You are on page 1of 70

๑๓๖

ลายเสนที่ ๔๘ แสดงรูปฐานอาคารและบันไดมุขดานหนา ตึกวชิรมงกุฎ วชิราวุธวิทยาลัย


ที่มา : “แปลนดานหนาแสดงโครงเหล็ก ตึกเรียนโรงเรียนวชิราวุธวิทยาลัย,” แผนทีส่ วนบุคคล,
ผ. สบ. ๖.๕/๒, หอจดหมายเหตุแหงชาติ.

ลายเสนที่ ๔๙ แสดงรูปฐานอาคารและบันไดมุขดานหลัง ตึกวชิรมงกุฎ วชิราวุธวิทยาลัย


ที่มา : “แปลนดานหนาแสดงโครงเหล็ก ตึกเรียนโรงเรียนวชิราวุธวิทยาลัย,” แผนทีส่ วนบุคคล,
ผ. สบ. ๖.๕/๒, หอจดหมายเหตุแหงชาติ.
๑๓๗

๙. พระอุโบสถวัดโปรดสัตว จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
วัดโปรดสัตว ตั้งอยู ตําบลขนอนหลวง อําเภอบางปะอิน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
สังกัดคณะสงฆมหานิกาย
มูลเหตุ วัดโปรดสัตว สรางขึ้นตั้งแตประมาณ พ.ศ. ๒๒๓๕ โดยมีพระเจาหลวง
เปนผูทรงสรางขึ้นในคราวทีไ่ ดเสด็จมาทรงสรางเมืองใหม ตอมาในสมัยกรุงรัตนโกสินทร รัชกาลที่
๔ กรมหลวงวงศาธิราชสนิทตนตระกูล “สนิทวงศ” เมื่อคราวยกทับไปปราบขาศึก ไดมาพักและ
กระทําพิธที ี่วดั นี้กอน เมื่อไดปราบขาศึกไดชัยชนะกลับมาแลว จึงไดมาทําการปฏิสังขรณวัดโปรด
สัตวใหมนั่ คงขึ้น ครั้นถึง พ.ศ. ๒๔๗๔ พลเรือโท พระองคเจาสนิทพงศพฒ ั นเดช (ม.จ.ตุม
พระโอรสของกรมหลวงวงศาฯ) ไดมาสรางอุโบสถหลังใหมขนึ้ และในสมัยตอมาก็ไดสราง
ถาวรวัตถุขึ้นอีก เชน หอสวดมนต หอพระธรรม เปนตน โดยไดรับการอุปถัมภบํารุงวัดจากสกุล
สนิทวงศ มาโดยตลอด
วัดโปรดสัตว ไดรับพระราชทานวิสงุ คามสีมา นับตัง้ แตประมาณ พ.ศ. ๒๒๔๕ เขต
วิสุงคามสีมากวาง ๒๒ เมตร ยาว ๓๘ เมตร เกี่ยวกับการศึกษาทางวัดไดเปดสอนพระปริยัติธรรม
นับวามัน่ คงตัง้ แต พ.ศ. ๒๕๒๐
ความสําคัญของวัดนี้ เมื่อครั้งสมัยกรุงศรีอยุธยา ไดเคยเปนสถานที่พกั รับรองราชทูต
จากลังกา แมการจัดสงพระสงฆและทูตานุทูตไปลังกา ในสมัยสมเด็จพระเจาบรมโกษฐ ก็ไดอาศัย
ที่วัดแหงนีเ้ ปนที่จัดสงและตอนรับลับ คราวสมัยรัชกาลที่ ๖ ในพระราชพิธีบรมราชาภิเศก มหา
เสวกโท พระยาโบราณราชธานิน (พร เดชคุปต) สมุหเทศาภิบาลมณฑลอยุธยา ไดนาํ น้าํ ที่หนา
พระอุโบสถวัดโปรดสัตว ไปทําพิธพี ระพุทธมนตที่พระพุทธบาท และในรัชกาลที ๗ ก็ไดกระทําการ
เชนเดียวกัน๑๓
ลักษณะทางสถาปตยกรรม ตัวพระอุโบสถตั้งอยูบ นฐานไพที เปนอาคารมีมขุ
หลังคาลดหนาและหลังแบบโถง ขนาดเจ็ดหองเสา กวางยาวประมาณ ๑๒.๔๔ X ๒๒.๔๐ เมตร
(ไมรวมมุขลด) รูปแบบอาคารและองคประกอบตาง ๆ ใชอยางไทยประเพณี โดยทําหลังคาลดหนา
– หลัง มีตับหลังคาซอนสามชั้น ตับสุดทายปลอยชายคายืน่ ออกมาและใชคันทวยรับ สวนมุขลด
ดานหนา และดานหลังของผนังหุมกลองเปนแบบโถงออกมา มีชุดฐานปทมลูกแกวอกไกรองรับ
เสาแบบยอมุมไมสิบสอง ในสวนมุขหนาออกแบบใหมีเสา ๔ ตน ซึ่งเสาคูที่รับหนาจั่วจะตั้งบนฐาน
ปทม สวนเสาคูที่รับชายคาปกนกจะตั้งบนพืน้ ฐานไพที ซึ่งหลังคามุขหนานี้จะมีสามตับ ตับสุดทาย
๑๓
กรมการศาสนา, กระทรวงศึกษาธิการ, ประวัติวัดทั่วราชอาณาจักร เลม ๔
(กรุงเทพฯ : โรงพิมพการศาสนา, ๒๕๒๘), ๒๓๘-๒๓๙.
๑๓๘

ชายคายื่นและรองรับดวยคันทวย ในสวนมุขลดดานหลังออกแบบใหใชเสาคูเดียวรองรับหนาจัว่ มี
หลังคาสองตับ ตับที่สองมุงชนกับกันสาดดานหนา รองรับชายคาดายคันทวย บัวหัวเสาใชแบบบัว
แวงยอเหลี่ยม
องคประกอบตกแตงใชแบบโบราณทุกประการ มีสาหรายรวงผึง้ แกะสลักลายชอใยเทศ
(ในแบบเดิม) ลายประธานหนาบันเปนรูปนารายณทรงครุฑ ยุดนาค แบบลอยตัวยื่นออกมา ลาย
สวนประกอบทํากระบวนลายเถากนก ยอดลายเปนหัวนาค ลายสามเหลี่ยมอุดปกนก เปนลายเถา
กนกยอดลายหัวนาคเชนเดียวกัน สวนหนาบันดานหลังพระอุโบสถเปนลายนารายณทรงครุฑ
เชนเดียวกับดานหนา เทคนิคและวัสดุใชการแกะสลักไมทั้งหมด
ปานลมแตงดวยเครื่องลํายองแบบนาคสะดุง ประกอบดวย ชอฟาใบระกา และหาง
หงส ทางเขาดานหนาจะอยูสวนสองขางของชุดฐานปทมรองรับเสามุขโถง ทําเปนซุมประตูแบบ
บันแกลงซอนสองชั้น ในสวนกลางผนังหุม กลอง ออกแบบเปนซุมประตู แบบยอดปราสาทสามชั้น
ประกอบยอดดวยบันลังค เหม ขอกลุม และปลี ตั้งอยูบนชุดฐาน ประตูดานผนังหุม กลองหลัง มี ๒
ประตู ตรงกับชองประตูหนา แตมิไดทําซุม ประดับขอบประตู และไมไดเจาะชองกลางผนังเหมือน
ดานหนา ซุมหนาตางมีดานละ ๓ ชองออกแบบวางสลับเวนผนังกรอบซุมออกแบบเปนแบบบัน
แถลงนาคเบือน รองรับเสาซุมดวยชุดฐานสิงห เชนเดียวกับซุม ประตูหนาบานประตูหนาตางทาสี
แดงเรียบไมมลี วดลาย กําแพงแกวบนฐานไพรีออกแบบเปนกําแพงโปรงหรือพนักระเบียงแบบ
กระเบื้องปรุแบบจีน ชักบัวพนักรอบเสาแบบหัวเม็ดทรงมันยอเหลีย่ มไมสิบสอง ชุดฐานแบบบัว
ลูกแกวอกไก มีทางขึ้น – ลงพระอุโบสถ ๔ บันได ในสวนดานหนาและทายพระอุโบสถ

ภาพที่ ๑๓๑ พระอุโบสถวัดโปรดสัตว


ที่มา : จากการสํารวจของผูว ิจัย
๑๓๙

ภาพที่ ๑๓๒ ดานหนาพระอุโบสถวัดโปรดสัตว


ที่มา : จากการสํารวจของผูว ิจัย

ภาพที่ ๑๓๓ มุขดานหนา ภาพที่ ๑๓๔ มุขดานหลัง


พระอุโบสถวัดโปรดสัตว พระอุโบสถวัดโปรดสัตว
ที่มา : จากการสํารวจของผูว ิจัย ที่มา : จากการสํารวจของผูวิจยั
๑๔๐

ภาพที่ ๑๓๕ หนาบันรูปพระนารายณทรงครุฑ ประกอบลายกระหนกกานขด


ที่มา : จากการสํารวจของผูว ิจัย

ภาพที่ ๑๓๖ บันไดดานหนาพระอุโบสถวัดโปรดสัตว


ที่มา : จากการสํารวจของผูว ิจัย
๑๔๑

ภาพที่ ๑๓๗ ซุมประตูกลาง ภาพที่ ๑๓๘ ยอดซุมประตูกลาง


มุขดานหนาพระอุโบสถ มุขดานหนาพระอุโบสถ
ที่มา : จากการสํารวจของผูว ิจัย ทีม่ า : จากการสํารวจของผูว จิ ัย

ภาพที่ ๑๓๙ ซุมหนาตาง พระอุโบสถ ภาพที่ ๑๔๐ ซุม ประตู ดานหนาพระอุโบสถ


แบบบันแถลง ซอนสองชัน้ แบบบันแถลงซอนสองชัน้
ที่มา : จากการสํารวจของผูว ิจัย ทีม่ า : จากการสํารวจของผูวิจัย
๑๔๒

แบบลายเสนสถาปตยกรรม พระอุโบสถวัดโปรดสัตว

ลายเสนที่ ๕๐ แสดงรูปผังพื้น พระอุโบสถวัดโปรดสัตว


ที่มา : “แปลนพืน้ และคาน พระอุโบสถวัดโปรดสัตว,” แผนที่สว นบุคคล, ผ. สบ. ๖.๒/๑๑,
หอจดหมายเหตุแหงชาติ.

ลายเสนที่ ๕๑ แสดงรูปดานขางพระอุโบสถวัดโปรดสัตว
ที่มา : หลวงวิศาลศิลปกรรม, แบบที่ ๒ รูปดานขางพระอุโบสถวัดโปรดสัตว, ลายเสนพิมพเขียว,
๒๔๗๓.
๑๔๓

ลายเสนที่ ๕๒ แสดงรูปดานหนา พระอุโบสถวัดโปรดสัตว


ที่มา : หลวงวิศาลศิลปกรรม (กรุงเทพฯ : โรงพิมพจันวาณิชย, ๒๕๒๕. พิมพในงานพระราชทาน
เพลิงศพศาสตราจารย หลวงวิศาลศิลปกรรม (เชื้อ ปทมจินดา) มีนาคม ๒๕๒๕), ไมปรากฏเลข
หนา.
๑๔๔

ลายเสนที่ ๕๓ แสดงรูปดานหลัง พระอุโบสถวัดโปรดสัตว


ที่มา : หลวงวิศาลศิลปกรรม (กรุงเทพฯ : โรงพิมพจันวาณิชย, ๒๕๒๕. พิมพในงานพระราชทาน
เพลิงศพศาสตราจารย หลวงวิศาลศิลปกรรม (เชื้อ ปทมจินดา) มีนาคม ๒๕๒๕), ไมปรากฏเลข
หนา.
๑๔๕

ลายเสนที่ ๕๔ แสดงรูปตัดตามขวาง พระอุโบสถวัดโปรดสัตว


ที่มา : “แปลนรูปตัดแสดงการผูกเหล็ก เสาหาร อุโบสถวัดโปรดสัตว,” แผนที่สว นบุคคล, ผ. สบ.
๖.๒/๑๒, หอจดหมายเหตุแหงชาติ.
๑๔๖

๑๐. ตึกจักรพงษ จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย


มูลเหตุ ตึกจักรพงษเปนสโมสรสถานที่พระเจาวรวงศเธอพระองคเจาจุลจักร
พงษ ทรงสรางประทานจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย และเพื่อเปนอนุสาวรียถวายแดสมเด็จพระชนก
คือ จอมพลสมเด็จพระเชษฐาธิราชเจาฟาจักรพงษภูวนารถ กรมหลวงพิษณุโลกประชานารถ เมื่อ
พ.ศ. ๒๔๗๕ อาคารนี้ตั้งอยูระหวางคณะวิศวกรรมศาสตรและคณะวิทยาศาสตร หันหนาไปทาง
หอประชุมจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยดานทิศเหนือ ดานหลังจรดสระวายน้ําของมหาวิทยาลัย
เมือ่ ไดรับพระมหากรุณาธิคุณจากพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูห ัวโปรดเกลาฯ
ใหสถาปนาโรงเรียนมหาดเล็ก เปนโรงเรียนขาราชการพลเรือนของพระบาทสมเด็จพระจุลจอม
เกลาเจาอยูห วั เมื่อวันที่ ๑ มกราคม พ.ศ. ๒๔๕๓ ครัง้ นั้นคณะวิศวกรรมศาสตรเปดการเรียนการ
สอนทีว่ ังวินดเซอรหหรือวังใหมหรือวังกลางทุง จึงมีอาคารเรือนไมอยูดานหลังวังวินดเซอรเปนหอ
พักนิสิต ตอมาเมื่อเปนจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยมีนิสิตอีก ๒ คณะเวนคณะแพทยศาสตรซึ่งตั้งอยู
ที่โรงพยาบาลศิริราช ธนบุรีมาเรียนทีว่ ิทยาเขตปทุมวัน จึงมีเรือนไมรวม ๔ หลังเปนหอพักนิสิตชาย
ดังนัน้ นิสิตจึงใชบริเวณมุขดานหนาของหอพักเปนทีพ่ บปะสังสรรคและเลนกีฬาในรม พรอมกันก็
ใชเปนสโมสรนิสิตจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยซึ่งมหาวิทยาลัยอนุมัติใหจัดตั้งเมื่อ พ.ศ. ๒๔๖๕ เมื่อ
สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนกเสด็จพระราชดําเนิน ไปยัง
สหราชอาณาจักร เพื่อสํารวจวาจะทรงศึกษาวิชาแพทยศาสตรที่มหาวิทยาลัยใด พระเจาวรวงศ
เธอ พระองคเจาจุลจักรพงศซึ่งตามเสด็จไดกราบทูลสมเด็จพระมหิตลาธิเบศรอดุลยเดชวิกรม พระ
บรมราชชนก วาทรงมีพระประสงคจะชวยเหลืออาจารยและนิสิตจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยสมเด็จ
พระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนกจึงไดพระราชทานคําแนะนําวา ควรสราง
สโมสรสถานใหอาจารยและนิสิตใชเปนทีพ่ บปะสังสรรคและเลนกีฬาในรม เพราะนิสิตไมมีอาคาร
เพื่อกิจการดังกลาว พระเจาวรวงศเธอ พระองคเจาจุลจักพงศจึงประทานเงินจํานวน ๒๐,๐๐๐
บาท ใหสรางขึ้น ในป พ.ศ. ๒๔๙๗ พระเจาวรวงศเธอพระองคเจาจุลจักรพงศทรงเห็นวามีนิสิต
เพิ่มมากขึ้นจึงประทานเงินจํานวน ๑๐๐,๐๐๐ บาท ใหกอ สรางเพิม่ เติมดานหลังของอาคาร
ตอมาใน พ.ศ. ๒๕๐๗ จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยพิจารณาเห็นวาจํานวนของนิสิตและ
กิจกรรมนิสติ มีประมาณเพิม่ มากขึน้ ประกอบกับไดมกี ารเปลี่ยนการบริหารงานของคณะนิสิตเปน
องคการบริหารนิสิต ซึ่งมีสโมสรและชุมนุมตาง ๆ บริหารงานเกีย่ วกับนิสิต มีสภานิสิตเปนองคกรที่
ดําเนินงานควบคูกับองคการบริหารนิสิต จึงสรางอาคารอเนกประสงคคือศาลาพระเกี้ยวขึ้น พรอม
กันนั้นก็มอบสวนหนึง่ ของอาคารศาลาพระเกี้ยวใหคณะนิสิตดําเนินกิจกรรมตาง ๆ ดังเสนอขางตน
ระหวาง พ.ศ. ๒๕๒๘ จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยไดแตงตั้งคณะกรรมการรวบรวม
เอกสารและวัตถุที่มีคุณคาตอประวัติจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยขึน้ เพื่อรวบรวมเอกสารและวัตถุ
๑๔๗

สิ่งของทีม่ ีคุณคาตอประวัติจฬุ าลงกรณมหาวิทยาลัยมากพอควรแลว มหาวิทยาลัยจึงแตงตั้งคณะ


กรรมการจัดตั้งหอประวัติจฬุ าลงกรณมหาวิทยาลัย ตอมาสภามหาวิทยาลัยไดอนุมัติใหซอมตึก
จักรพงษเพื่อใชเปนหอประวัติจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยคณะกรรมการไดดําเนินการเสร็จเรียบรอย
และไดกราบบังคมทูลเชิญสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีเสด็จพระราชดําเนิน
มาทรงเปนประธานเปดตึกจักรพงษเปนหอประวัติจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย เมื่อวันที่ ๒๖ มีนาคม
พ.ศ. ๒๕๓๑ หอประวัติจฬุ าลงกรณมหาวิทยาลัย จึงดําเนินการเกีย่ วกับหอประวัติจุฬาลงกรณ
มหาวิทยาลัยที่ตึกจักรพงษจนถึงปจจุบนั ๑๔
ลักษณะสถาปตยกรรม ผังอาคารรูปสี่เหลี่ยมผืนผา ขนาดกวางและยาว
ประมาณ ๑๒ X ๑๘ เมตร(แบบเดิม แตปจจุบันตอมุขยื่นไปดานหลังของอาคาร) รวมสวนมุขลด
ลักษณะอาคารแบบกออิฐถือปูน ๒ ชั้นหลังคาไทยมุงดวยกระเบื้องดินเผา ๒ ตับมีหนาจัว่ และมีปก
นกเชื่อมตอเปนกันสาด ชนกับกันสาดของหลังคามุขลดทั้งสองขาง ชายคารองรับดวยค้ํายัน
ลักษณะรูปทรงอาคารโดยรวมคอนขางเรียบเกลี้ยง ดานหนาออกแบบใหมีมุขยืน่ ออกมาตรงกลาง
โดยใชเสา ๒ คู ดานบนทําเปนระเบียง มีประตูออกมาภายนอกได และทําราวระเบียงแบบลูกแกว
ปานลมทําเปนแบบครอบกระเบื้องชักคิ้วเรียบ สวนปลายปน ตัวเหงากอดสันปานลมหรือตัวครอบ
กระเบื้อง หนาบันมุขทั้ง ๒ ดาน แบบทึบ ชักรูปเลียนแบบชุดขื่นคาน ภายในชองลูกฝก ดานบน
ออกแบบเปนรูปจักรและตระบอง อันเปนตรา ประจําราชตระกูลจักรพงษ อยูในกรองสี่เหลี่ยม
จัตุรัส สวนชองลางเปนตัวอักษร “ตึกจักรพงษ” อยูในกรอบสี่เหลีย่ มผืนผา เสาลูกตั้งหนาบัน
ออกแบบเปนเสาอิงมีบวั ทีห่ วั เสาและเชิงเสา สวนตัวอาคารมีทางเขาดานหนา ดานหลังและ
ดานขางในทิศตะวันออก มีหนาตางโดยรอบอาคาร
การจัดตําแหนงหองภายใน ชั้นลางเมือ่ เขาสูตัวอาคารเปนหองโถงกวางดานซายกั้น
ผนังเปนหอง โดยแบงเปนหองทําการและหองสุขา ซึ่งระหวางหองทัง้ สองนั้น คั้นดวยทางเขา
อาคารจากประตูดานขางและมีบันไดขึ้นสูช ั้นบน สวนดานขวาสวนมุขออกแบบใหเปนบันไดดาน
ใน ขึ้นสูชนั้ บน การจัดตําแหนงหองชั้นบนมีลักษณะเชนเดียวกับชัน้ ลาง ทั้งนี้จากการออกแบบ
พื้นที่ใชสอยภายใน คือตองการตอบสนองประโยชนใชสอยแบบสโมสร กลาวคือ มีพนื้ ทีห่ องโถง
เปนสวนใหญอันคํานึงถึงการใชพื้นที่สาํ หรับทํากิจกรรมหรือการรวมตัวนัน่ เอง

๑๔
สวัสดิ์ จงกล, “ขอมูลเกี่ยวกับอาคารจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย,” เอกสารหอประวัติ
จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, ๒๕๔๑.(อัดสําเนา)
๑๔๘

ภาพที่ ๑๔๑ ตึกจักรพงษเมือ่ แรกสราง(ยังไมไดตอเติมมุขดานหลัง)


ที่มา : วิมลสิทธิ์ หรยางกูร และคนอื่นๆ, พัฒนาการแนวความคิดและรูปแบบของงาน
สถาปตยกรรม อดีต ปจจุบัน และอนาคต (กรุงเทพฯ : สมาคมสถาปนิกสยาม, ๒๕๓๖), ๕๖.

ภาพที่ ๑๔๒ ดานหนาตึกจักรพงษ (ปจจุบัน)


ที่มา : จากการสํารวจของผูว ิจัย

ภาพที่ ๑๔๓ มุขดานหลังตึกจักรพงษ (ปจจุบัน)


ที่มา : จากการสํารวจของผูว ิจัย
๑๔๙

ภาพที่ ๑๔๔ หนาบันตึกจักรพงษ และตราสัญลักษณจักรกับกระบอง


ที่มา : จากการสํารวจของผูว ิจัย

ภาพที่ ๑๔๕ หองโถงกลางภายในชัน้ ลาง


ที่มา : จากการสํารวจของผูว ิจัย

ภาพที่ ๑๔๖ หองโถงกลางชั้นบน จัดแสดงประวัติจุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย


ที่มา : จากการสํารวจของผูว ิจัย
๑๕๐

ภาพที่ ๑๔๗ สันปูนหลบชายขอบกระเบือ้ งหลังคา แบบตัวเหงา


ที่มา : จากการสํารวจของผูว ิจัย

ภาพที่ ๑๔๘ หนาบันมุขดานหลัง


ที่มา : จากการสํารวจของผูว ิจัย
๑๕๑

แบบลายเสนสถาปตยกรรม ตึกจักรพงษ จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

ลายเสนที่ ๕๕ แสดงรูปผังพื้นชัน้ ลาง ตึกจักรพงษ จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย


ที่มา : “ผังตึกจักรพงษ จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย,” แผนที่สวนบุคคล, ผ. สบ. ๖.๖/๑๑,
หอจดหมายเหตุแหงชาติ.
๑๕๒

ลายเสนที่ ๕๖ แสดงรูปผังพื้นชัน้ บน ตึกจักรพงษ จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย


ที่มา : “ผังตึกจักรพงษ จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย,” แผนที่สวนบุคคล, ผ. สบ. ๖.๖/๑๑,
หอจดหมายเหตุแหงชาติ.
๑๕๓

ลายเสนที่ ๕๗ แสดงรูปดานหนา ตึกจักรพงษ จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย


ที่มา : หลวงวิศาลศิลปกรรม (กรุงเทพฯ : โรงพิมพจันวาณิชย, ๒๕๒๕. พิมพในงานพระราชทาน
เพลิงศพศาสตราจารย หลวงวิศาลศิลปกรรม (เชื้อ ปทมจินดา) มีนาคม ๒๕๒๕), ไมปรากฏเลข
หนา.
๑๕๔

ลายเสนที่ ๕๘ แสดงรูปดานขาง ตึกจักรพงษ จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย


ที่มา : หลวงวิศาลศิลปกรรม (กรุงเทพฯ : โรงพิมพจันวาณิชย, ๒๕๒๕. พิมพในงานพระราชทาน
เพลิงศพศาสตราจารย หลวงวิศาลศิลปกรรม (เชื้อ ปทมจินดา) มีนาคม ๒๕๒๕), ไมปรากฏเลข
หนา.
๑๕๕

ลายเสนที่ ๕๙ แสดงรูปตัดดานยาว ตึกจักรพงษ จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย


ที่มา : “รูปตัดตึกจักรพงษ จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย,” แผนที่สว นบุคคล, ผ. สบ. ๖.๖/๑๒,
หอจดหมายเหตุแหงชาติ.
๑๕๖

ลายเสนที่ ๖๐ แสดงรูปตัดดานขวาง ตึกจักรพงษ จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย


ที่มา : “รูปตัดตึกจักรพงษ จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย,” แผนที่สว นบุคคล, ผ. สบ. ๖.๖/๑๒,
หอจดหมายเหตุแหงชาติ.
๑๕๗

ลายเสนที่ ๖๑ แสดงรูปตัดจั่วดานขวาง ตึกจักรพงษ จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย


ที่มา : “รูปตัดตึกจักรพงษ จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย,” แผนที่สว นบุคคล, ผ. สบ. ๖.๖/๑๒,
หอจดหมายเหตุแหงชาติ.
๑๕๘

๑๑. พระอุโบสถวัดไตรมิตร วัดไตรมิตรวิทยาราม เปนพระอารามหลวงชั้นโท ชนิด


วรวิหาร ตั้งอยูเ ลขที่ ๖๖๑ แขวงตลาดนอย เขตสัมพันธวงศ กรุงเทพมหานคร
มูลเหตุ วัดไตรมิตรวิทยาราม เปนวัดทีส่ รางขึ้นในสมัยกรุงรัตนโกสินทร
ประมาณ พ.ศ. ๒๓๗๕ เดิมชื่อวา “วัดสามจีน” การเรียกชื่อวัดนี้ เนื่องจากมีชาวจีน ๓ คนชวยกัน
สรางวัดนี้มา จึงไดนามวา “วัดสามจีน” แตคงมีหลายแหงที่มนี ามตรงกัน วัดนี้จงึ มีสรอยตอทายวา
“วัดสามจีนใต” และไดเปลี่ยนนามใหมเมื่อป พ.ศ. ๒๔๘๒ เปน “วัดไตรมิตรวิทยาราม” โดยทีท่ าน
เจาประคุณสมเด็จพระวันรัต เขมจารี วัดมหาธาตุฯ ไดทําพิธีเปดปายวัดเมื่อวันที่ ๓ กุมภาพันธ
๒๔๘๒ ปรากฏในขอความเปลี่ยนนามวัดตอนหนึ่งวา “สมควรที่จะเปลี่ยนนามวัดใหม เพื่อเชิดชู
เกียรติของทานผูสรางและผูอ ุปถัมภ” เขาใจกันวาจีนสามคนที่สรางวัด จะเปนญาติกันหรือไมก็
ตาม แตตองเปนมิตรรักใครสนิทสนมกัน จึงรวมใจกันสรางวัดเพื่อเปนวิหารทาน การบุญใหญ เปน
ที่ตั้งสํานักเรียนพระปริยัติธรรม ทั้งโรงเรียนภาษาไทยของรัฐบาลจนถึงมัธยมชัน้ สูง จึงเปนการ
สมควรและเหมาะสมกับวัดที่เปลี่ยนใหมอยางยิ่ง
วัดไตรมิตรวิทยาราม รับพระบรมราชูปถัมภพระราชทานพระบรมราชานุญาตใหยก
ฐานะขึ้นเปนพระอารามหลวงชัน้ โท ชนิดวรวิหาร ตั้งแตวันที่ ๒๒ กันยายน ๒๔๙๙
วัดไตรมิตรวิทยาราม ไดรับพระราชทานวิสงุ คามสีมาใหม เมื่อวันที่ ๑๓ สิงหาคม
๒๔๙๐ กําหนดเขตกวาง ๔๐ เมตร ยาว ๘๐ เมตร ไดประกอบพิธีผกู พัทธสีมาเมื่อวันที่ ๕ เมษายน
๒๔๙๓๑๕ สรางเสร็จ พ.ศ.๒๔๙๐- ๒๔๙๒
ลักษณะทางสถาปตยกรรม พระอุโบสถวางตัวตัง้ บนฐานไพทียกพืน้ สูง ใน
ลักษณะผังรูปสี่เหลี่ยมผืนผาลดและยอมุมตามผังอาคารของพระอุโบสถและศาลาราย กลุม
อาคารบนฐานไพที ประกอบดวยอาคาร ๕ หลัง คือ การออกแบบใหตัวพระอุโบสถวางตัวเปน
ประธานอยูกลางผัง และใหศาลามุมขนาดเล็กวางตัวที่มุมฐานไพทีทั้ง ๔ มุม ลักษณะพระอุโบสถ
เปนอาคารทรงจัตุรมุข ขนาด ๔ หองเสา(ไมรวมมุข) ขนาดกวาง ๑๐.๒๐ เมตร ยาว ๒๙ เมตร
โดยมีมุขดานหนายาวกวาดานหลัง สวนหลังคาอาคารหลักมีลักษณะลดหนา – หลัง ประกอบดวย
ตับหลังคาซอนสามชัน้ ปลอยชายคายืน่ ในตับสุดทาย ชายคาปกนกและกันสาดวิ่งชนกับหลังคา
ปกนกทัง้ มุขดานหนาและมุขดานหลัง ในสวนทีย่ ื่นออกทัง้ สี่ดาน เปนมุขโถง แตมีผนังกันสาด
ประกอบดวยซุมระหวางเสา สันหลังคามุขทั้ง ๔ ดานอยูต่ําในระดับเชิงชายของผืนหลังคาอาคาร
หลัก มุขดานขางทั้ง ๒ ดานยื่นออกมาจากชองหองที่ ๓ (นับจากดานหนา)

๑๕
กระทรวงศึกษาธิการ, กรมการศาสนา, ประวัติวัดทั่วราชอาณาจักร เลม ๑
(กรุงเทพฯ : โรงพิมพการศาสนา, ๒๕๒๕), ๑๗๐ - ๑๗๒.
๑๕๙

สวนการประดับหนาบัน ปานลมแบบเครื่องคอนกรีตไมมีแปประดับดวยลวดลาย แบบ


ปนหลอถอดพิมพ หนาบันประธานแรกเดิมออกแบบเปนลายกนกหางโต แตไดเปลี่ยนเปนซุม
ประดิษฐานพระพุทธรูปยืนปางอุมบาตร ลายประกอบดานขางเปนลายกนกชนิดกานยก สวนหนา
ยันมุขทั้ง ๔ ดาน แรกเริ่มออกแบบเปนรูปธรรมจักเปนลายประธาน ลายประกอบชนิดกระจังมุม
ปดพื้นที่สามเหลี่ยม แตไดปรับเปลี่ยนเปนซุมวิมาน ๕ ยอด ประดิษฐานเทพ ๓ องค ประกอบดวย
พระนารายณ พระอิศวร และพระพรหม อันเปนการเอาชื่อวัดมาออกแบบ ตัวอาคารมีทางเขาออก
๓ ดาน คือ ดานหนาและดานขางตรงสวนมุข ลวดลายประดับซุมมุข ซุมประตู และหนาตางมี
ลักษณะเปนลายรูปทรงเหลีย่ มแบบเรขาคณิต อันเปนลักษณะลายแบบลดทอนและเรียบงายตาม
ยุคสมัยนิยมในขณะนัน้ ในสวนเสาอิงหรือเสาประดับมีลักษณะตกแตงแบบเรียบเกลี้ยงลดทอง
เชนกัน ซึ่งอาจกลาวไดวา ผูออกแบบไดรับความบันดาลใจมาจากรูปแบบเมรุของวัดไตรมิตร ที่
พระพรหมพิจติ รออกแบบไวในปพ.ศ. ๒๔๘๐ เพื่อตองการนําเสนอรูปแบบสถาปตยกรรมไทยตาม
ยุคสมัยและใหบังเกิดความสัมพันธกับสถาปตยกรรมใกลเคียงอีกดวย
ภายในพระอุโบสถลายพื้นสูง ใตพื้นพระอุโบสถออกแบบใหเปนหองเก็บของ ภายใน
ประดิษฐานพระพุทธปางมารวิชัยเปนประทาน มีพระนามวา “พระพุทธทศพลญาณ” แตประชาชน
นิยมเรียกวา “หลวงพอโตวัดสามจีน” บานประตู – หนาตาง เขียนภาพลายรดน้ําประดับ
ศาลารายหรือศาลาทิศ มีลกั ษณะอาคารทรงจัตุรมุขเชนกัน แตมีหลังคาชัน้ เดียวและ
ชักปกนกกันสาดโดยรอบ เดิมออกแบบใหมีลักษณะมุขโถง แตไดเปลี่ยนเปนผนังปดมีหนาตาง
โครงสรางอาคารแบบคอนกรีตเสริมเหล็ก

ภาพที่ ๑๔๙ พระอุโบสถวัดไตรมิตร


ที่มา : จากการสํารวจของผูว ิจัย
๑๖๐

ภาพที่ ๑๕๐ ดานหนาพระอุโบสถวัดไตรมิตร


ที่มา : จากการสํารวจของผูว ิจัย

ภาพที่ ๑๕๑ ดานขางพระอุโบสถวัดไตรมิตร


ที่มา : จากการสํารวจของผูว ิจัย

ภาพที่ ๑๕๒ สวนหนาบันและหลังคามุขดานหนาพระอุโบสถวัดไตรมิตร


ที่มา : จากการสํารวจของผูว ิจัย
๑๖๑

ภาพที่ ๑๕๓ หางหงส เชิงชายและบัวหัว ภาพที่ ๑๕๔ หนาบันประธานรูปพระพุทธปางอุม บาตร


ที่มา : จากการสํารวจของผูว ิจัย ที่มา : จากการสํารวจของผูวิจัย

ภาพที่ ๑๕๕ หนาบันมุขหนารูปเทพ ๓ องคคือ พระนารายณ พระอิศวร และพระพรหม


ที่มา : จากการสํารวจของผูว ิจัย
๑๖๒

ภาพที่ ๑๕๖ ดานขางของมุขแสดงระนาบผนัง ภาพที่ ๑๕๗ กรอบซุมหนาตาง


และเสาประดับดวยบัวแบบลดทอน ที่มา : จากการสํารวจของผูวิจัย
ที่มา : จากการสํารวจของผูว ิจัย

ภาพที่ ๑๕๘ ซุมเสมาพระอุโบสถวัดไตรมิตร


ที่มา : จากการสํารวจของผูว ิจัย
๑๖๓

ภาพที่ ๑๕๙ ศาลารายพระอุโบสถวัดไตรมิตร


ที่มา : จากการสํารวจของผูว ิจัย

ภาพที่ ๑๖๐ สิงหโลหะประดับพนักบันได


ที่มา : จากการสํารวจของผูว ิจัย
๑๖๔

แบบลายเสนสถาปตยกรรม พระอุโบสถวัดไตรมิตร

ลายเสนที่ ๖๒ แสดงรูปผังพืน้ ภายใน พระอุโบสถวัดไตรมิตร


ที่มา : หลวงวิศาลศิลปกรรม, แบบพระอุโบสถวัดไตรมิตร, เสนหมึกดําบนกระดาษไข, ๒๔๙๐.

ลายเสนที่ ๖๓ แสดงรูปผังพืน้ ชั้นใตดนิ พระอุโบสถวัดไตรมิตร


ที่มา : หลวงวิศาลศิลปกรรม, แบบพระอุโบสถวัดไตรมิตร, เสนหมึกดําบนกระดาษไข, ๒๔๙๐.
๑๖๕

ลายเสนที่ ๖๔ แสดงรูปดานหนา พระอุโบสถวัดไตรมิตร


ที่มา : หลวงวิศาลศิลปกรรม, แบบพระอุโบสถวัดไตรมิตร, เสนหมึกดําบนกระดาษไข, ๒๔๙๐.

ลายเสนที่ ๖๕ แสดงรูปดานขาง พระอุโบสถวัดไตรมิตร


ที่มา : หลวงวิศาลศิลปกรรม, แบบพระอุโบสถวัดไตรมิตร, เสนหมึกดําบนกระดาษไข, ๒๔๙๐.
๑๖๖

๑๒. พระอุโบสถวัดสุนทรธรรมทาน วัดสุนทรธรรมทาน ตั้งอยูเลขที่ ๒๑๖ ถนน


พะเนียง แขวงวัดโสมนัส เขตปอมปราบศัตรูพาย กรุงเทพมหานคร สังกัดคณะสงฆมหานิกาย
มูลเหตุ วัดสุนทรธรรมทาน หรือที่ชาวบานนิยมเรียกวา “วัดแคนางเลิ้ง” เดิมเปน
วัดเล็ก ตอมาในสมัยรัชกาลที่ ๓ กรมหมืน่ สุนทรธิบดี พระราชโอรถในรัชกาลที่ ๒ และพระธรรมทา
นาจารย วัดสระเกศ รวมกันบูรณะกอสรางวัดนี้ขึ้นใหมเมื่อประมาณ พ.ศ. ๒๓๘๐ ครัน้ ในสมัย
รัชกาลที่ ๔ โปรดพระราชทานนามวา “วัดสุนทรธรรมทาน” โดยตัดเอาคําวา “สุนทร” และคาวา “
ธรรมทาน” ซึ่งเปนนามผูสรางวัดทั้งสอง นํามาตอกันเขาเปนนามวัดเพื่อเปนเกียรติอนุสรณแหง
ความดี วัดสุนทรธรรมทาน ไดรับพระราชทานวิสงุ คามสีมาครั้งหลังเมื่อวันที่ ๒๕ สิงหาคม พ.ศ.
๒๕๐๒ เขตวิสุงคามสีมากวาง ๒๐ เมตร ยาว ๔๐ เมตร สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยาม
มกุฎราชกุมาร เสด็จพระราชดําเนินทรงตัดลูกนิมิตประกอบพิธีผกู พัทสีมา เมื่อวันที่ ๒๗ ธันวาคม
พ.ศ. ๒๕๑๙๑๖
ลักษณะทางสถาปตยกรรม พระอุโบสถมีลักษณะผังเปนรูปสี่เหลี่ยมผืนผา มี
ขนาดกวาง ๑๔ เมตร ยาว ๓๙.๕๐ เมตร เปนอุโบสถ ยกพืน้ สูงจึงมีลักษณะเปน ๒ ชั้น ชัน้ บน
สําหรับใชทาํ สังฆกรรม สวนชั้นลาง ใชเปน สถานที่สอนนักธรรม มีบนั ไดขึ้น – ลง พระอุโบสถทัง้ ๔
ดาน สวนประตูทางเขาชัน้ ลาง (หรือใตถนุ ) พระอุโบสถอยูขนาบ ๒ ขางของบันไดขึ้นพระอุโบสถ
ชั้นบน หลังคาทํามุขลดหนา – หลัง ดานละ ๓ ลด โดยเปนมุขโถง ชั้นหลังคาซอน ๓ ตับ ตับ
สุดทายทั้งชายคาและมีคันทวยรองรับเชิงชาย ดานขางมีพะไล เครื่องประกอบหลังคาใชแบบไทย
ประเพณี สวนหนาบันเปนปูนปน ปดทอง โดยมีรูปกงลอธรรมจักรเปนประธานของภาพ สวน
ภาพประกอบเปนลายกระหนกลอมลอไปกับธรรมจักร จนประกบเปนซุมแหลมในสวนบนสุดของ
หนาจั่ว สวนลางของหนาบันแบงเปนชองรูปตั้งและรูปนอนเปนชวงๆ ลายอุดปกนกเปนลายชอ
กระหนกอยูในกรอบ ๓ เหลี่ยมมุมฉาก เสาพาไลและเสามุขใชแบบเสายอมุม ประดับดวยบัวหัว
เสา เชิงเสาตัง้ อยูบนฐานไพทียกสูง ระหวางเสามีพนักระเบียงเวนชองโปรงโดยรอบ ยกเวนเฉพาะ
ชวงเสาคูหนาและหลัง
พระอุโบสถมีประตูเขา – ออก ๔ ประตู ในสวนผนังดานสกัดหนา – หลัง ดานละ ๒
ประตู กรอบซุมประตู หนาตาง ใชแบบซุมบันแถลงซอน ๒ ชั้น มีลวดลายปดทองประดับกระจก ที่
ผนังอุโบสถออกแบบเปนซุมเสมาแนบกับผนังอาคารโดยรอบทั้งหมด ๘ ซุม

๑๖
กระทรวงศึกษาธิการ, กรมการศาสนา, ประวัติวัดทั่วราชอาณาจักร เลม ๒
(กรุงเทพฯ : โรงพิมพการศาสนา, ๒๕๒๕), ๓๒๕ – ๓๒๖.
๑๖๗

ในสวนชั้นลางผนังทําเปนชุดฐานสิงหและเจาะชองแสงเปนชวงๆ โดยผังของฐานนี้มี
ลักษณะแบบผังสี่เหลีย่ มลดมุขดานหนาและดานหลัง

ภาพที่ ๑๖๑ แสดงมุมมองอุโบสถวัดสุนทรธรรมทาน


ที่มา : วิมลสิทธิ์ หรยางกูร และคนอื่นๆ, พัฒนาการแนวความคิดและรูปแบบของงาน
สถาปตยกรรม อดีต ปจจุบนั และอนาคต (กรุงเทพฯ : สมาคมสถาปนิกสยาม, ๒๕๓๖), ๒๔๒.

ภาพที่ ๑๖๒ ดานหนาพระอุโบสถวัดสุนทรธรรมทาน


ที่มา : จากการสํารวจของผูว ิจัย
๑๖๘

ภาพที่ ๑๖๓ หนาบันของพระอุโบสถวัดสุนทรธรรมทาน


ที่มา : จากการสํารวจของผูว ิจัย

ภาพที่ ๑๖๔ ซุมประตูผนังสกัดดานหนาของพระอุโบสถวัดสุนทรธรรมทาน


ที่มา : จากการสํารวจของผูว ิจัย

ภาพที่ ๑๖๕ ลายประดับเพดานของพระอุโบสถ


ที่มา : จากการสํารวจของผูว ิจัย
๑๖๙

ภาพที่ ๑๖๖ กรอบซุมหนาตางของพระอุโบสถวัดสุนทรธรรมทาน


ที่มา : จากการสํารวจของผูว ิจัย

ภาพที่ ๑๖๗ ทางเดินสวนพาไล ภาพที่ ๑๖๘ ซุมหนาเสมาแนบผนังดานสกัด


ดานขางพระอุโบสถ ที่มา : จากการสํารวจของผูวิจัย
ที่มา : จากการสํารวจของผูว ิจัย
๑๗๐

แบบลายเสนสถาปตยกรรม พระอุโบสถวัดสุนทรธรรมทาน

ลายเสนที่ ๖๖ แสดงรูปผัง พระอุโบสถวัดสุนทรธรรมทาน


ที่มา : จากการสํารวจของผูว ิจัย

ลายเสนที่ ๖๗ แสดงรูปดานขาง พระอุโบสถวัดสุนทรธรรมทาน


ที่มา : จากการสํารวจของผูว ิจัย
๑๗๑

ลายเสนที่ ๖๘ แสดงรูปดานหนา พระอุโบสถวัดสุนทรธรรมทาน


ที่มา : จากการสํารวจของผูว ิจัย

ลายเสนที่ ๖๙ แสดงรูปตัดฐานตามขวาง พระอุโบสถวัดสุนทรธรรมทาน


ที่มา : จากการสํารวจของผูว ิจัย
๑๗๒

๑๓. พระอุโบสถวัดราชบุรณะ วัดราชบุรณะ เปนพระอารามหลวงชั้นโท ชนิดราช


วรวิหาร ตั้งอยูเ ลขที่ ๑๑๙ แขวงวังบูรพาภิรมย เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร
มูลเหตุ วัดราชบุรณะ เดิมมีนามวา “วัดเลียบ” เพราะเปนวัดที่พอคาจีนชือ่
“เลี๊ยบ” สรางขึ้นและมีตน ไมเลียบอยูเ ปนจํานวนมาก ไดรับอนุญาตตั้งเปนวัดโดยประกาศ
กระทรวงศึกษาธิการ ลงวันที่ ๙ มกราคม ๒๔๙๑ และไดรับพระราชทานวิสงุ คามสีมา พระบรม
ราชโองการ ลงวันที่ ๒๖ มิถุนายน ๒๕๑๓ เนื้อที่กวาง ๔๔ เมตร ยาว ๕๔ เมตร ประกอบพิธี
ผูกพัทธสีมา เมื่อวันที่ ๙ เมษายน ๒๕๒๔
วัดราชบุรณะ มีหลักฐานการสรางตั้งแตสมัยกรุงศรีอยุธยา และมีฐานะเปนวัดราษฎร
มาตลอด จนกระทัง่ ถึงรัชกาลที่ ๑ ทรงพระมหากรุณาโปรดเกลาฯ ใหสมเด็จพระเจาหลานเธอเจา
ฟากรมหลวงเทพหริรักษไดมีพระราชศรัทธาบูรณะวัดเลียบ และทรงสถาปนาเปนพระอารามหลวง
โดยพระราชทานนามวา “วัดราชบุรณะราชวรวิหาร” ตอมารัชกาลที่ ๒ ทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ
ใหนาํ พระพุทธรูปจํานวน ๑๖๒ องค มาประดิษฐไวรอบพระอุโบสถ และทรงสรางพระวิหารไวเปน
ที่ประดิษฐานพระพุทธรูปจํานวน ๘๐ องค และมีการบูรณปฏิสังขรณตลอด พัฒนาวัดในรัชกาล
ตอๆ มาจนถึงรัชกาลที่ ๘ ในป พ.ศ. ๒๔๘๘ วัดราชบุรณะไดถูกภัยสงครามโลกครัง้ ที่ ๒ เปนเหตุ
ใหถาวรวัตถุทสี่ รางขึ้นในอดีตเสียหายพังทลายหมด กระทรวงศึกษาธิการจึงประกาศยุบวัดราช
บุรณะ เมื่อวันที่ ๓๐ กรกฎาคม ๒๔๘๘ แตพระคุณาจารวัตร เจาอาวาสในสมัยนัน้ พรอมดวยผูมี
จิตศรัทธาไดทลู เกลาฯ ขอบูรณะวัดราชบุรณะอีก และไดรับพระราชทานอนุญาตใหปฏิสังขรณขึ้น
ใหม เมื่อวันที่ ๒๐ ธันวาคม ๒๔๙๐ และกระทรวงศึกษาธิการก็ไดประกาศเพิกถอนประกาศยุบ
เลิก เมื่อวันที่ ๙ มกราคม ๒๔๙๑๑๗
ลักษณะทางสถาปตยกรรม พระอุโบสถเปนอาคารแบบทรงจตุรมุข หันหนา
ออกสูทิศใต วางตัวอยูบนฐานไพที ๒ ชั้นผังรูปกากบาท มุขดานหนายาว ฐานไพทีชั้นที่ ๑
ลอมรอบดวยกําแพงแกว พนักระเบียงโปรงเสาระเบียงออกแบบเปนหัวเม็ดทรงมัน ฐานไพทีชนั้ ที่
๒ รองรับฐานพระอุโบสถและเสาพาไล หลังคาซอน ๓ ชัน้ ลดหลัน่ ผืนหลังคาแบบ ๔ ตับ โดยตับที่
๓ ใชเสาพาไลรับและตับสุดทายปลอยชายคายืน่ ออกมาและใชคันทวยรับเชิงชาย มุขลดทั้ง ๔ ทิศ
เปนมุขโถง เสามุขและเสาพาไลมีลักษณะเปนเสาเหลี่ยมยอมุมไมสิบสองทรงเกือบกลม ประดับ
หัวเสาดวยบัวกลีบแบบบัวแวง รูปแบบองคประกอบเครื่องหลังคาใชแบบประเพณี หนาบัน
ประธานออกแบบเปนลายปูนปนหลอเปนรูปลายกานขด มีเทพพนมครึ่งองคเปนประธานของภาพ

๑๗
กระทรวงศึกษาธิการ, กรมการศาสนา, ประวัติวัดทั่วราชอาณาจักร เลม ๑, ๑๐๒ -
๑๐๓.
๑๗๓

สวนหนาบันมุขทั้ง ๔ ออกแบบใหลายประธานเปนเทพประกอบลายดวยลายกานขด คือทิศใต(มุข


หนาพระอุโบสถ) สวนประธานออกแบบเปนนารายณทรงครุฑ มุขทิศตะวันตกสวนประธานของ
หนาบันเปนรูปพระพรหมทรงหงส มุขทิศเหนือออกแบบเปนทาวกุเวร มุขทิศตะวันออกเปนรูปพระ
อินทรทรงชางเอราวัณเปนประธานของภาพ ในสวนชวงเสาของมุขอออกแบบเปนลายสาหราย
รวงผึ้ง
สวนตัวพระอุโบสถมีทางเขาออกทัง้ หมด ๔ ทาง คือประตูจะอยูในสวนดานสกัด ทัง้ ๔
มุขชองหนาตางมีดว ยกัน ๑๒ ชอง ซุมประตูหนาตางออกแบบเปนซุม ทรงยอดปราสาท บานประตู-
หนาตางเขียนภาพลายรดน้าํ ประดับ ซุมเสมาออกแบบเปนยอดเจดีย ซึ่งมีลักษณะเชนเดียวกับ
แบบซุมเสมาวัดพระศรีรัตนศาสดาราม(วัดพระแกว) แตมียอดเดียว ตั้งอยูบนฐานไพทีชนั้ ที่ ๑
ในสวนลวดลายการประดับตกแตงพระอุโบสถนี้ เปนฝมือการออกแบบของนายสงา มะ
ยุระ โดยหลวงวิศาลศิลปกรรม เปนผูออกแบบแนวคิดไวเปนเบื้องตน

ภาพที่ ๑๖๙ พระอุโบสถวัดราชบุรณะ


ที่มา : สมุดภาพสถาปตยกรรมกรุงรัตนโกสินทร (กรุงเทพฯ : สํานักพิมพกราฟคอารต, ๒๕๒๕.
พิมพเนื่องในการสมโภชกรุงรัตนโกสินทร ๒๐๐ ป ๒๔๒๔), ๒๙๒.
๑๗๔

ภาพที่ ๑๗๐ หนาบันทิศใตรูปนารายณทรงครุฑ(ดานหนา)


ที่มา : จากการสํารวจของผูว ิจัย

ภาพที่ ๑๗๑ หนาบันทิศเหนือรูปทาวกุเวร


ที่มา : จากการสํารวจของผูว ิจัย

ภาพที่ ๑๗๒ หนาบันทิศตะวันออกรูปพระอินทรทรงชางเอราวัณ


ที่มา : จากการสํารวจของผูว ิจัย
๑๗๕

ภาพที่ ๑๗๓ หนาบันทิศตะวันตกรูปพระพรหมทรงหงส


ที่มา : จากการสํารวจของผูว ิจัย

ภาพที่ ๑๗๔ พระประธานภายในพระอุโบสถวัดราชบุรณะ


ที่มา : จากการสํารวจของผูว ิจัย
๑๗๖

ภาพที่ ๑๗๕ ซุมประตูพระอุโบสถวัดราชบุรณะ ภาพที่ ๑๗๖ ซุมหนาตางพระอุโบสถ


ที่มา : จากการสํารวจของผูว ิจัย วัดราชบุรณะ
ที่มา : จากการสํารวจของผูวิจยั

ภาพที่ ๑๗๗ ฐานพระอุโบสถวัดราชบุรณะ


ที่มา : จากการสํารวจของผูว ิจัย
๑๗๗

ภาพที่ ๑๗๘ ซุมเสมาพระอุโบสถวัดราชบุรณะ ภาพที่ ๑๗๙ ซุม เสมาตั้งบนกําแพงแกว


ที่มา : จากการสํารวจของผูว ิจัย ทีม่ า : จากการสํารวจของผูว จิ ัย
๑๗๘

แบบลายเสนสถาปตยกรรม พระอุโบสถวัดราชบุรณะ

ลายเสนที่ ๗๐ แสดงรูปผัง พระอุโบสถวัดราชบุรณะ


ที่มา : จากการสํารวจของผูว ิจัย

ลายเสนที่ ๗๑ แสดงรูปดานหนา พระอุโบสถวัดราชบุรณะ


ที่มา : จากการสํารวจของผูว ิจัย
๑๗๙

ลายเสนที่ ๗๒ แสดงรูปดานขาง พระอุโบสถวัดราชบุรณะ


ที่มา : จากการสํารวจของผูว ิจัย

ลายเสนที่ ๗๓ แสดงรูปดานหนา พระอุโบสถวัดราชบุรณะ


ที่มา : หลวงวิศาลศิลปกรรม (กรุงเทพฯ : โรงพิมพจนั วาณิชย, ๒๕๒๕. พิมพในงานพระราชทาน
เพลิงศพศาสตราจารย หลวงวิศาลศิลปกรรม (เชื้อ ปทมจินดา) มีนาคม ๒๕๒๕), ไมปรากฏเลข
หนา.
๑๘๐

ลายเสนที่ ๗๔ แสดงรูปขยายมุขดานหนา พระอุโบสถวัดราชบุรณะ


ที่มา : หลวงวิศาลศิลปกรรม (กรุงเทพฯ : โรงพิมพจันวาณิชย, ๒๕๒๕. พิมพในงานพระราชทาน
เพลิงศพศาสตราจารย หลวงวิศาลศิลปกรรม (เชื้อ ปทมจินดา) มีนาคม ๒๕๒๕), ไมปรากฏเลข
หนา.
๑๘๑

๑๔. พระอุโบสถวัดชลประทานรังสฤษดิ์ วัดชลประทานรังสฤษดิ์ ตั้งอยูเลขที่ ๗๘


ถนนติวานนท หมูท ี่ ๑ ตําบลบางตลาด อําเภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี สังกัดคณะสงฆ
มหานิกาย
มูลเหตุ วัดชลประทานรังสฤษดิ์ สรางขึ้นโดยการรวมเอาวัดโบสถและวัดเชิงทา
เขาดวยกัน และยายมาสรางขึ้นใหมไดนามวา “วัดชลประทานรังสฤษดิ์” โดยมีกรมชลประทาน
เปนผูอําเนินการทั้งหมด เหตุผลที่ยายเนื่องจากกรมชลประทานมีที่ดินดานตะวันตกติดตอกับ
แมน้ําเจาพระยา มีวัดโบสถและวัดเชิงทาขวางอยู ทําใหขยายสถานที่สรางทาเรือไมสะดวก จึงได
แลกเปลี่ยนและยายวัดทัง้ สองวัดมาสรางขึ้นใหม ทางทิศตะวันออกถนนติวานนท ที่ตั้งอยูใน
ปจจุบัน วัดชลประทานรังสฤษดิ์ ไดรับพระราชทานวิสงุ คามสีมาเมื่อวันที่ ๙ กุมภาพันธ พ.ศ.
๒๕๐๔ เขตวิสุงคามสีมากวาง ๓๖ เมตร ยาว ๕๑ เมตร ไดประกอบพิธีผูกพัทธสีมาเมื่อวันที่ ๒๐
พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๐๔
พระประธานในอุโบสถ เปนพระปางสมาธิ หนาตักกวาง ๒ เมตร ออกแบบและสราง
โดยศาสตราจารยศิลปพีระศรี๑๘
ลักษณะทางสถาปตยกรรม พระอุโบสถแบบเครื่องคอนกรีต เลียนแบบเครื่อง
ไมผังอาคารแบบสี่เหลี่ยมผืนผาหลังคามุขลดหนาหลั่นแตดานหนามีมุขโถงอีก ๑ ลด ผืนหลังคา ๓
ตับ ตับสุดทายทิง้ ชายคาและมีคันทวยรูปหงสรองรับ เครื่องประกอบหลังคาแบบปานลมเรียบ
เกลี้ยง หนาบันประดับภาพปูนปนรูปพระวรุณทรงนาค ประดิษฐานอยูในซุมเรือนแกวรองรับดวย
นาคพนน้ํา ๒ ตัว ใตหนาบันชั้นลดเจาะเปนซุมแหลม ๕ ชองบุดวยลายตระแกรง และภายใตหนา
บันชั้นลดนี้ระหวางเสาออกแบบเปนลายปูนปนโปรงประกอบซุมทางเขา
ตัวพระอุโบสถขนาด ๖ หองเสา(ไมรวมมุขโถงดานหนา) หันหนาออกสูท ิศตะวันตก อัน
เปนดานหนาของวัด มุขดานหลังผนังขางลดเขา เสาอิงหรือเสาประดับผนังเปนเสาแบบยอมุม บัว
หัวเสาชนิดบัวแวง มีประตูทางเขาออกพระอุโบสถ๓ ประตู คือดานหนาและดานขางในชวงหอง
เสาที่ ๔ (นับจากดานหนา) หนาตางมี ๑๑ ชองคือดานขาง ขางละ ๕ ชอง และดานหลัง ๑ ชอง
โดยดานหลังพระอุโบสถ ออกแบบกรอบหนาตางเปนรูปแวนสุริยกานต โดยการเจาะชองเปนรูป
วงกลมเหนือบานหนาตาง สวนการประดับตกแตงกรอบประตู-หนาตางออกแบบเปนลักษณะซุม
บันแถลงซอน ๒ ชั้น ภายในกรอบซุมบันแถลงเหนือบานหนาตางเจาะเปนชองแสงกรุกระจก ใน
สวนผนังบริเวณคอสอง ใตฝาเพดานเจาะเปนชองแสงทั้ง ๒ ขางของตัวอาคาร มุขโถงดานหนา

๑๘
กระทรวงศึกษาธิการ, กรมการศาสนา, ประวัติวัดทั่วราชอาณาจักร เลม ๒, ๓๙๘ –
๓๙๙.
๑๘๒

พระอุโบสถ มีพนักระเบียงชนิดเวนชองโปรง ดานขางหรือพนักบันไดหนาพระอุโบสถออกแบบเปน


ประติมากรรมหลอโลหะรูปพญานาคเลื้อย ๑ คู
ฐานพระอุโบสถเปนฐานสิงหรองรับดวยฐานไพทีลดมุขลอกับตัวอาคาร มีบันได ๔ ดาน
รอบฐานไพทีมีกําแพงแกวลอมรอบอีกชั้นหนึ่งโดยกําแพงแกวนี้ ออกแบบใหชนหรือเชื่อมกับซุม
เสมา

ภาพที่ ๑๘๐ พระอุโบสถวัดชลประทานรังสฤษดิ์


ที่มา : จากการสํารวจของผูว ิจัย

ภาพที่ ๑๘๑ ดานขางพระอุโบสถวัดชลประทานรังสฤษดิ์


ที่มา : จากการสํารวจของผูว ิจัย
๑๘๓

ภาพที่ ๑๘๒ ดานหนาพระอุโบสถวัดชลประทานรังสฤษดิ์


ที่มา : จากการสํารวจของผูว ิจัย

ภาพที่ ๑๘๓ ดานหลังพระอุโบสถวัดชลประทานรังสฤษดิ์ และซุมเสมาแบบชักกําแพงแกวรอบ


ที่มา : จากการสํารวจของผูว ิจัย
๑๘๔

ภาพที่ ๑๘๔ เครื่องประกอบหลังคาพระอุโบสถวัดชลประทานรังสฤษดิ์


ที่มา : จากการสํารวจของผูว ิจัย

ภาพที่ ๑๘๕ ผืนหลังคาและชองเปดบริเวณคอสอง ดานขางพระอุโบสถวัดชลประทานรังสฤษดิ์


ที่มา : จากการสํารวจของผูว ิจัย
๑๘๕

ภาพที่ ๑๘๖ ผนังดานขางแสดงสวนซุมประตู หนาตางพระอุโบสถวัดชลประทานรังสฤษดิ์


ที่มา : จากการสํารวจของผูว ิจัย

ภาพที่ ๑๘๗ ซุมประตูดานหนาพระอุโบสถพระอุโบสถวัดชลประทานรังสฤษดิ์


ที่มา : จากการสํารวจของผูว ิจัย
๑๘๖

ภาพที่ ๑๘๘ ซุมหนาตางพระอุโบสถวัดชลประทานรังสฤษดิ์ แบบบันแถลงซอน ๒ ชั้น


ที่มา : จากการสํารวจของผูว ิจัย

ภาพที่ ๑๘๙ ฐานอาคารสวนมุขดานหนามีประติมากรรมรูปพญานาคประดับ


ที่มา : จากการสํารวจของผูว ิจัย
๑๘๗

แบบลายเสนสถาปตยกรรม พระอุโบสถวัดชลประทานรังสฤษดิ์

ลายเสนที่ ๗๕ แสดงรูปผังรวม พระอุโบสถวัดชลประทานรังสฤษดิ์


ที่มา : จากการสํารวจของผูว ิจัย

ลายเสนที่ ๗๖ แสดงรูปผังพื้น พระอุโบสถวัดชลประทานรังสฤษดิ์


ที่มา : จากการสํารวจของผูว ิจัย
๑๘๘

ลายเสนที่ ๗๗ แสดงรูปดานหนา พระอุโบสถวัดชลประทานรังสฤษดิ์


ที่มา : จากการสํารวจของผูว ิจัย

ลายเสนที่ ๗๘ แสดงรูปดานหลัง พระอุโบสถวัดชลประทานรังสฤษดิ์


ที่มา : จากการสํารวจของผูว ิจัย
๑๘๙

ลายเสนที่ ๗๙ แสดงรูปดานขางพระอุโบสถวัดชลประทานรังสฤษดิ์
ที่มา : จากการสํารวจของผูว ิจัย

ลายเสนที่ ๘๐ แสดงรูปตัดฐานตามยาว พระอุโบสถวัดชลประทานรังสฤษดิ์


ที่มา : จากการสํารวจของผูว ิจัย
๑๙๐

ลายเสนที่ ๘๑ ซุมหนาตางดานหลัง แบบแวนแกวสุริยกานต


ที่มา : สมคิด จิระทัศนกุล, คติสัญลักษณ และความหมาย ของ “ซุมประตู - หนาตาง” ไทย
(กรุงเทพฯ : คณะสถาปตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร, ๒๕๔๖), ๓๙๗.
๑๙๑

๑๕. พระอุโบสถวัดสมณานัมบริหาร ออกแบบ พ.ศ.๒๕๐๖ (ไมไดสราง)


วัดสมณานัมบริหาร ตัง้ อยูท ี่ ริมคลองผดุงกรุงเกษม เขตดุสิต กรุงเทพฯ
มูลเหตุ วัดสมณานัมบริหาร หรือวัดเกี๋ยงเฟอกตื่อ หรือวัดญวนสะพานขาว
เนื่องจากพระอุโบสถหลังเกาชํารุดทรุดโทรม ดวยมีอายุการใชงานนับรอยปแลว องสรภาณมธุรส
(บาวเอิง) เจาอาวาสในขณะนั้นเห็นสมควรจะสรางใหม จึงไดใหหลวงวิศาลศิลปกรรมเปน
ผูออกแบบ แตรูปแบบพระอุโบสถหลังใหมมีขนาดใหญและการประดับตกแตงอยางวิจิตร จึงทําให
ราคาคากอสรางสูง ประกอบกับเจาอาวาสทานชราภาพและไดมรณภาพเสียกอน มิไดกอสราง
เวลาตอมาจึงไดทําการบูรณะพระอุโบสถหลังเกาและใชกระทําอุโบสถจนถึงปจจุบัน
ลักษณะทางสถาปตยกรรม แบบพระอุโบสถเปนอาคาร ๒ ชั้น ผังอาคาร
โดยรวมรูปสี่เหลี่ยมผืนผา ชัน้ บนออกแบบเปนสวนกระทําอุโบสถ ชัน้ ลางเปนสวนเอกประสงค
หลังคาทรงจัตรุ มุขชนิดมุขขางลดต่ําหนึง่ ลด ผืนหลังคาแกนหลักลดมุขหนา และหลังสันจั่วและมุม
เชิงชายยกเชิดขึ้นสูงแบบเครื่องหลังคาศิลปะจีน สวนสันหลังคาประธานกลางทําเครื่องยอดแบบ
เจดียจีน สวนสันหลังคาลดที่ ๒ ออกแบบเปนรูปมังกรทั้งดานหนาและหลังและทีส่ วนผืนหลังคามี
มุขประเจิดขนาดเล็กระหวางตับที่ ๑ และ ๒ เชิงชายหรือเชิงกลอน ยกขึน้ เปนรูปโคงคว่าํ ตรง
สวนกลางทัง้ ๔ ดาน
สวนตัวอาคารมีระเบียงพาไลรอบ มีประตูหนาตางทั้ง ๔ ดาน สําหรับบันไดขึ้น – ลง ชั้น
บนมี ๔ ทาง แบบแนบอาคารดานขาง พืน้ ชั้นลางยกสูง มีบนั ไดขึ้น – ลง ๖ ทาง โดยการออกแบบ
ขั้นบันไดแบบอัฒจรรย กรอบประตูหนาตาง เปนแบบเหลี่ยมตัดมุม ลวดลายการประดับตกแตง

ภาพที่ ๑๙๐ ใบปดประกาศอนุโมทนารวมสรางพระอุโบสถหลังใหมวัดสมณานัมบริหาร


(วัดญวน สะพานขาว)
ที่มา : หลวงวิศาลศิลปกรรม, แบบพระอุโบสถวัดสมณานัมบริหาร, แบบพิมพเขียว, ๒๕๐๖.
๑๙๒

แบบลายเสนสถาปตยกรรม พระอุโบสถวัดสมณานัมบริหาร

ลายเสนที่ ๘๒ แสดงรูปผังพื้นชัน้ ลางพระอุโบสถวัดสมณานัมบริหาร


ที่มา : หลวงวิศาลศิลปกรรม, แบบพระอุโบสถวัดสมณานัมบริหาร, แบบพิมพเขียว, ๒๕๐๖.

ลายเสนที่ ๘๓ แสดงผังพืน้ ชั้นบนพระอุโบสถวัดสมณานัมบริหาร


ที่มา : หลวงวิศาลศิลปกรรม, แบบพระอุโบสถวัดสมณานัมบริหาร, แบบพิมพเขียว, ๒๕๐๖.
๑๙๓

ลายเสนที่ ๘๔ แสดงรูปดานหนาพระอุโบสถวัดสมณานัมบริหาร
ที่มา : หลวงวิศาลศิลปกรรม, แบบพระอุโบสถวัดสมณานัมบริหาร, แบบพิมพเขียว, ๒๕๐๖.

ลายเสนที่ ๘๕ แสดงรูปดานขางพระอุโบสถวัดสมณานัมบริหาร
ที่มา : หลวงวิศาลศิลปกรรม, แบบพระอุโบสถวัดสมณานัมบริหาร, แบบพิมพเขียว, ๒๕๐๖.
๑๙๔

๑๖. พระอุโบสถวัดบุปผาราม วัดบุปผาราม เปนพระอารามหลวงชัน้ ตรี ชนิดวรวิหาร


ตั้งอยูเลขที่ ๓๖๙ แขวงวัดกัลยา เขตธนบุรี กรุงเทพมหานคร
มูลเหตุ วัดนี้เปนวัดโบราณมีมาตั้งแตสมัยกรุงศรีอยุธยาเปนราชธานี มีชื่อวา
“วัดดอกไม” และตอมาเปนวัดราง จนถึงสมัยตนกรุงรัตนโกสินทร จึงมีการปฏิสังขรณใหมโดยทาน
ผูหญิงจันทร ภรรยาเอกสมเด็จเจาพระยาบรมมหาประยูรวงศและบุตรของทานคือ สมเด็จ
เจาพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ พรอมดวยบรรดากุลทายาทไดรวมกันปฏิสังขรณเปนลําดับมา
บางตํานานกลาววา “วัดดอกไมเปนวัดโบราณ” พระบาทสมเด็จพระจอมเกลา
เจาอยูห ัว สมเด็จเจาพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศและเจาพระยาทิพากรวงศ ชวยกันสรางเปน ๓
สวน พระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัวพระราชทานนามใหมวา “วัดบุปผาราม” ครั้นตอมา
เจาพระยาภาณุวงศไดปฏิสังขรณ”
ในระยะนัน้ พระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหวั ไดทรงตั้งคณะสงฆฝายธรรมยุติ
นิกายขึ้นและไดขยายสาขาขึน้ ไปยังวัดอื่น วัดบุปผารามเปนวัดหนึ่งในระยะแรก ที่รับคณะสงฆ
ฝายธรรมยุตนิ กิ ายไว
พระประธานในพระอุโบสถ เปนพระพุทธรูปเกาปางมารวิชยั หนาตักกวาง ๑.๑๕ เมตร
สูงถึงยอดพระรัศมี ๑.๗๕ เมตร ในป พ.ศ. ๒๔๘๘ วัดบุปผารามไดถูกภัยสงครามโลกครั้งที่ ๒ เปน
เหตุใหถาวรวัตถุที่สรางขึ้นในอดีตเสียหายพังทลาย และไดสรางพระอุโบสถหลังใหม โดยหลวง
วิศาลศิลปกรรมเปนผูออกแบบ พระบาทสมเด็จพระเจาอยูห ัวภูมพิ ลอดุลยเดช และสมเด็จพระ
นางเจาฯ บรมรมชินนี าถ ไดเสด็จฯ ทรงเปนประธานในพิธีผูกพัทธสีมา เมื่อวันที่ ๖ พฤษภาคม
พ.ศ. ๒๕๐๗๑๙
ลักษณะทางสถาปตยกรรม พระอุโบสถเปนอาคารที่มีผังรูปสีเ่ หลี่ยมผืนผา
กวางยาวประมาณ ๑๔ X ๓๔ เมตร แบงหองเปนเจ็ดหอง มีพะไลโดยรอบรูปทรงหลังคาทํามุขลาด
หนา – หลัง ดานละหนึง่ ชัน้ แตละชั้นมีตับหลังคา ๓ ซอน โดยตับหลังคาชัน้ ลางนัน้ ทําเปนปกนก
เพื่อคลุมพะไล ระเบียบแบบแผนของเครื่องทรงหลังคาใชอยางไทยประเพณี คือมีไขราหนาจั่ว
เครื่องลํายองประดับ ชอฟา ใบระกา หางหงส หนาบันทําปูนปน แบบนูนต่าํ รูปพระอาทิตยถือพระ
ขันธประทับนัง่ บนราชรถ ลากเทียมดวยราชสีห ๒ ตัว โดยมีสารถีเปนผูบังคับรถ เปนภาพประธาน
อยูในกรอบวงกลมพืน้ สีแดงเขม อันหมายถึงดวงอาทิตย สัญลักษณเครื่องหมายแทนผูสรางคือ
สมเด็จเจาพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ ลายประกอบเปนกอนเมฆประกอบลายกระหนก สวนหนา

๑๙
กระทรวงศึกษาธิการ, กรมการศาสนา, ประวัติวัดทั่วราชอาณาจักร เลม ๑, ๒๗๓ –
๒๗๔.
๑๙๕

บันชั้นลด ไดแบงเปนชอง ๕ ชองและไดทาํ ซุมประดิษฐานพระพุทธรูปยืนปางประทานพร ๕ องค


เสาพะไลทําเปนเสากลมประดับบัวหัวเสา และรองรับขื่อคาน โดยมีคันทวยรองรับเชิงชายของ
หลังคา เชิงเสาชักคิ้วรอบประดับดัวยกระจังปฏิญาณ สวนดานหนาและหลังอาคารนัน้ มีบนั ไดทาง
ขึ้น – ลง ชนิดบันไดแนบอาคาร โดยทําระเบียงลูกกรง และเสาหัวเม็ดแบบกลม รอบอาคารเปน
พนักพะไล พะไลตั้งอยูบนฐานปทม สวนตัวเรือนอาคารตั้งอยูบนฐานสิงห ตัวพระอุโบสถวัดบุ
ปผารามนี้ ทําประตูเขา – ออก อาคาร ๕ ประตู อยูในสวนดานสกัด หรือผนังหุมกลอง โดย
ดานหนามี ๓ ประตู ดานหลัง ๒ ประตู สวนหนาตางนั้นมี ๑๔ บาน ทัง้ ประตูและหนาตางภายนอก
ทํากรอบรูปปูนปนรูปทรงมงกุฎ สวนบานประตูหนาตาง แกะสลักไมเปนเปนภาพเครื่องประกอบ
ยศ ลายพืน้ หลังเปนลายพันธุพฤกษา
สําหรับเสมา มี ๖ แทง ตั้งเรียงขนาดดานขางของพระอุโบสถ โดยเปนการนําใบเสมา
ของพระอุโบสถหลังเทาที่สรางขึ้นในรัชกาลาที่ ๔ มาใช

ภาพที่ ๑๙๑ มุมมองดานขางพระอุโบสถวัดบุปผาราม


ที่มา : จากการสํารวจของผูว ิจัย
๑๙๖

ภาพที่ ๑๙๒ การใชเสาพาไลรอบพระอุโบสถวัดบุปผาราม


ที่มา : จากการสํารวจของผูว ิจัย

ภาพที่ ๑๙๓ ดานหนาพระอุโบสถวัดบุปผาราม การใชซุม ประตู-หนาตางทรงมงกุฎ


ที่มา : จากการสํารวจของผูว ิจัย

ภาพที่ ๑๙๔ ดานหลังพระอุโบสถวัดบุปผาราม ใชซมุ ประตู-หนาตางทรงมงกุฎ


ที่มา : จากการสํารวจของผูว ิจัย
๑๙๗

ภาพที่ ๑๙๕ หนาบันพระอุโบสถวัดบุปผารามรูปพระอาทิตยทรงราชรถ


ที่มา : จากการสํารวจของผูว ิจัย

ภาพที่ ๑๙๖ หางหงสมุมหลังคาพาไลพระอุโบสถวัดบุปผาราม แบบนาคสามเศียร


ที่มา : จากการสํารวจของผูว ิจัย
๑๙๘

ภาพที่ ๑๙๗ รูปทรงมงกุฎของซุมหนาตางและประตู พระอุโบสถวัดบุปผาราม


ที่มา : จากการสํารวจของผูว ิจัย

ภาพที่ ๑๙๘ ภายในซุมกลางดานหลังพระอุโบสถเปนประติมากรรมนูนต่ําเรื่องเวสสันดรชาดก


ที่มา : จากการสํารวจของผูว ิจัย
๑๙๙

ภาพที่ ๑๙๙ บานประตู หนาตางแกะสลักเปนภาพเครื่องประกอบยศ ลายพืน้ หลังเปนลายพันธุ


พฤกษา
ที่มา : จากการสํารวจของผูว ิจัย

ภาพที่ ๒๐๐ มุมมองดานหลังพระอุโบสถวัดบุปผาราม


ที่มา : จากการสํารวจของผูว ิจัย
๒๐๐

ภาพที่ ๒๐๑ ฐานระเบียงแบบฐานปทม ฐานอาคารแบบฐานสิงห


ที่มา : จากการสํารวจของผูว ิจัย

ภาพที่ ๒๐๒ หลักเสมาของพระอุโบสถหลังเดิมนํากลับมาใชใหม


ที่มา : จากการสํารวจของผูว ิจัย
๒๐๑

แบบลายเสนสถาปตยกรรม พระอุโบสถวัดบุปผาราม

ลายเสนที่ ๘๖ แสดงรูปผัง พระอุโบสถวัดบุปผาราม


ที่มา : จากการสํารวจของผูว ิจัย

ลายเสนที่ ๘๗ แสดงรูปดานขาง พระอุโบสถวัดบุปผาราม


ที่มา : จากการสํารวจของผูว ิจัย

ลายเสนที่ ๘๘ แสดงรูปดานหนา พระอุโบสถวัดบุปผาราม


ที่มา : จากการสํารวจของผูว ิจัย
๒๐๒

๑๗. พระอุโบสถวัดอนัมนิกายาราม
มูลเหตุ วัดกวางเพือกตือ่ หรือวัดญวนบางโพนัน้ สรางขึ้นในรัชกาลที่ ๑ ราว
พ.ศ. ๒๓๓๐ คือ ภายหลังจากทีท่ รงโปรดใหญวนพวกของ องเชียงสือ อพยพจากตําบลคอก
กระบือไปอยูทตี่ ําบลบางโพ อําเภอดุสิตแลว ๑ ป ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกลา
เจาอยูห ัว รัชกาลที่ ๔ ไดทรงพระราชทานนามใหมวา “วัดอนัมนิกายาราม” และไดใชมาจนถึง
ปจจุบัน๒๐
พระอุโบสถเดิม ซึ่งเปนไมสรางมานานเปนเวลากวา ๑๐๐ ป มีสภาพชํารุดทรุดโทรมได
เกิดเพลิงไหมหมดทัง้ หลัง เมื่อวันที่ ๒๑ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๐๓
เมื่อเจาคณะใหญอนัมนิกายไดรับรายงาน เรื่องเกิดเพลิงไหมอุโบสถ วัดอนัมนิกายา
ราม จึงมีคําสั่งเรียกประชุมเจาอาวาสวัดอนัมนิกายทัง้ หลาย ที่มสี มณศักดิ์ในพระนครและธนบุรี
เพื่อปรึกษาหารือและพิจารณาหาทางชวยเหลือ ในการจัดสรางอุโบสถวัดอนัมนิกายารามหลังใหม
ที่ประชุมไดมมี ติเห็นรวมกันวา ควรมอบให องสรภาณมธุรส(บาวเอิง) อดีตเจาอาวาสวัดสมณานัม
บริหาร กับองพจนกรโกศล เจาอาวาสวัดอนัมนิกายารามในขณะนัน้ ใหเปนผูควบคุมดําเนินการ
กอสราง สรางเสร็จ พ.ศ. ๒๕๑๑๒๑
ลักษณะทางสถาปตยกรรม พระอุโบสถมีลักษณะศิลปะสถาปตยกรรมแบบจีน
ผสมไทย หลังคาทรงจตุรมุขชนิดมุขขางสันหลังคาลดต่ําเสมอเชิงชาย หนาจัว่ ปดแบบกระเทเซร
หนาบันดานหนาพระอุโบสถ ปนปูนรูปธรรมจักรเปนประทาน และมีเซียนหรือเทพนมเปนสวน
ประกอบของภาพ หลังคา ซอน ๒ ชั้น ๒ ตับ โดยตับที่ ๒ เปนหลังคากันสาดรอบอาคาร สําหรับ
การทํามุขลดดานขางของอาคารก็เพื่อเนนใหความทางเขา-ออก ผังอาคารมีลักษณะแบบไทย
ประเพณี แตเครื่องประดับตกแตงเปนลวดลายแบบผสมจีน เพื่อแสดงถึงความเปนวัดญวน หรือ
อนัมนิกายแบบญวน สันหลังคาปน ปูนเปนรูปธรรมจักรและมีกวางหมอบอยูสองขางของธรรมจักร
การประดับตกแตงในตําแหนงชอฟาและหางหงส ดัดแปลงลวดลายใหมีลักษณะแบบ
สถาปตยกรรมจีน ในสวนหลังคากันสาดหรือพาไลดานสกัด ทําหลบปูนทับริมกระเบื้องและตกแตง
แบบจีนเหมือนประหนึ่งวาจะยกหลังคากันสาดซอนกันแตไมใช มีเพียงการยกเชิงกลอนใหเปนโคง
คว่ํา เพื่อเนนความสําคัญของรูปดานสกัดใหมากขึน้ ควบคูกันไปกับการตกแตงซุม คูหาที่บริเวณ

๒๐
ฉลองพระอุโบสถ และ พระพุทธปฏิมา วัดอนัมนิกายามราม บางโพ (กรุงเทพฯ : ม.
ป.ท., ๒๕๑๑. พิมพในงานฉลองพระอุโบสถ และ พระพุทธปฏิมา วัดอนัมนิกายามราม บางโพ
๒๕๑๑), ๓๖.
๒๑
เรื่องเดียวกัน, ๓๙ – ๔๐.
๒๐๓

เสาคูกลาง และการทําโครงสรางที่มีการยื่นเตา และตุกตาซอนกันเพื่อรับชายคากันสาดแบบ


สถาปตยกรรมจีน
สําหรับประตูเขา-ออกอาคารมีทั้ง ๔ ดาน มีพนักระเบียงและพาไลโดยรอบอาคาร เสา
พาไลและเสาระเบียงชนิดเสากลม ตัวอาคารตั้งบนฐานสูงชนิดชุดฐานสิงห มีบนั ไดขึ้นลงทัง้ สี่ดา น

ภาพที่ ๒๐๓ ดานหนาพระอุโบสถวัดอนัมนิกายามราม หลังเกา


ที่มา : ฉลองพระอุโบสถ และ พระพุทธปฏิมา วัดอนัมนิกายามราม บางโพ (กรุงเทพฯ : ม.ป.ท.,
๒๕๑๑. พิมพในงานฉลองพระอุโบสถ และ พระพุทธปฏิมา วัดอนัมนิกายามราม บางโพ ๒๕๑๑),
ไมปรากฏเลขหนา.

ภาพที่ ๒๐๔ ดานขางพระอุโบสถวัดอนัมนิกายามราม หลังเกา


ที่มา : ฉลองพระอุโบสถ และ พระพุทธปฏิมา วัดอนัมนิกายามราม บางโพ (กรุงเทพฯ : ม.ป.ท.,
๒๕๑๑. พิมพในงานฉลองพระอุโบสถ และ พระพุทธปฏิมา วัดอนัมนิกายามราม บางโพ
๒๕๑๑), ไมปรากฏเลขหนา.
๒๐๔

ภาพที่ ๒๐๕ ดานหนาพระอุโบสถวัดอนัมนิกายามราม ปจจุบนั


ที่มา : จากการสํารวจของผูว ิจัย

ภาพที่ ๒๐๖ ปายพระราชทานชื่อวัดอนัมนิกายาราม


ที่มา : จากการสํารวจของผูว ิจัย

ภาพที่ ๒๐๗ ดานหลังพระอุโบสถวัดอนัมนิกายารามปจจุบัน


ที่มา : จากการสํารวจของผูว ิจัย
๒๐๕

ภาพที่ ๒๐๘ บันไดดานหลังพระอุโบสถวัดอนัมนิกายาราม


ที่มา : จากการสํารวจของผูว ิจัย

ภาพที่ ๒๐๙ มุขดานขางพระอุโบสถวัดอนัมนิกายาราม


ที่มา : จากการสํารวจของผูว ิจัย

ภาพที่ ๒๑๐ ภายในพระอุโบสถวัดอนัมนิกายาราม


ที่มา : จากการสํารวจของผูว ิจัย

You might also like