You are on page 1of 13

46

ปราสาทนกหั ส ดิ ล ง
ิ ค :
ประวัติศาสตรพิธีสงสการเจากษัตริย (เจานายฝายเหนือ)
และพระมหาเถระบนแผนดินลานนา
เรือโท เหมันต สุนทร
กองประวัติศาสตรและโบราณคดีทหาร
กองบัญชาการ สถาบันวิชาการปองกันประเทศ

º ทความนี้ จะกลาวถึงจารีตประเพณี และสถาปตยกรรมในพิธีปลงศพบุคคลชั้นสูงในวัฒนธรรม


ลานนา โดยจะมีเนื้อหา ๒ สวน คือ “พิธีปลงพระศพเจากษัตริย” และ “พิธีปลงศพครูบามหาเถระ”
ซึ่งพิธีหลังนี้ยึดถือปฏิบัติสืบทอดกันมากระทั่งปจจุบัน
เนื่องจากบทความนี้เกี่ยวของกับพื้นที่ลานนาที่มีภาษาและ
วัฒนธรรมเปนแบบเฉพาะของตน โดยคําศัพทเฉพาะไดทําอธิบายศัพท
ไวทายบทความโดยจะเขียนเปนภาษาไทยที่ปริวรรตเปนภาษาลานนาได
ในแผนดินลานนา มีพิธีกรรมอันเนื่องมาจากการดับขันธะ
ละสังขารทัง้ ในระดับสามัญชน เจานาย และครูบามหาเถระ ซึง่ มีความงดงาม
ตามประเพณีแบบลานนา สําหรับแนวคิดเบื้องหลังพิธีกรรมอันเนื่อง
มาจากการตายมีอยู ๒ ระดับ คือ “วัฒนธรรมพื้นบาน” เชื่อวามนุษย
กับสิ่งศักดิ์สิทธิ์เหนือธรรมชาติ (Supernatural) อยูในโลกเดียวกัน ซึ่ง
47

ตางพึ่งพาอาศัยกัน หรือบางครั้งก็เบียดเบียนซึ่งกันและกัน ดังพบวาชุมชนในวัฒนธรรมลานนาจะมีการสราง “หอ


ผี” ของครอบครัวเรียก “หอผีปูยา” ของหมูบานเรียก “หอผีเสื้อบาน” ของวัดเรียก “หอผีเสื้อวัด” และของบานเมือง
เรียก “หอผีเสื้อเมือง” คนที่อาศัย
อยูในบานเมืองนัน้ ตองเซนสรวงบูชา
เพื่อใหผีชั้นดีเหลานี้ปกปกษรักษาให
อยูเย็นเปนสุข จนกระทั่งพระพุทธ
ศาสนาเข า มามี บ ทบาทในสั ง คม
ลานนา อีกทั้งถูกใชเปนเครื่องมือ
ของอาณาจั ก รในการจั ด ระเบี ย บ
สังคม วัดจึงกลายเปนสวนสําคัญ
ของสังคมไปในที่สุด และยังสงผล
ตอวัฒนธรรมพื้นบานบางสวน เชน
ทํ า ให สิ่ ง ศั ก ดิ์ สิ ท ธิ์ เหนื อ ธรรมชาติ
ที่เปนความเชื่อเดิมถูกรับรูในฐานะ
เปนสวนหนึง่ ของจักรวาลทัศนตาม
วรรณคดีทางพระพุทธศาสนา และ
กลายเป น พื้ นฐาน “วั ฒ นธรรมใน
ราชสํานักและศาสนา” รวมไปถึงคติ
ความเชื่อที่เหมาะสมตอบริบททาง
สังคมดานตาง ๆ ในเวลาตอมา
สําหรับวัฒนธรรมชัน้ สูง
หรือวัฒนธรรมเนื่องในราชสํานัก ไดรับอิทธิพลจากคติจักรวาลวิทยาในพุทธศาสนาหัวใจหลัก ดังจะเห็นไดจาก
เรื่อง “จกฺกวาฬฺทีปนี”๑ กัณฑที่ ๕ ไดกลาวถึงแนวคิดและความเชื่อเรื่องการสั่งสมบุญญาบารมีซึ่งมีผลตอการเวียน
วายตายเกิดในสังสารวัฏ และในภพภูมิตางๆ สําหรับเจากษัตริย และเชื้อพระวงศที่ดํารงสถานะ “สมมติเทพ” เมื่อ
สิน้ พระชนมจะกลับสูส ถานะ “อุปต ติเทพ” บนสรวงสวรรคทงั้ ชัน้ “ดาวดึงสและดุสติ ”๒ ซึง่ การเสด็จสูส วรรคนจี้ ะดํารง
สถานภาพเปนไดทงั้ เทวดา หรือพระโพธิสตั ว เพือ่ รอเวลาลงมาตรัสรูเ ปนพระพุทธเจาในอนาคตกาล สอดคลองกับการ
วายชนมของกษัตริยลานนาที่เรียกวา “สุรคุต”๓ ซึ่งมีรากจากคําวา “สุร” หมายถึง “เทวดา” และ “คต” ซึ่งแปลวา “ไป”
จึงมีความหมายโดยรวมวา “เสด็จไปเปนเทวดา” ดังนัน้ ที่ประทับของเจากษัตริยและพระราชวงศในฐานะสมมติเทพที่
เรียกวา “ปราสาทราชวัง” จึงเปนแบบแผนการจําลองภูมิจักรวาลที่มีเขาพระสุเมรุอันเปนที่ตั้งของสวรรคชั้นดาวดึงส
เปนศูนยกลาง เหตุดังกลาวการจําลองรูปแบบมาสูปราสาทศพเจากษัตริยในลานนาจึงตั้งอยูบนคําอธิบายตามคัมภีร
ทางพระพุทธศาสนา ดังมีกวีนิพนธกลาวไวตอนหนึง่ วา


จกฺกวาฬฺทีปนี เปนผลงานนิพนธของ พระสิริมังคลาจารย ภิกษุชาวลานนาผูเปนปราชญดานภาษาบาลี และพระไตรปฎก

บาลี พุทธรักษา, จักรวาลทีปนี กัณฑที่ ๕, วิทยานิพนธปริญญาอักษรศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาตะวันออก คณะอักษรศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย,
๒๕๒๓.

ปรากฏครั้งแรกเมื่อกลาวถึงพระญาแสนภู “สุรคุต” ทรงเปนกษัตริยลานนาเชียงใหมองคที่ ๓ นับจากพระญามังราย ดูเพิ่มเติมใน อรุณรัตน วิชียรเขียว และ
เดวิด เค วัยอาจ, ตํานานพื้นเมืองเชียงใหม, เชียงใหม : สํานักพิมพตรัสวิน, ๒๕๔๓. หนา ๖๐ – ๖๑.
48

“เจานาย ภิกษุสงฆ ยามปลดปลง วายชีวา


ประเพณี ชาวลานนา ทําปราสาท สูงเรืองรอง
เหนือนก หัสดิลิงค งามสิงคลิ้ง แถวเถือกถอง
ประชา มากเนืองนอง ลากปราสาท เผานอกนคร”๔

การประกอบพิธีพระศพถวายแดเจากษัตริย และพิธีศพถวายแดครูบามหาเถระตามความเชื่อแหงการไปสู
สุคติภพเปนอุปตติเทพ จึงมีรายละเอียดในพิธีกรรมเพื่อรองรับคุณคาแหงการไปสูชีวิตหลังการสิ้นบุญเพื่อ “สุรคุต”
สูทิพยวิมาน

พิธีสงสักการเจากษัตริยในวัฒนธรรมลานนา
ในเอกสารทางประวัติศาสตรเรียกกษัตริยลานนาวา “พระญา–เจาเหนือหัว–เจามหาชีวิต” และ “เจาหอหลวง
เจาหอหนา” ซึ่งดํารงสถานะเปนเจากษัตริยและพระราชวงศแหงอาณาจักรลานนา สําหรับพิธีปลงพระศพกษัตริยใน
พระราชวงศจามเทวี และราชวงศมงั รายในเอกสารประวัตศิ าสตรเรียกพิธดี งั กลาววา “ถวายเพลิงพระศพ”๕ โดยถวาย
พระเกียรติยศตามสถานะของพระองค ในชัน้ หลังทีเ่ จานายลานนาสายสกุลเชือ้ เจ็ดตนเขามาพึง่ พิงพระบรมโพธิสมภาร
พระมหากษัตริยแหงกรุงรัตนโกสินทรจึงดํารงสถานะเปน “เจาประเทศราช” หาไดเปนกษัตริยเชนเดิมไม โดยเฉพาะ
หลังจากการเปลี่ยนแปลงโครงสรางทางการปกครองเขาสูระบบมณฑลเทศาภิบาลในสมัยรัชกาลที่ ๕ พิธีการนีจ้ ึงอยู
ภายในพระบรมราชานุเคราะหที่ไดรับพระราชทานพระมหากรุณาธิคุณ จากพระมหากษัตริยแหงกรุงรัตนโกสินทร
โปรดเกลาฯ พระราชทาน
ในทีน่ จี้ ะใชคาํ วา “พิธสี ง สักการ” หรือ “สงสการ” เรียกพิธปี ลงพระศพ “กษัตริย” และ “เจานายลานนา” ตลอด
จน “ครูบามหาเถระ” ไปในทางเดียวกัน ซึ่งพิธีปลงพระศพเจากษัตริยในลานนาปรากฏในเอกสารทางประวัติศาสตร
ตัง้ แต “จามเทวีวงศ พงศาวดารเมืองหริปญ ุ ไชย” ทีก่ ลาวถึงพระเจามหันตยศสรางมหาปราสาท ถวายในพิธสี งสักการ
พระศพพระนางจามเทวี ความวา
“...พระเจามหันตยศ มีพระประสงคจะบูชาสรีรกิจพระมารดาของพระองค จึงทรงบูชาสักการะใหญถึง ๗
วัน แลวใหทําอาฬหนะมหาปราสาทที่ถวายพระเพลิงแลจิตกาธานเชิงตะกอนแลวเชิญพระศพไปยังสุสาน ดวยเครื่อง
บูชาสักการะใหญ กึกกองไปดวยการฟอนรําขับรอง แวดลอมไปดวยบริวารเปนอันมาก แลวเชิญหีบพระศพขึ้นวาง
บนเชิงตะกอนถวายพระเพลิงแลว ทรงบูชาดวยมหายัญมหรสพ และดุริยดนตรีในที่ถวายพระเพลิงนัน้ ถึงเจ็ดวัน...”๖
ตํานานพืน้ เมืองเชียงใหม๗ กลาวถึงการสงสักการพระศพพระญามังรายโดยนําพระศพบรรจุไวในโกศทองคํา
ตั้งพระศพบนวิมานปราสาท ถวายเพลิง แลวกอกูบรรจุพระอัฐิตรงกลางเวียง ณ สถานที่สวรรคต ดังความวา

“...ศักราชได ๖๗๙ ตัว ปเมืองไส วันนัน้ แล เสนาอํามาตยทังหลายก็เอาคาน (พระศพ) พระญามังราย


ใสในโกฏิ์คําไวแลว...พระญาไชยสงครามก็สรางแปงยังวิมานเมรุปราสาทใสคาบพอตน กระทบุญหื้อทานเลิกซากสง
สะการเผาเสียในกาดเชียงใหมก็กอกูบรรจุดูกพอตนที่กาดเชียงใหม กลางเวียงที่นนั้ เอาไมศรี (ตนโพธิ์) มาปลูกไว

ไกรศรี นิมมานเหมินท, กาพยเจี้ยจามเทวีวิรังคะ, กรุงเทพฯ : พี.เอ.ลิฟวิ่ง, ๒๕๓๓, หนา ๓๐๕.

โพธิรังสี. พระ, จามเทวีวงศ พงศาวดารเมืองหริปุญไชย, กรุงเทพฯ : กรมศิลปากร, หนา ๖๙.

พระโพธิรังสี, อางแลว, หนา ๖๙.

ดร.ฮันส เพนธ สันนิษฐานวา ตํานานพื้นเมืองเชียงใหมนนี้ าจะแตงขึ้นในสมัยพระเจาติโลกราช ชวงตนพุทธศตวรรษที่ ๒๑ โดยนักปราชญผูแตงไดรับขอมูลจาก
ตํานานทางศาสนาซึ่งใหขอมูลทางประวัติศาสตร เชน ชินกาลมาลีปกรณ จามเทวีวงศ ตํานานมูลศาสนา สิหิงคนิทาน และวังสมาลินี เปนตน ดูเพิ่มเติมใน
อรุณรัตน วิเชียรเขียว และเดวิด เค, วัยอาจ, อางแลว, บทนํา.
49

เหนือกูที่นนั้ แล...”๘ สําหรับการสงสักการพระนางวิสุทธิเทวี ที่


จามเทวีวงศ พงศาวดารเมืองหริปุญไชย และ ทรงไดรับการถวายพระเกียรติโดยการสรางปราสาทตั้ง
ตํานานพื้นเมืองเชียงใหม ก็มิไดกลาวถึงการประดิษฐาน บนหลังนกหัสดิลิงคนนั้ หากจะกลาววาเปนธรรมเนียม
พระศพกษัตริยลานนาพระองคใดไวบนหลังนกหัสดิ ปฏิบัติ และเปนการถวายพระเกียรติแดกษัตริยที่ปฏิบัติ
ลิงค หรือสัตวพาหนะอื่นๆ ในพิธีสงสักการแตอยาง สืบเนือ่ งกันมา โดยเฉพาะอยางยิง่ สถานภาพของพระนาง
ใด มีแตการสรางพระวิมานปราสาทเพื่อประดิษฐาน เปนทัง้ “นางกษัตริย” และ “มหาเทวี”๑๔ ซึง่ ครองราชยถงึ ๒
พระศพเทานัน้ มาปรากฏกลาวถึงอีกครั้งในพงศาวดาร ครัง้ ๑๕ พระองคกค็ วรไดรบั การปฏิบตั อิ ยางสมพระเกียรติ
โยนก๙ ทีก่ ลาวถึงพิธสี ง สักการพระศพพระนางวิสทุ ธิเทวี ตามจารีตประเพณีของลานนา แมวาในขณะนัน้ จะอยู
ผูเปนนางกษัตริยราชวงศมังรายองคสุดทาย๑๐ มีการ ภายใตอํานาจการปกครองของพมาแลวก็ตาม อยางไร
สรางปราสาทประดิษฐานพระศพตัง้ บนหลังนกหัสดิลงิ ค ก็ตามไมปรากฏหลักฐานทางประวัตศิ าสตรทกี่ ลาวถึงสัตว
แลวจึงเจาะกําแพงเมืองและใชชางลากปราสาทพระศพ พาหนะรองรับวิมานปราสาทกษัตริยก อ นหนาแตอยางใด
ออกไปสงสักการที่ทุงวัดโลกโมฬ ดังความวา ความในพงศาวดารโยนกที่ อ  า งมานั้น มี
“...ลุศักราช ๙๔๐ ปขาล สัมฤทธิศก เดือน ตอนหนึง่ วา “จึงเปนธรรมเนียมลาวในการปลงพระศพ
อาย ขึ้น ๑๒ คํ่า นางพระญาวิสุทธิราชเทวีผูครองนคร เจาผูครองนครทําเชนนี้สืบกันมา” จึงอาจหมายความ
พิงคเชียงใหมถึงพิราสัย พระยาแสนหลวงแตงการทํา วาพิธีกรรมครั้งนี้เปนจุดเริ่มตนของสงสักการพระศพ
ศพขึ้นไวในบุษบกซุดซักไปดวยแรงคชสาร เจาะกําแพง เจากษัตริยในลานนา โดยการตั้งพระศพไวบนปราสาท
เมืองไปถึงทุงวัดโลก ก็กระทําการฌาปนกิจถวายเพลิง บนหลังนกหัสดิลิงค และชักลากดวยชางจนกลายเปน
ณ ที่นนั้ เผาพรอมทั้งรูปสัตวและวิมานที่ทรงศพนัน้ ดวย แบบแผนประเพณีปฏิบัติสืบตอมา เพราะพิธีสงสักการ
จึงเปนธรรมเนียมลาวในการปลงศพเจาผูครองนคร พระศพกษัตริยลานนากอนหนาพระนางวิสุทธิเทวีขึ้นไป
ทําเชนนี้สืบกันมา...”๑๑ มิไดกลาวถึงสัตวพาหนะรองรับวิมานปราสาท แตมีการ
ความขางตนแสดงถึงความเชื่อของชาวลานนา กลาวถึงในพิธีสงสักการพระศพของพระนางฯ จึงเปนที่
ทีจ่ ะไมนาํ ศพ หรือพระศพออกไปสงสักการนอกเมืองผาน นาสนใจวา ประเพณีเดิมของลานนาอาจมิไดทําเชนพิธี
ทางประตูเมืองเพราะถือวา “ขึด”๑๒ จึงมีการเจาะกําแพง นี้ก็ได จึงอาจนําเอาธรรมเนียมพมาที่แสดงการถวาย
หรือนําพระศพขามกําแพงเมืองไปประกอบพิธนี อกเมือง พระเกียรติอยางสูงสุดมาปฏิบัติตอพระนางฯ เนื่องจาก
หรือหากสวรรคตนอกเมืองก็จะปฏิบตั เิ ชนเดียวกัน เชน พระนางเปนที่ยอมรับจากกษัตริยพมาดวย ตอมาจึง
คราวปลงพระศพพระญากือนาทีส่ วรรคตนอกเมือง ก็เจาะ เอาธรรมเนียมดังกลาวมาใชในราชสํานักสืบตอมาก็เปน
กําแพงนําพระศพเขามาตัง้ บําเพ็ญกุศลในเมือง๑๓ ได๑๖ ดังปรากฏในตํานานพืน้ เมืองเชียงแสน และประชุม

ตํานานพื้นเมืองเชียงใหม, กรุงเทพฯ : คณะกรรมการจัดพิมพเอกสารทางประวัติศาสตร สํานักนายกรัฐมนตรี, ๒๕๑๖, หนา ๓๕.

ไดเรียบเรียงขึ้นเมื่อป พ.ศ. ๒๔๔๙ โดย พระยาประชากิจกรจักร (แชม บุนนาค) ซึ่งพงศาวดารเรื่องนี้ ไดนิพนธโดยศึกษาคนควาตํานานตางๆ ในลานนา ๑๗
เรื่อง และสอบทานกับพงศาวดารตางประเทศที่เกี่ยวของกับลานนาหลายฉบับ ดูเพิ่มเติมใน พิมพพรรณ ไพบูลยหวังเจริญ “เรื่องพงศาวดาร”, ศิลปากร ๔๙, ๑
(มกราคม - กุมภาพันธ ๒๕๔๙), หนา ๗๐ – ๗๙.
๑๐
สรัสวดี อองสกุล, ประวัติศาสตรลานนา, พิมพครั้งที่ ๔ (ฉบับปรับปรุงและเพิ่มเติม), กรุงเทพฯ : อมรินทร, ๒๕๕๑, หนา ๒๗๑.
๑๑
ประชากิจกรจักร. พระยา, พงศาวดารโยนก, (พิมพครั้งที่ ๗), กรุงเทพฯ : สํานักพิมพคลังวิทยา, ๒๕๑๖ หนา ๔๐๒ – ๔๐๓.
๑๒
ขึด เปนภาษาลานนา แปลวา “อัปมงคล”
๑๓
ดังความวา “...เราควรเอาคาบเจาเหนือหัวไวในเวียงดีชะแล เทาจักเอาเขาทางประตูเวียงบควร เยี่ยงมันแสลงภายหลังวาอั้น จึงพรอมกันบอง (เจาะ) เขาเวียงตรง
วัดพราหมณ เอาคาบเจากือนาใสโกฏิ์คํา แปลงขัว (สะพาน) ขามคือเวียง (คูเมือง) เอาเขาไปไวในเชียงขวาง...” ดูเพิ่มเติมใน ตํานานพื้นเมืองเชียงใหม,
หนา ๔๒ – ๔๓.
๑๔
ตําแหนง “มหาเทวี” หมายถึงพระบรมราชชนนีของพระมหากษัตริย ในลานนาผูดํารงตําแหนงดังกลาวมีบทบาททางการเมืองสูงมาก ดูเพิ่มเติมใน สรัสวดี
อองสกุล, ประวัติศาสตรลานนา, พิมพครั้งที่ ๔ (ฉบับปรับปรุง และเพิ่มเติม), หนา ๒๗๒.
๑๕
ตํานานเมืองลําพูน กลาวถึง มหาเทวีพระองคหนึง่ บรมราชาภิเษก ๒ ครั้ง ครองเมือง ๑ ก็สวรรคต ดังความวา “...ในปรวงไค ไดอารทนาราชภิเสกหน ๒
มหาเทวีรักษาเมืองเชียงใหมได ๑๔ ป สุรคุตในปเปกยี...” หอวชิรญาณ, ตํานานเมืองลําพูน ๐๐๑๑.๒/๒๓, หนา ๘๓.
50

พงศาวดารภาคที่ ๖๑ บันทึกถึงพิธสี ง สักการเจานายเมือง พิธีใหญซึ่งตองใชเวลาจัดเตรียมเปนแรมป เพราะตอง


เชียงแสนไว โดยสรางปราสาทประดิษฐานพระศพตัง้ บน ใชปจจัยมากจึงตองบรรจุศพ หรือปดศพไวในวัดหลัง
หลังนกหัสดิลิงค ดังความวา จากที่ทําบุญสัตตมวารแลว บางครั้งก็มีความพรอมอยู
“...ศักราชได ๑๐๕๗ ตัว ฟาเมืองหลวง กิน แลว แตเปดโอกาสใหศิษยานุศิษยไดผลัดเปลี่ยนกันมา
เมือง (เชียงแสน) ได ๔ ป แลวจุติตายไปแล แลวก็ใส รวมเปนเจาภาพอุทิศถวายแดครูบามหาเถระ เปนการ
ปราสาทตางลูกนกหัสดิลิงคสงสักการเสีย...”๑๗ แสดงถึงความกตเวทิตาคุณ๒๐ แตสิ่งที่สําคัญที่สุดคือ
“...ศักราชได ๑๐๙๐ ตัว ปเปกสัน เจาฟา การจัดสรางปราสาทตัง้ บนหลังนกหัสดิลงิ คทตี่ อ งใชเวลา
ยอดคํากินเมือง (เชียงแสน) มาได ๔ ป อายุได ๒๕ ป ก็ ในการสรางนานพอสมควร และขอจํากัดในการใชสถาน
จุตไิ ปแลวสรางปราสาทใสรปู นกหัสดิลงิ ค แลวสงสักการ ที่กลางทุงนาในพิธีสงสักการดวย
เสีย...”๑๘ ในตํานานพืน้ เมืองเชียงแสน รวมในประชุม
หลั ง จากนี้ก็ มิ ได มี ก ารบั นทึ ก พิ ธี พ ระศพ พงศาวดารภาคที่ ๖๑ ไดบันทึกพิธีสงสักการศพครูบา
เจานายในเอกสารลานนาอีกเลย แมแตเจานายในสมัย มหาเถระรูปสําคัญในอดีต ชวงตนพุทธศตวรรษที่ ๒๓
หลังชวงตนของตระกูลเจาเจ็ดคน และในระยะหลังสุดพบ ไว ดังนี้
วามีการสงสักการพระศพตามแบบกรุงเทพฯ ตามไดรับ “...ศั ก ราชได ๑๐๔๕ ตั ว ราชครู เจ า
พระมหากรุณาธิคณ ุ พระราชทานตัง้ แตสมัยพระเจาอินท วัดหลวง อนิจกรรมไปแลว ใสปราสาทตางลูกนกหัส
วิชยานนท พระเจานครเชียงใหม องคที่ ๗ เปนตนมา
๑๙
ดิลงิ คสง สักการดวยเรือพวงกลางแมนาํ้ ของ แลวถึงเดือน
พิธีสงสักการครูบามหาเถระในวัฒนธรรมลานนา ๑๒ สมเด็จเจาวัดปางัวเชียง อนิจกรรมไปก็ใสปราสาท
พิ ธี ศ พที่ ตั้ ง ปราสาทบนนกหั ส ดิ ลิ ง ค ใน ตางลูกนกหัสดิลิงค สงสักการฉันเดียวกันนัน้ แล...”๒๑
วัฒนธรรมลานนาที่ไมเคยเสื่อมสูญ คือพิธีศพครูบา “...ศักราชได ๑๐๕๐ ตัว มหาปาเจาศรีไชย
มหาเถระรูปสําคัญ ปรากฏตั้งแตอดีตสืบเนื่องยาวนาน ตนหลวง อนิจกรรมไปแลวใสปราสาทตางลูกนกหัส
ถึงปจจุบัน โดยครูบามหาเถระ หรือพระสงฆเมื่อถึงแก ดิลิงค สงสักการะดวยพวงแพ…”๒๒
มรณภาพที่ไดรับการปฏิบัติเชนวานีจ้ ะเปนพระผูใหญที่ “...ศักราชได ๑๐๕๘ ตัว สมเด็จมหาปาลเจา
มีอาวุโสดวยอายุและพรรษายุกาล เปนที่เคารพเลื่อมใส วั ด เชตะวั นก็ ถึ ง แก อ นิจ กรรมไปแล ว ใส ป ราสาทลู ก
ศรัทธาของพุทธศาสนิกชนในชุมชน หรือเปนพระเถระ ช า งเอราวั ณ ส ง สั ก การด ว ยเรื อ พ ว งกลางแม นํ้ า ของ
ที่มีสมณศักดิ์ในปจจุบัน พิธีศพครูบามหาเถระจะเปน ที่ทาหลวงนัน้ ...”๒๓
๑๖
ดังพบวา พระนางวิสุทธิเทวี ทรงสรางวัดวิสุทธาราม (วัดหลวงบานแปะ) ในเขตอําเภอจอมทอง พ.ศ.๒๑๑๐ และไดทําตราหลวงหลาบเงินไวคุมครองชาวบานที่
ถวายไวเปน “ขาวัด” ทําหนาที่คุมครองวัด และทํานุบํารุงพระพุทธศาสนา หามมิใหนําคนเหลานี้มาใชงานใดๆ เพราะไดกัลปนาเปนขาวัดไวแลว และหลักบานที่
แสดงวากษัตริยพมายอมรับสถานภาพของพระนาง ดังเหตุการณป พ.ศ.๒๑๗๕ พระเจาตลุมมิน (พระเจาสุทโธธรรมราชา) ไดกวาดตอนเชลยจากเชียงใหม
และพบวามีขาวัดวิสุทธารามติดไปดวย เมื่อพระองคทรงทราบไดโปรดใหปลอยตัวกลับคืนมาทุกคน ดูเพิ่มเติมใน พระยาประชากิจกรจักร, อางแลว,
หนา ๔๐๒ – ๔๐๓.
๑๗
ประชุมพงศาวดาร ภาคที่ ๖๑, (พระนคร : กรมศิลปากร, ๒๕๑๖), หนา ๑๙๑.
๑๘
เพิ่งอาง, หนา ๑๙๗.
๑๙
พระเจาอินทวิชยานนท มีสถานภาพเปน “เจาประเทศราช” องคสดุ ทายของลานนาเชียงใหม เนือ่ งจากในเวลาตอมามีการปฏิรปู การปกครองระบบมณฑลเทศาภิบาล
โดยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว โดยพระเจาอินทวิชยานนท ไดรับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณชั้นปฐมจุลจอมเกลา และเครื่องขัตติยราช
อิสริยาภรณมหาจักรีบรมราชวงศที่พระราชทานเฉพาะเชื้อพระวงศในราชสํานักที่สืบเชื้อสายแตรัชกาลที่ ๑ และพระราชวงศชั้นสูงจากตางประเทศ นับเปนเจา
ประเทศราชพระองคเดียวที่ไดรับพระราชทานตรามหาจักรีในครั้งนัน้ ดูเพิ่มเติมใน แสงดาว ณ เชียงใหม, พระประวัติพระราชชายา เจาดารารัศมี (๒๖ สิงหาคม
๒๔๑๖ – ๙ ธันวาคม ๒๔๗๖), จัดพิมพเปนอนุสรณในงานทําบุญ ๑๐๐ วัน เจาแสงดาว ณ เชียงใหม วันที่ ๑๘ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๑๗, หนา ๖๘ – ๗๒.
และ จิรเดช สันตะยศ, “พระราชชายา เจาดารารัศมี กับการสรางความทรงจําดวยพิพิธภัณฑ และอนุสาวรีย”, ศิลปวัฒนธรรม, กันยายน ๒๕๕๑,
หนา ๗๘ – ๑๐๑.
๒๐
มณี พยอมยงค, ประเพณีสิบสองเดือนลานนาไทย, (เชียงใหม : โครงการศูนยสงเสริมศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยเชียงใหม, ๒๕๓๗), หนา ๓๖๓.
๒๑
ประชุมพงศาวดาร ภาคที่ ๖๑, หนา ๑๙๐.
๒๒
เพิ่งอาง, หนา ๑๙๑.
๒๓
เพิ่งอาง, หนาเดียวกัน
51

“...ศักราชได ๑๐๗๙ ตัว ปเมิงเลา เดือน สําเภาอุทิศใหในพิธีศพเพื่อเปนพาหนะของวิญญาณ


๔ มหาปาเจาวัดศรีดอนไชย ตนนอยอนิจกรรมไปแลว ผูต ายนําขามไปสูส คุ ติภพ๒๘ มีผศู กึ ษาไวระบุเปนความเชือ่
ใสปราสาทตัวลูกนกหัสดิลิงคสงสักการ...”๒๔ เดียวกับคติกรีกโบราณที่ถือวา วิญญาณของผูตายจะ
“...ศักราชได ๑๐๘๖ ตัว มหาสังฆราชเจา ไปสูเมืองผีวา
วัดปาแดงหลวงตนใหญ อนิจกรรม
ไปแล สร า งปราสาทต า งลู ก ช า ง
เอราวัณสงสักการ...”๒๕
ใ น ตํ า น า น ก็ มี ก า ร
กล า วถึ ง การปลงศพครู บ ามหา
เถระ ๒ รู ป คื อ สมเด็ จ มหา
ปาลเจา วัดเชตวัน และมหาสังฆ
ราชเจา วัดปาแดงหลวง “มีการตัง้ ศพ
เพือ่ สงสักการบนหลังชางเอราวัณ”๒๖
อันแสดงถึงการตั้งศพบนหลังสัตว
พาหนะของพระอินทรอยางชัดเจน ซึง่
หากพิจารณาถึงพระมหาเถระทัง้ ๒
รูป มีสมณศักดิเ์ ปนทัง้ “สมเด็จ” และ
“มหาสังฆราช” ซึง่ ถือวาเปนพระสงฆผใู หญ สันนิษฐานวาเปน “...เมืองนี้อยูใตโลกมนุษยทางทิศตะวันตกอัน
สิ่งที่แสดงถึงความตอเนื่องของความเชื่อที่แสดงออกถึง ไกลโพน มีแมนํ้าปนแดนระหวางความสวางและความ
สถานภาพทางสังคมของครูบามหาเถระรูปสําคัญ และ มืด ชือ่ แมนาํ้ สติกษ (Styx) วิญญาณของผูต ายไปสูเ มือง
กษัตริยท วี่ ายชนมแลวเสด็จไปสรวงสวรรคเปนอุปต ติเทพ ผีก็ตองมีแมนํ้ามีมนุษยชื่อการน แจวเรือรับสงวิญญาณ
ในฐานะของพระอินทร โดยถือวาพระอินทรผูที่บําเพ็ญ ใหขามไป...”๒๙
บารมีเปนพระโพธิสตั ว เพือ่ รอการตรัสรูเ ปนพระพุทธเจา เปนที่นาสนใจวาความเชื่อนีค้ นไทยตรงกับชาว
ในอนาคตดวย๒๗ อียปิ ตโบราณวา “...คนตายไปแลววิญญาณจะไปสูแ มนาํ้
ในพิธีสงสักการของครูบามหาเถระเมือง ถือวาเมืองผีอยูพนแมนํ้าแหงความตายไป แมนํ้านัน้ มีผี
เชียงแสนขางตนกลาวถึงการสงสักการ “ดวยเรือพวง รับจางพาวิญญาณขามไป จึงตองเอาเงินรูปใสไวในมือ
กลางแมนํ้าของ” แสดงถึงการขามนํ้าไปยังอีกภพแดน ศพ...”๓๐ ดวยความเชื่อเกี่ยวกับการใชเรือขามแมนํ้านี้
หนึง่ หรือการขามจากวัฏฏสงสารโดยมีเรือเปนพาหนะ จึงเปนที่มาของการอุทิศเรือสําเภาแกผูตายที่เปนสามัญ
ตรงกับความเชื่อของพิธีศพสามัญชนที่มีการสรางเรือ ชนชาวลานนา

๒๔
เพิ่งอาง,หนา ๑๙๔ – ๑๙๕.
๒๕
เพิ่งอาง,หนา ๑๙๕.
๒๖
เพิ่งอาง, หนา ๑๙๑ และหนา ๑๙๕.
๒๗
เหมันต สุนทร, พระธาตุหริภุญไชย; เจติยสถานองคสําคัญของลานนา, (กรุงเทพฯ : จรัลสนิทวงศการพิมพ, ๒๕๔๙), หนา ๑๑๕. และ นภาพร เลาสินวัฒนา,
การเสด็จขึ้นครองราชย พระราชพิธี คติ ความหมาย และสัญลักษณแหง “สมมติเทวราช”, (กรุงเทพฯ : มิวเซียมเพลส, ๒๕๔๙), หนา ๙๒.
๒๘
อภิธาน สมใจ, งานศพลานนา: ปราสาทนกหัสดิลิงคสูไมศพ, (เชียงใหม : วรรณรักษ, ๒๕๔๑), หนา ๑๒๐.
๒๙
เสถียรโกเศศ, การตาย. (กรุงเทพฯ : สํานักพิมพแมคําผาง, ๒๕๑๓), หนา ๖๒.
๓๐
เพิ่งอาง, หนา ๖๔.
52

การสงสักการครูบามหาเถระดวย “เรือพวง ในขณะนัน้ นกหัสดิลิงคบินมาโดยอากาศโดยหมายชิ้น


กลางแมนาํ้ ของ” ดังกลาวขางตนตลอดจนการเรียกทีร่ อง เนื้อจึงโฉบเอาพระเทวีใหนงั่ อยูในกรงเล็บแลวจึงบินไปสู
เลื่อนปราสาทนกหัสดิลิงควา “แมเรือ” จึงแสดงสถานะ อากาศ ถึงตนไทรใหญนนั้ เขาวาพวกนกนัน้ มีกําลังเทา
เปนเรือดวย ซึ่งแสดงถึงนัยทางความคิดที่สอดคลอง ชาง ๕ เชือก”๓๖
กัน หากแตการแสดงออกของความเชื่อตางกันเพียง ในเอกสารโบราณของลานนา เชน จามเทวีวงศ
บริบททางสิ่งแวดลอมเทานัน้ ซึ่งการปฏิบัติดังกลาวเปน พงศาวดารเมืองหริปุญไชย ไดกลาวถึงพระฤาษีสราง
สวนสําคัญของจารีตตลอดจนสะทอนถึงแนวคิดทีย่ ดึ ถือ เมืองหริปญุ ไชยใหมสี ณ
ั ฐานดังเปลือกหอยสังข โดย “นก
ปฏิบัติกันในปจจุบันไดเปนอยางดี หัสดิลิงค” นําเปลือกหอยสังขมาถวายแดพระฤาษี และ
ไดกลาวถึงพละกําลังของนกหัสดิลิงควา
นกหัสดิลิงค พาหนะสูสรวงสวรรค
“...นกหัสดิลิงคนนั้ ครั้นไปถึงมหาสมุทรแลว
จากพิธสี ง สักการเจากษัตริยแ ละครูบามหาเถระ
ก็แผลงใหนํ้าทะเลแตกเปนสองภาคดวยปกทั้งสอง แลว
ในวัฒนธรรมลานนาที่กลาวมาขางตนนัน้
จะเห็นวามีการกลาวถึง “นกหัสดิลิงค”
หรือ “หัตถีลิงค” ที่หมายถึง “นกขนาด
ใหญในนิยายมีงวงมีงาเหมือนชาง”๓๑ ซึ่ง
คําวา “หัส” แปลวา “นก” “หัตถิ” แปลวา
“ชางพลาย”๓๓ และคําวา “ลิงค” แปลวา
“เพศชาย เครือ่ งหมายเพศ และงวงชาง”๓๔
“หัสดิลิงค” จึงหมายถึง “นกที่
มีเพศเปนชางพลาย และเปนชางที่บินได”
มีผูศึกษาถึงที่มาของนกหัสดิลิงคไวบาง
และกลาววา นกหัสดิลงิ คไมปรากฏเดนชัด
เฉพาะเรื่อง แตพอประมาณไดจากนิทาน
ชาดกบาง ตําราสัตวหิมพานตบาง ไดความพอสังเขปวา
คาบเอามหาสังขปตรอันเกาแกแลวดวยจะงอยปากได
เปน “สัตวหิมพานประเภทหนึง่ ลําตัวเปนนก มีปกหาง
แลวบินมาดอยอากาศ...”๓๗
อยางนก แตมีหัวเปนชาง มีกําลังเทาชางสาร ๕ เชือก”๓๕
นกหัสดิลิงคถือวาเปนสัตวหิมพานตประเภท
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนา อันตรคาถา
หนึ่ง ดังปรากฏกลาวถึงไวในพระวินิจฉัยของสมเด็จ
ในพระธรรมบท ปทัฏฐกถา เรือ่ งพระนางสามาวดี เนือ้ หา
พระเจาบรมวงศเธอ เจาฟากรมพระยานริศรานุวตั ติวงศ
กลาวถึงพระราชาพระนามวา “พระเจาปรันตปะ และ
ทูลตอบสมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ กรมพระยาดํารง
พระเทวีทที่ รงพระครรภเสด็จมาตากอากาศอยูก ลางแจง
ราชานุภาพ เกี่ยวกับสัตวหิมพานตไว ดังนี้

๓๑
อุดม รุงเรืองศรี, พจนานุกรมลานนา–ไทย ฉบับแมฟาหลวง, (เชียงใหม : โรงพิมพมิ่งเมือง, ๒๕๔๗), หนา ๘๒๒.
๓๒
เพิ่งอาง, หนา ๘๒๓.
๓๓
เพิ่งอาง, หนา ๘๒๒.
๓๔
เพิ่งอาง, หนา ๖๕๒.
๓๕
อภิธาน สมใจ, อางแลว, หนา ๗๑.
๓๖
อันตรคาถา พระธรรมปทัฏฐกถา, (กรุงเทพฯ : โรงพิมพพานิชศุภผล, ๒๔๖๙), หนา ๘๑ – ๘๒.
๓๗
พระโพธิรังสี, อางแลว, หนา ๒๓ – ๒๔.
53

“...เพราะสัตวหิมพานเปนของที่ไมเคยเห็นตัว “...การทําศพของชาวอุตตรกุรุที่เอาศพหอแลว
จริง ชางเขียนหรือปนรูปจึงอาศัยแตความที่บงไวในชื่อ นําไปวางไวยงั กลางแจง และมีนกชนิดหนึง่ ซึง่ มีชกุ ชุมใน
เรียก หรือพรรณนาอาการและลักษณะไวตามโบราณ แดนอุตตรกุรุบินลงมาคาบเอาศพไป นกที่วาในไตรภูมิ
มาประดิษฐรูปสัตวหิมพานตขึ้นดวยปญญาของคน รูป วาเปนหัสดิลิงคบาง นกอินทรีบาง นกกดบาง กลาวเปน
สัตวหิมพานตเดิมคงมีนอยอยาง ดูเหมือนจะมีแตสัตว ๓ นัยดังนี้ ชะรอยจะไมแนใจวาเปนนกอะไร คาบเอา
ที่ชื่อปรากฏในพระบาลี และเรียกชื่อเฉพาะตัวสัตวนนั้ ๆ ศพไปไหน...”๔๐
ที่มาเรียกรวมกันวาสัตวหิมพานตนาจะบัญญัติขึ้นตอ ในตํานานพื้นเมืองเชียงแสนไดกลาวถึงการ
ภายหลัง เมือ่ มีรปู สัตวพวกนัน้ เพิม่ เติมขึน้ อีกมากมาย เห็น ปลงศพครูบามหาเถระ มีทั้งการตั้งศพบน “ปราสาท
วานาจะเกิดแตทาํ เครือ่ งแหพระศพ เดิมทําแตพอจํานวน นกหัสดิลิงค” และตั้งศพบน “ปราสาทชางเอราวัณ”๔๑
เจานายอุม ขีผ่ า ไตรไปในกระบวนแห ตัง้ แตเปลีย่ นเปนทํา สันนิษฐานวาแสดงถึงการตัง้ ปราสาทบนสัตวพาหนะของ
บุษบกวางไตรบนหลังรูปสัตว จึงเพิม่ จํานวนสัตวขนึ้ แลว พระอินทรได เพราะบางครั้งเรียก “หัสดินทร”๔๒ ซึ่งแปล
มาปรุงขึน้ สําหรับงานพระเมรุจงึ มีมากนัน้ เปนการถูกแท ตามรูปศัพทหมายถึง “นกของพระอินทร” ไดดวย แต
ทีเดียว ตําราสัตวหมิ พานตกเ็ ห็นมีแตตาํ ราทําสําหรับการ อยางไรก็ตามไมปรากฏชื่อดังกลาววาเปนพาหนะของ
ทําพระเมรุเทานัน้ ตําราตัวจริงไมเห็นมี ไดเคยสังเกตมา พระอินทรแตอยางใด จึงนาจะหมายถึงสัตวพาหนะที่
แลว รูปราชสีห คชสีห มีมาแลวแตอนิ เดีย รูปนกหัสดิลงิ ค เกี่ยวกับการไปสูสุคติภพตามความเชื่อดังกลาวมาแลว
ก็มีแตหัวไมมีงวงมีงา เปนอยางนกอินทรีเทานัน้ เวนแต นอกจากนี้ยังพบวามีการหลอรูปนกหัสดิลิงค
เอี่ยวเอาชางไปกินตั้งสองสามตัวแสดงวาใหญ…”๓๘ รองรับสวนฐานพระพุทธรูปลานนา ซึ่งอาจหมายถึง
อนึง่ ในพระวินจิ ฉัย ยังทรงกลาวถึงลักษณะ พาหนะในการนําขามสังสารวัฏดวยก็เปนได (จัดแสดง
ของสัตวหิมพานตที่ชางไทยนํามาสรางสรรค โดยตอน ที่พิพิธภัณฑสถานแหงชาติ พระนคร)
หนึง่ ทรงกลาวถึงนกหัสดิลิงคไววา ความเชื่ อ เกี่ ย วกั บ นกหั ส ดิ ลิ ง ค นั้น เป น
“...มียิ่งกวานัน้ นกหัสดินก็แกงาเปนปากนก มี เรื่องที่เกิดจากการอธิบาย ๓ ประการคือ ประการแรก
งวงทับไปกับปากดุจไกงวงฉะนัน้ ทีท่ าํ มาก็เอาหัวคชสีหไ ป คืออธิบายดวยความเชื่อเชิงประจักษวานกตัวใหญที่กิน
ตอเขากับตัวนกอยางดื้อๆ เพราะชื่อมันแปลวานกชาง ซากสัตวนนั้ มีอยูจริง ประการที่สอง คือ ความเชื่อเรื่อง
เปนการทําที่ไมไดคิดโดยรอบคอบ จึงนําทางใหเขาใจ ชีวิตอื่นและโลกอื่น ผานจินตนาการและกระบวนทัศน
ไปวา การทําปากหงสใหเปนปากนกก็ดี การแกงานก แหงพิธีกรรมที่มีองคความรูที่สลับซับซอนอยูเบื้องหลัง
หัสดินใหเปนปากนกก็ดี เปนของทานครูซึ่งเปนผูใหลาย คือ การไปสูสุคติยังสวรรคโดยสัตวพาหนะที่ไมปรากฏ
บานมุกทานคิดขึ้นใหมไมใชทําตามแบบซึ่งเคยทํามาแต บนโลกมนุษย ตลอดจนสัตวพาหนะที่แสดงถึงการนํา
เกากอน...”๓๙ บุคคลไปสูสวรรคชนั้ ฉกามาพจรมีดาวดึงส เปนตน และ
ความตอนหนึ่งจากเรื่องเลาในไตรภูมิ ของ ประการสุดทาย คือ ความเชื่อเรื่องชีวิตอื่นและโลกอื่น
พระยาอนุ ม านราชธน กล า วถึ ง การทํ า ศพของชาว กลาวคือ การเดินทางอันแสนไกลเพื่อเปลี่ยนผานจาก
อุตตรกุรุทวีปวา ชีวติ ในโลกนี้ ไปสูช วี ติ ในโลกอืน่ ทีไ่ มมใี ครทราบลวงหนา

๓๘
สมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ เจาฟากรมพระยานริศรานุวดั ติวงศ, และสมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ กรมพระยาดํารงราชานุภาพ, สาสนสมเด็จ เลม ๒๐, (พระนคร :
องคการคาคุรุสภา, ๒๕๐๕), หนา ๑๓๕ – ๑๓๗ และหนา ๑๖๗.
๓๙
เพิ่งอาง, หนา ๑๒๖ – ๑๒๗.
๔๐
ส. พลายนอย, “ตํานานสัตวหิมพานต”, ศิลปวัฒนธรรม, (มิถุนายน ๒๕๓๐), หนา ๓๑ – ๓๔.
๔๑
ประชุมพงศาวดาร ภาคที่ ๖๑, หนา ๑๙๐ – ๑๙๕.
๔๒
พระโพธิรังสี, อางแลว, หนา ๒๓ – ๒๔.
54

โดยการนําพาของพาหนะไมวาจะบินไปโดยอากาศหรือการลองเรือไปตามแมนํ้า-มหาสมุทรก็ตาม ลวนแตสนองมโน
สํานึกแหงมนุษยทั้งสิ้น
สถาปตยกรรมปราสาทศพเจานาย และครูบามหาเถระ
แมวาในเอกสารทางประวัติศาสตร จะไมปรากฏหลักฐานที่กลาวถึงลักษณะทางสถาปตยกรรมของวิมาน
ปราสาท แตพบวาใน “ธัมมมหาชาติเวสสันดรฉบับลานนากัณฑมัทรี”๔๓ ซึ่งเปนวรรณกรรมประเภทราย ไดกลาวถึง
ลักษณะสถาปตยกรรม และการประดับตกแตงวิมานปราสาทโดยละเอียด แสดงวาปราชญลานนาผูรจนามีความรู
ในเรื่องประเพณีการสรางปราสาทประดิษฐานพระศพเจากษัตริยเปนอยางดี จึงสะทอนออกมาในรายที่กลาวถึงการ
บรรจุพระศพพระนางมัทรีในฐานะพระอัครมเหสีโดยการสรางวิมานปราสาทแบบชั้นเชิงกลอนโคงลาด ซอน ๗ ชั้น
เทินอยูเหนือกาบจวา เสาปราสาทเปนเสาขอม ยึดโครงสรางดวยไมเบง และประดับลวดลายพันธุพฤกษา และสัตว
มากมาย ดังความวา

“...กูพี่จักหื้อสรางวิมานปราสาท งามวิลาศบวร รูปมาอัศดรตัวองอาจ รูปชางแกงราชกุญชร


แตงแมเรือนนอนเหนือแผน แทบทองแทนปฐวี งาเงยงอนเงาเงื่อน ใหญนอยเพื่อนพังพลาย
ปลองรูชีสลอด ใสตงสอดขัดขวาง รูปงัวความและอุสุภราช รูปนกจากพากและหงสา
เจือแปนวางลวาดเลื่อน บหื้อขดคลายเคลื่อนไปมา รูปมิคาเตียวตีนขาย รูปชางนํ้ากายเกยงวงงา
อันชางไมหากรจนาตกแตง ทุกที่แหงทํ่ากลาง รูปพยัคฆาตัวตัวองอาจ รูปเสือโครงอยวาดยังยาย
ตีนเจือแปนวางตงหืด งานประณีตสุพรรณ รูปตัวกายและกะแตกะตาย นกเขียนมายหัสดิลิงค
เสาขอมยันถอยถี่ คุมคามที่ตีผงมัน อิงคลิงและการวีก แขกเตาปกเขียวขจี
เบงจะผาดผันขัดไขว ชายหลวงใสมุงดี สัพพะและสัปป รูปงูรีและงูเงี้ยว
ตั้งอยองปลีและกาบจวา แตงมุขหนาออกทุกพาย แมบลิ้นเกี้ยวเครือหนา ทังปกขีทิชาแบวบาง
ทังขันหงายชายควบ รูปนาคอวบหลังจอง บี้เบอสวางบินบน ดอกดวงสนเกี้ยวคอด
ยอหัวยองหลังกูบ เอาอกอูบหลังชาย บินดั้นสอดไปมา นกพะทาและกาปา
ขันขวํ้าหงายอยายเถียวถอด เรียวรุดรอดเถิงปลาย กานํ้าฝาเฟองฟอง รูปไกอยองและเปดพาบ
ประดับแดงดําลายกานกาบ เหลื้อมมะมาบมีวรรณ รูปกาลาบและตระเหวา รูปนกเขาและนกงุม
ซะบานใบขันแนวนึด จักหื้อชางขีดลวดลาย มีเปนชุมเปนหมู จับไมอยูเหนือคอน
ลายดวงดอกเกี้ยวรอด บี้เบอสอดบินตอม รูปกินรีรอนมายฟอน อยายเหยียบอยอนหากัน
เสาขอมประดับดวยแกว เรื่อรามแลวดวยคําแดง มีหลายพันหลากหลาย รูปนาคนํ้านาคี
พรองพรายแสงดวยโกฏ งามสะโรดรังสี อัสสหัตถีชางมา หลากหลายหนาเสือสิงห
ประดับมณีแตงตั้ง ทั้งสี่แจงจัตุรา รูปผูญิงโฉมแฉลม ชายจูบแกมเลาโลมใจ
รูปเทวดายืนถอยเถียบ ตีบจับเสียบประพนมกร รูปเมฆะไหลเดรดาส เครือวัลลิ์วาดสมตัว
งามบวรชะแลม ลายชางแตมสัพพะอันมี ดอกบัวบานสะอาด ดอกพานอยาแจจน
ทังรูปกินรีแอนฟอน รูปกินนารอนยอนตามหลัง ดอกนิลุบนเขียวอทุม ดอกแกหนุมแกมกัน
ถือบุปผังดวงดอก กิ่งกานออกเพิงพาว เครือวัลลิ์หวันสะอาด ปราสาทแกวเรียงราย
รูปเดือนดาวและอากาศ รูปฟาอยวาดกลางหาว มี ๗ ชายงามสะอาด นํ้าแตมหยาดเพิงพาว
รูปนางสาวใสสรอย ขายหิ่งหอยประตูโขง ดําแดงขาวหยดหวาง แมงภูกวางชมละออง
ผายับวงอยาบยอย แขวนขายสรอยใบไร อเนกนองแสนสิ่ง ขายหิ่งแกวทุกพาย
มีทังทุงไชยและชอชาง ยายแถบขางฉัตรคํา ตระบอบขวํ่าพี่จักใสรูปมานํ้าตัวกลาย ตระบอบหงายพี่จักใสแกวแวน
ขาวเขียวดําแดงตาง หมนเหลื้อมหยางยายตาม ตีนแทนหั้นพี่จักใสลายวง ประตูโขงพี่จักหื้อแตมรูปเทวดา
สิ้วสองงามอยัวะอยวาด รูปนาคบัวงบาศกเกี้ยวตีนโรง ถือดอกไม
เครือดอกดวงเกี้ยวกาย สิงหมายหมาหมี ประหนมมือไหวอยูชอนลอน...”
ทังคีรีและเถื่อนถํ้า ครุฑนาคนํ้ามังกร

๔๓
ประคอง นิมมานเหมินท, มหาชาติลานนา : การศึกษาในฐานะที่เปนวรรณคดีทองถิ่น, (กรุงเทพฯ : ไทยวัฒนาพานิช, ๒๕๒๖), หนา ๓๓ – ๓๕.
55

สําหรับ “ปราสาทศพ” เปนคําสามัญที่เรียก “พิมาน” หรือ “วิมาน”๔๔ ที่ใชในพิธีสงสักการปลงศพครูบามหา


เถระ และเจานาย คือ การเรียก “ปราสาท” แทนคําวา “เมรุ” หรือ “วิมาน” อันหมายรวมถึงทีอ่ ยูห รือทีป่ ระทับของเหลา
เทวดา มีลักษณะเปนเรือนยอด ซึ่งตรงกับคําวา “กุฎาคาร” ซึ่งหมายถึงของสูงที่ใชกับกษัตริยหรือเกี่ยวกับศาสนา๔๕
ตามคติไตรภูมชิ นชัน้ สูงเมือ่ ดับขันธจะไดไปเกิดเปนอุบตั ติเทพบนสรวงสวรรคดงั ทีก่ ลาวมาจึงปรากฏมีเครือ่ งพิธกี รรม
มารองรับจากการดับขันธละโลกนีข้ องผูตายโดยเฉพาะการตัง้ พระเมรุ หรือเมรุ เพือ่ แทนสัญลักษณแหงเขาพระสุเมรุ
ที่ตั้งศูนยกลางของจักรวาลเพื่อแสดงถึงการ “สุรคุต” ของเจากษัตริย
การสงสักการครูบามหาเถระ มีรายละเอียดบางอยางที่แตกตางไปจากงานของเจากษัตริยบางประการ
คือ การปูผาขาวรองพื้นดินใตนกหัสดิลิงคเรียกวา “ผากระดาน” สวนบนใชผาสังฆาฏิของพระผูมรณภาพตรึงไวกับ
ไมไผขางเรียวยาวกางกั้นเหนือปราสาทศพเปนเพดาน เรียกวา “ผาพิดาน” หรือ “ผาเพดาน” โดยชาวลานนาเชื่อวา
ครูบามหาเถระรูปสําคัญเปนผูม บี ญ ุ ญาธิการ เมือ่ มรณภาพและสงสักการโดยการประชุมเพลิงนัน้ จะตองปูพนื้ ดวยผา
กระดาน และกางกั้นดวยผาพิดาน เพื่อไมใหรอนถึงอินทรถึงพรหมและเหลาเทวดาโสฬส ๑๖ ชั้นฟาและใตบาดาล
ปณณรส ๑๕ ชั้นดิน เสาไมไผซาง ๔ ตน สันนิษฐานวาเปนปริศนาธรรมประการหนึง่ อันหมายถึง “จตุปริสุทธศิล”
๔ ประการของพระสงฆ และชัดเจนมากขึ้นในการตั้งปราสาทบริวารเพื่อตั้งอัฐบริขาร และการสวดอภิธรรมทั้ง ๔ มุม
ปราสาทศพชนชัน้ สูงในวัฒนธรรมลานนา ในเอกสารทางประวัตศิ าสตรแตละฉบับ มิไดกลาวถึงรายละเอียด
ของสถาปตยกรรมของพิมานปราสาทแตอยางใด โดยเฉพาะเครือ่ งหลังคาเปนสวนทีส่ าํ คัญประการหนึง่ ในวัฒนธรรม
ลานนามีความนิยม “เรือนยอดซอนชั้น ใหความสําคัญกับชั้นหลังคาโคงลาด (ลักษณะเปนแบบบัวควํ่า)” ซึ่งอาจเปน
ลักษณะทางสถาปตยกรรมอิทธิพลพมาที่ตกคางอยูในดินแดนลานนา แตปจจุบันนิยมสราง “เรือนยอดมณฑปทรง
จอมแห” เลียนแบบปราสาทรัตนโกสินทรที่เปนแรงบันดาลใจแหลงใหมของแผนดินลานนา
ลักษณะการซอนชั้นหลังคาปราสาทแบบประเพณีลานนา และจํานวนชั้นของหลังคาที่ซอนแสดงออกถึง
สถานะทางสังคมของพระศพ หรือศพ มีตั้งแต ๓ ชั้น ๔ ชั้น ๗ ชั้น และ ๙ ชั้น ตามศักดิ์
ลักษณะของชั้นหลังคาปราสาท แบงออกเปน ๓ แบบ คือ
๑. หลังคาลาดซอนกัน
๒. หลังคาลาดในชุดหลังคาชัน้ แรก ชัน้ ตอๆ ไป ลดทอนรูปทรงของหลังคาออกคงเหลือแตชนั้ เชิงกลอนซอนกัน
๓. หลังคาจัตรุ มุขในชุดหลังคาชัน้ แรก ชัน้ ตอๆ ไป ลดทอนรูปทรงของหลังคาออก คงเหลือไวแตชนั้ เชิงกลอน
ซอนกัน
ลักษณะของหลังคาทรงปราสาทประดิษฐานพระศพเจานาย และบรรจุศพครูบามหาเถระ ยังพบเปน
“ธรรมาสนทรงปราสาท หรือปราสาทธรรมาสนหลวง” ซึ่งประดิษฐานในอาคารทางศาสนาสําหรับถายทอดพระธรรม
เทศนาสูศาสนิกชน โดยเชื่อวาพระสงฆสามเณรขึ้นแสดงธรรมบนธรรมาสนเสมือนเปนตัวแทนแหงพระพุทธองค๔๖
ในที่นจี้ ึงเปนมูลเหตุในการสรางธรรมาสนเปนอาคารเรือนยอดทรงปราสาท
นอกจากนี้ยังพบธรรมาสนทรงปราสาทลักษณะเดียวกับรูปแบบที่กลาวมาขางตน เปนศาสนวัตถุที่เจานาย
สรางถวายเพื่อเปนพุทธบูชาในวัดที่ทรงอุปถัมภ และบางหลังเคยใชเปนตางพระศพของเจานายหรือพระเถระเมื่อ

๔๔
อภิธาน สมใจ, อางแลว, หนา ๕๗.
๔๕
นาวาเอก สมภพ ภิรมย ร.น., กุฎาคาร,(กรุงเทพฯ : คณะสถาปตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร, ๒๕๑๓), หนา ๘.
๔๖
ไกรสิน อุนใจจินต, บุษบกธรรมาสนเมืองเชียงใหม, สารนิพนธปริญญาศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาโบราณคดี คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร,
๒๕๒๕, หนา ๑๓.
56

เสร็จพิธจี งึ ผาติกรรมวิมานปราสาทถวายเปนธรรมมาสน เปนเจาภาพผาไตรบังสุกุล และเจาภาพฟนไมจันทร


เชน วัดพระธาตุหริภุญชัย วรมหาวิหาร ๔๗ และวัด ระหวางนัน้ จะมีการประโคมดุริยดนตรีพื้นเมือง และ
พระพุทธบาทตากผา๔๘ เปนตน จุดบอกไฟทุกคืน
สํ า หรั บ พิ ธี ก ารส ง สการเจ า นายล า นนาใน ฟนที่นํามาใชในพิธีเปนทอนไมเนื้อแข็งถาก
ทศวรรษที่ผานมา มี ๒ ทาน๔๙ คือ แมเจาทิพวรรณ ณ เปลือกตากแดดจนแหงแลวทาขมิ้นในวันที่จะนําศพ
เชียงตุง ซึ่งเคยดํารงสถานะเปนมหาเทวีของเจาฟาเชียง ครูบามหาเถระไปประกอบพิธีสงสักการประชุมเพลิงศพ
ตุ ง ซึ่ ง สร า งปราสาทแบบกาบจว า รองรั บ ชั้ น หลั ง คา จะมีพระสงฆสามเณร และศรัทธาประชาชนมารวมกัน
โคงลาด มียอดปราสาท ๕ ยอด และเจาไชยสุริยวงศ ชักลากศพเปนจํานวนมาก โดยเชื่อวาจะไดบุญดุจเดียว
ณ เชียงใหม มีการสรางปราสาทเพื่อสงสักการเชนเดียว บุ ญ ญาบารมี ที่ ค รู ม หาเถระบํ า เพ็ ญ ไว ก  อ นมรณภาพ
กับแมเจาทิพวรรณแตมียอดปราสาท ๓ ยอด กอนจะลากปราสาทศพจะอาราธนาศพไปโดยพระสงฆ
ขั้นตอนพิธีการ ผูมีเสียงไพเราะดวยการอื่อกาพยเสียงเล็ก ลํ่าลาวัด
พิธีถวายเพลิงพระศพเจากษัตริย พระราชวงศ กุฏิ วิหาร ศาลา เสนาสนะตางๆ ที่ครูบานัน้ ผูกพันอยู
และพิธีสงสักการครูบามหาเถระรูปสําคัญ เปนพิธีที่ ตลอดจนลํ่าลาพระภิกษุ สามเณร และศรัทธาประชาชน
สําคัญและยิง่ ใหญ เรียกพิธนี วี้ า “ปอยลากปราสาท” หรือ ผูอุปถัมภวัด
“ปอยลอ”๕๐ คือ การลากปราสาทไปประกอบพิธีถวาย การชักลากปราสาทศพครูบามหาเถระไป
เพลิงพระศพ หรือประชุมเพลิงฌาปนกิจ ณ สถานที่ ประกอบพิธีจะใชเชือกยาว ๒ เสนผูกกับแมเรือ ภายใน
นอกเมืองที่จัดเตรียมไว เชน กลางทุงนาหรือในที่โลง ตัวนกหัสดิลงิ คจะมีสลา หรือชางเขาไปอยูดานในเพือ่ ดึง
กวาง เรียกพิธีนี้วา “สงสการ” หรือ “สงสักการ”๕๑ เชือกใหนกขยับปก หันหัว กะพริบตา แกวงงวงโปรย
สถาปตยกรรมหลักของพิธีนี้ คือ การสราง ขาวตอกดอกไมประหนึง่ นกหัสดิลงิ คนนั้ มีชวี ติ และกําลัง
ปราสาทสูงใหญตั้งบนหลังนกหัสดิลิงคมี “แมเรือ” หรือ บินอยูในอากาศ
“แมสะดึง” รองรับสวนลางสุด ในประเพณีปอยลอ เมื่ อ ถึ ง ยั ง มณฑลที่ ป ระกอบพิ ธี จ ะรอให
หรือพิธีสงสักการในปจจุบัน ใชในพิธีปลงศพครูบามหา ภิกษุ สามเณร และศรัทธาประชาชนที่ชักลากปราสาท
เถระโดยจะประกอบพิธีในชวงหนาแลง ประมาณเดือน พักจนหายเหนื่อย แลวจึงกราบนิมนตพระสงฆในพิธีไป
มกราคม – เมษายน เพราะจะทําพิธีกลางทุงนาจึงตอง พิจารณาผาไตรบังสุกุล พอถึงเวลาประกอบพิธีประชุม
ใหผานพนฤดูกาลเก็บเกี่ยวไปกอน เพลิงศพจะจุด “บอกไฟยิง” หรือ “บอกไฟหลอ” เปน
ในการปลงศพ มี ก ารสร า งสร า งวิ ม าน บองไฟยาวประมาณ ๓๐ เซนติเมตร สวนบอกไฟหลอ
ปราสาทขนาดใหญตงั้ บนหลังนกหัสดิลงิ คกอ นการทําบุญ มักทําเปนรูปสัตวหิมพานตหรือสัตวประจําปนกั ษัตร (ป
ประชุมเพลิงศพ จะมีการจัดตัง้ ศพเพือ่ บําเพ็ญกุศล ๕ - ๗ เพิ่ง) สวนลางสุดมี ๒ ลอ ตั้งหางปราสาทศพประมาณ
วัน จะมีการฟงพระธรรมเทศนา ฟงสวดอภิธรรม และ ๑๐ - ๑๕ เมตร เมื่อจุกฉนวนแลวบอกไฟยิงจะพุงขึ้นสู
เปดโอกาสใหศรัทธาประชาชนมีสวนรวมโดยการรับ ปราสาทก็จะเกิดประกายและลุกขึน้ เปนเปลวไฟ ครัน้ ไฟ

๔๗
สรางขึ้นเพื่อบรรจุศพ “เจาดาราดิเรกรัตนไพโรจน วรโคตรกิตติโสภณวิมลคุณ หริภุญไชยมหาเจดียบูชากร ราษฎรธุระธาดาประดิษฐาธิบดี เจานครลําพูน” ที่
ถึงแกพิราลัยป จ.ศ. ๑๒๕๐ (พ.ศ. ๒๔๑๓) หลังจากที่ปลงศพแลวจึงผาติกรรมปราสาทมาถวายเปนธรรมาสนทรงปราสาท อันเปนธรรมเนียมแตโบราณที่ถือวา
เครื่องใชในพิธีศพของเจานายหลังจากเสร็จพิธี ตองถวายไวกับวัดเพื่อบุญกิริยาวัตถุอุทิศแดเจานายองคนนั้ .
๔๘
สรางขึ้นเพื่อตั้งศพพระสุพรหมยานเถร (ครูบาพรหมา พฺรหฺมจกฺโก) อดีตเจาอาวาส เมื่อป พ.ศ. ๒๕๓๐.
๔๙
พิธีศพเจานายฝายเหนือทั้ง ๒ ทาน อาจารยวิถี พานิชพันธ ภาควิชาศิลปะไทย คณะวิจิตรศิลป มหาวิทยาลัยเชียงใหม เปนผูออกแบบ และกําหนดรูปแบบ
งานตามประเพณีลานนา.
๕๐
มณี พะยอมยงค, ประเพณีสิบสองเดือนลานนาไทย, หนา ๓๖๑.
๕๑
อุดม รุงเรืองศรี, อางแลว, หนา ๗๑๓.
57

ติดแลว ศรัทธาประชาชนจะรอดูผาสังฆาฏิที่ตรึงบนปลายไมไผซางเปนผาพิดาน หากมีไฟไหมเปนรูโหวแสดงวา


ดวงวิญญาณของครูบามหาเถระรูปนัน้ ไปสูสุคติแลว๕๒ และรอใหเศษผาปลิวตกลงมาเพื่อนําไปสักการบูชา
การสรางบอกไฟยิงนัน้ เปนประเพณีที่มีแตโบราณ ดังที่ไดกลาวมาวานิยมสรางเปนรูปสัตวนนั้ มีหลัก
ฐานกลาวถึงการสรางบอกไฟยิงรูปสัตวตาง ๆ ในธัมมมหาชาติเวสสันดรฉบับลานนา กัณฑมัทรี ความวา

“...พี่จักแตงไฟมาแกวแลนตามดิน พองก็พาลอปนบินเร็วแลน ทังไฟดอกและไฟขวี รูปมอมพีตัวใหญ


บอกไฟขางแลนเสียงคราง บอกไฟรูปมาตกหางเตนตาง ไตเชือกขึ้นจับโขง รูปไฟยนตหงสและนกยูงตัวมีปก
บอกไฟรูปกวางปวงจับหลังชาย บอกไฟรูปงัวผายเสียงสง ขึ้นฟอนฟกกันลง ลือทั่วโขงเมืองใหญ
บอกไฟรูปควายชงจับบน บอกไฟรูปแรดโยนปาวเปบ สะทานไควผืนธรณ แกนปูนวอนแกมโศก
แลนผะเผิบเลยกัน แลนปลอมควันหงะหงาด เปนที่เศราโศกสงสาร ดวยประการดั่งนี้แลว
เปนดังสายฟาฟาดธรณี ฝุนธุลีพอมืดคลุม ไฟมาแกวแยกเปนเปลว ควันไฟเขียว ติดซวะซวาด
อากาศกลุมพายบน บอกไฟรูปคนก็วาจักแลน นํ้าแตมหยาดกองหลัว ควันไฟมัวชะโชติ
บอกไฟรูปมาก็จักหิแหนตามเสียง สัททะสําเนียงเสียงเกิดกอง โสลดขึ้นกลางหาว ปานดังดาวอยูยังฟา
นันทั่วทองสากล พายบนหนอากาศ ยามนัน้ กูพี่จักแหงนเหงี่ยงหนาผอเล็งดู ขึ้นพระพรูตกพระพรั่ง
จักหื้อชางผูฉลาดแตงไฟยิง หนใตพี่จักหื้อแตงรูปสิงหไวถา เปนคูหลั่งไหลตาม เปนไฟงามยอยดอก
ขึ้นขี่มายาดยิงบน หนวันตกพี่จักหื้อแตงไฟโยนรูปชาง ปานเขาตอกเตนผะผาย ไฟสะหงายดอกนอย
แลนขึ้นมางกองฟอน หนเหนือจักหื้อแตงทิพยาธรและนางฟา ขวีดอกสรอยแจจน ชะโพกลนลวดแตก
ขึ้นขี่มาอัศดร หัวก็งอนนองก็อา ไฟมาแยกแกวเปนเปลว ควันไฟเขียวติดชอฟา
ดั่งวาจักขึ้นฟาก็บหน แลนขึ้นสะสนสะสาด มานคาอาปานจักบินบน ลมกิดกิวปนเคา
ขึ้นเจาะโขงปราสาทแกว เจาะแลวแลนลงมาบติง ปานดั่งจักยกเอาหอปราสาทเจาเมือบน กระทําการฉันนี้แลว
นางสิงหพอยแลนขึ้น เจาะแตพื้นลายวง จิ่งจักเปนโบราณสงสักการนางพระญามาแตกอน แลนาฯ ....
เจาะแตพื้นขันหงาย ลงลวดยายกาบจวา
ติดชอฟาและปานลม หนวันออกพี่จักแตงไฟเขาประหนมและไฟขาวตอก

ในสังคมปจจุบัน การประชุมเพลิงศพครูบามหา
เถระด ว ยบอกไฟยิง นั้น หมดความนิย มไป เพราะเกรงเป น
อันตรายแกศรัทธามหาชน หันมาใชการจุดดวยฝกแค ที่เรียก
วา “จุดมะผาบ”๕๓ ตอสายไปยังปราสาทศพ
ประเพณีการชักลากปราสาทศพในพิธีสงสักการครูบา
มหาเถระยังมีอยูบ า ง แตกม็ จี าํ นวนไมนอ ยทีต่ งั้ ศพไวบนปราสาท
หลังนกหัสดิลิงค เพื่อรอประกอบพิธีประชุมเพลิง โดยไมไดชัก
ลากไปเชนอดีต เนื่องจากตองการใหพิธีเปนไปอยางเรียบรอย
รวมถึงปจจุบันไมไดปลงศพกลางทุงนาจะประกอบพิธีในวัด
แทน จึงเปนเหตุใหการชักลากปราสาทศพ จึงหมดความนิยมไป

๕๒
สงวน โชติสุขรัตน, ประเพณีไทยภาคเหนือ, (พระนคร : สนิทพันธการพิมพ, ๒๕๑๒), หนา ๒๔๘.
๕๓
เพิ่งอาง, หนา ๒๔๗.
58

มีขอสังเกตประการหนึง่ ในการเคลื่อนศพตามจารีตของชาวลานนา กลาวคือศพเจากษัตริย ศพครูบามหา


เถระ จะเคลื่อนศพโดยการชักลาก สวนศพสามัญชนจะแบกหรือหาม ๔ คน๕๔ แตในปจจุบันสําหรับศพสามัญชนกลับ
มีการชักลากและสรางปราสาท เชนเดียวกับพระเถระชั้นผูใหญ ซึ่งเดิมถือวา “ขีด” ซึ่งสะทอนใหเห็นขบวนการทัศน
ทางสังคมที่เปลี่ยนแปลงไป ดังมีกวีนิพนธกลาวถึงเรื่องนีต้ อนหนึง่ วา

เดี๋ยวนี้ ทุกแหงหน ประชาชน ผูดีไพร


ชักศพ พาครรไล สูปาชา ที่นอกเวียง
ทุกศพ ใสปราสาท งามวิลาศ บลําเอียง
บมี ใครขึ้นเสียง หาวาขีด เชนโบราณ๕๕

การสงสการ หรือการสงสักการ ครูบามหาเถระ เจากษัตริย และเจานายในวัฒนธรรมลานนามีการประดิษฐ


ปราสาทตางศพไวบนตัวสัตวอยางงดงาม และตรงตามอุดมคติของการสรางสัตวพาหนะ เพื่อนําดวงวิญญาณของ
ผูวายชนมไปสวรรค นอกจากนี้ยังแสดง
ถึ ง สถานะอั น สู ง ส ง ของบุ ค คลและการ
แสดงออกทางด า นพิ ธี ก รรมอย า งชั ด เจน
ที่ สุ ด เพื่ อ แทนทิ พ ยวิ ม านบนสรวงสวรรค
เหนือยอดเขาพระสุเมรุราช คือ ดาวดึงส
ณ ศูนยกลางมหาจักรวาล อันแสดงถึง
บุญญาบารมีของบุคคลนั้น วาเปนผูที่มา
สวางและก็ไปสวาง “โชติ โชติ ปรายโน”
ไดชัดแจงที่สุด และการเผาวิมานปราสาท
พรอมกับรูปสัตวพาหนะในฐานะผูนําพาไป
สุคติภพ ในพิธีถวายเพลิงพระศพเจากษัตริย
หรือครูบามหาเถระ แสดงถึงการแยกใหเห็นอยางชัดเจนระหวางชีวิตบนโลกมนุษยกับชีวิตในสุคติภูมิ การเผาศพ
พรอมเครื่องสักการะและเครื่องพิธี เปนสิ่งแสดงการสงชีวิตและจิตวิญญาณ อีกทั้งบริวารทั้งหลายไปสูดินแดนทิพย
สมบัติสุคติภูมิ คือ เมืองแมนแดนสวรรคนนั่ เอง

๕๔
เพิ่งอาง,
หนา ๒๒๗ และหนา ๒๔๔.
๕๕
ไกรศรี นิมมานเหมินท, กาพยเจี้ยจามเทวีวิรังคะ, หนา ๓๑๒.

You might also like