โดยมีแรงบันดาลใจรวมกับ เจดียเ หลีย่ ม
วัดเจดียเหลี่ยม ตําบลทุงวังตาล อําเภอสารภี เชียงใหม (ภาพที่ 77) (ภาพลายเสนที่ 6) รูปแบบ
เจดียเหลี่ยมคงถายแบบมาจากเจดียกูกุด วัดจามเทวี ลําพูน เชื่อกันตามตํานานวาสรางในสมัย
พระเจามังรายที่เวียงกุมกาม (อําเภอสารภี) กอนจะเสด็จไปสรางเมืองเชียงใหมราวตนพุทธศตวรรษ
ที่ 19 แตไดรับการปฏิสังขรณครั้งใหญเมื่อราว พ.ศ. 2451 โดยคหบดีชาวพมา29 และในป พ.ศ.
2538-2539 กรมศิลปากรดําเนินการบูรณะและอนุรักษอีกครั้ง

ภาพลายเสนที่ 5 เจดียกูกุด วัดจามเทวี อําเภอเมือง ลําพูน


ที่มา : รัฏฐา ฤทธิศร, “การศึกษาพัฒนาการของเจดียลานนา.” (วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต
สาขาวิชาประวัติศาสตรสถาปตยกรรม บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2541), 36.

29
สมหมาย เปรมจิต, กมล ศรีวชิ ยั นันท และสุรสิงหสาํ รวม ฉิมพะเนาว, พระเจดียใ นลานนาไทย (เชียงใหม :
สถาบันวิจัยสังคม มหาวิทยาลัยเชียงใหม, 2524), 70.
77

ภาพที่ 77 เจดียเหลี่ยม วัดเจดียเหลี่ยม ตําบลทุงวังตาล อําเภอสารภี เชียงใหม

ภาพลายเสนที่ 6 เจดียเหลี่ยม วัดเจดียเหลี่ยม ตําบลทุงวังตาล อําเภอสารภี เชียงใหม


ที่มา : รัฏฐา ฤทธิศร, “การศึกษาพัฒนาการของเจดียลานนา.” (วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต
สาขาวิชาประวัติศาสตรสถาปตยกรรม บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2541), 40.
78

สันติเจดีย วัดสันติธรรม ตําบลชางเผือก อําเภอเมือง เชียงใหม


สันติเจดีย สรางขึ้นโดย คุณนิ่มนวล สุภาวงศ ซึ่งเปนโยมอุปฏฐากวัดสันติธรรม เปน
ประธานจัดหาทุนสรางเจดีย โดยกอนจะสรางเจดีย แมคิ้ม (คุณนิ่มนวล) แมตอ ไดตะเวนดูเจดีย
ตามวัดตางๆ หลายวัดทั้งในจังหวัดเชียงใหมและลําพูน ประทับใจเจดียกูกุด หรือเจดียวัดจามเทวี
จังหวัดลําพูน กับเจดียเหลี่ยม ตําบลทุงวังตาล อําเภอสารภี เชียงใหม โดยความเห็นชอบของ
พระครูสนั ตยาธิคณ ุ เจาอาวาสวัดสันติธรรมไดตกลงสรางเจดียว ดั สันติธรรมตามรูปแบบเจดียเ หลีย่ ม
และเจดียกูกุด วางศิลาฤกษ วันที่ 9 มีนาคม 2514 สรางเสร็จและฉลองสันติเจดียวันที่ 14-16
มีนาคม 251930 สันติเจดียใชเวลาสราง 5 ป อนึ่ง มีการบูรณปฏิสังขรณสันติเจดียใหมใน พ.ศ. 2533
และ พ.ศ. 2540 (ภาพที่ 78)

ภาพที่ 78 สันติเจดีย วัดสันติธรรม ตําบลชางเผือก อําเภอเมือง เชียงใหม

30
ดูใน สันติธรรม นิม่ นวลอนุสรณ (เชียงใหม : โรงพิมพนนั ทพันธ, 2545. พิมพเพือ่ เปนทีร่ ะลึกงานฌาปนกิจ
คุณยายนิ่มนวล สุภาวงศ 6 พฤษภาคม 2545), 84.
79

ลักษณะทั่วไป
สันติเจดียเปนเจดียคอนกรีตเสริมเหล็ก สรางเปนชั้นๆ ขึ้นไป 6 ชั้น แตละชั้นหมายถึง
เรือนธาตุของเจดียทรงปราสาทที่มีความสูงจากฐานถึงสวนยอด 31 เมตร พ.ศ. 2540 ซอมเจดียเพิ่ม
ความสูงของยอดฉัตร ทําใหความสูงของเจดียเปน 35 เมตร
สวนฐาน เปนฐานเขียงในผังสี่เหลี่ยมจัตุรัส รองรับฐานที่เปนอาคารที่แทนความหมาย
ของเรือนธาตุเจดีย
สวนกลาง ถัดจากฐานเขียง 1 ฐาน เปนเรือนธาตุหรืออาคารรูปทรงสีเ่ หลีย่ มจัตรุ สั ซอนลด
หลัน่ กัน 6 ชัน้ โดยชัน้ ที่ 1 ภายในเปนพืน้ ทีโ่ ลงโดยมีประตูทางเขาดานทิศตะวันออก ดานทีเ่ หลือเปนหนาตาง
ภายในประดิษฐานพระพุทธรูป สวนอีก 5 ชัน้ แตละดานมีซมุ จระนํา ภายในประดิษฐานพระพุทธรูปยืน
ดานละ 3 องค รวมทัง้ หมด 60 องค ทีม่ มุ เหนือเรือนธาตุแตละชัน้ ประดับดวยเจดียจ าํ ลองทุกมุม
สวนยอด ลักษณะคลายบัวคลุม ซอนกัน 2 ชัน้ ถัดขึน้ ไปเปนปทมบาทรองรับปลีและฉัตร
ลักษณะที่หยิบยืมมาจากศิลปะหริภุญไชย
ตามประวัติการกอสรางสันติเจดีย เจดียกูกุดในศิลปะหริภุญไชย และเจดียเหลี่ยมที่ได
รับแรงบันดาลใจจากรูปแบบเจดียกูกุด ในอดีต เปนแรงบันดาลใจสําคัญในการสรางเจดียของ
วัดสันติธรรม พิจารณาจากลักษณะสันติเจดียรูปทรงเจดียนาจะไดแรงบันดาลใจจากรูปทรงของ
เจดียกูกุด แตในสวนการประดับตกแตงเจดียจําลอง ซุมจระนําประดิษฐานพระพุทธรูป รวมถึง
สวนยอดของสันติเจดียเปนแรงบันดาลใจจากการประดับตกแตงของเจดียเหลี่ยม ซึ่งรูปแบบของ
สันติเจดียสะทอนถึงการหยิบยืมจากเจดียตนแบบทั้ง 2 องค
ลักษณะที่เพิ่มเติมผสมผสาน
สันติเจดียลักษณะที่เพิ่มเติมขึ้นมา คือ การทําอาคารหรือเรือนธาตุเจดียเพิ่มขึ้นอีก 1 ชั้น
จากเจดียตนแบบที่เปนฐานสูง 1 ชั้นรองรับเรือนธาตุเจดียอีก 5 ชั้น โดยเปลี่ยนฐานสูงเปนเรือนธาตุ
ชั้นที่ 1 ที่สรางเปนหองโลงอยูภายในมีประตูทางเขาทางทิศตะวันออก ดานอื่นๆ เปนหนาตาง
ภายในประดิษฐานพระพุทธรูปอยูรอบแกนกลางของอาคารและยังเปนหองเรียนธรรมะของทางวัด
(ภาพที่ 79) ชัน้ ที่ 2 และ 3 ของเจดีย พระครูสนั ตยาธิคณ ุ เจาอาวาสวัดสันติธรรม กลาวถึงประโยชน
ใชสอยทีเ่ พิม่ เติมวา “ชางกอสรางเจดียแ นะนําใหภายในเจดียช นั้ ที่ 2 ใหสรางเปนทีเ่ ก็บน้าํ และ พ.ศ. 2540
ไดซอมเจดียก็ทําที่เก็บน้ําใหมเพิ่มที่ชั้นที่ 3 ของเจดีย เพื่อเพิ่มแรงดันน้ํา ซึ่งทางวัดไดใชประโยชน
มาจนทุกวันนี”้ 31 สันติเจดียน อกจากจะเปนเจดียบ รรจุพระบรมธาตุแลว ยังเปนเจดียเ ก็บน้าํ ไวใชสอย
ไดอยางเหมาะสมของวัดสันติธรรม

31
สัมภาษณ พระครูสันตยาธิคุณ, เจาอาวาสวัดสันติธรรม, 23 พฤษภาคม 2545.
80

ภาพที่ 79 ภายในเรือนธาตุชั้นที่ 1 สันติเจดียประดิษฐานพระพุทธรูป และเปนหองเรียนธรรม

แมวา เจดียใ นศิลปะหริภญ


ุ ไชย โดยเฉพาะเจดียก กู ดุ จะเปนเพียงโบราณสถาน แตรปู แบบ
ที่มีลักษณะเฉพาะนี้ยังเปนแรงบันดาลใจสําคัญในการหยิบยืมนํามาประยุกตออกแบบสรางเจดีย
ขึ้นใหม แมจะไมแพรหลายซึ่งจากการสํารวจภาคสนามพบเจดียสรางใหมในปจจุบันเพียงองคเดียว
แตก็สะทอนการออกแบบเจดียตามเงื่อนไขและความนิยมของยุคสมัยปจจุบันตามแรงบันดาลใจที่
มาจากความศรัทธาและความชอบในรูปแบบเจดียในศิลปะหริภุญไชย
81

แรงบันดาลใจจากเจดียในศิลปะสุโขทัย
เจดียโบราณสถานของราชธานีสุโขทัย หรือเมืองศรีสัชนาลัยราชธานีคูแฝดของสุโขทัย
ในอดีต เปนแหลงขอมูลการศึกษารูปแบบเจดียในศิลปะสุโขทัยที่ทําใหเกิดความรูความเขาใจ
เอกลักษณงานชางสมัยสุโขทัยที่ผสมผสานแรงบันดาลใจจากงานชางในวัฒนธรรมขอม ลังกา
พุกาม และลานนา มาเปนรูปแบบเจดียที่มีลักษณะเฉพาะ เจดียที่กลาวไดวาเปนสัญลักษณของ
ราชธานีสโุ ขทัย คือ เจดียป ระธานทรงยอดดอกบัวตูม วัดพระศรีมหาธาตุ สุโขทัย หรือเจดียป ระธาน
ทรงยอดดอกบัวตูม วัดเจดียเจ็ดแถว ศรีสัชนาลัย (ภาพที่ 10) (ภาพลายเสนที่ 7) ซึ่งเจดียทรง
ยอดดอกบัวตูมเปนเจดียที่นิยมสรางเปนเจดียประธานภายในวัดสําคัญเปนหลักของราชธานี เมื่อ
ราชธานีสุโขทัยหมดอํานาจเจดียทรงยอดดอกบัวตูมก็หมดความนิยมในการสรางดวย

ภาพลายเสนที่ 7 เจดียประธานทรงยอดดอกบัวตูม วัดเจดียเจ็ดแถว ศรีสัชนาลัย


ที่มา : คัดลอกปรับปรุงจาก สันติ เล็กสุขมุ , เจดียส มัยสุโขทัย ทีว่ ดั เจดียเ จ็ดแถว
(กรุงเทพฯ : สํานักพิมพเมืองโบราณ, 2534), 37.
82

การสํารวจภาคสนามพบวาการยอนกลับไปหยิบยืมรูปแบบเจดียในศิลปะสุโขทัยมา
สรางใหม ปรากฏในรูปแบบของเจดียจําลองขนาดเล็กที่มุงสื่อถึงนัยความเปนเจดียสําคัญของอดีต
ราชธานีสุโขทัย หรือแสดงนัยอื่นๆ32 สวนเจดียสรางใหมขนาดใหญที่มีแรงบันดาลใจจากเจดียทรง
ยอดดอกบัวตูมก็มีปรากฏเปนสําคัญ ดังจะกลาวตอไป

อาคารพุมขาวบิณฑ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ตําบลบางพูด อําเภอปากเกร็ด นนทบุรี


พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวภูมิพลอดุลยเดช ทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ พระราชทาน
ชื่อ “มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช” ตามพระนามเดิมของพระบาทสมเด็จพระปกเกลาเจาอยูหัว
รัชกาลที่ 7 เมื่อครั้งทรงดํารงพระอิสริยยศเปน “กรมหลวงสุโขทัยธรรมราชา” และพระราชทาน
พระบรมราชานุญาตใหใชพระราชลัญจกรในพระบาทสมเด็จพระปกเกลาเจาอยูหัว ซึ่งเปนรูป
พระแสงศรสามองคเรียงกันภายใตพระมหามงกุฏนํามาประกอบกับสวนยอดเจดียทรงพุมขาวบิณฑ
ที่เปนอีกชื่อเรียกของเจดียทรงยอดดอกบัวตูม ซึ่งเปนสัญลักษณของราชธานีสุโขทัยเปนตราประจํา
มหาวิทยาลัย
อาคารพุ ม ข า วบิ ณ ฑ ที่ ตั้ ง อยู ก ลางสระน้ําภายในบริ เ วณอุ ท ยานการศึ ก ษาของ
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช เปนอาคารสัญลักษณของมหาวิทยาลัย สรางเสร็จ พ.ศ. 2534
ปจจุบันไดรับอนุมัติงบประมาณมาสวนหนึ่งจึงอยูในระหวางการดําเนินการปรับปรุงภายในอาคาร
เปนนิทรรศการถาวร ประวัติมหาวิทยาลัย พระราชประวัติพระบาทสมเด็จพระปกเกลาเจาอยูหัว
และนิ ท รรศการการศึ ก ษาด ว ยตนเองตลอดชี วิ ต เพื่ อ จะเป ด ให เ ข า ชมในโอกาสสถาปนา
มหาวิทยาลัยครบรอบ 25 ป ในป พ.ศ. 2546 ของมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช33
ลักษณะทั่วไป
อาคารพุมขาวบิณฑเปนอาคารที่สรางเปนชั้นๆ ขึ้นไป 3 ชั้นเพื่อรองรับสวนยอดอาคาร
ที่สรางเปนทรงเจดียทรงยอดดอกบัวตูม อาคารตั้งอยูกลางสระน้ําที่มีสะพานเชื่อมตอ ความสูงของ
อาคารพุมขาวบิณฑประมาณ 35 เมตร (ภาพที่ 80)
สวนฐาน ประกอบดวยฐานสูงทีส่ รางเปนอาคาร 3 ชัน้ ซอนลดหลัน่ กันขึน้ ไปโดยชัน้ ที่ 1
เปนผังสี่เหลี่ยมจัตุรัสเพิ่มมุมสิบสองรอบอาคารเจาะชองหนาตางรูปกลีบบัวโดยรอบ ชั้นที่ 2 และ 3
เปนอาคารสี่เหลี่ยมจัตุรัส รอบอาคารชั้นที่ 2 และ 3 เจาะชองหนาตางรูปกลีบบัวเหมือนอาคาร
ชั้นที่ 1

32
การยอนกลับไปหยิบยืมรูปแบบเจดียในศิลปะสุโขทัยมีการสรางมาแลวกอน พ.ศ. 2475 ในสมัยรัชกาลที่
4 และรัชกาลที่ 6 ดูเพิ่มเติมในบทที่ 2 เจดียกอน พ.ศ. 2475
33
ขอมูลการสัมภาษณเจาหนาที่ฝายอุทยานการศึกษา มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช 18 เมษายน 2546
83

ภาพที่ 80 อาคารพุมขาวบิณฑ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ตําบลบางพูด อําเภอปากเกร็ด นนทบุรี

สวนกลาง ถัดจากฐานที่เปนอาคาร 3 ชั้นซอนลดหลั่นกันเปนฐานบัวเพิ่มมุมสิบสอง


เพื่อรองรับสวนที่เปนแทงสี่เหลี่ยมทรงสูงเพิ่มมุมยี่สิบที่ตอเนื่องขึ้นมาเรียกวา เรือนธาตุ ตอนบน
ตรงมุมที่เพิ่มและกลางดานมีทรงสามเหลี่ยมตั้งประดับ
สวนยอด คือสวนยอดซึ่งเปนทรงดอกบัวตูม สอบตอเนื่องขึ้นเปนทรงกรวยที่เปน
ปลองไฉน และปลี
ลักษณะที่หยิบยืมมาจากศิลปะสุโขทัย
เจดียทรงยอดดอกบัวตูม หรือที่เรียกวาเจดียท รงพุมขาวบิณฑ ในศิลปะสุโขทัยคือ
แรงบันดาลใจสําคัญในการหยิบยืมมาประยุกตออกแบบอาคารพุมขาวบิณฑ ที่แสดงนัยของการสื่อ
ถึงสัญลักษณของราชธานีสโุ ขทัย ทีเ่ ปนสวนหนึง่ ในตราสัญลักษณมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
เปนอาคารที่ใชสอยในดานกิจกรรมทางการศึกษาของมหาวิทยาลัย มิไดมุงสื่อถึงความหมายของ
การเปนเจดียในพระพุทธศาสนา
ลักษณะที่เพิ่มเติมผสมผสาน
อาคารพุมขาวบิณฑเปนอาคารที่ออกแบบโดยประยุกตรูปทรงของเจดียทรงยอดดอก-
บัวตูมมา สรางเปนอาคารสัญลักษณของมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ที่มีประโยชนใชสอย
ภายในอาคาร ดังนี้ ชั้นที่ 1 เปนหองนิทรรศการถาวร ประวัติมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
ชัน้ ที่ 2 และ 3 เปนหองนิทรรศการพระราชประวัตพิ ระบาทสมเด็จพระปกเกลาเจาอยูห วั รัชกาลที่ 7
และหองนิทรรศการการศึกษาดวยตนเองตลอดชีวิต ซึ่งเปนการกําหนดตามวัตถุประสงคของการ
สรางอาคารพุม ขาวบิณฑ แมมไิ ดสอื่ ถึงความเปนเจดีย แตกช็ วนใหนกึ ถึงเจดียต น แบบไดไมยากนัก
84

ภูริทัตตเจดีย วัดปาภูริทัตตปฏิปทาราม ตําบลคลองควาย อําเภอสามโคก ปทุมธานี


วัดปาภูริทัตตปฏิปทาราม สรางขึ้นโดยที่คณะศิษยของหลวงตามหาบัว ญาณสัมปนโน
ไดถวายที่ดินจํานวนหนึ่งที่อําเภอสามโคก ปทุมธานี แกหลวงตามหาบัว หลวงตาก็พิจารณาวา
พระที่เหมาะสมสมควรเปนครูบาอาจารยก็คือ พระครูสุทธิธรรมรังษี หรือหลวงปูเจี๊ยะ จุณโท
หลวงตามหาบัวจึงนิมนตใหหลวงปูเจี๊ยะมาอยู เมื่อหลวงปูเจี๊ยะมาอยูไดพัฒนาวัดมาโดยตลอดและ
พ.ศ. 2533 ไดรับพระราชทานวิสุงคามสีมา โดยหลวงปูเจี๊ยะตั้งชื่อวัดแหงนี้วา “วัดปาภูริทัตต-
ปฏิปทาราม” ซึ่งเปนฉายาของหลวงปูมั่น ภูริทัตโต34 หลวงปูเจี๊ยะและหลวงตามหาบัวเปนลูกศิษย
หลวงปูม นั่ เพียง 2 รูปทีย่ งั มีชวี ติ อยู อนึง่ ปจจุบนั พ.ศ. 2546 หลวงปูเ จีย๊ ะทานอาพาธและชราภาพมาก
หลวงปูเจี๊ยะไดกอสรางเสนาสนะที่วัดปาภูริทัตตปฏิปทารามไวมากหลาย ที่สําคัญ คือ
ภูรทิ ตั ตเจดีย เปนเจดียท ที่ า นสรางสําหรับบรรจุทนั ตธาตุหรือฟนกรามของทานพระอาจารยมนั่ ผูเ ปน
บูรพาจารย ซึง่ หลวงปูเ จีย๊ ะไดรบั มาชวงทีต่ ดิ ตามหลวงปูม นั่ ในขณะทีห่ ลวงปูม นั่ กําลังใชไมชาํ ระฟน
อยูแ ละฟนกรามซีห่ นึง่ ไดหลุดออกมา หลวงปูม นั่ ไดยนื่ ฟนซีน่ นั้ มาใหหลวงปูเ จีย๊ ะพรอมทัง้ กลาววา
“เอา...ทานเจี๊ยะ เอาไป”35 จากวันนั้นถึงปจจุบันหลวงปูเจี๊ยะตั้งใจเสมอวาถามีโอกาสมีบุญจะสราง
เจดียถวายทานพระอาจารยมั่นผูใหประทีปธรรม เมื่อทานมาอยูที่วัดปาภูริทัตตปฏิปทาราม ทานจึง
เริ่มสรางเจดียโดยวางศิลาฤกษสรางภูริทัตตเจดีย เมื่อวันที่ 3 กุมภาพันธ 2539 เจดียสรางเสร็จ
และยกยอดเจดีย วันที่ 26 กุมภาพันธ 254536 อนึ่ง วันที่ 21 กรกฎาคม 2545 หลวงตามหาบัว
เปนประธานบรรจุทันตธาตุ และสมเด็จพระเจาลูกเธอ เจาฟาจุฬาภรณวลัยลักษณ อัครราชกุมารี
ทรงนําถวายผาปาชวยชาติ
ลักษณะทั่วไป
ภูริทัตตเจดียเปนเจดียทรงยอดดอกบัวตูมประดับกระเบื้องหินออนทั่วทั้งองค ความสูง
จากฐานถึงสวนยอด 37 เมตร (ภาพที่ 81)
สวนฐาน มี 2 ชั้น ชั้นที่ 1 ยกพื้นเปนลานประทักษิณโดยรอบเจดีย ชั้นที่ 2 เปนฐานบัว
รองรับอาคารแปดเหลี่ยมซึ่งทําประตูและบันไดทางเขาผนังดานทิศหลัก สวนดานที่เหลือทําเปน
ผนังชองลูกกรง
สวนกลาง ถัดจากฐานบัวรองรับอาคารแปดเหลี่ยม เปนเรือนธาตุในลักษณะของเจดีย
ปราสาทยอด มีมุขยื่นออกมาทั้งสี่ทิศภายในเปนคูหาประดิษฐานพระพุทธรูป เหนือเรือนธาตุเปน

34
ประวัติหลวงปูเจี๊ยะดูใน หลวงปูเจี๊ยะ จุณโท พระผูเปนดั่งผาขี้ริ้วหอทอง (กรุงเทพฯ : พี.เพรส, 2545).
35
เรื่องเดียวกัน, 124-125.
36
ประวัติการสรางภูริทัตตเจดียดูใน เรื่องเดียวกัน, 390-422.
85

ฐานบัวลูกแกวอกไกเพิ่มมุมสิบสองรองรับสวนที่เปนแทงสี่เหลี่ยมทรงสูงเพิ่มมุมยี่สิบ ตอนบนตรง
มุมที่เพิ่มและกลางดานมีทรงสามเหลี่ยมตั้งประดับ
สวนยอด เปนทรงดอกบัวตูม สอบตอเนื่องขึ้นเปนทรงกรวยที่เปนปลองไฉน และปลี

ภาพที่ 81 ภูริทัตตเจดีย วัดปาภูริทัตตปฏิปทาราม ตําบลคลองควาย อําเภอสามโคก ปทุมธานี

ลักษณะที่หยิบยืมมาจากศิลปะสุโขทัย
เจดียทรงยอดดอกบัวตูมในศิลปะสุโขทัย คือ แรงบันดาลใจที่สําคัญในการออกแบบ
สรางภูริทัตตเจดีย อนึ่ง รูปแบบในการออกแบบตกแตง อาทิ การประดับโคมไฟบนมุมเสาของ
ฐานเจดีย เปนลักษณะการตกแตงของอาคารพุมขาวบิณฑ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ที่
สรางกอนภูริทัตตเจดียคงอาจเปนอีกหนึ่งแรงบันดาลใจ แมวาภูริทัตตเจดียจะหยิบยืมรูปแบบเจดีย
ทรงยอดดอกบัวตูมสัญลักษณของราชธานีสุโขทัยในอดีตก็มิไดมีนัยที่เกี่ยวของกับสัญลักษณนั้น
แตนาจะแสดงนัยของรูปทรงดอกบัวตูมอันสอดคลองกับชื่อจังหวัดปทุมธานี หรือเมืองแหงดอกบัว
อันเปนที่ตั้งของวัดปาภูริทัตตปฏิปทาราม และดอกบัวยังเปนดอกไมบูชาในพระพุทธศาสนาที่
สําคัญอาจสะทอนความเคารพบูชาบูรพาจารยอยางสูงสุดของหลวงปูเจี๊ยะ จุณโท
86

ลักษณะที่เพิ่มเติมผสมผสาน
ลั ก ษณะที่ ห ยิ บ ยื ม มาจากเจดียท รงยอดดอกบั ว ตูมที่เ ดน ชัด คื อ สว นที่ส รา งเปน แทง
สี่เหลี่ยมทรงสูงเพิ่มมุมยี่สิบรับทรงดอกบัวตูม ปลองไฉน และปลี มีการเพิ่มเติมเปลี่ยนแปลงใน
สวนฐานใหเกิดประโยชนใชสอยโดยสรางเปนอาคารแปดเหลี่ยมมีพื้นที่โลงภายในประดิษฐาน
รูปแกะสลักหินแกรนิตทานพระอาจารยมั่น ภูริทัตโต และพระอาจารยสายวิปสสนากรรมฐาน
ภายในโดยรอบเปนที่ทํากิจกรรมทางพระพุทธศาสนา (ภาพที่ 82) และมีบันไดขึ้นสูคูหาเรือนธาตุ
เจดียที่ประดิษฐานพระพุทธรูป

ภาพที่ 82 ภายในสวนฐานแปดเหลี่ยมภูริทัตตเจดีย

ลักษณะที่เพิ่มเติมผสมผสานนอกจากการทําฐานเปนอาคารแปดเหลี่ยม และการสราง
เรือนธาตุเปนทรงปราสาทตอยอดเจดียทรงยอดดอกบัวตูม การลดองคประกอบที่สัง เกตไดใน
ภูริทัตตเจดีย หรืออาคารพุมขาวบิณฑที่กลาวมาแลว คือ ไมปรากฏชุดฐานบัวลูกฟกเพิ่มมุมยี่สิบ 2
ฐานที่รองรับแทงสี่เหลี่ยมที่เพิ่มมุมเชนเดียวกัน เปลี่ยนเปนฐานบัว 1 ฐานรองรับแทนอันเปนการ
ประยุกตออกแบบใหมตามความนิยมของการปรับเปลี่ยนทางงานชางปจจุบัน
87

เจดียบรรจุอัฐิทรงยอดดอกบัวตูม วัดบานนา ตําบลเมืองเกา อําเภอเมือง สุโขทัย


เจดียบรรจุอัฐิที่เรียงรายอยูภายในบริเวณวัดบานนา มีอยูองคหนึ่งที่รูปทรงสะทอนแรง
บันดาลใจมาจากรูปทรงของเจดียท รงยอดดอกบัวตูมในศิลปะสุโขทัย ซึง่ นาจะสรางเมือ่ พ.ศ. 251237
(ภาพที่ 83) บริเวณวัดบานนายังมีการสรางเจดียจําลองบนหลังคาหอระฆังเปนเจดียจําลองยอแบบ
มาจากเจดียทรงยอดดอกบัวตูม (ภาพที่ 84) หอระฆังสราง พ.ศ. 2543

ภาพที่ 83 เจดียบรรจุอัฐิทรงยอดดอกบัวตูม ภาพที่ 84 เจดียจําลองบนหอระฆัง วัดบานนา


วัดบานนา ตําบลเมืองเกา อําเภอเมือง สุโขทัย ตําบลเมืองเกา อําเภอเมือง สุโขทัย

ลักษณะทั่วไป
เจดียบ รรจุอฐั ทิ รงยอดดอกบัวตูม ผานการบูรณะตามลักษณะเดิมโดยทาสีใหมทวั่ ทัง้ องค
ความสูงจากฐานถึงสวนยอดประมาณ 4 เมตร
สวนฐาน ทําเปนฐานบัว 1 ฐานทีม่ สี ว นทีย่ นื่ ออกมาเปนมุขเพือ่ อาจไวตงั้ วางสิง่ ของไหว
สวนกลาง ถัดจากฐานบัวเปนแทงสี่เหลี่ยม 2 แทงซอนลดหลั่นกันโดยแตละดานทําเปน
ซุมจระนํา ชั้นที่ 1 ประดิษฐานรูปเจาแมกวนอิม สวนชั้นที่ 2 ประดิษฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย

37
ลูกหลานสรางเพื่อบรรจุอัฐิ เตี่ยเลี่ยม โตทองสุข (แซดาน) ชาตะ 2431 มรณะ 30 ต.ค. 2512 อายุ 81 ป
88

สวนยอด ตอเนื่องจากแทงสี่เหลี่ยมเปนแทงกลมหยักมุมรองรับยอดทรงดอกบัวตูม
ลักษณะที่หยิบยืมมาจากศิลปะสุโขทัย
แรงบันดาลใจทีเ่ ดนชัดทีห่ ยิบยืมมาจากศิลปะสุโขทัย คือรูปลักษณะทรงยอดดอกบัวตูม
ที่ครอบครัวผูเสียชีวิตหรืออาจเปนความตองการของผูเสียชีวิตที่จะหยิบยืมมาประยุกตออกแบบ
สรางเปนเจดียบ รรจุอัฐิ เพื่อสะทอนความเปนชาวจังหวัดสุโขทัย
ลักษณะที่เพิ่มเติมผสมผสาน
การออกแบบเจดียบรรจุอัฐิทรงยอดดอกบัวตูมนี้ อาจสะทอนแนวคิดความผูกพันกับ
ทองถิน่ ทีผ่ เู สียชีวติ หรือครอบครัวดําเนินชีวติ อยูใ นจังหวัดสุโขทัย และก็ไมมสี ญ
ั ลักษณใดจะเดนชัด
ทีส่ ะทอนความเปนสุโขทัยเทากับรูปแบบของเจดียท รงยอดดอกบัวตูม ซึง่ การออกแบบไดสรางใหเหมาะ
กับหนาที่ใชงานทําใหรูปแบบเจดียเพิ่มเติมผสมผสานขึ้นใหมแตดูแลวยังนึกเห็นเจดียตนแบบได

เจดียจําลอง โรงแรมสุโขทัย ถนนสาทรใต เขตสาทร กรุงเทพมหานคร


โรงแรมสุโขทัย ถนนสาทรใต เขตสาทร กรุงเทพฯ ออกแบบโดยสถาปนิก คุณมนูญ
ลีวีระพันธ บริษัท เอ็ม เอ็ม แอนด แอสโซซิเอทส จํากัด สรางเสร็จและเปดใหบริการ พ.ศ. 2534
การที่ชื่อโรงแรมสุโขทัย สถาปนิกจึงออกแบบเพื่อใหเกิดบรรยากาศคลายกับโบราณสถานใน
อุทยานประวัติศาสตรสุโขทัย รวมทั้งการจําลองเจดียทรงระฆังกอดวยอิฐ 5 องค บนฐานที่ตั้งอยู
กลางสระน้ํา (ภาพที่ 85) ใหมองเห็นไดจากโถงของโรงแรมและหองจัดเลี้ยง นอกจากนั้นในสวน
ทางเดินไปยังหองพักและภัตตาคารชั้นลาง มีเจดียสําริดจําลองรูปทรงปรางควางในสระน้ําเรียงเปน
ระยะไปตลอดแนว (ภาพที่ 86) เปนการสรางบรรยากาศใหมีความรูสึกสืบเนื่องกับประวัติศาสตรที่
สอดคลองกับชื่อของโรงแรมสุโขทัย38
ลักษณะของเจดียจําลองภายในโรงแรมสุโขทัยสะทอนแนวคิดการออกแบบที่หยิบยืม
มาจากเจดียที่เปนโบราณสถานในศิลปะสุโขทัย รูปแบบของเจดียจําลองทรงระฆังอาจพิจาณาวาได
รับแรงบันดาลใจจากเจดียประธานทรงระฆัง วัดศรีพิจิตรกิติกัลยาราม สุโขทัย (ภาพที่ 87) หรือ
เจดียประธาน วัดเจดียสูง (ภาพที่ 88) ที่อยูกลางทุงทางทิศตะวันออกของสุโขทัยอันเปนงานชาง
ปลายสมัยสุโขทัย สวนการออกแบบประดับตกแตงเจดียจําลองภายในโรงแรมสุโขทัยที่มิไดมุงสื่อ
ความหมายของเจดียเปนประเด็นที่ควรพิจารณาตอไป

38
ดูใน ผุสดี ทิพทัส, สถาปนิกสยาม พื้นฐาน บทบาท ผลงาน และแนวคิด (พ.ศ. 2475-2537) เลม 2
(กรุงเทพฯ : สมาคมสถาปนิกสยาม, 2539), 875.
89

ภาพที่ 85 เจดียจําลองทรงระฆัง โรงแรมสุโขทัย ถนนสาทรใต กรุงเทพฯ

ภาพที่ 86 เจดียจําลองทรงปรางค โรงแรมสุโขทัย ถนนสาทรใต กรุงเทพฯ


90

ภาพที่ 87 เจดียประธานทรงระฆัง ภาพที่ 88 เจดียประธานทรงระฆัง


วัดศรีพิจิตรกิติกัลยาราม สุโขทัย วัดเจดียสูง สุโขทัย

เจดียที่สรางใหมที่หยิบยืมรูปแบบของเจดียในศิลปะสุโขทัย แมจะมีการสรางอยูนอย
แตเดนชัดมากในเรื่องการบงบอกนัยสําคัญของความเปนสุโขทัยที่สะทอนผานรูปทรงของเจดียทรง
ยอดดอกบัวตูม อนึ่ง ในสวนของลักษณะที่เพิ่มเติมผสมผสานเปลี่ยนแปลงไปก็แสดงนัยสําคัญโดย
จะวิเคราะหใน บทที่ 4
91

แรงบันดาลใจจากเจดียในศิลปะลานนา
ความเจริญรุงเรืองทางศิลปวัฒนธรรมของลานนาหรือภาคเหนือของประเทศไทยยังคง
ปรากฏหลักฐานทีเ่ ห็นไดชดั เจน คือ ดานศิลปกรรม กลาวเฉพาะเจดียใ นศิลปะลานนา ซึง่ มีเอกลักษณ
เฉพาะที่โดดเดนและยังสงอิทธิพลทางดานรูปแบบวิธีการแกเจดียในยุคหลังอยางตอเนื่อง เจดียทรง
ตางๆ สวนใหญยังเหลือเคาโครงเดิมใหศึกษารูปแบบของเจดีย จากการสํารวจภาคสนามพบวาการ
บูรณปฏิสังขรณยังมีอยูเสมอรวมทั้งเจดียที่สรางขึ้นใหม แรงบันดาลใจที่หยิบยืมรูปแบบมาสราง
เจดียใหมมีสองแบบหลัก คือ เจดียทรงปราสาทยอด และเจดียทรงระฆังแบบลานนา อนึ่ง ยังมีที่
แยกยอยอีกหลายลักษณะ
เจดียทรงปราสาทยอดมีทั้งแบบยอดเดียว และแบบหายอดองคที่สําคัญคือ เจดียทรง
ปราสาทหายอด วัดปาสัก อําเภอเชียงแสน เชียงราย (ภาพที่ 11) (ภาพลายเสนที่ 8) การสํารวจ
ภาคสนามพบวามีเจดียสรางใหมที่สําคัญ 1 องค ที่ไดรับแรงบันดาลใจ คือ พระบรมธาตุเจดีย-
ศรีนครินทรามหาสันติคีรี บนยอดดอยแมสลอง เชียงราย

ภาพลายเสนที่ 8 เจดียทรงปราสาทหายอด วัดปาสัก อําเภอเชียงแสน เชียงราย


ที่มา : รัฏฐา ฤทธิศร, “การศึกษาพัฒนาการของเจดียลานนา.” (วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต
สาขาวิชาประวัติศาสตรสถาปตยกรรม บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2541), 48.
92

พระบรมธาตุเจดียศรีนครินทรามหาสันติคีรี วัดสันติคีรี ตําบลแมสลองนอก อําเภอแมฟาหลวง


เชียงราย
พระบรมธาตุเจดียศรีนครินทรามหาสันติคีรี นับเปนพระบรมธาตุเจดียที่อยูสูงที่สุดใน
ประเทศไทย สรางขึน้ เพือ่ เปนการเฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี เนือ่ งใน
โอกาสทีท่ รงเจริญพระชนมายุ 90 พรรษา และเพือ่ ความมัน่ คงของประเทศเพราะบริเวณดอยแมสลอง
เปนที่อยูของชาวจีนฮอ ซึ่งเคยเปนสวนหนึ่งของจีนกกมินตั๋ง ที่ทําการสูรบกับจีนแผนดินใหญมา
เปนเวลานาน แลวไดตั้งหลักฐานทํามาหากินอยูบริเวณนี้ ตอมารัฐบาลไดมีนโยบายที่จะมอบ
สัญชาติใหกับชาวจีนกลุมนี้เพื่อความมั่นคงของประเทศ จึงตั้งชื่อหมูบานนี้วา “สันติคีรี”
ในสมัยพลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ จึงไดรเิ ริม่ ใหมกี ารสรางสิง่ สําคัญทางพระพุทธศาสนา
ขึน้ เพือ่ เปนทีพ่ งึ่ ทางใจใหกบั ชาวจีนเหลานี้ กองทัพบกจึงไดเปนผูด าํ เนินการหาทุนและจัดสรางวัด
ขึ้น โดยมีสมเด็จพระญาณสังวร ซึง่ ขณะนัน้ ยังไมไดเปนสมเด็จพระสังฆราช ทรงเปนองคประธาน
ฝายสงฆ39
พิธีวางศิลาฤกษการกอสรางพระบรมธาตุเจดีย วันที่ 2 พฤศจิกายน 2532 โดยสมเด็จ
พระศรีนครินทราบรมราชชนนี ไดเสด็จพระราชดําเนินไปทรงวางศิลาฤกษ พรอมดวยสมเด็จพระ
เจาพี่นางเธอเจาฟากัลยาณิวฒ ั นา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร และทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ
พระราชทานนามวา พระบรมธาตุเจดียศรีนครินทรามหาสันติคีรี สรางเสร็จและมีพิธีย กฉัตร
ยอดเจดียโดยสมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก เมื่อวันที่ 10
พฤษภาคม 254040 (ภาพที่ 89)
พระบรมธาตุเจดียอ งคนอี้ อกแบบโดยสถาปนิกสํานักพระราชวัง หมอมราชวงศมติ รารุณ
เกษมศรี โดยทานไดแบบแนวคิดจากสมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก
ที่วาพระบรมธาตุเจดียตั้งอยูในจังหวัดเชียงราย ซึ่งเปนภาคเหนือของประเทศไทย ใหออกแบบ
โดยประยุกตจากเจดียวัดปาสัก อําเภอเชียงแสน เชียงราย ซึ่งเปนเจดียที่งดงามที่สุดองคหนึง่ ของ

39
หมอมราชวงศแนงนอย ศักดิศ์ รี และวทัญู เทพหัตถี, ชางหลวง ผลงานสถาปตยกรรมไทยของหมอมราชวงศ
มิตรารุณ เกษมศรี (กรุงเทพฯ : สมาคมสถาปนิกสยาม, 2539), 55.
40
โอภาส เสวิกลุ , “พระบรมธาตุเจดียศ รีนครินทรามหาสันติครี ,ี ” วารสารกรมประชาสัมพันธ 5, 7 (ตุลาคม,
2543) : 5-6. อนึ่ง พระบรมธาตุเจดียศรีนครินทรามหาสันติคีรีไดสรางเสร็จและเตรียมการที่จะยกยอดฉัตรเพื่อบรรจุ
พระบรมธาตุ แตสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนีทรงพระประชวร และเสด็จสวรรคตเมื่อวันอังคารที่ 18 กรกฎาคม
2538 การทั้งหลายจึงยังยุตอิ ยูเพียงนี้
93

เชียงแสน หมอมราชวงศมติ รารุณ เกษมศรี จึงไดนาํ เจดียว ดั ปาสักมาเปนแรงบันดาลใจ แลวพัฒนา


ขึ้นเปนรูปแบบใหมที่มีขนาดใหญกวาโดยสรางเปนคอนกรีตเสริมเหล็ก41

ภาพที่ 89 พระบรมธาตุเจดียศรีนครินทรามหาสันติคีรี วัดสันติคีรี อําเภอแมฟาหลวง เชียงราย


ที่มา : หมอมราชวงศแนงนอย ศักดิศ์ รี และวทัญู เทพหัตถี,
ชางหลวง ผลงานสถาปตยกรรมไทยของหมอมราชวงศมติ รารุณ เกษมศรี (กรุงเทพฯ : สมาคมสถาปนิกสยาม, 2539), 58.

41
หมอมราชวงศแนงนอย ศักดิศ์ รี และวทัญู เทพหัตถี, ชางหลวง ผลงานสถาปตยกรรมไทยของหมอมราชวงศ
มิตรารุณ เกษมศรี, 61. อนึ่ง ชวงที่ผูวิจัยไปสํารวจ 24 พ.ค. 2545 พระบรมธาตุเจดียกําลังดําเนินการเสริมความมั่นคงฐาน
และบูรณปฏิสังขรณใหม
94

ลักษณะทั่วไป
พระบรมธาตุเจดียศรีนครินทรามหาสันติคีรี ตั้งเดนบนดอยแมสลอง มีขนาดฐาน
รอบนอกกวางดานละ 30 เมตร สวนสูงจากฐานถึงยอด 35.35 เมตร
สวนฐาน มี 3 ชั้นซอนลดหลั่นกัน โดยชั้นที่ 1 เปนฐานที่สรางเปนอาคารสี่เหลี่ยม
จัตุรัสเพิ่มมุมสิบสองมีลานประทักษิณโดยรอบ แตละดานมีซุมประตูทางเขา 3 ซุม ชั้นที่ 2 เปน
ฐานอาคารสี่เหลี่ยมจัตุรัสเพิ่มมุมสิบสองมีระเบียงลอมรอบ มีซุมประตูทางเขาดานละซุม สวนที่อยู
ใกลมุมอาคารทําเปนชองกระจกรูปกลีบบัว สวนชั้นที่ 3 เปนฐานบัวลูกแกวอกไกเพิ่มมุมสิบสอง
รองรับเรือนธาตุของเจดียทรงปราสาทหายอด ซึ่งเรือนธาตุมีทางเขาคูหาภายในโดยขึ้นมาจากฐาน
ชั้นที่ 2 ภายในคูหาประดิษฐานพระบรมสารีริกธาตุ
สวนกลาง เปนเรือนธาตุที่มีซุมจระนําประจําสี่ดาน ประดิษฐานพระพุทธรูปในพระ-
อิริยาบทยืนปางตางๆ ขางๆ ซุมจระนําทั้งสี่ดานเปนชองกระจกรูปกลีบบัว สวนบนมุมทั้งสี่ของ
เรือนธาตุตั้งเจดียจําลอง และยอดเจดียประธานที่อยูกลาง นอกจากนี้ยังมีเจดียจําลองตั้งบนหลังคา
ซุมประตูฐานชั้นที่ 2 และตรงกับซุมจระนําเรือนธาตุที่ประดิษฐานพระพุทธรูปปางตางๆ ดังกลาว
สวนยอด องคระฆังเอวคอดรัดดวยสายสังวาลยตั้งบนฐานรูปแปดเหลี่ยม ตอนบน
เหนือองคระฆังเปนบัวกลุมตอยอดคือปลองไฉนและปลี (ภาพลายเสนที่ 9)
ลักษณะที่หยิบยืมมาจากศิลปะลานนา
เจดียทรงปราสาทหายอด วัดปาสัก เปนแรงบันดาลใจสําคัญที่หมอมราชวงศมิตรารุณ
เกษมศรี หยิบยืมมาออกแบบสรางพระบรมธาตุเจดียศรีนครินทรามหาสันติคีรี แมการออกแบบจะ
เพิ่มเติมลักษณะใหมๆ แตลักษณะความเปนเรือนชั้นทรงปราสาทหายอดของเจดียในศิลปะลานนา
ยังคงเดนชัด
ลักษณะที่เพิ่มเติมผสมผสาน
การสรางพระบรมธาตุเจดียศรีนครินทรามหาสันติคีรี นอกจากจะเดนสงาจากการตั้ง
บนยอดดอยแลวองคประกอบการตกแตงที่เพิ่มเติมผสมผสานทําใหเกิดลักษณะการออกแบบใหม
ดวย เชน การออกแบบที่สื่อความหมายเพื่อเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี
เชน ลักษณะขององคระฆังเอวคอดรัดดวยสายสังวาลยโดยรอบเพื่อสื่อถึงพระนามเดิมของพระองค
หรือการทํากระจกสีประดับชองกระจกรูปกลีบบัว ซึ่งทําใหเกิดบรรยากาศภายในองคเจดียที่งดงาม
การผูกลายขึ้นก็ใหมีความหมายสัมพันธกับพระองคโดยทําเปนดอกบัว เพราะพระองคทานประทับ
อยูวังสระปทุม อีกทั้งพระนามาภิไธยยอ “สว” ของพระองคก็เปนรูปดอกบัวตูมเชนกัน42

42
เรื่องเดียวกัน, 61-67.
95

ภาพลายเสนที่ 9 พระบรมธาตุเจดียศรีนครินทรามหาสันติคีรี วัดสันติคีรี อําเภอแมฟาหลวง เชียงราย


ที่มา : คัดลอกปรับปรุงจาก แนงนอย ศักดิ์ศรี, หมอมราชวงศ และวทัญู เทพหัตถี.
ชางหลวง ผลงานสถาปตยกรรมไทยของหมอมราชวงศมติ รารุณ เกษมศรี (กรุงเทพฯ : สมาคมสถาปนิกสยาม, 2539), 62.

การใชสีทาผนังจากฐานสูยอดเจดียก็เปนการประดับตกแตงที่นาสนใจ คือ ฐานหรือ


อาคารชั้นที่ 1 เปนสีเทา และสีขาวในชั้นที่ 2 ถึงเรือนธาตุของเจดีย สวนยอดเจดียเปนสีทองจาก
การประดับโมเสก ซุม ประตู และซุม จระนําออกแบบใหมเปนกรอบซุม วงโคงยอดซุม เปนรูปหนากาล
ปลายซุมเปนนาคสามเศียร ซึ่งไมปรากฏลักษณะแทงสูงคลายฝกเพกาตามรูปแบบซุมฝกเพกาของ
ซุมจระนําเจดียตนแบบทรงปราสาทหายอด วัดปาสัก อนึ่ง ประโยชนใชสอยภายในองคเจดียเปน
ลักษณะที่ออกแบบใหมีเพิ่มเติมผสมผสานอยางสําคัญ
96

สวนเจดียสรางใหมในปจจุบันที่หยิบยืมรูปแบบและแรงบันดาลใจจากเจดียทรงระฆัง
ในศิลปะลานนา จากการสํารวจภาคสนามนาจะกลาวไดวา พระธาตุหริภญ ุ ไชย วัดพระธาตุหริภญุ ไชย
อําเภอเมือง ลําพูน ทีพ่ ฒ
ั นาและคลีค่ ลายรูปแบบจนมาเปนเอกลักษณทสี่ มบูรณไดสดั สวนตามรสนิยม
เฉพาะของลานนา (ภาพที่ 12) (ภาพลายเสนที่ 10) เปนเจดียตนแบบที่สําคัญโดยเฉพาะในจังหวัด
ลําพูน43 อนึ่ง เจดียทรงระฆังที่สรางใหมหรือบูรณปฏิสังขรณในปจจุบันของภาคเหนือมีอยูเปน
จํานวนมากที่เกิดจากศรัทธาอันเปนแนวคิดสําคัญในการทํานุบํารุงพระพุทธศาสนาของชาวลานนา
ที่สืบตอกันมาจนถึงปจจุบัน จํานวนที่มากจึงเปนขอจํากัดความครบถวนในการสํารวจภาคสนาม
ของผูวิจัย

ภาพลายเสนที่ 10 พระธาตุหริภุญไชย วัดพระธาตุหริภุญไชย อําเภอเมือง ลําพูน


ที่มา : สุวภิ า พงษปวน. “การศึกษาเจดียใ นจังหวัดลําพูน.”
(วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาประวัตศิ าสตรสถาปตยกรรม บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2541), 96.

43
การศึกษาเจดียใ นจังหวัดลําพูนโดยเฉพาะเจดียท สี่ รางใหมในปจจุบนั ศึกษาขอมูลเพิม่ เติมใน สุวภิ า พงษปวน,
“การศึกษาเจดียในจังหวัดลําพูน.” (วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต สาขาประวัติศาสตรสถาปตยกรรม บัณฑิตวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2541).
97

อังคารเจดียอนาลโย วัดถ้ํากลองเพล อําเภอเมือง หนองบัวลําภู


วั ด ถ้ํากลองเพลเป น วั ด ป า ที่ มี ชื่ อ เสี ย งของจั ง หวั ด หนองบั ว ลําภู ในบริ เ วณวั ด มี
บรรยากาศที่รมรื่นเงียบสงบ วัดแหงนี้เคยเปนสถานที่วิปสสนากรรมฐานของหลวงปูขาว อนาลโย
พระวิปสสนาสายพระอาจารยมั่น ภูริทัตโต สวน “อังคารเจดียอนาลโย” หางหุนสวนจํากัด
ไทยสามัคคีอุดร สรางถวายหลวงปูขาว อนาลโย พ.ศ. 2509 เปนรูปแบบเจดียทรงระฆังลานนา
บนเนินเขาเตี้ยๆ อนึ่ง หลวงปูขาวทานไดมรณภาพ เมื่อ พ.ศ. 2526 ปจจุบันจึงมีปายขอความและ
รูปภาพหลวงปูขาวภายในซุมจระนํา ขอความวา “หลวงปูขาว อนาลโย 2431 – 2526 อังคาร-
เจดียอนาลโย” บริเวณใกลเคียงเปนที่ตั้งกลุมเจดียบรรจุอัฐิบนเนินเขาเตี้ยๆ เชนกัน
ลักษณะทั่วไป
อังคารเจดียอนาลโย ตั้งประดิษฐานบนเนินเขาเตี้ยๆ ที่ปรับสภาพเปนลานประทักษิณ
โดยรอบเจดีย ความสูงจากฐานถึงสวนยอดประมาณ 15 เมตร (ภาพที่ 90)

ภาพที่ 90 อังคารเจดียอนาลโย วัดถ้ํากลองเพล อําเภอเมือง หนองบัวลําภู


98

สวนฐาน เริ่มตนดวยฐานเขียงในผังสี่เหลี่ยมจัตุรัสรับฐานสี่เหลี่ยมยกเก็จทรงสูงเพื่อ
รองรับฐานบัวลูกแกวอกไกยกเก็จ 2 ฐานซอนกัน โดยมีทองไมที่ทําเปนลักษณะโคงคั่นกลาง
เหนือมุมยกเก็จของฐานบัวลูกแกวอกไกตั้งประดับทรงสามเหลี่ยม
สวนกลาง เปนชุดฐานในผังกลม คือ ฐานบัวลูกแกวอกไกจํานวน 3 ฐาน ซอนลดหลั่น
กันรองรับทรงระฆังที่ประดับลวดลายปูนปนเทพนม
สวนยอด เหนือทรงระฆังเปนบัลลังกสี่เหลี่ยมยกเก็จ ถัดขึ้นไปเปนกานฉัตรที่ประดับ
ปูนปนบัวคว่ําบัวหงาย ปลองไฉนและปลี
ลักษณะที่หยิบยืมมาจากศิลปะลานนา
อังคารเจดียอนาลโย คงเปนชื่อเจดียที่ตั้งขึ้นในภายหลังการสราง เพื่อใหสอดคลองกับ
การบรรจุอัฐิเถาถานของหลวงปูขาว อนาลโย โดยรูปแบบเจดียเดนชัดในแรงบันดาลใจที่หยิบยืม
มาจากพระธาตุหริภุญไชย อนึ่ง การที่เจดียทรงระฆังลานนาปรากฏที่วัดถ้ํากลองเพล ที่ตั้งในภาค
อีสานตอนบนนาจะสะทอนการยอมรับและความศรัทธาในพระธาตุหริภุญไชยของหลวงปูขาว
และผูจัดสรางเจดียถวายทาน
ลักษณะที่เพิ่มเติมผสมผสาน
รูปแบบลักษณะอังคารเจดียอนาลโยเปนการจําลองยอขนาดจากพระธาตุหริภุญไชย
และเพิ่มเติมผสมผสานการประดับตกแตงใหมๆ เขาไป อาทิ การประดับลวดลายบนองคระฆัง
สวนฐานสี่เหลี่ยมยกเก็จทรงสูงเปนการเพิ่มเติมเพื่อตรงกลางดานจะทําเปนซุมจระนําสําหรับไว
บรรจุอฐั ธิ าตุหลวงปูข าว ซึง่ เจดียอ งคนอี้ าจมีแนวคิดการสรางเพือ่ ใชสาํ หรับบรรจุอฐั ขิ องหลวงปูข าว
ตั้งแตแรกสราง

พระธาตุสี่ครูบา วัดพระพุทธบาทตากผา ตําบลมะกอก อําเภอปาซาง ลําพูน


พระธาตุสี่ครูบา เปนเจดียทรงระฆังลานนาขนาดใหญสรางขึ้นบนยอดดอย เริ่มสราง
พ.ศ. 2528 แลวเสร็จเมื่อ พ.ศ. 2531 และสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี เสด็จฯ
ทรงยกยอดฉัตรและทรงบรรจุพระบรมสารีริกธาตุ วันอังคารที่ 16 กุมภาพันธ 2532 เจดียองคนี้
ออกแบบและควบคุมการกอสรางโดยพระครูเวฬุวันพิทักษ เจาอาวาสวัดพระพุทธบาทตากผา ซึ่ง
สรางขึน้ เพือ่ บรรจุพระบรมสารีรกิ ธาตุทคี่ รูบาพอลูกทัง้ 4 รูป คือ ครูบาพอเปง โพธิโก พระสุธรรม-
ยานเถระ (ครูบาอินทจักร) พระสุพรหมยานเถระ (ครูบาพรหมจักร) และพระครูสนุ ทรคัมภีระยาน
(ครูบาคัมภีระ) ไดรวบรวมไวพรอมกับการบรรจุอัฐิธาตุของครูบาทั้ง 4 รูป ที่ภายในฐานชั้นลาง
ของเจดียซึ่งเปนหองโถงขนาดใหญ
99

ลักษณะทั่วไป
พระธาตุสี่ครูบา ออกแบบเปนเจดียทรงระฆังลานนาที่มีฐานชั้นลางเปนฐานสี่เหลี่ยม
จัตุรัสมีซุมประตูทางเขาภายในที่เปนหองโถงโลง ความสูงจากฐานถึงสวนยอดประมาณ 30 เมตร
(ภาพที่ 91)

ภาพที่ 91 พระธาตุสี่ครูบา วัดพระพุทธบาทตากผา ตําบลมะกอก อําเภอปาซาง ลําพูน

สวนฐาน มี 2 ชั้น คือ ชั้นที่ 1 ทําเปนฐานสี่เหลี่ยมทรงสูงขนาดใหญ หรืออาจเรียกวา


อาคาร ซึ่งภายในเปนหองโถงโลงมีซุมประตูโขงเปนทางเขาทุกดานและมีซุมหนาตางจํานวน 2 ซุม
ขนาบขางซุมประตูโขง ถัดจากฐานชั้นที่ 1 เปนฐานชั้นที่ 2 หรือฐานของเจดียที่เปนฐานบัวลูกแกว
อกไกยกเก็จ 2 ฐานซอนกันโดยมีทอ งไมคนั่ กลาง เหนือมุมยกเก็จของฐานบัวลูกแกวอกไกตงั้ ประดับ
ทรงสามเหลี่ยม
สวนกลาง เปนชุดฐานในผังกลม คือ ฐานบัวลูกแกวอกไกจํานวน 3 ฐาน ซอนลดหลั่น
กันรองรับทรงระฆัง
100

สวนยอด เหนือทรงระฆังเปนบัลลังกสี่เหลี่ยมยกเก็จ ถัดขึ้นไปเปนกานฉัตร ปลอง


ไฉนและปลี (ภาพลายเสนที่ 11)

ภาพลายเสนที่ 11 พระธาตุสี่ครูบา วัดพระพุทธบาทตากผา ตําบลมะกอก อําเภอปาซาง ลําพูน


ที่มา : พระครูเวฬุวันพิทักษ, แบบสถาปตยกรรมเจดีย โบสถ วิหาร ศาลาการเปรียญ ลานนาไทย
(เชียงใหม : ส.ทรัพยการพิมพ, 2533), 23.
101

ลักษณะที่หยิบยืมมาจากศิลปะลานนา
เดนชัดมากในลักษณะที่หยิบยืมและไดรับแรงบันดาลใจจากพระธาตุหริภุญไชยที่เปน
เจดียตนแบบ อนึ่งการออกแบบเพิ่มซุมประตูโขงที่เปนประตูวัดที่มียอดทรงปราสาท ซึ่งทางภาค
เหนือเรียกวา “โขง” ก็สะทอนการหยิบยืมรูปแบบจากซุมประตูโขงในศิลปะลานนา
ลักษณะที่เพิ่มเติมผสมผสาน
พระธาตุสี่ครูบามีลักษณะที่เพิ่มเติมผสมผสานจากการออกแบบโดยพระครูเวฬุวัน-
พิทกั ษ ซึง่ มีประโยชนใชสอยภายในฐานหรืออาคารรองรับเจดียเ ปนหองโถงขนาดใหญ ผนังภายใน
วาดภาพจิตรกรรมประวัติสี่ครูบา และกลางหองมีเจดียทรงปราสาทลานนาจําลองโดยมีคูหาภายใน
เจดียประดิษฐานพระบรมสารีริกธาตุซึ่งบรรจุภายในเจดียทรงระฆังลานนาจําลอง และแตละดาน
ของซุม จระนําภายในคูหาเจดียท รงปราสาทตัง้ รูปหลอครูบาทัง้ 4 รูป (ภาพที่ 92) สวนการออกแบบ
ซุมประตูและซุมหนาตางโดยรอบ ดานละ 3 ซุม เปนการออกแบบเพิ่มเติมผสมผสานจากแรง
บันดาลใจในซุมประตูโขงของลานนา (ภาพที่ 93) แมลักษณะที่เพิ่มเติมจะมีอยูมาก แตลักษณะ
ของเจดียทรงระฆังลานนาองคนี้ยังเดนชัดในรูปทรงของพระธาตุหริภุญไชยที่เปนตนแบบ

ภาพที่ 92 หองโถงภายใน พระธาตุสี่ครูบา ภาพที่ 93 ซุมประตูโขง พระธาตุสี่ครูบา


102

เจดียทรงระฆังลานนา วัดใหมผดุงเขต ตําบลศาลากลาง อําเภอบางกรวย นนทบุรี


วัดใหมผดุงเขต สรางขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2470 โดยขุนผดุงเขต อดีตกํานันตําบลศาลากลาง
บริจาคที่ดินสรางวัดมีพระครูนนทกิจโกศลเปนเจาอาวาสปจจุบันทานมรณภาพแลวเมื่อวันที่ 1
มีนาคม 2535 เจดียทรงระฆังลานนาองคนี้จากการสอบถาม พระลําจวน ซึ่งหลวงตาเปนหลาน
พระครูนนทกิจโกศลอดีตเจาอาวาสวัดใหมผดุงเขตทานไดใหขอ มูลวา “เจดียอ งคนสี้ รางขึน้ หลังจาก
ทีพ่ ระครูนนทกิจโกศลและคณะญาติโยมกรรมการวัดเดินทางขึน้ ไปนมัสการพระธาตุเจดียท างภาคเหนือ
ทานศรัทธาในพระธาตุหริภุญไชยจึงคิดจะสรางเจดียรูปแบบนี้ที่วัดใหมผดุงเขต คณะกรรมการวัด
ก็เห็นชอบจึงถายรูปมาเปนตัวอยางในการสรางเจดีย เจดียอ งคนบี้ รรจุพระบรมสารีรกิ ธาตุทอี่ งคระฆัง
สวนฐานภายในประดิษฐานรอยพระพุทธบาท และพระพุทธรูปปางตางๆ มีการวางศิลาฤกษ เมื่อ
วันพุธที่ 19 สิงหาคม 2534 โดยนายสมัคร สุนทรเวช สรางเสร็จสมบูรณในปลายป พ.ศ. 2534”44
ลักษณะทั่วไป
เจดียว ดั ใหมผดุงเขตองคนี้ คือ รูปแบบของเจดียท รงระฆังลานนาทีอ่ อกแบบสรางขึน้ ใหม
มีความสูงจากฐานถึงยอดประมาณ 15 เมตร (ภาพที่ 94)
สวนฐาน มี 2 ชั้น คือ ชั้นที่ 1 เปนฐานประทักษิณ 2 ฐานรอบเจดีย ฐานชั้นที่ 2 หรือ
ฐานของเจดียที่เปนฐานบัวลูกแกวอกไกยกเก็จ 2 ฐานซอนกันโดยมีทองไมคั่นกลาง และแตละดาน
มีซมุ ประตูทางเขาคูหาภายในฐาน
สวนกลาง เปนชุดฐานในผังกลม คือฐานบัวลูกแกวจํานวน 3 ฐานซอนลดหลั่นกัน
รองรับทรงระฆัง
สวนยอด เหนือทรงระฆังเปนบัลลังกทรงกลม ถัดขึน้ ไปเปนกานฉัตร ปลองไฉนและปลี
ลักษณะที่หยิบยืมมาจากศิลปะลานนา
ตามประวัติการสรางเจดียองคนี้ พระธาตุหริภุญไชยเปนเจดียตนแบบที่ใหแรงบันดาล
ใจในการหยิบยืมรูปแบบ อนึ่ง ลักษณะที่เพิ่มเติมผสมผสานนาสนใจดังจะกลาวตอไป
ลักษณะที่เพิ่มเติมผสมผสาน
สวนฐานบัวลูกแกวอกไกยกเก็จไดออกแบบใหภายในเปนคูหาเพื่อใหเกิดประโยชน
ใชสอยไดภายใน ซึ่งใชประดิษฐานรอยพระพุทธบาทโดยที่ทางวัดใหมผดุงเขตจะเปดใหนมัสการ
ในวันสําคัญทางพระพุทธศาสนา สวนการออกแบบลักษณะชุดฐานในผังกลมรองรับทรงระฆัง
พระลําจวน อธิบายวา “ไดลดหรือตัดชุดมาลัยเถาออกหนึง่ ชัน้ ซึง่ หลวงพออดีตเจาอาวาสอนุญาต”45

44
สัมภาษณ พระลําจวน, วัดใหมผดุงเขต, 23 มีนาคม 2545.
45
สัมภาษณ พระลําจวน, วัดใหมผดุงเขต, 23 มีนาคม 2545.
103

ภาพที่ 94 เจดียทรงระฆังลานนา วัดใหมผดุงเขต ตําบลศาลากลาง อําเภอบางกรวย นนทบุรี

มาลัยเถาที่ตัดออกไปหนึ่งชั้นตามที่หลวงตาใหขอมูลคงจะหมายถึงสวนของลูกแกวอกไกสองเสนที่
ประดับที่ทองไมของชุดฐานรองรับทรงระฆัง การออกแบบใหมนี้สะทอนความชํานาญหรือความ
นิยมในรูปแบบที่เกิดจากความตองการของผูสรางแตดูแลวยังนึกถึงเจดียตนแบบได
เจดียในศิลปะลานนาภาคเหนือของประเทศไทยที่สรางขึ้นใหมนั้นแสดงความเดนชัด
ของรูปแบบเจดียในอดีตที่หยิบยืมมา โดยเฉพาะเจดียทรงระฆังลานนา แมจะกลาวถึงเจดียทรง
ระฆังลานนาที่สรางใหมเพียง 3 องค แตก็พอมองเห็นประเด็นความศรัทธาที่มีตอเจดียตนแบบ
พระธาตุหริภุญไชย ซึ่งมิไดมีปรากฏอยูเพียงเฉพาะพื้นที่ภาคเหนือเทานั้น46 เปนประเด็นที่นาศึกษา
ตรวจสอบ

46
ดูเพิ่มเติมเจดียทรงระฆังลานนาที่สรางขึ้นใหม ใน สุวิภา พงษปวน, “การศึกษาเจดียในจังหวัดลําพูน.”
(วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต สาขาประวัติศาสตรสถาปตยกรรม บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2541).
104

แรงบันดาลใจจากเจดียในศิลปะลานชาง (ลาว – อีสาน)


เจดียในศิลปะลานชางองคที่สําคัญที่จากการสํารวจภาคสนามพบวามีการยอนกลับไป
หยิบยืมรูปแบบมาสรางเจดียสมัยใหม คือ พระธาตุพนมองคปจจุบันที่ไดรับการบูรณปฏิสังขรณ
ขึ้นใหมเมื่อ พ.ศ. 2522 (ภาพที่ 15) (ภาพลายเสนที่ 12) ที่กลายเปนเอกลักษณของภาคอีสาน

ภาพลายเสนที่ 12 พระธาตุพนม อําเภอธาตุพนม นครพนม


ที่มา : กรมศิลปากร, จดหมายเหตุการบูรณะปฏิสังขรณองคพระธาตุพนม
(กรุงเทพฯ : โรงพิมพพิฆเณศ, 2522), ไมปรากฏเลขหนา.
105

พระธาตุสัจจะ วัดลาดปูทรงธรรม ตําบลทาลี่ อําเภอทาลี่ เลย


ประวัตเิ รือ่ งราวเกีย่ วกับการสรางพระธาตุสจั จะมีปรากฏจารึกอยูบ นแผนหินออนขนาดใหญ
จํานวน 2 แผน ขอความสําคัญกลาวถึงการเสี่ยงสัจอธิษฐานในการสรางโดยอางถึงสิ่งศักดิ์สิท ธิ์
โดยพระธาตุสัจจะเริ่มสรางเมื่อ พ.ศ. 2519 แลวเสร็จใน พ.ศ. 2523 รูปแบบของพระธาตุสัจจะได
รับแรงบันดาลใจจากพระธาตุพนมนํามาดัดแปลงออกแบบใหม
ลักษณะทั่วไป
พระธาตุสัจจะ เปนเจดียที่ออกแบบใหมโดยการหยิบยืมรูปแบบมาจาก พระธาตุพนม
ความสูงจากฐานถึงสวนยอดประมาณ 25 เมตร (ภาพที่ 95)

ภาพที่ 95 พระธาตุสัจจะ วัดลาดปูทรงธรรม ตําบลทาลี่ อําเภอทาลี่ เลย

สวนฐาน เปนฐานหรืออาคารแปดเหลีย่ มทรงสูงโดยแตละดานทําเปนซุม ประตู ภายใน


เปนคูหาประดิษฐานพระพุทธชินราชจําลอง
106

สวนกลาง ถัดจากฐานหรืออาคารแปดเหลี่ยม เปนเรือนธาตุทรงสี่เหลี่ยม ซึ่งแตละดาน


มีซุมจระนํา มีการประดับลวดลายปูนปนรูปนางอัปสรโปรยดอกไม
สวนยอด เปนทรงสี่เหลี่ยมยืดสูงที่เรียกวา ทรงบัวเหลี่ยม
ลักษณะที่หยิบยืมมาจากศิลปะลานชาง (ลาว – อีสาน)
สวนยอดของพระธาตุสจั จะ คือ สวนทีเ่ ดนชัดในแรงบันดาลใจทีห่ ยิบยืมมาจากเจดียต น แบบ
พระธาตุพนม ทั้งลักษณะทรงบัวเหลี่ยมและลวดลายประดับตกแตงดูแลวยังนึกเห็นตนแบบได
ลักษณะที่เพิ่มเติมผสมผสาน
การออกแบบฐานเจดียเปนอาคารทรงแปดเหลี่ยมที่มีคูหาภายในสําหรับประดิษฐาน
พระพุทธชินราชจําลอง เปนลักษณะที่ผสมผสานรูปแบบตามความนิยมและคํานึงถึงประโยชน
ใชสอยได สวนลวดลายประดับตกแตงแมจะหยิบยืมจากเจดียตนแบบ พระธาตุพนม แตก็มีการ
ออกแบบจัดวางลายใหมอยูมาก

โบสถยอดพระธาตุพนม วัดสระพังทอง ตําบลสะอาดสมบูรณ อําเภอเมือง รอยเอ็ด


การกอสรางเสนาสนะในวัดสระพังทองลวนสรางขึน้ ใหมทสี่ าํ คัญ คือ โบสถยอดพระธาตุ-
พนม โดยจําลองพระธาตุพนมไวแทนสวนหลังคาของโบสถออกแบบโดย คุณตาพัน วรรณุเสน
ชางทองถิ่นที่มีความสามารถซึ่งในการออกแบบและการกอสรางคุณตาปรึกษาตลอดกับ พระครู
โสภณสราภิวัฒน เจาอาวาสวัดสระพังทอง “กอนจะสรางจําลองพระธาตุพนม ไดเดินทางไป
ถายภาพมาเพื่อจะทําโบสถ และขางลางใตดินทําเปนที่แสดงโบราณวัตถุ ชวยกันทําชวยกันคิดกับ
พระอาจารย ซึง่ พระอาจารยบอกทําไปเลยไมซา้ํ ใคร...ไดเริม่ กอสรางประมาณป พ.ศ. 2503 สรางเสร็จ
พ.ศ. 2529 และพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ให คุณเชาวน ณศิลวันต
องคมนตรี เปนผูแ ทนพระองคประกอบพิธบี รรจุพระบรมสารีรกิ ธาตุ และตัดลูกนิมติ อุโบสถ วันศุกร
ที่ 16 ธันวาคม 2531”47
ลักษณะทั่วไป
โบสถยอดพระธาตุพนม วัดสระพังทอง เปนโบสถที่ออกแบบในลักษณะจัตุรมุขมี
สวนยอดพระธาตุพนมจําลอง ความสูงจากฐานถึงยอดประมาณ 20 เมตร (ภาพที่ 96)
สวนฐาน เปนอาคารโบสถจตั รุ มุข มีชอ งประตูทางเขาอยูท ที่ กุ ดาน ตอนบนเปนลานกวาง
แทนหลังคามีรูปปูนปนพระสงฆนั่งพนมมือประจําบนมุมทุกมุมรวม 8 รูป โดยตางนั่งพนมมือไปที่
ศูนยกลาง คือ พระธาตุพนมจําลอง

47
สัมภาษณ คุณพัน วรรณุเสน, 14 พฤษภาคม 2545.
107

สวนกลาง แทนดวยเรือนธาตุทรงสี่เหลี่ยมจัตุรัส 2 ชั้นซอน


สวนยอด คือทรงสีเ่ หลีย่ มยืดสูงทีเ่ รียกวา ทรงบัวเหลีย่ ม ทัง้ ทีต่ งั้ แตสว นกลางถึงสวนยอด
ก็คือ การจําลองมาจากพระธาตุพนม
ลักษณะที่หยิบยืมมาจากศิลปะลานชาง (ลาว – อีสาน)
จากประวัตกิ ารกอสรางโบสถวดั สระพังทอง สะทอนความนิยมในรูปแบบของพระธาตุ-
พนมที่เปนเสมือนเอกลักษณของชาวอีสาน การหยิบยืมมาสรางสวนบนของโบสถจึงเปนการ
ออกแบบที่มีเอกลักษณ รวมถึงองคประกอบอื่นๆ ที่เพิ่มเติมตามแนวคิดผูออกแบบเปนที่นาสนใจ
ดังจะกลาวตอไป

ภาพที่ 94 โบสถยอดพระธาตุพนม วัดสระพังทอง ตําบลสะอาดสมบูรณ อําเภอเมือง รอยเอ็ด

ลักษณะที่เพิ่มเติมผสมผสาน
การออกแบบลวดลายประดับซุมประตูโบสถจัตุร มุข แมจะเปนเพียงลายกระหนก
แบบพื้นบานโดยการหลอปน และทาสีประดับรอบซุมของประตู ภายในซุมประตูปนพระพุทธรูป
108

แบบนูนต่าํ ระบายสีทพี่ ระวรกายและสีจวี ร พืน้ หลังระบายเปนภาพทิวทัศน ก็แสดงถึงความสามารถ


ของคุณตาพัน วรรณุเสน ผูออกแบบ (ภาพที่ 97) คุณตาพันอธิบายวา “ตาทําลายกระหนกประดับ
โบสถเปนลายกระหนกออกลวดลายเปนสัตวตางๆ เชน นก กระรอก รวมถึงเปนหนุมาน”48
สวนการเพิ่มเติมการออกแบบสวนหองโถงใตดิน ซึ่งมีทางลงอยูทางกําแพงแกวโบสถ
ดานทิศตะวันตกที่เรียกวา “อุโมงคสถานโบราณวัตถุ” ที่มีประโยชนใชงานในการเก็บและจัดแสดง
ของใชพื้นบาน หินและฟอสซิลสัตว และพระพุทธรูปสรางขึ้นใหม เปนตน (ภาพที่ 98) การเพิ่ม
เติมลักษณะใหมๆ จึงนาสนใจ

ภาพที่ 97 ลวดลายประดับซุมประตูโบสถยอดพระธาตุพนม และคุณตาพัน วรรณุเสน ชางทองถิ่น

ภาพที่ 98 อุโมงคสถานโบราณวัตถุ หรือหองโถงใตดินโบสถยอดพระธาตุพนม

48
สัมภาษณ คุณพัน วรรณุเสน, 14 พฤษภาคม 2545.
109

พระธาตุพนมจําลอง วัดเวฬุวัน ตําบลในเมือง อําเภอเมือง รอยเอ็ด


พระวิสุทธิธรรมคณี เจาอาวาสวัดเวฬุวัน ทานเลาถึงประวัติการสรางวา “พระธาตุพนม
จําลองนีส้ รางขึน้ บนอาคารสูง 3 ชัน้ โดยชัน้ ที่ 1 และ 2 เปนศูนยอนุรกั ษศลิ ปะและวัฒนธรรมอีสาน
วัดเวฬุวนั ชัน้ 3 เปนอาคารแปดเหลีย่ มภายในประดิษฐานพระพุทธรูป สวนบนอาคารสรางพระธาตุพนม
จําลอง และยังสรางชัน้ ใตดนิ ดวยไวเปนหองบรรจุวตั ถุมงคล พระพุทธรูปปางตางๆ ซึง่ ปจจุบนั มี
น้าํ ทวมขังยังขาดปจจัยในการบูรณะ พระธาตุพนมจําลองเริม่ การกอสรางป พ.ศ. 2530 เสร็จสมบูรณป
พ.ศ. 2537 และมีพธิ ยี กฉัตร พ.ศ. 2538 โยมพัน วรรณุเสน เปนคนออกแบบ”49 คนออกแบบพระธาตุ-
พนมจําลองตามทีท่ า นเจาคุณกลาวถึงก็คอื คุณตาพัน วรรณุเสน ผูอ อกแบบโบสถยอดพระธาตุพนม
วัดสระพังทอง ที่กลาวถึงไปแลว คุณตาพันใหขอมูลเพิ่มเติมวา “ทานเจาอาวาสวัดเวฬุวันให
ออกแบบเปนศาลา 3 ชั้น ชั้นบนเปนพระธาตุพนม สวนหองใตดินทานใหชางอื่นทําตอ”50
ลักษณะทั่วไป
พระธาตุพนมจําลอง วัดเวฬุวัน เปนอาคารคอนกรีตเสริมเหล็กสูง 3 ชั้น สวนยอดเปน
การจําลองแบบจากพระธาตุพนม ความสูงจากฐานถึงสวนยอดประมาณ 25 เมตร (ภาพที่ 99)
สวนฐาน เปนอาคารทรงสี่เหลี่ยมจัตุรัสที่เปนชั้นใตดิน 1 ชั้น ชั้น 1 และ 2 เปนหอง
ทํางานศูนยอนุรักษศิลปะและวัฒนธรรมอีสาน วัดเวฬุวัน จากชั้นที่ 2 ขึ้นไปสูลานประทักษิณรอบ
อาคารชั้นที่ 3 ที่สรางเปนทรงแปดเหลี่ยมมีซุมประตูทุกดานภายในประดิษฐานพระพุทธรูป
สวนกลาง คือเรือนธาตุทรงสี่เหลี่ยมจัตุรัสซอนลดหลั่นกัน 2 ชั้น
สวนยอด ทรงสูงของสวนยอดเปนรูปแบบที่เรียกวา ทรงบัวเหลี่ยม
ลักษณะที่หยิบยืมมาจากศิลปะลานชาง (ลาว – อีสาน)
พระธาตุพนมเปนแรงบันดาลใจสําคัญในการหยิบยืมมาสรางพระธาตุพนมจําลองที่
วัดเวฬุวนั ทานเจาคุณเลาวา “คนรอยเอ็ดในอดีตไดเดินทางไปชวยสรางพระธาตุพนม”51 ซึง่ สะทอน
ความผูกพันและศรัทธาในพระธาตุพนมจนถึงปจจุบัน
ลักษณะที่เพิ่มเติมผสมผสาน
อาจกลาวไดวา พระธาตุพนมจําลองเปนเพียงสือ่ สัญลักษณทสี่ ะทอนนัยของความศรัทธา
ลักษณะการออกแบบจึงเพิ่มเติมผสมผสานขึ้นใหม ไมวาจะเปนลวดลายประดับตกแตงพระธาตุ
และเดนชัดมากในดานใหเกิดประโยชนใชสอยไดจากพื้นที่ภายในอาคารหรือสวนฐานที่รองรับ
พระธาตุพนมจําลอง (ภาพที่ 100) ซึ่งเกิดตามความตองการของผูสราง

49
สัมภาษณ พระวิสุทธิธรรมคณี, เจาอาวาสวัดเวฬุวัน, 14 พฤษภาคม 2545.
50
สัมภาษณ คุณพัน วรรณุเสน, 14 พฤษภาคม 2545.
51
สัมภาษณ พระวิสุทธิธรรมคณี, เจาอาวาสวัดเวฬุวัน, 14 พฤษภาคม 2545.
110

ภาพที่ 99 พระธาตุพนมจําลอง วัดเวฬุวัน ตําบลในเมือง อําเภอเมือง รอยเอ็ด

ภาพที่ 100 สวนฐานที่สรางเปนอาคารรองรับพระธาตุพนมจําลอง


111

พระมหาธาตุเจดียพ ระจอมไทยบารมีประกาศ วัดไชยธาราราม (วัดฉลอง) ตําบลฉลอง อําเภอเมือง


ภูเก็ต
พระมหาธาตุเจดียพระจอมไทยบารมีประกาศ เปนเจดียขนาดใหญที่รูปทรงถายแบบ
จากพระธาตุพนม และมีลักษณะเพิ่มเติมอยูมาก ปายจารึกขอความระบุวา พระมหาธาตุเจดียพระ-
จอมไทยบารมีประกาศ สรางโดย พระครูอุดมเวชกิจ สรางเมื่อ 6 มีนาคม 2541 – 6 มีนาคม 2544
ออกแบบควบคุมการกอสราง อดีตกํานันเสมียน สุวรรณรัตน ซึ่งพระมหาธาตุเจดียฯ องคนี้สราง
ขึ้นเพื่อบรรจุพระบรมสารีริกธาตุที่อัญเชิญมาจากศรีลังกา โดยสมเด็จพระสังฆราชประทานใหตาม
คํากราบทูลขอของคุณอัญชลี วานิชเทพบุตร สมาชิกสภาผูแทนราษฎรจังหวัดภูเก็ต เพื่ออัญเชิญมา
ประดิษฐาน ณ วัดไชยธาราราม หรือวัดฉลอง และวันที่ 23 กันยายน 2545 พระบาทสมเด็จพระเจา-
อยูหัวทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ใหพระบรมโอรสาธิราชเจาฟามหาวชิราลงกรณ สยามมกุฎราช-
กุมาร เสด็จพระราชดําเนินแทนพระองคมาทรงประกอบพิธีบรรจุพระบรมสารีริกธาตุ
ลักษณะทั่วไป
พระมหาธาตุเจดียฯ สรางเปนอาคารทรงสี่เหลี่ยม 2 ชั้น สวนยอดเปนรูปแบบของ
พระธาตุพนม มีการประดับกระเบื้องหินออนโดยทั่ว ความสูงจากฐานถึงสวนยอดประมาณ 40
เมตร (ภาพที่ 101)
สวนฐาน สรางเปนอาคารทรงสีเ่ หลีย่ ม 2 ชัน้ แตละดานชัน้ ที่ 1 ประกอบดวย ซุม ประตู
ซุม หนาตาง และซุม จระนําประดิษฐานพระพุทธรูป สวนชัน้ ที่ 2 เปนซุม หนาตางสลับกับซุม จระนํา
ประดิษฐานพระพุทธรูป
สวนกลาง ถัดจากชั้นที่ 2 ของอาคารเปนลานประทักษิณรอบเรือนธาตุทรงมณฑป
จัตรุ มุข ซึง่ บนหลังคาจัตรุ มุข และมุมแตละชัน้ ทีซ่ อ นกอนถึงสวนยอดประดับเจดียท รงระฆังจําลอง
สวนยอด ทรงสูงของสวนยอดเปนรูปแบบทีเ่ รียกวา ทรงบัวเหลีย่ ม ตอดวยปลีและฉัตร
ลักษณะที่หยิบยืมมาจากศิลปะลานชาง (ลาว – อีสาน)
สวนยอดของเจดียพระมหาธาตุเจดียพระจอมไทยบารมีประกาศเดนชัดที่ทรงบัวเหลี่ยม
แบบพระธาตุพนม ซึ่งคุณเสมียน สุวรรณรัตน ผูออกแบบเจดียใหขอมูลวา “เปนความตั้งใจของ
พระครูอุดมเวชกิจ เจาอาวาสวัดไชยธาราราม ที่ใหออกแบบพระมหาธาตุเจดีย ก็คิดถึงพระเจดีย
องคสําคัญของประเทศไทย โดยเฉพาะพระธาตุพนมซึ่งไดเดินทางไปถายภาพมา และใหสถาปนิก
เขียนแบบจนเปนที่ลงตัว”52 อนึ่ง แนวคิดในการออกแบบมีเพิ่มเติมผสมผสานอื่นๆ อยูดวย

52
สัมภาษณ คุณเสมียน สุวรรณรัตน, 20 กุมภาพันธ 2546.
112

ภาพที่ 101 พระมหาธาตุเจดียพระจอมไทยบารมีประกาศ วัดไชยธาราราม (วัดฉลอง) อําเภอเมือง ภูเก็ต

ลักษณะที่เพิ่มเติมผสมผสาน
ประโยชนใชสอยภายในองคเจดียเปนลักษณะที่ปรากฏเปนแนวคิดของเจดียสรางใหม
เกือบทุกองค แตพระมหาธาตุเจดียฯ องคนี้ การออกแบบเดนชัดในการเพิ่มเติมผสมผสานหยิบยืม
รูปแบบมามากกวา 1 แบบ “นอกจากการนํารูปทรงพระธาตุพนมมาเปนสวนยอดแลว สวนฐานถึง
เรือนธาตุทรงมณฑปก็ไปถายแบบและไดนาํ มาปรับปรุงออกแบบใหมจากโลหะปราสาท วัดราชนัดดา
(ภาพที่ 102) และสวนเจดียจําลองประดับสันหลังคามุขและมุมเรือนธาตุไดแรงบันดาลใจมาจาก
การประดับเจดียจําลองของพระบรมธาตุไชยา สุราษฎรธานี เปนการเอาพระธาตุเจดียทั้งหมดมา
รวมกันที่วัดฉลองโดยผสมผสานกันเปนรูปแบบเฉพาะใหม แตยังเดนชัดในรูปทรงพระธาตุพนม
113

อยูมาก”53 สวนยอดของพระมหาธาตุเจดียพระจอมไทยบารมีประกาศจึงสะทอนแนวคิดการเพิ่มเติม
ผสมผสานตามความนิยมของยุคสมัย (ภาพที่ 103) อนึ่ง วัดไชยธารารามหรือวัดฉลอง วัดสําคัญ
ของจังหวัดภูเก็ตทีน่ อกจากชาวไทยจะเดินทางมากราบไหวทาํ บุญแลว กลุม นักทองเทีย่ วชาวตางชาติ
โดยเฉพาะพุทธศาสนิกชนจากมาเลเซียจะเดินทางมามากที่สุด ทําใหเปนแหลงทองเที่ยวสําคัญทาง
ศิลปวัฒนธรรมของจังหวัดภูเก็ต

ภาพที่ 102 โลหะปราสาท ภาพที่ 103 สวนยอดของพระมหาธาตุเจดีย-


วัดราชนัดดา กรุงเทพมหานคร พระจอมไทยบารมีประกาศ วัดไชยธาราราม

เจดียห รือพระธาตุในศิลปะลานชาง (ลาว – อีสาน) มีพฒ


ั นาการทีค่ ลีค่ ลายมาเปนเอกลักษณ
ของอีสานโดยเฉพาะ พระธาตุพนม องคที่ผานการบูรณปฏิสังขรณขึ้นใหม พ.ศ. 2522 คือตนแบบ
ทีเ่ ปนแรงบันดาลใจสําคัญในการหยิบยืมมาประยุกตออกแบบใหมหรือจําลองรูปทรงทีเ่ ปนเอกลักษณ
เฉพาะที่เรียกวา ทรงบัวเหลี่ยม มีปรากฏที่เจดียสรางขึ้นใหมทุกองค อาจกลาวไดวาความศรัทธา
ของชาวอีสานตอพระธาตุพนมมิไดเปนเพียงเจดียบรรจุพระบรมสารีริกธาตุ แตเสมือนเปน
สัญลักษณบงบอกความเปนอีสานที่สื่อทางรูปแบบของพระธาตุเจดีย

53
สัมภาษณ คุณเสมียน สุวรรณรัตน, 20 กุมภาพันธ 2546.
114

แรงบันดาลใจจากเจดียในศิลปะอยุธยา
เจดียโบราณสถานในศิลปะอยุธยาอดีตราชธานีสําคัญทางภาคกลางของประเทศไทย
เปนแหลงขอมูลและแรงบันดาลใจทางศิลปกรรมที่สําคัญโดยเฉพาะการสืบทอดแบบอยางและ
ความนิยมจากกรุงศรีอยุธยาสูกรุงรัตนโกสินทร แมตั้งแตสมัยรัชกาลที่ 4 ทรงเปลี่ยนแปลงรูปแบบ
พระราชนิยมเจดีย แตเจดียในศิลปะอยุธยาที่ทรงยอนกลับไปจําลองแบบมาก็พัฒนาเปลี่ยนแปลง
เปนเจดียในศิลปะรัตนโกสินทร อันมีนัยสําคัญตอเจดียสรางใหมหลัง พ.ศ. 2475 ถึงปจจุบันอยูมาก
ดังจะกลาวในประเด็นเจดียในศิลปะรัตนโกสินทรตอไป
อนึ่ง การสํารวจภาคสนามพบวา เจดียสรางใหมที่ยอนกลับไปหยิบยืมรูปแบบจากเจดีย
ในศิลปะอยุธยาทีเ่ ลือกมาเปนประเด็นศึกษา 2 องค คือ เจดียย ทุ ธหัตถี สุพรรณบุรี และเจดียส มเด็จ-
พระนเรศวรมหาราชนุสรณ เชียงใหม การสรางเจดียสะทอนความเกี่ยวของกับแรงบันดาลใจทาง
ประวัตศิ าสตรเปนหลัก สวนรูปแบบเจดียเ ปนการหยิบยืมออกแบบขึน้ ใหมจากเจดียป ระธานวัดใหญ-
ชัยมงคล พระนครศรีอยุธยา (ภาพที่ 104) (ภาพลายเสนที่ 13) ซึ่งตามประวัติศาสตรเขาใจวาสราง
หรือมีการบูรณะครั้งสําคัญในรัชกาลสมเด็จพระนเรศวรมหาราช

ภาพที่ 104 เจดียประธานทรงแปดเหลี่ยม วัดใหญชัยมงคล พระนครศรีอยุธยา ศิลปะอยุธยา


115

ภาพลายเสนที่ 13 เจดียประธานทรงแปดเหลี่ยม วัดใหญชัยมงคล พระนครศรีอยุธยา ศิลปะอยุธยา


ที่มา : หมอมราชวงศคึกฤทธิ์ ปราโมช, บรรณาธิการ, ลักษณะไทย เลม 1
(กรุงเทพฯ : โรงพิมพไทยวัฒนาพานิช, 2525), 212.
116

เจดียยุทธหัตถี ตําบลดอนเจดีย อําเภอดอนเจดีย สุพรรณบุรี


หลังจากสืบคนหาและคนพบเจดียยุทธหัตถีตามที่กลาวในประวัติศาสตรวาสมเด็จพระ-
นเรศวรมหาราชทรงสรางขึ้นเพื่อเฉลิมพระเกียรติที่ชนชางชนะพระมหาอุปราชของพมา พระบาท-
สมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัว รัชกาลที่ 6 ทรงจัดพระราชพิธีบวงสรวงเจดียยุทธหัตถี และทรงมี
พระราชดําริที่จะบูรณะพระเจดียขึ้นใหม โดยโปรดฯ ใหกรมศิลปากรเปนผูออกแบบ แตเนื่องจาก
ติดขัดเรื่องงบประมาณแผนดิน โครงการกอสรางจึงหยุดชะงักไป54
10 พฤศจิกายน 2493 จอมพล ผิน ชุณหะวัณ ริเริ่มโครงการอนุสรณดอนเจดียขึ้น
อีกครั้งเพื่อใหประชาชนชาวไทยไดรําลึกถึงบรรพชนที่ไดสละเลือดเนื้อเพื่อชาติ โดยมอบหมายให
อธิบดีกรมการศาสนาทําการศึกษาคนควาเกี่ยวกับเจดียยุทธหัตถี 23 มกราคม 2495 คณะรัฐมนตรี
มีมติเห็นชอบบูรณะเจดียยุทธหัตถี 6 พฤษภาคม 2496 คณะกรรมการบูรณะอนุสรณดอนเจดีย
เห็นชอบกับรูปแบบเจดียท คี่ ณะกรรมการพิจารณารูปแบบเจดียน าํ เสนอ คือ เปนเจดียท รงระฆัง ตาม
แบบเจดียวัดใหญชัยมงคล จังหวัดพระนครศรีอยุธยา โดยมีมติใหกรมศิลปากรดําเนินการกอสราง
(ออกแบบโดยพระพรหมพิจิตร) เมื่อวันที่ 26 สิงหาคม 2497 แลวเสร็จวันที่ 20 มกราคม 2500
พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวและสมเด็จพระนางเจาฯ พระบรมราชินีนาถ เสด็จพระราชดําเนิน
บวงสรวง และประกอบพิธีเปดเมื่อวันที่ 20 มกราคม 250255
ลักษณะทั่วไป
เจดียยุทธหัตถีที่สรางขึ้นใหมเพื่อครอบซากฐานเจดียยุทธหัตถีโบราณที่กลาววาสมเด็จ-
พระนเรศวรมหาราชทรงสรางขึ้นเพื่อเฉลิมพระเกียรติที่ชนชางชนะพระมหาอุปราชของพมา โดย
ภายในองคเจดียสรางเปนที่วางโลงสูงขึน้ ไปตามรูปทรงเจดียซ งึ่ มีพนื้ ทีส่ ามารถเดินไดรอบซากเจดีย-
ยุทธหัตถีโบราณ มีการจัดนิทรรศการถาวรประวัติเจดียยุทธหัตถี และประวัติการกอสรางเจดีย-
ยุทธหัตถีองคปจจุบัน ความสูงจากฐานถึงยอด 66 เมตร
สวนฐาน มี 3 ชั้น โดยชั้นที่ 1 เปนฐานบัวเพิ่มมุมยี่สิบแปดที่บริเวณทองไมยืดสูงเพื่อ
เจาะเปนชองลูกกรงโดยรอบ ตรงกลางดานมีประตูทางเขาไปยังภายในองคเจดีย ขนาบขางประตู
เปนบันไดทางขึ้นยังลานประทักษิณรอบฐานชั้นที่ 2 ซึ่งเปนฐานแปดเหลี่ยมมีการเจาะชองลูกกรง
ทุกดาน สวนฐานชั้นที่ 3 เปนชุดฐานสิงหแปดเหลี่ยม 3 ฐานซอนลดหลั่นกันรองรับทรงระฆัง
สวนกลาง ถัดจากชุดฐานสิงหเปนบัวปากระฆังแปดเหลี่ยมที่มีการเจาะชองลูกกรงโดย
รอบทุกดานรองรับทรงระฆัง

54
จมื่นอมรดรุณารักษ, อนุสรณดอนเจดียพระนเรศวร (กรุงเทพฯ : องคการคาของคุรุสภา, 2520).
55
สรุปความประวัติการสรางเจดียยุทธหัตถีจากนิทรรศการถาวรภายในองคเจดีย
117

สวนยอด เหนือทรงระฆังเปนบัลลังกแปดเหลี่ยม ตอดวยปลองไฉนปลีและลูกแกว


(ภาพที่ 105)

ภาพที่ 105 เจดียยุทธหัตถี และพระบรมราชานุสาวรียพระนเรศวรมหาราช สุพรรณบุรี


ที่มา : สมาคมสุพรรณพระนคร, เจดียยุทธหัตถีอยูที่สุพรรณบุรี
(กรุงเทพฯ : โรงพิมพมิตรนครการพิมพ, 2516), หนาปก.

ลักษณะที่หยิบยืมจากศิลปะอยุธยา
จากประวั ติ ก ารก อ สร า งเจดี ย ต น แบบก็ คื อ เจดี ย ป ระธานวั ด ใหญ ชั ย มงคล
พระนครศรีอยุธยา ทีเ่ ปนรูปแบบเจดียท รงแปดเหลีย่ มทีค่ ณะกรรมการพิจารณารูปแบบเจดียอ อกแบบ
118

นําเสนอตามประวัติศาสตรเขาใจวาสรางหรือมีการบูรณะครั้งสําคัญในรัชกาลสมเด็จพระนเรศวร-
มหาราช เชนเดียวกับเจดียยุทธหัตถีที่โปรดเกลาฯ ใหสรางขึ้นตรงที่ทํายุทธหัตถีกับพระมหาอุปราช
ของพมา
ลักษณะที่เพิ่มเติมผสมผสาน
ลักษณะโดยทัว่ ไปยังสะทอนถึงรูปทรงของเจดียต น แบบ สวนลักษณะทีเ่ พิม่ ดานรูปแบบ
ก็คือการสรางชุดฐานสิงหแปดเหลี่ยม 3 ฐานซอนลดหลั่นกันรองรับทรงระฆัง และการสรางให
ภายในองคเจดียสูงโลงขึ้นถึงทรงระฆัง เพื่อประโยชนในการครอบซากเจดียโบราณใหมีการดูแล
รักษาที่เหมาะสมตามความศรัทธาในประวัติศาสตรความเปนมาของเจดียยุทธหัตถี และเพื่อให
สามารถเดินไดรอบซากเจดียยุทธหัตถีโบราณ อนึ่ง เมื่อป พ.ศ. 2542 ทางกรมศิลปากรไดรับ
จัดสรรงบประมาณสําหรับการบูรณะ ซึ่งก็ไดดําเนินการเสริมความมั่นคงตกแตงทาสีผนังใหม
และจัดหองนิทรรศการถาวรประวัติเจดียยุทธหัตถีดวยระบบสื่อผสม (ภาพที่ 106) ทําใหเกิดการ
เรียนรูประวัติความเปนมาของเจดียยุทธหัตถีที่นาสนใจ

ภาพที่ 106 ซากฐานเจดียยุทธหัตถีโบราณภายในองคเจดีย และการจัดนิทรรศการระบบสื่อผสม


119

เจดียสมเด็จพระนเรศวรมหาราชนุสรณ ตําบลเมืองงาย อําเภอเชียงดาว เชียงใหม


ประวัติการสรางเจดียสมเด็จพระนเรศวรมหาราชนุสรณมีปรากฏจารึกบนแผนหินออน
ขนาดใหญที่อยูภายในซุมจระนําสวนฐานเจดีย โดยที่ขาราชการและพอคาประชาชนในจังหวัด
เชียงใหมไดรวมกันพิจารณา เห็นวาสมเด็จพระนเรศวรมหาราชไดทรงบําเพ็ญพระราชกรณียกิจอัน
เปนประโยชนแกชาติโดยเอนกประการ สมควรทีป่ ระชาชนชาวไทยจะไดระลึกถึงพระมหากรุณาธิคณ ุ
อยูตลอดไป ประกอบกับบริเวณสถานที่กอสรางนี้ เปนที่ซึ่งพระองคไดเสด็จฯ กรีฑาทัพ และ
พักแรมกอนจะไปตีเมืองอังวะ ประเทศพมา สมควรที่จะสรางสิ่งอนุสรณขึ้นไวใหประชาชนทั่วไป
ไดมโี อกาสบําเพ็ญกุศลบวงสรวง บูชาถวายความจงรักภักดี ระลึกถึงพระมหากรุณาธิคณ ุ ของพระองค
ดังนั้น พ.ต.อ.นิรันดร ชัยนาม ผูวา ราชการจังหวัดจึงนําความกราบบังคมทูลพระบาทสมเด็จ-
พระเจาอยูหัว ขอพระราชทานพระบรมราชานุญาตจัดสรางพระสถูปเจดีย และพระอนุสาวรียของ
สมเด็จพระนเรศวรขึน้ และไดกราบบังคมทูลพระกรุณาขอพระราชทานพระบรมราชวโรกาส เสด็จฯ
ทําพิธีบวงสรวงพระวิญญาณของพระองค จึงเมื่อวันที่ 25 มกราคม 2508 เวลาประมาณ 10.30 น.
พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวภูมิพลอดุลยเดช พรอมดวยสมเด็จพระนางเจาฯ พระบรมราชินีนาถ
ไดเสด็จพระราชดําเนินมาทรงบําเพ็ญพระราชกุศล บวงสรวงพระวิญญาณสมเด็จพระนเรศวร ณ
บริเวณนี้ เจดียฯ นี้ไดเริ่มกอสรางเมื่อวันที่ 5 กันยายน 2512 แลวเสร็จเรียบรอยเมื่อวันที่ 19
กันยายน 2513 (ภาพที่ 107)

ภาพที่ 107 เจดียสมเด็จพระนเรศวรมหาราชนุสรณ ตําบลเมืองงาย อําเภอเชียงดาว เชียงใหม


120

ลักษณะทั่วไป
เจดียสมเด็จพระนเรศวรมหาราชนุสรณตั้งอยูบริเวณพื้นที่ดินซึ่ง นายอินถา และนาง
บัวจันทร ใจบุญ นอมเกลาถวายเปนเนื้อที่ 5 ไรเศษ กับไดจัดหาเงินทุนซื้อเพิ่มเติมอีก 21 ไร รวม
เปนเนื้อที่ 25 ไรเศษ โดยความสูงของเจดียจากฐานถึงสวนยอด 25.12 เมตร
สวนฐาน มี 2 ชั้น โดยชั้นที่ 1 เปนฐานบัวแปดเหลี่ยมทรงสูง โดยดานประจําทิศสราง
เปนซุมจระนํา ดานที่เหลือติดประดับภาพปนดินเผาแสดงพระราชประวัติสมเด็จพระนเรศวร-
มหาราช ถัดขึ้นไปเปนชุดบัวถลา 3 ฐานในผังแปดเหลี่ยมซอนลดหลั่นกันรองรับทรงระฆัง
สวนกลาง ถัดจากชุดบัวถลาเปนบัวปากระฆังแปดเหลี่ยมรองรับทรงระฆัง
สวนยอด เหนือทรงระฆังเปนบัลลังกแปดเหลี่ยม ตอดวยปลองไฉน ปลีและลูกแกว
ลักษณะที่หยิบยืมมาจากศิลปะอยุธยา
เจดียองคนี้มีลักษณะที่หยิบยืมมาจากศิลปะอยุธยานาจะเปนแรงบันดาลใจจาก เจดีย-
ประธานวัดใหญชัยมงคล พระนครศรีอยุธยา แตเปนไปในลักษณะหยิบยืมรับรูปแบบของเจดีย-
ยุทธหัตถีที่สรางกอนประมาณ 10 ปที่สุพรรณบุรี มาจําลองยอขนาดใหเหมาะสมกับงบประมาณ
การกอสราง อนึ่ง การออกแบบใหเหมาะสมกับงานชางทองถิ่นของพื้นที่ตั้งก็เปนลักษณะที่เพิ่มเติม
ผสมผสานอยางนาสนใจ
ลักษณะที่เพิ่มเติมผสมผสาน
ลักษณะที่เพิ่มเติมก็คือ ชุดบัวถลา 3 ฐานในผังแปดเหลี่ยมซอนลดหลั่นกันรองรับทรง
ระฆัง หรืออาจเรียกวาฐานบัวคว่ําเรียงลดหลั่นกันซึ่งนิยมทํากันมากในเจดียทรงระฆังศิลปะสุโขทัย
แตเจดียทรงระฆังลานนาบางกลุมที่ไดรับอิทธิพลรูปแบบฐานนี้จากศิลปะสุโขทัยก็มีทํากันอยู อาทิ
เจดียว ดั พระธาตุดอยสุเทพ เชียงใหม การสรางชุดบัวถลาอาจสะทอนการสรางชุดฐานทีเ่ ปนงานชาง
ที่นิยมทํากันในทองถิ่นผสมผสานเขาไป สวนการประดับภาพปนดินเผาแสดงพระราชประวัติของ
สมเด็จพระนเรศวรมหาราช (ภาพที่ 108) เปนงานประดับตกแตงที่มาจากโครงการบูรณะปรับปรุง
องคเจดีย โดยงบประมาณองคการบริหารสวนจังหวัดเชียงใหม ในป พ.ศ. 2541
121

ภาพที่ 108 การประดับภาพปนดินเผาพระราชประวัติสมเด็จพระนเรศวรมหาราชที่ฐานเจดีย

แมเจดียในศิลปะอยุธยาจะเปนเพียงโบราณสถาน แตรูปแบบที่มีลักษณะเฉพาะและ
หลากหลายรวมถึง การศึกษาขอมูล ประวัติก ารสรา งหรือบูร ณปฏิสัง ขรณไ ดเ ปน สว นสําคัญ ใน
แรงบันดาลใจของการหยิบยืมนํามาประยุกตออกแบบสรางเจดียขึ้นใหม แมจากการสํารวจภาค
สนามที่มีขอจํากัดจะไดขอมูลของเจดียส รางใหมมาเพียงสององค แตก็มีนัยสําคัญอยางเดนชัดใน
เหตุปจจัยในการสราง อนึ่ง เจดียในศิลปะอยุธยาในอดีตไดสืบทอดวิวัฒนาการสวนใหญมายังเจดีย
ในศิลปะรัตนโกสินทร ซึ่งอาจทําใหเจดียในศิลปะรัตนโกสินทรใกลชิดมากกวาเจดียในศิลปะ
อยุธยาดังจะกลาวตอไป
122

แรงบันดาลใจจากเจดียในศิลปะรัตนโกสินทร
เจดียใ นศิลปะรัตนโกสินทรอาจกลาวไดวา คือ แหลงรวมเจดียโ บราณตนแบบทีม่ ากทีส่ ดุ
ในการหยิบยืมนําไปสรางเจดียสมัยใหมหลัง พ.ศ. 2475 มากกวาจะยอนกลับไปหาเจดียในศิลปะ
อยุธยา หรือเจดียในศิลปะสมัยอื่นๆ เพราะรูปแบบเจดียทั้งหมดตกทอดมายังศิลปะรัตนโกสินทร
ซึ่งมีความใกลชิดและรูปแบบรูปทรงชัดเจนกวาตลอดจนถึงระยะเวลาที่ไมหางจากปจจุบัน

อุโบสถเจดียเกายอด วัดวังมะนาว ตําบลวังมะนาว อําเภอปากทอ ราชบุรี


พระครูโอภาสพัฒนกิจ เจาอาวาสวัดวังมะนาวทานเลาประวัติการสรางอุโบสถเจดีย-
เกายอดวา “พระครูประดิษฐนวการ หลวงพออดีตเจาอาวาสทานฝนวามีอุโบสถแปดเหลี่ยม เจดีย-
เกายอดเรียงลอมคลายเกตุจุฬามณีเจดียสถานเหมือนในเรื่องปฐมสมโพธิ์ ลอยมาตกอยูเหนือบริเวณ
วัด ซึ่งหลวงพอทานไดวาดรูปไวและนําไปใหอาจารยอํานวย หุนสวัสดี สถาปนิกกรมศิลปากร
ออกแบบ สมเด็จพระสังฆราชวัดราชบพิธสถิตมหาสีมาราม มาเปนประธานวางศิลาฤกษ เดือน
เมษายน พ.ศ. 2523 ไดชางมาประมูลงานประมาณ 7 ลานบาท ทําสัญญาแลวแตทิ้งงานไปแตก็ไม
ไดเอาเงินไป ไดชางใหมมาปลายป 2524...วันที่ 1 กันยายน 2525 จึงเริ่มสราง ถึงวันที่ 13 ตุลาคม
2526 หลวงพอ (พระครูประดิษฐนวการ) ทานมรณภาพ ซึ่งงานกอสรางเสร็จไปประมาณ 50%
เปนงานโครงสราง...หลวงพอ (พระครูโอภาสพัฒนกิจ) มารับงานกอสรางตอจนอุโบสถสรางเสร็จ
ปดทองฝงลูกนิมิตและฉลองอุโบสถเจดียเกายอด พ.ศ. 2531 หมดงบประมาณ 15 ลานบาท”56
ลักษณะทั่วไป
อุโบสถเจดียเ กายอด วัดวังมะนาว เปนอุโบสถทีส่ รางในผังแปดเหลีย่ มสวนหลังคาสราง
เปนเจดียประธานทรงระฆัง ซึ่งมีเจดียจําลองประจําดานโดยรอบเจดียประธาน คือที่มาของชื่อเรียก
อุโบสถเจดียเกายอด ความสูงจากฐานถึงสวนยอดประมาณ 30 เมตร (ภาพที่ 109)
สวนฐาน เปนอาคารอุโบสถในผังแปดเหลี่ยม มี 3 ชั้น คือ ชั้นที่ 1 เปนฐานบัวยกสูง
ภายในฐานเปนหองโลงใชสําหรับนั่งวิปสสนา ดานทิศหลักทําเปนบันไดขึ้นไปยังลานประทักษิณ
สวนดานที่เหลือทําเปนชองแสง และประตูเพื่อเขาไปภายใน ชั้นที่ 2 และ 3 ทําเปนฐานบัวลูกแกว
ขนาดใหญในผังแปดเหลีย่ มลักษณะแทนตัวอาคารอุโบสถ มีซมุ ประตูสองชัน้ ซอนอยูท กุ ดาน ภายใน
เปนที่ประดิษฐานพระประธาน และใชทําสังฆกรรม อาทิ การอุปสมบท อนึ่ง ซุมใบเสมาตั้งอยู
ประจําดานทั้งแปดรอบฐานชั้นที่ 1

56
สัมภาษณ พระครูโอภาสพัฒนกิจ, เจาอาวาสวัดวังมะนาว, 8 เมษายน 2545.
123

ภาพที่ 109 อุโบสถเจดียเกายอด วัดวังมะนาว ตําบลวังมะนาว อําเภอปากทอ ราชบุรี

สวนกลาง ถัดจากอาคารอุโบสถตอนบนเปนลานแปดเหลี่ยมแทนหลังคาโดยรอบ แต


ละดานสรางเปนเจดียจําลองลอมรอบเจดียประธานทรงระฆังที่ศูนยกลางซึ่งมีบัวปากระฆังรองรับ
ทรงเจดีย
สวนยอด เหนือทรงระฆังเปนบัลลังกเหลี่ยม ตอเนื่องขึ้นไปเปนกานฉัตรซึ่งมีเสาหาน
รองรับปลองไฉน ตอดวยปลี ลูกแกวและนพศูล
124

ลักษณะที่หยิบยืมมาจากศิลปะรัตนโกสินทรกอน พ.ศ. 2475


ตามประวัติการกอสรางเจดียที่เปนแรงบันดาลใจสําคัญของการออกแบบอุโบสถเจดีย-
เกายอด ตามทีอ่ ดีตเจาอาวาสวัดวังมะนาว พระครูประดิษฐนวการ ทานไดใหสถาปนิกกรมศิลปากร
ออกแบบใหจนเปนที่พอใจ ก็คือ พระปฐมเจดีย วัดพระปฐมเจดีย นครปฐม เจดียทรงระฆังตาม
พระราชนิยมของรัชกาลที่ 4 (ภาพที่ 100) (ภาพลายเสนที่ 14) พระปฐมเจดียองคปจจุบัน มีความ
สูงจากฐานถึงยอด 226.85 เมตร เปนเจดียที่สรางครอบพระปฐมเจดียเดิม เริ่มปฏิสังขรณในรัชสมัย
พระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูห วั การบูรณปฏิสงั ขรณมาแลวเสร็จสมบูรณในรัชกาลพระบาท
สมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูห วั รัชกาลที่ 557 พระปฐมเจดียม คี วามสําคัญมาตัง้ แตแรกสราง จนถึง
ยุคสมัยปจจุบันความเคารพและศรัทธายังมีอยางไมเสื่อมคลาย นี้คงเปนสวนสําคัญในแรงบันดาลใจ
ทีพ่ ระครูประดิษฐนวการเลือกทีจ่ ะหยิบยืมรูปแบบเจดียม าสรางอุโบสถวัดวังมะนาว อนึง่ วัดวังมะนาว
ที่ตั้งก็มิไดไกลจากพระปฐมเจดียเลย

ภาพที่ 110 พระปฐมเจดีย วัดพระปฐมเจดีย นครปฐม ศิลปะรัตนโกสินทร รัชกาลที่ 4

57
ประวัติพระปฐมเจดียดูใน สุจิตต วงษเทศ, พระปฐมเจดียไมใชเจดียแหงแรก แตเปนมหาธาตุหลวง
ยุคทวารวดี (กรุงเทพฯ : สํานักพิมพมติชน, 2545).
125

ภาพลายเสนที่ 14 พระปฐมเจดีย วัดพระปฐมเจดีย นครปฐม ศิลปะรัตนโกสินทร รัชกาลที่ 4


ที่มา : คัดลอกปรับปรุงจาก กรมศิลปากร, จอมเจดีย
(กรุงเทพฯ : กองวรรณกรรมและประวัติศาสตร กรมศิลปากร, 2543), 25.
126

ลักษณะที่เพิ่มเติมผสมผสาน
การออกแบบลวดลายประดับซุม ประตูอโุ บสถเจดียเ กายอดวัดวังมะนาว (ภาพที่ 109) สะทอน
การออกแบบที่เพิ่มเติมผสมผสานจากแรงบันดาลใจของลวดลายประดับอุโบสถวัดพระปฐมเจดีย
งานสถาปตยกรรมฝพระหัตถ สมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ เจาฟากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ เปน
การออกแบบอีกสวนหนึ่งที่หยิบยืมมาผสมผสานแรงบันดาลใจในการสรางอุโบสถเจดียเกายอด
วัดวังมะนาว อนึ่ง ประโยชนใชสอยที่เกิดจากการออกแบบเพื่อตอบสนองการใชงานในความเปน
อุโบสถก็เหมาะสมลงตัว และยังสรางใหเกิดรูปแบบอุโบสถที่เปนเอกลักษณเฉพาะดวย

ภาพที่ 109 ลวดลายประดับซุมประตูอุโบสถเจดียเกายอด วัดวังมะนาว


127

เจดียทรงระฆัง วัดตรีทศเทพวรวิหาร เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร


สรางขึ้นแทนเจดียทรงระฆังองคเดิมที่ทรุดโทรมที่สรางขึ้นตั้งแตสมัยรัชกาลที่ 4 (ภาพ
ที่ 112) โดยรือ้ เจดียอ งคเดิมลง แลวสรางขึน้ ใหมในทีเ่ ดิม เมือ่ พ.ศ. 2536 พระเทพวัชรธรรมาภรณ
อดีตเจาอาวาสวัดตรีทศเทพวรวิหาร ทําพิธีบวงสรวงกอนการรื้อเจดียองคเดิมเพื่อสรางใหม (ภาพ
ที่ 113) กอนหนาในป พ.ศ. 2529 ไดทําการกอสรางอุโบสถขึ้นใหมในที่เดิมดานหนาของเจดีย
องคเดิมซึ่งสรางในสมัยเดียวกัน โดยรื้ออุโบสถเกาซึ่งชํารุดทรุดโทรมมาก58 เจดียท รงระฆังองคใหม
ออกแบบโดยสถาปนิกหลวงหมอมราชวงศ มิตรารุณ เกษมศรี ไดออกแบบใหมใหมคี วามเหมาะสม
กับอุโบสถที่สรางใหมดานหนาเจดีย59 (ภาพที่ 114)

ภาพที่ 112 เจดียทรงระฆังองคเดิม ภาพที่ 113 พิธีบวงสรวงกอนการรื้อเจดียวัดตรีทศเทพวรวิหาร


วัดตรีทศเทพวรวิหาร กรุงเทพฯ โดยพระเทพวัชรธรรมาภรณ เพื่อสรางเจดียใหม
ที่มา : ประวัตวิ ดั ตรีทศเทพ และจิตรกรรมฝาผนัง ที่มา : ประวัติวัดตรีทศเทพ และจิตรกรรมฝาผนังในพระอุโบสถ
ในพระอุโบสถ วัดตรีทศเทพ (กรุงเทพฯ : วัดตรีทศเทพ (กรุงเทพฯ : เรือนแกวการพิมพ, 2540), 41.
เรือนแกวการพิมพ, 2540), 41.

58
ประวัตวิ ดั ตรีทศเทพวรวิหารดูใน ประวัตวิ ดั ตรีทศเทพ และจิตรกรรมฝาผนังในพระอุโบสถ วัดตรีทศเทพ
(กรุงเทพฯ : เรือนแกวการพิมพ, 2540. พิมพโดยเสด็จพระราชกุศลในการเสด็จพระราชดําเนินพระราชทานเพลิงศพ
พระเทพวัชรธรรมาภรณ เจาอาวาสวัดตรีทศเทพ ณ เมรุหลวงหนาพลับพลาอิศริยาภรณ วัดเทพศิรินทราวาส วันพุธที่ 2
มีนาคม 2540). ระยะเวลาที่ทานเจาคุณพระเทพวัชรธรรมาภรณครองวัดตรีทศเทพ กลาวไดวาเปนยุครุงเรืองของวัด
ทุกๆ ดาน ทานเจาคุณมรณภาพดวยอาการอันสงบ เมื่อวันที่ 1 ธันวาคม 2539.
59
หมอมราชวงศแนงนอย ศักดิ์ศรี และวทัญู เทพหัตถี, ชางหลวง ผลงานสถาปตยกรรมไทยของ
หมอมราชวงศมิตรารุณ เกษมศรี (กรุงเทพฯ : สมาคมสถาปนิกสยาม, 2539), 131 – 135.
128

ภาพที่ 114 เจดียทรงระฆัง วัดตรีทศเทพวรวิหาร กรุงเทพฯ

ลักษณะทั่วไป
เปนเจดียทรงระฆังประดับโมเสกสีทอง สวนฐานเจดียประดับกระเบื้องหินออน สราง
บนพื้นที่เดิมของเจดียทรงระฆังองคเดิม ความสูงจากฐานถึงสวนยอดประมาณ 30 เมตร
สวนฐาน มี 2 ชั้น โดยชั้นที่ 1 เปนฐานที่สรางเปนอาคารสี่เหลี่ยมจัตุรัสเพิ่มมุมสิบสอง
ภายในเปนหองโลงมีทางเขา 4 ดาน ดานทิศตะวันออกและทิศตะวันตกมีซุมประตูดานละ 2 ซุม
และซุมหนาตางดานละ 3 ซุม สวนดานทิศเหนือและทิศใตมีซุมประตูดานละ 1 ซุม ใกลๆ ประตูมี
บันไดทางขึ้นสูลานประทักษิณรอบฐานชั้นที่ 2 ทั้ง 4 มุมลานประทักษิณสรางเจดียทรงระฆังจําลอง
สวนตรงกลางเปนฐานชั้นที่ 2 เปนฐานแปดเหลี่ยมทรงสูงมีทางเขาสูภายในฐานได 4 ทิศ มีบันได
ทางขึ้นจากลานประทักษิณรอบฐานชั้นที่ 2 ไปสูเจดียประธาน
สวนกลาง ถัดจากฐานชั้นที่ 2 ขึ้นมาเปนฐานบัวลูกแกวแปดเหลี่ยมตอขึ้น ไปเปน
มาลัยเถาซึ่งมีมุขยื่นออกมาทั้งสี่ทิศหลัก สันหลังคามุขประดับเจดียยอด มุขทั้ง 4 ทิศเปนซุมประตู
เขาสูคูหาเจดีย ตอจากมาลัยเถาเปนบัวปากระฆังเพื่อรองรับทรงระฆัง
129

สวนยอด เหนือจากทรงระฆัง เปนบัลลังกสี่เหลี่ยม ตอเนื่องขึ้นไปเปนเสาหานรองรับ


ปลองไฉน ปลีและลูกแกว (ภาพลายเสนที่ 15)

ภาพลายเสนที่ 15 เจดียทรงระฆัง วัดตรีทศเทพวรวิหาร กรุงเทพฯ


ที่มา : คัดลอกปรับปรุงจาก แนงนอย ศักดิ์ศรี, หมอมราชวงศ และวทัญู เทพหัตถี.
ชางหลวง ผลงานสถาปตยกรรมไทยของหมอมราชวงศมติ รารุณ เกษมศรี
(กรุงเทพฯ : สมาคมสถาปนิกสยาม, 2539), 132-133.
130

ลักษณะที่หยิบยืมมาจากศิลปะรัตนโกสินทรกอน พ.ศ. 2475


การออกแบบเจดียทรงระฆัง วัดตรีทศเทพวรวิหาร ผูออกแบบ หมอมราชวงศมิตรารุณ
เกษมศรี มีแนวคิดทีจ่ ะออกแบบเจดียใ หสอดคลองตามพระราชนิยมเจดียใ นรัชกาลที่ 4 เมือ่ พิจารณา
แลวเจดียที่เปนแรงบันดาลใจในการหยิบยืมรูปแบบมา คือ พระศรีรัตนเจดีย ภายในวัดพระศรีรัตน-
ศาสดาราม (ภาพที่ 27) (ภาพลายเสนที่ 16) เจดียองคนี้รัชกาลที่ 4 โปรดใหถายแบบมาจากเจดีย
ประธานวัดพระศรีสรรเพชญ พระนครศรีอยุธยา (ภาพที่ 19) (ภาพลายเสนที่ 17) อนึ่ง รูปแบบที่
ผูออกแบบหยิบยืมมาจาก พระศรีรัตนเจดียการออกแบบก็ไดเพิ่มเติมผสมผสานลักษณะใหมๆ ดวย

ภาพลายเสนที่ 16 พระศรีรัตนเจดีย วัดพระศรีรัตนศาสดาราม กรุงเทพฯ ศิลปะรัตนโกสินทร รัชกาลที่ 4


ที่มา : ชาญวิทย สรรพศิริ, “การศึกษาพัฒนาการการออกแบบสถาปตยกรรม วัดพระศรีรตั นศาสดาราม
(วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาประวัตศิ าสตรสถาปตยกรรม บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2541) 145.
131

ภาพลายเสนที่ 17 เจดียประธานทรงระฆัง วัดพระศรีสรรเพชญ นครประวัติศาสตร พระนครศรีอยุธยา ศิลปะอยุธยา


ที่มา : คัดลอกปรับปรุงจาก เฉลิม รัตนทัศนีย, วิวัฒนาการศิลปสถาปตยกรรมไทยพุทธศาสนา
(กรุงเทพฯ : สมาคมสถาปนิกสยาม, 2539), 61.

ลักษณะที่เพิ่มเติมผสมผสาน
เนื่องจากพื้นที่เขตพุทธาวาสของวัดตรีทศเทพวรวิหารมีอยางจํากัด การออกแบบเจดีย
องคนี้แทนเจดียองคเดิม จึงตองประยุกตใหเหมาะสมกับประโยชนใชสอยทั้งสวนฐานชั้นลางที่ใช
งานเปนหองอเนกประสงคเพื่อทํากิจกรรมทางพระพุทธศาสนา สวนฐานแปดเหลี่ยมรองรับเจดีย
ประธานเปนหองประดิษฐานพระพุทธรูป และภายในคูหาเจดียเตรียมประดิษฐานพระบรม-
132

สารีริกธาตุบรรจุภายในเจดียจําลอง60 สวนเจดียประธานทรงระฆังที่ตั้งอยูบนฐานยกสูงทั้ง 2 ฐาน


(ภาพที่ 115) กลาวไดวาเปนการถายแบบมาจาก พระศรีรัตนเจดีย ในวัดพระศรีรัตนศาสดาราม
แตมไิ ดถา ยจําลองมาตรงตามแบบเดิมทุกประการ เพราะมีการเพิม่ เติมผสมผสานตามแนวคิดผูอ อกแบบ
และความนิยมของยุคสมัยทีเ่ นนประโยชนใชสอยในปจจุบนั ซึง่ สอดคลองกับความตองการใชพนื้ ที่
ของทางวัดเปนสําคัญ การกอสรางเจดียปจจุบัน (พ.ศ. 2545) เสร็จเรียบรอยประมาณ 95% ยังเพียง
การตกแตงภายในเจดีย

ภาพที่ 115 เจดียประธานและเจดียประจํามุมบนฐานสูง วัดตรีทศเทพวรวิหาร กรุงเทพฯ

60
แนวคิดการออกแบบเจดียวัดตรีทศเทพวรวิหารดูใน เรื่องเดียวกัน, 133, 135.
133

ธรรมเจดีย วัดภูผาภิมุข อําเภอเมือง พัทลุง


ประวัติการกอสราง ธรรมเจดีย มีปรากฏจารึกอยูบนปายหนาเจดียขอความวา “ธรรม-
เจดีย พระธรรมเมธาจารยเปนผูสราง โดยเมื่อราวป พ.ศ. 2535 คุณธัลดล บุนนาค ซึ่งขณะนั้นเปน
รองประธานฝายตัวแทนบริษัทเอไอเอและคณะไดเดินทางลงไปยังจังหวัดพัทลุง และไดมีโอกาส
เขานมัสการพระธรรมเมธาจารย อดีตเจาคณะธรรมยุตจังหวัดพัทลุงในสมัยนั้น หลังจากได
สนทนาธรรมเปนระยะเวลาหนึ่ง พระธรรมเมธาจารยจึงไดเอยปากขอใหคุณธัลดลเปนธุระในการ
จัดสรางพระธาตุเจดียตามแบบวัดราชาธิวาส ซึ่งเปนเจดียองคขาวมีสิงหลอมรอบ คุณธัลดลซึ่ง
เปนผูที่มีศรัทธาอยางแนนแฟนในพระพุทธศาสนา ประกอบกับจริยวัตรอันนานับถือเลื่อมใสของ
พระธรรมเมธาจารยจงึ ไดรบั ปากทีจ่ ะดําเนินการกอสรางตามความประสงค จากนัน้ โครงการกอสราง
จึงไดเริม่ ขึน้ โดยไดรบั แรงศรัทธาจากคณะผูบ ริหารหนวยและตัวแทนตลอดจนพนักงานของบริษทั
เอไอเอ และประชาชนชาวพัทลุง รวมกันบริจาคทรัพยเปนวิหารทานกอสรางพระธาตุเจดียองคนี้
รวมเปนเงินประมาณ 6,800,000 บาท การกอสรางไดเริ่มตนขึ้น เมื่อวันที่ 7 กุมภาพันธ 2537 แลว
เสร็จในราวเดือนธันวาคม 2538 เปนพระธาตุเจดียที่สวยงามมากอีกองคหนึ่งของภาคใต ถวายไว
เพือ่ การเคารพสักการะบูชาของพุทธศาสนิกชนและสืบทอดพุทธศาสนาใหเจริญรุง เรืองยิง่ ๆ ขึน้ ไป”61
ลักษณะทั่วไป
ธรรมเจดีย เปนเจดียที่ออกแบบใหมตามการหยิบยืมรูปแบบมาจาก เจดียวัดราชาธิวาส-
วิหาร กรุงเทพมหานคร โดยความสูงจากฐานถึงสวนยอดประมาณ 25 เมตร (ภาพที่ 116)
สวนฐาน มี 3 ชั้น คือ ชั้นที่ 1 เปนฐานบัวในผังสี่เหลี่ยมจัตุรัสมีบันไดทางขึ้นฐาน
ชั้นที่ 2 กลางดานทุกดาน ฐานชั้นที่ 2 เปนฐานบัวทรงสูงที่มีหองคูหาภายในที่กลางดานมีซุมประตู
รับกับบันได ขนาบขางดวยซุมจระนําซึ่งมีสิงหตั้งวางอยูขางซุมประตูดานละ 3 ซุม รวมซุมจระนํา
24 ซุม สิงห 28 ตัว โดยเพิ่มสิงหตั้งวางประจํามุมฐานเจดียดวย สวนฐานชั้นที่ 3 เปนฐานบัวในผัง
สี่เหลี่ยมจัตุรัส 2 ฐานซอนลดหลั่นกัน โดยกลางดานทําเปนมุมยกเก็จขึ้นมา ที่ทองไมฐานบัวลาง
เจาะเปนชองระบายอากาศจากภายในคูหาเจดีย สวนทองไมฐานบัวบนทําเปนบัวคลุมในผังเดียว
กับชุดฐานชั้นที่ 3 เพื่อรองรับทรงระฆัง
สวนกลาง ถัดจากสวนฐานเปนทรงระฆังซึ่งมีมุขยื่นออกมาทั้งสี่ทิศหลัก ซึ่งทําเปน
ซุมจระนําประดิษฐานพระพุทธรูป

61
ปายขอความยังจารึกรายชือ่ ผูท มี่ ศี รัทธาเปนเจาภาพในการกอสรางเจดีย และมีรายละเอียดเฉพาะ อาทิ ซุม ใหญ
ชั้นบนพรอมพระพุทธรูป (มี 4 ซุมๆ ละ 100,000 บาท) ซุมใหญชั้นลางพรอมบานประตู (มี 4 ซุมๆ ละ 90,000 บาท)
สิงห (มี 28 ตัวๆ ละ 20,000 บาท) ซุมเล็กเหนือสิงห (มี 28 ซุมๆ ละ 15,000 บาท) ซึ่งก็มีผูเปนเจาภาพตามกําลังศรัทธา
ในการกอสราง
134

ภาพที่ 116 ธรรมเจดีย วัดภูผาภิมุข อําเภอเมือง พัทลุง

สวนยอด เหนือจากทรงระฆัง เปนบัลลังกเหลีย่ ม ตอเนือ่ งขึน้ ไปเปนกานฉัตร บัวคลุม เถา


ปลีและปลียอดที่คั่นกลางดวยวงแหวน (ลูกแกว) เหนือปลียอดคือลูกแกว
ลักษณะที่หยิบยืมมาจากศิลปะรัตนโกสินทรกอน พ.ศ. 2475
จากประวัติการกอสราง ธรรมเจดีย วัดภูผาภิมุข แสดงนัยสําคัญในความศรัทธาและ
แรงบันดาลใจเฉพาะของทานเจาคุณพระธรรมเมธาจารย62 ผูสรางเจดียที่เลือกจะหยิบยืมรูปแบบ
จาก เจดียวัดราชาธิวาสวิหาร กรุงเทพมหานคร (ภาพที่ 34) ที่ออกแบบโดยพระเจาบรมวงศเธอ
กรมพระนเรศวรวรฤทธิ์ ทรงออกแบบและควบคุมการสรางในสมัยรัชกาลที่ 6 แตการจําลองแบบ
มาก็ไดเพิ่มเติมตามความนิยมของยุคสมัยอยูมากกวาเจดียตนแบบ

62
ผูวิจัยยังไมมีขอมูลประวัติทานเจาคุณ แตมีขอสังเกตวาวัดราชาธิวาสวิหารเปนวัดธรรมยุต ที่กํากับดูแล
วัดธรรมยุต ในภาคใต และพระสงฆวัดราชาธิวาสวิหารสวนใหญหลายรูปทานเปนคนใต
135

ลักษณะที่เพิ่มเติมผสมผสาน
ลักษณะที่เพิ่มเติมที่เดนชัด คือ การเพิ่มชุดฐานบัวรองรับทรงระฆังในลักษณะซอนลด
หลั่นกันขึ้นไป ทําใหทรงระฆังมีขนาดเล็กกวาเจดียตนแบบวัดราชาธิวาสวิหารที่มีขนาดใหญ แต
รูปทรงเจดียก็สอบสูงขึ้นไปอยางเหมาะสมไมขัดตา สวนการประดับตกแตงลวดลายมีทั้งลวดลาย
แบบเจดียตนแบบ และการออกแบบลวดลายขึ้นใหม อนึ่ง ประโยชนใชสอยไดภายในคูหาเจดีย
เปนลักษณะการออกแบบใหมีเพิ่มเติมผสมผสานอยางสําคัญ

เจดียทรงปรางค วัดพระปรางคมุนี ตําบลมวงหมู อําเภอเมือง สิงหบุรี


เจดียทรงปรางคทาสีทองทั่วทั้งองค ณ วัดพระปรางคมุนี พระครูโกศลวิริยกิจ หรือ
หลวงพอสําเริง เจาอาวาสวัดพระปรางคมุนีเปนผูสราง โดยรวบรวมปจจัยกอสรางองคพระปรางค
จากการบริจาคบูชา มัคคลีผล หรือนารีผล เริ่มสรางเมื่อป พ.ศ. 2537 แลวเสร็จในป พ.ศ. 2540 ใช
เวลาสราง 3 ป63 อนึ่ง วัดพระปรางคมุนียังไดรับเลือกเปนวัดพัฒนาตัวอยางป พ.ศ. 2536 วัดพัฒนา
ดีเดน ป พ.ศ. 2537 และศูนยพัฒนาจิตเฉลิมพระเกียรติ ป พ.ศ. 2542
ลักษณะทั่วไป
เจดียทรงปรางคองคนี้สูงเดนริมกําแพงวัดพระปรางคมุนี ซึ่งที่ตั้งของวัดอยูใกลถนน
สายพหลโยธินถนนสายหลักสําคัญที่ขึ้นไปยังภาคเหนือ ทําใหเปนอนุสรณสถานทางพุทธศาสนา
เจดียสัญลักษณของวัด ความสูงจากฐานถึงยอดประมาณ 35 เมตร (ภาพที่ 117)
สวนฐาน สรางเปนอาคารในผังสี่เหลี่ยมจัตุรัส 3 ชั้นซอนลดหลั่นกันขึ้นไปเพื่อรองรับ
เรือนธาตุ อาคารชั้นที่ 1 มีประตูทางเขายังภายในอาคารและมีหนาตางที่ทําเปนรูปกลีบบัวเชนเดียว
กับประตูโดยรอบทุกดาน สวนอาคารชั้นที่ 2 และ 3 เจาะเปนชองรูปกลีบบัวโดยรอบดาน ซึ่งมี
บันไดทางขึ้นสูเรือนธาตุเจดียไดจากภายในตัวอาคาร
สวนกลาง เรือนธาตุทรงแทงเหลี่ยมที่มีซุมจระนําประดิษฐานพระพุทธรูป และภายใน
เรือนธาตุยังมีคูหาที่ตองเขาจากทางบันไดภายในฐานอาคาร
สวนยอด เปนยอดทรงแทงเหลี่ยมสูงเพรียวปดประดับดวยกลีบขนุน และสวนยอดคือ
นพศูล
ลักษณะที่หยิบยืมมาจากศิลปะรัตนโกสินทรกอน พ.ศ. 2475
เจดียทรงปรางคองคนี้นาจะไดรับแรงบันดาลใจจากรูปแบบของเจดียทรงปรางคใน
ศิลปะรัตนโกสินทรที่วิวัฒนาการดวยรูปแบบที่พัฒนาใหรูปทรงสูงเพรียวขึ้น แตการออกแบบใหม
ของเจดียทรงปรางค วัดพระปรางคมุนี ก็ทําใหเกิดลักษณะที่เพิ่มเติมอยางมีนัยสําคัญ

63
ขอมูลจากการสัมภาษณคนดูแลมัคคลีผล หรือนารีผล วัดพระปรางคมุนี สิงหบุรี
136

ภาพที่ 117 เจดียทรงปรางค วัดพระปรางคมุนี ตําบลมวงหมู อําเภอเมือง สิงหบุรี

ลักษณะที่เพิ่มเติมผสมผสาน
ประโยชนใชสอยภายในฐานที่เปนอาคารของเจดียทรงปรางคสะทอนลักษณะที่เพิ่มเติม
ตามความตองการของผูสราง แตนัยสําคัญที่เพิ่มเติมคือ รูปแบบของสวนเรือนธาตุ และสวนยอดที่
ออกแบบใหเปนยอดทรงแทงเหลี่ยมสูงเพรียวทําใหไมมีพื้นที่เพียงพอสําหรับรายละเอียด จึงทําได
เพียงคาดแถบนูนใหดูคลายชุดชั้นรัดประคดของเจดียทรงปรางคแลวปดประดับดวยกลีบขนุนโดย
รอบ การทีส่ ว นยอดมีความสูงอยูม ากทําใหตอ งเพิม่ การปองกันการพังดวยลวดยึดขึงสวนยอดกับมุม
ทัง้ 4 ทีพ่ นื้ (ภาพที่ 118) ซึง่ เจดียท รงปรางค วัดพระปรางคมนุ อี าจกลาวไดวา เปนการสรางเอกลักษณ
ใหมของเจดียที่สามารถดึงดูดความสนใจพุทธศาสนิกชนใหเขาวัดเพื่อประโยชนในการเสริมสราง
หรือบูรณปฏิสังขรณวัดได
137

ภาพที่ 118 สวนยอดเจดียทรงปรางค วัดพระปรางคมุนี

เจดียทรงเครื่อง วัดอุทัยธาราม แขวงบางกะป เขตหวยขวาง กรุงเทพมหานคร


พระครูอุทัยปุญญภิรักษ เจาอาวาสวัดอุทัยธาราม หรือชื่อที่ชาวบานเรียกวาวัดบางกะป
เนื่องจากพื้นที่วัดติดกับคลองบางกะป ทานเลาประวัติการสรางเจดียทรงเครื่องวา “ในฝงโรงเรียน
วัดอุทัย ธารามมีเจดียของเกาแตชํารุด และกระเทือนลมลงเมื่อวันที่ 5 มิถุนายน 2487 เกิดจาก
ลูกระเบิดทําใหพังซึ่งเปนชวงสงครามโลกครั้งที่ 2 หลวงพอเลยคิดจะสรางเจดียองคใหมขึ้นมา
โดยใหกรมศิลปากรออกแบบ คุณศรีสกุล เขียววิมล เปนสถาปนิกผูออกแบบ หลวงพอบอกวา
เจดียองคใหมใหยึดหลักแบบเจดียขนาดใหญที่วัดโพธิ์ เพราะเจดียเกาแบบคลายวัดโพธิ์...สมเด็จ
พระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก เสด็จเปนองคประธานวางศิลาฤกษ 17 สิงหาคม 2538 เริ่ม
การกอสราง 28 มิถุนายน 2540 แลวเสร็จธันวาคม 2541 ใชงบประมาณ 12,500,000 บาท ปจจุบัน
การตกแตงภายในยังไมเสร็จเรียบรอย จึงยังไมไดฉลอง ภายในองคเจดียองคใหมจะประดิษฐาน
บรรจุพระบรมสารีริกธาตุที่พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวทรงพระราชทาน ซึ่งอัญเชิญมาจาก
138

ประเทศอินเดียและเก็บพระธาตุจากเจดียองคเกาและของใหมๆ ใครถวายใหมาก็บรรจุ”64 เจดีย


องคเกาของทางวัดที่ทานพระครูอุทัยปุญญภิรักษเลาวาอยูในฝงโรงเรียนวัดอุทัยธารามซึ่งก็เปนพื้นที่
ของวัดแตถูกแบงดวยคลองบางกะป ที่ตั้งเจดียองคใหมนั้นสรางอยูฝงวัดถัดจากอุโบสถไปทาง
ทิศตะวันตก
ลักษณะทั่วไป
เจดียท รงเครือ่ ง วัดอุทยั ธาราม โครงสรางเปนคอนกรีตเสริมเหล็กสวนองคเจดียท าสีทอง
มีหองคูหาภายในฐานและองคเจดีย ความสูงจากฐานถึงยอดประมาณ 30 เมตร
สวนฐาน มี 3 ชั้น คือ ชั้นที่ 1 เปนฐานเขียงที่สรางเปนอาคารในผังแปดเหลี่ยม ดาน
ทิศหลักทําเปนซุมประตูทางเขาไปภายในอาคาร เฉพาะดานทิศเหนือซุมประตูอยูดานหนามุขที่ยื่น
ออกมาจากดานเพื่อที่จะสรางบันไดกระหนาบทั้งสองขางมุขเปนทางขึ้นไปยังลานประทักษิณใน
ผังแปดเหลี่ยมรอบฐานชั้นที่ 2 ชั้นที่ 2 คือ ฐานเขียงทรงสูงในผังแปดเหลี่ยม มีซุมประตูและ
หนาตางสรางไวในดานทิศหลักเพื่อเปนทางเขาไปภายในองคเจดีย ฐานนี้อยูในผังเพิ่มมุมยี่สิบ
เหนือขึ้นไปเปน ชุดฐานสิงหเพิ่มมุมยี่สิบ 3 ฐานซอนลดหลั่นกันขึ้นไปคือฐานชั้นที่ 3 ชุดฐานสิงห
รองรับบัวคลุมเพิ่มมุมยี่สิบ ที่เพิ่มมุมตามการเพิ่มมุมมาจากสวนลาง
สวนกลาง ทรงระฆังเพิ่มมุมยี่สิบอยูเหนือบัวคลุมขึ้นไป ประดับสวนบนทรงระฆังเปน
แผนสามเหลี่ยมเรียกวา บัวคอเสื้อ แลวยังทําเปนซุมจระนําขนาดเล็กไวที่องคระฆัง
สวนยอด ถัดจากทรงระฆังเปนบัลลังกเพิ่มมุมยี่สิบเชนกัน ตอดวยบัวคลุมเถา ปลีและ
ปลียอดที่คั่นกลางดวยวงแหวน (ลูกแกว) เหนือปลียอด คือ ลูกแกว (ภาพที่ 119)
ลักษณะที่หยิบยืมมาจากศิลปะรัตนโกสินทรกอน พ.ศ. 2475
เจดียองคเกาของวัดอุทัยธาราม คงเปนเจดียทรงเครื่องตามรูปแบบที่เปนแบบแผนซึ่ง
นิยมสรางในสมัยรัตนโกสินทรตอนตน โดยเฉพาะรัชสมัยรัชกาลที่ 3 เจดียทรงเครื่ององคปจจุบัน
จึงยังคงเปนรูปแบบของเจดียทรงเครื่องในศิลปะรัตนโกสินทรที่หยิบยืมมาออกแบบขึ้นใหม อนึ่ง
หลวงพอทานพระครูอุทัยปุญญภิรักษบอกวา “รูปทรงไมเหมือนของเกาทีเดียว หลวงพอวารูปทรง
นาจะเปนแบบทรงวัดโพธิ์”65 ขอสังเกตของหลวงพออาจอธิบายไดวาการออกแบบโดยหลักยังเปน
แบบแผนรูปแบบของเจดียทรงเครื่อง แตรูปทรงฐานที่กวางสอบสูงขึ้นไปอาจเหมือนกับรูปทรง

64
สัมภาษณ พระครูอุทัยปุญญภิรักษ, เจาอาวาสวัดอุทัยธาราม, 10 มิถุนายน 2545. นอกจากหลวงพอทาน
จะเปน พระนักพัฒนาวัดในทุกๆ ดาน ทานยังเปนพระนักอนุรักษ โดยทานเก็บสะสมเกวียน และเรือที่ใชคมนาคมทางน้ํา
หลายแบบในอดีต จัดแสดงภายในบริเวณวัดอุทัยธาราม อนึ่ง หลวงพอทานยังเปนชางไมที่มีฝมือแมจะมีอายุมากทานก็ยัง
แข็งแรง ซึ่งวันที่สัมภาษณทานกําลังทําโตะ ชางที่เปนลูกมือยังตองเรียนรูจากทาน
65
สัมภาษณ พระครูอุทัยปุญญภิรักษ, เจาอาวาสวัดอุทัยธาราม, 10 มิถุนายน 2545.
139

ภาพที่ 119 เจดียทรงเครื่อง วัดอุทัยธาราม แขวงบางกะป เขตหวยขวาง กรุงเทพฯ

ของเจดียทอง ในวัดพระศรีรัตนศาสดาราม ซึ่งเปนเจดียรูปแบบเดียวกับเจดียวัดโพธิ์ที่ฐานไมกวาง


แตสอบสูงขึ้นไปอยูมากกวาเจดียทอง อนึ่ง การทําวงแหวน (ลูกแกว) คั่นกลางระหวางปลี และปลี
ยอดในเจดียทองมิไดปรากฏมีการทําอยู แตลักษณะเชนนี้ทําในเจดียทรงเครื่องทุกองคของวัดโพธิ์
ลักษณะที่เพิ่มเติมผสมผสาน
การออกแบบเจดียทรงเครื่ององคนี้เปนไปตามแบบแผนของเจดียทรงนี้ซึ่งทํากันมาแลว
ในศิลปะรัตนโกสินทร การเพิ่มเติมผสมผสานจึงเดนชัดในการประยุกตใหเกิดประโยชนใชสอยได
ภายในองคเจดีย หลวงพอทานพระครูอุทัยปุญญภิรักษยังเลาถึงลักษณะที่เพิ่มเติมผสมผสานและ
แกไขในการออกแบบวา “ในแบบเจดียจะมีทางขึ้นอยูทางทิศเหนือและใต หลวงพอบอกวาเอา
ดานเดียวก็พอแลว ไมเสียเนื้อที่ก็เลยมีบันไดเฉพาะดานทิศเหนือ...สวนการออกแบบลูกกลมตั้งวาง
อยูรอบเจดียเปนกําแพง ตอนแรกไมมีในแบบหลวงพอใหไปออกแบบใสมาเพิ่ม มีทั้งหมด 37 ลูก
ทั้งเล็กและใหญ ลูกใหญสั่งทําราคา 20,000 บาท ดูมั่นคงทําแลวเดนและสวยดี มีหลายคนมาขอ
140

ไปทําลูกนิมิต (ภาพที่ 120) ตอนแรกหลวงพอจะทํางายๆ แตคุณประดิษฐ ยุวะพุกกะ ขอทําออก


แบบลูกกลมรอบๆ ให สวนภายในเจดียหลวงพอมีโครงการวาจะเขียนภาพจิตรกรรมฝาผนัง”66

ภาพที่ 120 การออกแบบลูกกลมขนาดตางๆ เปนกําแพงอยูรอบเจดียทรงเครื่อง วัดอุทัยธาราม กรุงเทพฯ

พระมหาธาตุเจดียเ ฉลิมพระเกียรติ 6 รอบพระชนมพรรษา วัดเขาดิน ตําบลเขาดิน อําเภอบางปะกง


ฉะเชิงเทรา
การเดินทางไปวัดเขาดินตองเดินทางไปทางโรงไฟฟาบางปะกงระยะทางประมาณ 10
กิโลเมตร ปายที่องคเจดียระบุวา พระมหาธาตุเจดียองคนี้พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว รัชกาลที่ 9
ทรงมีพระมหากรุณาธิคุณพระราชทานนามใหวา “พระมหาธาตุเจดียเฉลิมพระเกียรติ 6 รอบ
พระชนมพรรษา” ทรงพระราชทานเมื่อวันที่ 28 พฤษภาคม 2544
ประวัตกิ ารกอสรางเจดีย พระมหาประเสริฐ ปุสฏโฐ เจาอาวาสวัดเขาดินทานใหขอ มูล
วา “สืบเนื่องจากหลวงพอเก็บเงินได 1 ลานบาทจากกฐิน และไดฝนเห็นเจดียบนยอดเขาดินก็เลย
ไปปรึกษาหลวงพอจรัญ (พระราชสุทธิญาณมงคล เจาอาวาสวัดอัมพวัน จังหวัดสิงหบุรี) วาควร
จะสรางเจดียตรงไหน ซึ่งเจดียไดสรางบนเนินบนยอดเขาดินอันเปนเขาที่ไมสูงนัก หลวงพอได

66
สัมภาษณ พระครูอุทัยปุญญภิรักษ, เจาอาวาสวัดอุทัยธาราม, 10 มิถุนายน 2545. อนึ่งอาจารยประดิษฐ
ยุวะพุกกะ ไดรับเลือกใหเปน ศิลปนแหงชาติ สาขาศิลปะสถาปตยกรรมแบบประเพณี ป พ.ศ. 2544
141

เดินทางไปกรุงเทพมหานครเพื่อดูแบบเจดียตามวัดตางๆ และไดปรึกษากับโยมจากกรมศิลปากร
แตจําชื่อเขาไมไดชวยออกแบบให บอกวาถายแบบมาจากเจดียวัดราชบพิธฯ...วางศิลาฤกษ พ.ศ.
2540 โดยหลวงพอจรัญ ระหวางการกอสรางหลวงพอไปดูเจดียวัดราชบพิธฯ พบชางอีกคนของ
กรมศิลปากรที่กําลังบูรณะเจดีย ไดคุยกันแลวปรึกษาใหมาชวยดูแลการกอสรางปรับปรุงสวนตางๆ
ตามความเหมาะสม สมเด็จพระถจตสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก เสด็จมาทรงยกฉัตร เดือน
เมษายน 2544 ปจจุบนั เหลืองานตกแตงภายในโดยชัน้ ที่ 1 เปนทีป่ ฏิบตั ธิ รรม ชัน้ ที่ 2 จัดนิทรรศการ
ของเกาในทองถิน่ และอาชีพของชาวบานนํามาจําลองไว มีการเขียนภาพจิตรกรรมพระราชประวัติ
และพระราชกรณียกิจของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ชั้น 3 ภายในองคเจดียเปนหองเขาไป
ประดิษฐานพระพุทธรูปปางปรินพิ พาน และประดิษฐานเจดียห นิ ออนทีภ่ ายในบรรจุพระธาตุ 9 องค
ที่สมเด็จพระสังฆราชพระราชทานมา”67
ลักษณะทั่วไป
พระมหาธาตุเจดียเฉลิมพระเกียรติ 6 รอบพระชนมพรรษา สรางบนเขาดินเปนเขาซึ่ง
ไมสูงมาก และเปนที่ตั้งของวัดเขาดิน สรางเปนเจดียทรงระฆังบนฐานที่สรางเปนอาคารมีความ
กวาง 20 เมตร ความยาว 27 เมตร ความสูงจากฐานถึงสวนยอด 39 เมตร ดานหนาของเจดียทาง
ทิศตะวันออกเปนลานกวาง ทางเขาอาคารและบันไดขึ้นไปตามชั้นตางๆ ก็อยูดานนี้ สวนดานหลัง
ทิศตะวันตกเปนเชิงเขาที่ปกคลุมดวยตนไมนานาพันธุ
สวนฐาน สรางเปนอาคารในผังสี่เหลี่ยมผืนผา 2 ชั้นโดยมีประตูทางเขาภายในอาคาร
และบันไดทางขึ้นไปยังชั้นที่ 2 และ 3 ดานทิศตะวันออก ดานที่เหลือทําเปนหนาตางโดยรอบ
สวนฐานชัน้ ที่ 3 สรางเปนอาคารในผังสีเ่ หลีย่ มจัตรุ สั เพือ่ รองรับองคเจดียม ลี านประทักษิณโดยรอบ
มีซุมประตูกระจกทางเขากลางดานทิศตะวันออก ดานที่เหลือกลางดานทําเปนซุมหนาตางติด
กระจก แตละดานมีซมุ จระนําประดิษฐานพระสงฆสาวกขนาบขาง รวมมีซมุ จระนํา 8 ซุม อันแทน
ความหมายพระอรหันตแปดทิศ ที่มุมอาคารทําเปนพานพุมประดับกระจกสี
สวนกลาง ถัดจากฐานที่สรางเปนอาคารในผังสี่เหลี่ยมจัตุรัสรองรับองคเจดีย ขึ้นไป
เปนสวนของมาลัยเถาที่รองรับทรงระฆัง
สวนยอด เหนือทรงระฆังเปนบัลลังกในผังกลม ตอเนื่องขึ้นไปเปนเสาหานที่รองรับ
ปลองไฉน ปลี ลูกแกวและฉัตร (ภาพที่ 121)

67
สัมภาษณ พระมหาประเสริฐ ปสฏโฐ, เจาอาวาสวัดเขาดิน, 8 มิถุนายน 2545.
142

ภาพที่ 121 พระมหาธาตุเจดียเฉลิมพระเกียรติ 6 รอบพระชนมพรรษา วัดเขาดิน อําเภอบางปะกง ฉะเชิงเทรา

ลักษณะที่หยิบยืมมาจากศิลปะรัตนโกสินทรกอน พ.ศ. 2475


ประวัติก ารออกแบบกอสรา งเจดียอ งคนี้ ณ วัดเขาดินระบุชัด เจนตามที่ห ลวงพอ
พระมหาประเสริฐใหขอมูล คือ ไดรับแรงบันดาลใจในการหยิบยืมรูปแบบจากเจดียวัดราชบพิธ-
สถิตมหาสีมาราม ที่สรางขึ้นในสมัยรัชกาลที่ 5 มาประยุกตออกแบบขึ้นใหม แตรูปทรงเจดียที่
เห็นก็ชวนใหตั้งขอสังเกตถึงความชํานาญของชางในการกอสรางเจดียซึ่งทําใหรูปทรงแตกตางจาก
เจดียตนแบบ
143

ลักษณะที่เพิ่มเติมผสมผสาน
วัดเขาดินมีการจัดกิจกรรมทางพระพุทธศาสนาเปนประจําตลอด อาทิ การอบรมธรรม
ใหกับเด็กนักเรียน การสรางเจดียจึงตองคํานึงถึงประโยชนใชสอยไดภายในโดยสรางฐานเปน
อาคารซึ่งสามารถทํากิจกรรมตางๆ ได ทําเปนหองจัดนิทรรศการรวมถึงมีการเขียนภาพจิตรกรรม
ฝาผนังตกแตงภายใน เชน ภาพพระราชอัจฉริยภาพดานตางๆ ของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว
เปนตน (ภาพที่ 122) และการประดิษฐานพระพุทธรูปเพื่อเคารพบูชา

ภาพที่ 122 การเขียนภาพจิตรกรรมฝาผนังตกแตงภายในพระมหาธาตุเจดียฯ วัดเขาดิน อําเภอบางปะกง ฉะเชิงเทรา

สวนลักษณะที่เพิ่มเติมผสมผสานในการออกแบบเจดียตามแนวคิดของผูสรางเปนอีก
สวนที่เพิ่มเติมจากเจดียตนแบบ นอกจากฝมือและความชํานาญของชางในการกอสรางเจดีย คือ
การออกแบบพานพุมประดับกระจกสีที่พระมหาประเสริฐ ทานใหขอมูลวา “หลวงพอเห็นวา
มุมฐานเจดียชั้น 3 ยังวางอยู ก็เลยมีแนวคิดใหชางใสพานพุมเขาไป ตอนแรกจะทําเปนพุมเงินและ
พุมทอง แตชางมาบอกวากระจกสีเงินและสีทองไมมี หลวงพอบอกใหชางทําเปนมุมละสีเลย”68
หนาบรรพซุมประตูทางเขาภายในฐานหรืออาคารชั้นที่ 3 ไดประดับตราสัญลักษณพระราชพิธี
มหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษาครบ 6 รอบ 5 ธันวาคม 2542 (ภาพที่ 123) เพื่อนอมเกลาถวาย
พระมหาธาตุเจดียฯ เปนราชสักการะแดพระบาทสมเด็จพระเจาอยูห วั จึงเชิญตราสัญลักษณดงั กลาว
มาติดประดับ

68
สัมภาษณ พระมหาประเสริฐ ปสฏโฐ, เจาอาวาสวัดเขาดิน, 8 มิถุนายน 2545.
144

ภาพที่ 123 การประดับตกแตงลวดลายของพระมหาธาตุเจดียฯ วัดเขาดิน อําเภอบางปะกง ฉะเชิงเทรา

เจดียใ นศิลปะรัตนโกสินทรกลาวไดวา คือ เจดียโ บราณตนแบบทีใ่ หแรงบันดาลใจสําคัญ


ของเจดียสรางใหมในปจจุบันที่ยอนกลับไปหยิบยืมรูปแบบมาสรางเจดีย แตรูปแบบเจดียที่ปรากฏ
ก็แสดงนัยสําคัญของความนิยมในปจจุบัน อาทิ การออกแบบเจดียเพื่อใหเกิดประโยชนใชสอยได
ภายในองคเจดียมากกวาเจดียที่กอทึบตัน และการที่รูปแบบเจดียในศิลปะรัตนโกสินทรกอน พ.ศ.
2475 นั้นยังแฝงซึ่งความตอเนื่องของการเปนศูนยกลางความเจริญดานศิลปวัฒนธรรมที่มีความ
ใกลชิดมากกับปจจุบัน จึงมีเจดียสรางขึ้นใหมหลายๆ องคที่ศรัทธาและเลือกที่จะหยิบยืมรูปแบบ
รูปทรงมาเปนแรงบันดาลใจ

เจดียสรางขึ้นใหมในประเทศไทยหลัง พ.ศ. 2475 ที่กลาวมาตามลําดับยุคสมัยศิลปะ


แสดงถึงนัยสําคัญของการยอนกลับไปหยิบยืมรูปแบบตางๆ ของเจดียโบราณตนแบบอยางแพร
หลายตามรูปแบบที่วิเคราะหและประวัติการสราง สามารถสรุปไดเปน 2 ประเด็น คือ
1. การสรางเจดียหลัง พ.ศ. 2475 นั้นมีนัยสําคัญที่สะทอนแนวคิดหลักในความเชื่อ
ดานความศักดิ์สิทธิ์ ที่นํามาซึ่งความศรัทธาในเจดียโบราณตนแบบอันเปนแรงบันดาลใจสําคัญทาง
พระพุทธศาสนา โดยมากอนรูปแบบเจดียตนแบบอันเปนเรื่องของวิวัฒนาการงานชาง และความ
งามมาเปนอันดับรอง
145

2. รูปแบบรูปทรงที่ยอนกลับไปหยิบยืมนํามาตามความศรัทธา โดยมีการสรางสวน
ประกอบอยางอื่นเพิ่มเติมผสมผสานขึ้นในเจดียสรางใหม อาทิ ประโยชนใชสอยภายในองคเจดีย
เมือ่ มีการเพิม่ เติมก็จาํ เปนตองมีการลดเพือ่ ใหเกิดความเหมาะสม รูปแบบเดิมของเจดียโ บราณตนแบบ
จึงกลายไปมาก การวิเคราะหรูปแบบจึงเปนเรื่องจําเปนเพื่อทราบถึงแรงบันดาลใจทางดานงานชาง
สวนความศรัทธาซึ่งเปนเรื่องหลัก คือ สาเหตุเฉพาะบุคคลซึ่งเปนผูสราง

ความศรัทธาในความศักดิ์สิทธิ์นํามาซึ่งการสรางเจดีย สวนแรงบันดาลใจนอมนําให
เลือกเจดียโบราณตนแบบเพื่อเปนสัญลักษณตามความศรัทธา อนึ่ง การยอมรับเจดียตนแบบที่
เลือกมาเปนแรงบันดาลใจในการสรางเจดียสมัยใหมจะจํากัดอยูในหมูบุคคลที่ใกลชิดผูสรางหรือ
ผูออกแบบเจดีย โดยที่พระสงฆมีบทบาทสําคัญมากในการสรางเจดียตามวัดที่เลือกมาเปนตัวอยาง
วิเคราะห และเมื่อมีการเผยแพรประชาสัมพันธก็มีสวนทําใหเจดียและวัดเปนที่รูจักในหมูพุทธศาส-
นิกชนเพิ่มขึ้น69

69
ดูเพิ่มเติมตัวอยางการเผยแพรประชาสัมพันธเจดียสรางขึ้นใหมในปจจุบันในภาคผนวก ก.

You might also like