You are on page 1of 9

หลักเศรษฐศาสตร

อ.คมกฤษณ ศิริวงษ
โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา

ความหมายและความสําคัญของเศรษฐศาสตร

เศรษฐศาสตร เปนวิชาที่ศึกษาพฤติกรรมของมนุษยที่เกี่ยวกับการดําเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจ
ของมนุษย เชน การเลือกใชปจจัยการผลิต (ทรัพยากร) ที่มีอยูอยางจํากัด เพื่อกอใหเกิดประโยชนสูงสุด
นอกจากนัน้ ยังศึกษาเกีย่ วกับการกระจายและการแลกเปลีย่ นผลผลิตเพือ่ ใหสงั คมมีความเปนอยูดี ทั้ง
หมดนี้เศรษฐศาสตรอาจจะกลาววา เปนการจัดสรรทรัพยากรที่มีอยูอยางจํากัด เพื่อกอใหเกิดประโยชน
ที่ดีที่สุดของมนุษยและสังคม
ความสําคัญของเศรษฐศาสตร สามารถแยกไดเปน 2 ระดับ ดังนี้
1. ระดับชาติ นั้นเกี่ยวกับการใชทรัพยากรที่มีจํากัดเพื่อกอใหเกิดประโยชนสูงสุด และการที่
ประชาชนในชาติมีการกินดีอยูดีและมีความมั่งคั่ง
2. ระดับบุคคล นั้นเกี่ยวกับการเลือกและตัดสินใจที่จะใชทรัพยากรหรือปจจัยการผลิตใดเพื่อ
บําบัดความความตองการของตนไดดีที่สุดและเหมาะสมที่สุด ทั้งยังกอใหเกิดความเขาใจในเหตุการณ
ตางๆ ที่เกี่ยวกับเศรษฐกิจในชีวิตประจําวันเปนอยางดี
ปญหาพืน้ ฐานทางเศรษฐกิจ การดําเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจทุกระดับ มักจะเกิดปญหาพื้นฐาน
3 ประการ ดังนี้
1. ปญหาวาจะผลิตอะไร (What) จะผลิตสินคาและบริการใด ในปริมาณเทาใด จึงจะพอแก
การบริโภค
2. ปญหาวาจะผลิตอยางไร (How) ในที่นี้เปนการนําปจจัยการผลิตที่มีอยูมาใชผลิต จะผลิต
ดวยวิธีใด จึงจะมีตนทุนในการผลิตตํ่า และไดผลผลิตสูง
3. ปญหาวาจะผลิตเพื่อใคร (For whom) เมื่อผลิตสินคาและบริการขึ้นมาแลวจะสนองความ
ตองการของใคร
วิชาเศรษฐศาสตรสามารถศึกษาได 2 แนว ดังนี้
1. เศรษฐศาสตรจุลภาค (Microeconomics) เปนการศึกษาหนวยยอยของระบบเศรษฐกิจ เชน
พฤติกรรมของผูบริโภค ผูผลิต ตลาดสินคา และตลาดปจจัยการผลิต
2. เศรษฐศาสตรมหภาค (Macroeconomics) เปนการศึกษาหนวยรวมของระบบเศรษฐศาสตร
เชน การผลิตของระบบเศรษฐกิจ การจางงาน การคลัง รายไดประชาชาติ เปนตน

กิจกรรมทางเศรษฐกิจ

ในชีวิตประจําวันมนุษยประกอบกิจกรรมทางเศรษฐกิจ 4 อยาง ไดแก การผลิต การบริโภค


การแบงสัน (การกระจาย) และการแลกเปลี่ยน
การผลิต (Production)
การผลิต คือ การสรางสินคาและบริการเพื่อสนองความตองการของมนุษย โดยมุงใหสินคา
และบริการนั้นเกิดประโยชนในทางเศรษฐกิจอยางใดอยางหนึ่ง
ประโยชนในทางเศรษฐกิจ (อรรถประโยชน : Utility) หมายถึง การทําใหสินคาและบริการ
นั้นๆ มีคุณคามากขึ้นในทางเศรษฐศาสตร แบงประโยชนในทางเศรษฐกิจได 5 ชนิด คือ
1. ประโยชนเกิดจากการเปลี่ยนรูป (Form Utility) เชน การเอาไมซุงมาแปรรูปแลวทําเปน
โตะ หรือเอาดินเหนียวมาปนเปนอิฐ ภาชนะตางๆ เปนตน
2. ประโยชนจากการเปลี่ยนสถานที่ (Place utility) เชน นําไขมุกจากหอยมุกในทะเลขึ้นมาทํา
เครื่องประดับ เปนตน
3. ประโยชนเกิดจากเวลา (Time Utility) เชน สุรายิ่งหมักนานยิ่งมีราคาแพง เปนตน
ประโยชนในขอนี้ รวมถึงการผลิตสินคาออกเปนรายแรกดวย เชน ผงซักฟอก (ตราแฟบ) ผงชูรส (ตรา
อายิโนะโมะโตะ) เปนตน
4. ประโยชนเกิดจากเปลี่ยนโอนกรรมสิทธิ์ (Posession Utility) เชน เสื้อผาจะเปนประโยชนแก
ผูสวมใสมากกวาชางตัดเย็บเสื้อผา
5. ประโยชนเกิดจากการใหบริการ (Service Utility) เชน แพทยใหการรักษาแกผูเจ็บปวย ครู
สอนหนังสือใหศิษย ทนายวาความใหลูกความ เปนตน
การผลิต แบงออกเปน 3 ระดับ คือ
1. การผลิตขั้นตนหรือการผลิตขั้นปฐมภูมิ (Primary Production) เปนการผลิตวัตถุดิบ เชน
การเกษตรกรรม การประมง การปาไม เหมืองแร (ลงทุนตํ่า ลงแรงสูง ผลตอบแทนตํ่า)
2. การผลิตขั้นแปรรูปหรือการผลิตขั้นทุติยภูมิ (Secondary production) เปนการนําวัตถุดิบที่
ผลิตไดมาแปรรูปเปนสินคาสําเร็จรูป เชน อุตสาหกรรมตางๆ (ลงทุนสูง ลงแรงสูง ผลตอบแทนสูง)
3. การผลิตขั้นบริการหรือการผลิตขั้นอุดม (Tertiary Production) เปนการผลิตบริการ เชน
การขนสง การประกันภัย การทองเที่ยว การรักษาพยาบาล (ลงทุนตํ่า ลงแรงตํ่า ผลตอบแทนสูง)

สังคมศึกษา อ.คมกฤษณ ศิริวงษ 2


ปจจัยการผลิต (Factors of Production) ในทางเศรษฐศาสตรมีอยู 4 อยาง คือ
1. ที่ดิน (Land) หมายถึง แหลงผลิต ซึ่งหมายรวมถึงทรัพยากรที่อยูในบริเวณนั้นทั้งหมด
2. ทุน (Capital) หมายถึง สิ่งซึ่งนํามาใชเปนเครื่องมือในการผลิต เชน โรงงาน รถยนต
เครื่องจักร วัว ควาย
3. แรงงาน (Labour) หมายถึง แรงกายและปญญาของมนุษยเทานั้น
4. ผูประกอบการ (Enterperneurship) หรือผูผลิต หมายถึง ผูที่จะนําเอาที่ดิน ทุน และแรงงาน
มากอใหเกิดการผลิต
เมือ่ นําปจจัยการผลิตทัง้ 4 ชนิด มาดําเนินการผลิตจะไดผลตอบแทน (รายได) ในทางเศรษฐศาสตร
กําหนดผลตอบแทนปจจัยการผลิตดังนี้
- ที่ดิน ผลตอบแทนเรียกวา คาเชา (Rent)
- ทุน ผลตอบแทนเรียกวา ดอกเบี้ย (Interest)
- แรง ผลตอบแทนเรียกวา คาจาง (Wage) หรือคาแรง
- ผูประกอบการ ผลตอบแทนเรียกวา กําไร (Profit)
ในการผลิตสินคาและบริการของผูผลิตแตละรายจะผลิตผลผลิตมากหรือนอยเพียงใดนั้น ตอง
คํานึงถึงปจจัยที่ควบคุมปริมาณการผลิต ดังนี้
1. ปริมาณของวัตถุดิบ ที่จะนํามาใชในการผลิตวามีมากนอยเพียงใด
2. ปริมาณความตองการของผูบริโภค ที่ตองการนําผลผลิตไปบริโภค
3. ราคาของผลผลิตออกมาจําหนายในตลาดขณะนั้นสูงหรือตํ่า ทั้ง 3 ปจจัยนี้ถาพิจารณาแลวก็
คือ อุปสงค - อุปทาน นั่นเอง

อุปสงค – อุปทาน
อุปสงค (Demand) หมายถึง ความตองการในสินคาและบริการในระดับราคาหนึ่งๆ กฎของ
อุปสงค (law of Demand) คือ
1. ถาราคาสูง Æ อุปสงคตํ่า (จะทําใหราคาลดลงในที่สุด)
2. ถาราคาตํ่า Æ อุปสงคสูง (จะทําใหราคาสูงขึ้นในที่สุด)
ราคา/กก. (บาท)
D
ราคา / กก. (บาท) อุปสงค / กก
50
10 10
40
20 8 30 DD - เสนอุปสงค
30 6 20
40 4 10
D
50 2 0 ปริมาณสินคา/กก.
2 4 6 8 10

สังคมศึกษา อ.คมกฤษณ ศิริวงษ 3


ตัวการที่ทําใหอุปสงคเปลี่ยนแปลงมีดังนี้
- ราคาของสินคาและบริการ
- ความจําเปนที่จะใชสินคาและบริการนั้น ๆ
- การโฆษณาของผูผลิต
- การศึกษาของผูบริโภค
- สมัยนิยม
- รายไดของผูบริโภค
- ราคาสินคาอื่นที่เกี่ยวของหรือสินคาที่ใชแทนกันได
- การคาดคะเนราคา หรือการเก็งกําไร
- การเพิ่มขึ้นหรือลดลงของจํานวนประชากร
อุปทาน (Supply) หมายถึง ปริมาณของสินคาและบริการในระดับราคาหนึ่ง กฎของอุปทาน
(Law of Supply) คือ
1. ถาราคาสูง Æ อุปทานสูง (จะทําใหราคาลดลงในที่สุด)
2. ถาราคาตํ่า Æ อุปทานตํ่า (จะทําใหราคาสูงขึ้นในที่สุด)
ราคา/กก. (บาท)
ราคา / กก. (บาท) อุปสงค / กก S
50
10 10 40
20 8 30 SS - เสนอุปทาน
30 6 20
40 4 10
S
50 2 0 ปริมาณสินคา/กก.
5 10 15 20 25

ตัวการที่ทําใหอุปทานเปลี่ยนแปลงมีดังนี้
- ราคาของสินคาและบริการ
- ฤดูกาลของผลผลิต
- เทคนิคในการผลิต (อุตสาหกรรมหรือหัตถกรรม)
- ราคาวัตถุดิบ
- ราคาสินคาอื่นที่เกี่ยวของหรือสินคาที่ใชแทนกันได
- การคาดคะเนราคา หรือการเก็งกําไร
- การเพิ่มขึ้นหรือลดลงของจํานวนผูผลิตในตลาด

สังคมศึกษา อ.คมกฤษณ ศิริวงษ 4


• ทฤษฎีของอุปสงค - อุปทาน บางครั้งเรียกวา “กลไกแหงราคา (Price-Machanion)” ได
เพราะอุปสงค - อุปทานนั้นขึ้นอยูกับราคาสินคาและบริการ ในขณะเดียวกันราคาของสินคาและบริการ
ก็ขึ้นอยูกับอุปสงค - อุปทาน
• ประโยชนของอุปสงค - อุปทาน เพื่อใชเปนขอมูลในการกําหนดปริมาณในการผลิตและ
กําหนดราคาจําหนายสินคาและบริการไดอยางถูกตอง
• ราคาดุลยภาพ (Equilibrium Price) คือ ราคาสินคาและบริการที่ผูบริโภคพอใจที่จะซื้อ
และผูผลิตพอใจที่จะขายให
• ปริมาณดุลยภาพ (Equilibrium Ouantity) คือ ปริมาณของสินคาและบริการที่ผูบริโภค
ตองการที่จะซื้อเทากับปริมาณที่ผูผลิตตองการจะขายให

ราคา / กก. อุปสงค / กก อุปทาน / กก. ราคา/กก. (บาท) S


D
(บาท) 30
10 10 50 25
20 8 40 20
15
30 6 30
10
40 4 20 D
ปริมาณ
0 S สินคา/กก.
50 2 10 10 20 30 40 50

• การหาคาดุลยภาพจากตาราง - ในแตละระดับราคาจะมีคาของอุปสงค – อุปทานแตกตาง


กัน ถาราคาใดที่คาของอุปสงคและอุปทานเทากัน ราคานั้นคือ ราคาดุลยภาพ (กก. ละ 20 บาท) และ
คาอุปสงค และอุปทานที่เทากันนั้น คือ ปริมาณดุลยภาพ ( 30 กก.)
• การหาคาดุลยภาพจากรูปกราฟ - สังเกตเสนอุปสงค (DD) และเสนอุปทาน (SS) เสนทั้ง
สองตัดกัน ณ จุดใด ถือวาเปนคาดุลยภาพ คาบนแกนตั้ง ก็คือ ราคาดุลยภาพ (กก. ละ 20 บาท) และคา
บนแกนนอน ก็คือ ปริมาณดุลยภาพ (30 กก.)

การบริโภค
การบริโภค หมายถึง การใชประโยชนจากสินคาและบริการในทางเศรษฐศาสตรนั้น แบงออก
เปน 2 ลักษณะ คือ
- การบริโภคที่สิ้นเปลืองหมดไป (Destruction) หรือการบริโภคไดเพียงครั้งเดียว ไมสามารถ
บริโภคไดอีก เชน อาหาร นํ้ามันเชื้อเพลิง เปนตน

สังคมศึกษา อ.คมกฤษณ ศิริวงษ 5


- การบริโภคทีไ่ มสนิ้ เปลือง (Diminution) คือ การบริโภคทีไ่ ดมากกวาหนึง่ ครัง้ เชน เครือ่ งนุง หม
ของใชตางๆ เปนตน
ปจจัยที่ควบคุมการบริโภค มีอยู 3 ปจจัย ดังนี้
1. สินคาและบริการที่จะบริโภคนั้นมีอยูหรือไม ถาสินคาและบริการนั้นมีอยูก็ไดบริโภค ถา
สินคาและบริการนั้นไมมีก็จะไมไดบริโภค
2. รายไดของผูบริโภค ถารายไดสูงจะไดบริโภคมาก ถารายไดตํ่าจะไดบริโภคนอย หรือไม
ไดบริโภคเลย
3. โอกาสทางสังคมของผูรับการบริโภค (ความรู ความสามารถ) ถาความรูความสามารถนอย
จะไดบริโภคนอย หรือไมไดบริโภค แตถาความรูความสามารถสูงจะไดบริโภคมาก รายไดสูง

การกระจาย, การแบงสัน (Distribution)


การกระจาย คือ การจําหนายจายแจกสินคาและบริการซึ่งเปนผลผลิตไปยังผูบริโภค ตลอดจน
การแบงสรรผลตอบแทนไปยังผูม สี ว นรวมในการผลิต ในทางเศรษฐศาสตรนนั้ แบงออกเปน 2 ประเภท
คือ
1. การกระจายสินคา ไดแก การกระจายปจจัยการผลิต (ที่ดิน ทุน แรงงาน ผูประกอบการ)
และการกระจายผลผลิต (สินคาและบริการ)
2. การกระจายรายได ไดแก การกระจายผลตอบแทนปจจัยการผลิต (คาเชา ดอกเบี้ย คาจาง
กําไร) และการกระจายผลตอบแทนผลผลิต (คาใชจายซื้อสินคาและบริการ)
ในการกระจายนี้มีปจจัยที่ควบคุมการกระจายอยู 3 ประการ คือ สภาพภูมิศาสตร ความรูความ
สามารถของผูรับการกระจาย และอุปสงคและอุปทานในภูมิภาค

การแลกเปลี่ยน (Exchange)
การแลกเปลี่ยน หมายถึง การนําเอาสินคาอยางหนึ่งไปแลกกับอีกอยางหนึ่ง ซึ่งวิวัฒนาการ
ของการแลกเปลี่ยนอยู 3 ระยะ ดังนี้
1. การแลกเปลี่ยนสินคาโดยตรง หรือการคาตางตอบแทน (Barter System) คือการนําเอา
สินคามาแลกเปลี่ยนกัน เชน ขาวสารแลกกับปุย ไขแลกกับเสื้อผาที่ใชแลว เปนตน
2. การแลกเปลี่ยนที่ใชเงินเปนสื่อกลาง (Money System) คือ การแลกเปลี่ยนที่ใชกันในปจจุบัน
3. การแลกเปลี่ยนที่ใชสินเชื่อหรือเครดิต (Credit System) ในกรณีไมมีเงินหรือมีเงินไมพอนั้น
การแลกเปลี่ยนจะตองใชความไววางใจตอกัน คือ สินเชื่อ หรือเครดิต เชน การใชเช็ค บัตรเครดิต แทน
ตัวเงิน หรือระบบเชาซื้อ เปนตน

สังคมศึกษา อ.คมกฤษณ ศิริวงษ 6


การวัดระดับกิจกรรมทางเศรษฐกิจ

การวัดระดับกิจกรรมทางเศรษฐกิจ หมายถึง การประเมินผลการดําเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจ


มาระยะหนึ่ง (มักจะใชเวลา 1 ป) วาการดําเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจนั้นดีหรือไม ถาประสบความ
สําเร็จดีดําเนินการตอไป ถาไมประสบความสําเร็จจะไดนํามาปรับปรุง เพื่อผลภายหนาจะไดประสบ
ความสําเร็จ ในการประเมินผลการดําเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจจะประเมินจาก “รายไดประชาชาติ”
(National Income : NI)
รายไดประชาชาติ (National Income : NI) หมายถึง มูลคารวมของสินคาและบริการขั้น
สุดทายที่ประชาชาติผลิตขึ้นในระยะเวลา 1 ป โดยหักคาเสื่อมราคาของทรัพยากรและภาษีทางออม
รายไดเฉลี่ยตอบุคคล หรือรายไดตอบุคคล (Per Capital Income) หมายถึง คาของรายได
ประชาชาติตอจํานวนประชากร 1 คน ในการคํานวณรายไดตอบุคคลนั้นคํานวณจากสูตรตอไปนี้

รายไดตอบุคคล = รายไดประชาชาติ
จํานวนประชากรในประเทศ
ผลิตภัณฑประชาชาติเบื้องตน (Gross National Product : GNP) หมายถึง มูลคารวมของ
สินคาและบริการขั้นสุดทายที่ประชาชาติผลิตขึ้นในระยะเวลา 1 ป
ผลผลิตที่เปนของคนชาติเดียวกันไมวาจะผลิตในประเทศ หรือตางประเทศสามารถนํามารวม
ไดท้งั หมดเปนคา GNP
ผลิตภัณฑในประเทศเบื้องตน (Gross Domestic Product : GDP) หมายถึง มูลคารวมของ
สินคาและบริการขั้นสุดทายที่ผลิตขึ้นในประเทศในระยะเวลา 1 ป
ผลผลิตที่เกิดจากการผลิตในประเทศทั้งหมดไมวาผูผลิตจะเปนคนชาติเดียวกันหรือคนตางชาติ
นํามารวมกันเปนคา GDP
ในการคํ านวณรายไดประชาชาติสามารถคํ านวณไดจากมูลคาของผลผลิตรวมที่ประชาชาติ
ผลิตขึ้นในระยะเวลา 1 ป รายไดรวมของประชาชาติในระยะเวลา 1 ป และรายจายรวมของประชาชาติ
ในระยะเวลา 1 ป แตการคํานวณนั้นมักจะประสบปญหาตางๆ ดังนี้
1. ขอมูลตางๆ ไมตรงตามความเปนจริง
2. ไมสามารถกําหนดคาเสื่อมราคาของทรัพยากรไดถูกตอง
3. ไมสามารถกําหนดราคาของสินคาคงเหลือได ชวงปดบัญชีสิ้นป
4. สินคาและบริการที่ไมผานตลาดไมสามารถนํามาคํานวณได
5. การเก็บขอมูลซํ้า

สังคมศึกษา อ.คมกฤษณ ศิริวงษ 7


ซึ่งปญหาเหลานี้ทําใหการคํานวณรายไดประชาชาติคลาดเคลื่อน
การหารายไดประชาชาติที่แทจริง (Real National Income) สืบเนื่องมาจากราคาสินคาและ
บริการในระยะเวลาหนึ่งๆ นั้นมีการเปลี่ยนแปลง ดังนั้นการคํานวณรายไดประชาชาติที่รวบรวมไวได
นั้นอาจจะไมถูกตองตามความเปนจริง จึงตองมีการนํามาทําใหมีความถูกตองมากที่สุด โดยใชสูตรดังนี้

รายไดประชาชาติ × ดัชนีราคาปฐาน
รายไดประชาชาติที่แทจริง =
ดัชนีราคาปเดียวกัน

ประโยชนของการศึกษารายไดประชาชาติ
1. ขอมูล GDP จะทําใหทราบระดับการผลิตภายในของประเทศในภาคเศรษฐกิจตางๆ
2. เพื่อนํามาเปรียบเทียบฐานะทางเศรษฐกิจของประเทศกับประเทศตางๆ
3. เพื่อเปรียบเทียบภาวะทางเศรษฐกิจของประเทศในระยะเวลาตางๆ กัน
4. เพื่อเปรียบเทียบมาตรฐานการครองชีพของประชากรวา ไดมาตรฐานหรือไม
5. เพื่อใชเปนขอมูลศึกษาการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจของระบบเศรษฐกิจโดยรวม
6. เพื่อใชเปนขอมูลพื้นฐานในการกําหนดนโยบายทางเศรษฐกิจของประเทศ

ระบบเศรษฐกิจ

ระบบเศรษฐกิจ คือ ลักษณะการดําเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจของแตละสังคม เพื่อบรรลุ


จุดหมายสูงสุดทางเศรษฐกิจ (อยูดี กินดี มั่งคั่ง) สิ่งแวดลอมและปจจัยตางๆ ของแตละสังคมตางกัน จึง
ทําใหลักษณะการดําเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจของแตละสังคมแตกตางกันไป
ระบบเศรษฐกิจในโลกนี้ที่นิยมแพรหลายนั้นแบงตามลัทธินิยม ซึ่งสอดคลองกับลักษณะทาง
การเมืองและการปกครองของประเทศ แบงได 4 ระบบ คือ ระบบทุนนิยม หรือเสรีนิยม ระบบ
คอมมิวนิสต ระบบสังคมนิยม และระบบเศรษฐกิจแบบผสม
แผนภูมิที่แสดงใหเห็นถึงความรับผิดชอบในการดําเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจระหวางรัฐบาล
กับเอกชนในแตละระบบเศรษฐกิจนั้นมีดังนี้
ระบบเศรษฐกิจ ผูรับผิดชอบการดําเนินกิจกรรมฯ
ระบบเศรษฐกิจทุนนิยม หรือเสรีนิยม เอกชน
ระบบเศรษฐกิจคอมมิวนิสต รัฐบาล
ระบบเศรษฐกิจสังคมนิยม รัฐบาล > เอกชน
ระบบเศรษฐกิจแบบผสม เอกชน + รัฐบาล

สังคมศึกษา อ.คมกฤษณ ศิริวงษ 8


ลักษณะเดนตางๆ ขอดีและขอเสียของระบบเศรษฐกิจตาง ๆ
ระบบคอมมิวนิสต ระบบสังคมนิยม ระบบเศรษฐกิจนิยม ระบบทุนนิยม/ เสรีนิยม
ลักษณะเดน ลักษณะเดน ลักษณะเดน ลักษณะเดน
- รัฐบาลเปนเจาของปจจัยการ - รัฐบาลเปนเจาของปจจัยการ - ระบบทุนนิยมกับสังคม - เอกชนเปนผูดําเนินกิจกรรม
ผลิตอยางสิ้นเชิง ผลิตที่สําคัญ - กิจกรรมทางเศรษฐกิจสวน ทางเศรษฐกิจ
- รัฐบาลเปนผูทํากิจกรรมทาง - รัฐบาลทํากิจกรรมทาง ใหญเปนของเอกชนเหมือน - เอกชนเปนเจาของปจจัยการ
เศรษฐกิจทั้งสิ้น เศรษฐกิจที่มีขนาดใหญ ทุนนิยม ผลิต โดยมีกฎหมายรับรอง
- เอกชนไมมีสิทธิทํากิจกรรม รายไดสูง เกี่ยวของกับ - รัฐบาลเขามาทําธุรกิจเพื่อ - มีการแขงขันทางดาน
เศรษฐกิจใดๆ ประชาชนมากๆ คุมครองผลประโยชนใหแก คุณภาพ ประสิทธิภาพ ราคา
ขอดี - เอกชนมีสิทธิทําธุรกิจตางๆ ประชาชน และการบริการ โดยมีกําไร
- เอกชนไมตองรับผิดชอบทาง ที่รัฐบาลไมทํา (ธุรกิจขนาด - ปญหาทางเศรษฐกิจไดรับการ เปนแรงจูงใจ
ดานเศรษฐกิจ เล็ก) แกไขจากรัฐบาลและเอกชน - ราคาสินคาถูกกําหนดโดย
- ทรัพยากรถูกควบคุมการใช - รัฐบาลจัดสวัสดิการใหแก - รัฐบาลจัดสวัสดิการใหแก กลไกแหงราคา (อุปสงค -
จากรัฐทําใหไมถูกทําลาย ประชาชน ประชาชน อุปทาน)
ขอเสีย ขอดี ขอดี ขอดี
- ประชาชนไมมีสิทธิเสรีภาพ - การกระจายรายไดดี เพราะ - ประชาชนมีเสรีภาพทาง - เอกชนมีเสรีภาพทาง
ทางเศรษฐกิจ (รัฐบาลทําทั้ง รายไดสวนใหญเปนของรัฐ เศรษฐกิจ เศรษฐกิจ
หมด) ประชาชนจะมีรายไดไม - สินคาและบริการมีมาก - สินคาและบริการมีมาก
- สินคาและบริการมีนอยและ แตกตางกันมาก คุณภาพดีและราคาเยา คุณภาพดี ราคาเยา
ดอยคุณภาพ เพราะไมมีการ - ประชาชนไดรับการ - ประชาชนไดรบั การคุม ครอง - รัฐไมตอ งจัดสรรงบประมาณ
แขงขัน คุมครองผลประโยชนจาก ผลประโยชนจากรัฐบาลใน มาทําธุรกิจ
- ผลผลิตตํ่า เพราะประชาชน รัฐในรูปของสวัสดิการและ รูปของสวัสดิการธุรกิจที่ ขอเสีย
ไมมีขวัญและกําลังใจในการ สินคาและบริการที่รัฐทํา จําเปนแกการครองชีพ - การกระจายรายไดไมดี
ทําธุรกิจ ขอเสีย - เอกชนมีกําลังใจในการทํา เพราะรายไดสวนใหญตก
- เอกชนถูกจํากัดสิทธิ ธุรกิจ เพราะมีกําไรเปน แกนายทุน
เสรีภาพบางสวน แรงจูงใจ - ประชาชนอาจมีปญหาจาก
- รัฐบาลตองจัดสรร ขอเสีย ราคาสินคาขาดแคลน
งบประมาณมาทําธุรกิจ - รัฐบาลตองจัดสรร เนื่องจากนายทุนรวมตัวกัน
และมักจะขาดทุน กิจกรรม งบประมาณมาทําธุรกิจ มักจะ - การใชทรัพยากรฟุมเฟอย
ตางๆ มีคุณภาพตํ่า ขาดทุน

ระบบเศรษฐกิจแบบผสม (Mixed Economics System) เปนระบบที่ไดรับความนิยมแพรหลาย แลtไทย


ก็ใชระบบนี้

สังคมศึกษา อ.คมกฤษณ ศิริวงษ 9

You might also like