You are on page 1of 4

การพัฒนาเศรษฐกิจ และ

เศรษฐกิจระหวางประเทศ

อ.คมกฤษณ ศิริวงษ
โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา

เศรษฐกิจระหวางประเทศ

เศรษฐกิจระหวางประเทศ หมายถึง ความสัมพันธระหวางประเทศทางดานเศรษฐกิจ ซึ่งมี


ความสัมพันธกันอยู 3 เรื่อง คือ การคาระหวางประเทศ การเงินระหวางประเทศ และการรวมมือ
ทางเศรษฐกิจระหวางประเทศ

การคาระหวางประเทศ
การคาระหวางประเทศ หมายถึง การนําสินคาและบริการจากประเทศหนึ่งไปแลกเปลี่ยน
กับอีกประเทศหนึ่ง ซึ่งลักษณะการแลกเปลี่ยนมีทั้งที่เปนการแลกเปลี่ยนสินคากับสินคา การแลก
เปลี่ยนโดยใชเงินเปนสือ่ กลาง และการแลกเปลีย่ นโดยใหสนิ เชือ่ หรือเครดิต การคาระหวางประเทศ
นัน้ เกิดขึน้ เนื่องจากการที่ประเทศตางๆ มีลักษณะทางกายภาพและทรัพยากรที่มีความสามารถใน
การผลิตแตกตางกันนั่นเอง ในการคาระหวางประเทศนั้นจะมีสินคาอยู 2 ชนิด คือ สินคาเขา
(Import) คือ สินคาที่นํามาจากตางประเทศเพือ่ เขามาจําหนาย และสินคาออก (Export) คือ สินคาทีส่ ง
ออกไปจําหนายตางประเทศ
การคาระหวางประเทศกอใหเกิดประโยชนทางเศรษฐกิจ ดังนี้
1. ประเทศตางๆ มีสินคาครบตามความตองการ
2. ประเทศตางๆ จะมีการผลิตสินคาแบบการคา หรือมีเศรษฐกิจแบบการคา
3. การผลิตสินคาในประเทศตางๆ จะมีการแขงขันกันทางดานคุณภาพและประสิทธิภาพ
4. กอใหเกิดความรูความชํานาญเฉพาะอยาง แบงงานทําตามความถนัด
นโยบายการคาระหวางประเทศ (Trade Policy) หมายถึง แนวทางปฏิบัติทางการคา กับ
ประเทศตางๆ มักจะกําหนดขึ้นใชเพื่อรักษาไวซึ่งประโยชนทางเศรษฐกิจของประเทศ นโยบาย
การคา ระหวางประเทศแบงออกเปน 2 ประเภท คือ นโยบายการคาเสรี และนโยบายการคาคุมกัน
1. นโยบายการคาโดยเสรี (Free Trade Policy) เปนนโยบายการคาที่เปดโอกาสใหมีการ
สงสินคาจากประเทศหนึ่งไปอีกประเทศหนึ่ง ไมมีการกีดกันใดๆ ทางการคา ประเทศที่ใชนโยบาย
นี้มักจะใชวิธีการดังนี้
? ไมมีการเก็บภาษีคุมกัน เชน ไมมีการตั้งกําแพงภาษีสินคาขาเขา หรือไมมีการเก็บคา
พรีเมียม เปนตน
? ไมใหสิทธิพิเศษทางการคาแกประเทศหนึ่งประเทศใด
? ไมมีขอจํากัดทางการคาใดๆ เชน ไมมีการกําหนดโควตาสินคา เปนตน
? เลือกผลิตเฉพาะสินคาที่ถนัด ซึ่งทําใหทุนการผลิตตํ่า สินคามีคุณภาพ
2. นโยบายการคาคุมกัน (Protective Trade Policy) เปนนโยบายการคาที่จํากัดการนําสิน
คาเขามาแขงขันกับการผลิตในประเทศ นโยบายนี้มีวัตถุประสงคเพื่อคุมครองการผลิตภายใน
ประเทศใหสามารถดําเนินการได ประเทศใดที่ใชนโยบายนี้มักจะมีเครื่องมือในการคุมกัน คือ การ
ตั้งกําแพงภาษี การกําหนดโควตาสินคา การหามเขาหรือสงออกของสินคาบางอยาง การควบคุมการ
แลกเปลีย่ นเงินตรา และใหเงินอุดหนุน
ปริมาณการคาระหวางประเทศและดุลการคาระหวางประเทศ ปริมาณการคาระหวาง
ประเทศ คือ มูลคารวมของสินคาเขาและสินคาออกในระยะเวลา 1 ป สวนดุลการคาระหวาง
ประเทศ หมายถึง การเปรียบเทียบระหวางมูลคาของสินคาเขากับมูลคาของสินคาออก เมือ่ เปรียบเทียบ
แลวจะมีอยู 3 ลักษณะ ดังนี้
1. ดุลการคาเกินดุล คือ มูลคาของสินคาออกสูงกวามูลคาของสินคาเขา (ไดเปรียบดุลการ
คา)
2. ดุลการคาขาดดุล คือ มูลคาของสินคาออกตํ่ากวามูลคาของสินคาเขา (เสียเปรียบดุลการ
คา)
3. ดุลการคาไดดุล (สมดุล) คือ มูลคาของสินคาออกเทากับมูลคาของสินคาเขา
ในการศึกษาปริมาณการคาระหวางประเทศ และดุลการคาระหวางประเทศจะตองศึกษา
จากมูลคาของสินคาเขาและมูลคาของสินคาออก
สรุปลักษณะการคาตางประเทศของไทย
1. ใชนโยบายการคาคุมกัน เพื่อคุมครองการผลิตในประเทศโดยมีมาตรการที่สําคัญ เชน
การตั้งกําแพงภาษีสินคาเขา การกําหนดโควตาสินคานําเขา และการใหเงินอุดหนุนการผลิตหรือสง
ออก เปนตน
2 ใหเอกชนมีบทบาทในทางการคามากที่สุด โดยรัฐจะเปนผูอํานวยความสะดวกให แต
บางครั้งรัฐบาลก็อาจทําการคากับตางประเทศโดยตรงบาง
3. ใชระบบภาษีศุลกากรพิกัดอัตราเดียว คือ สินคาเขาเปนชนิดเดียวกัน ไมวาจะสงมาจาก
ประเทศใดก็ตาม จะเก็บภาษีศุลกากรในอัตราเดียวกัน

การเงินระหวางประเทศ

การเงินระหวางประเทศ เปนการแสดงความสัมพันธทางดานการเงินระหวางประเทศหนึ่ง
กับอีกประเทศหนึ่ง ซึ่งความสัมพันธนี้สืบเนื่องมาจากการคาขายระหวางประเทศ การกูยืมเงินและ
การชําระหนี้ การลงทุนระหวางประเทศและการชวยเหลือกันระหวางประเทศ
การแลกเปลี่ยนเงินตราตางประเทศ คือ การนําเงินตราสกุลหนึ่งไปแลกเปลี่ยนกับอีกสกุล
หนึ่ง การแลกเปลี่ยนเงินตราเปนสิ่งที่สําคัญในการดําเนินธุรกิจระหวางประเทศ การแลกเปลี่ยน
เงินตราตางประเทศที่ถูกตองนั้นตองแลกที่ธนาคารพาณิชยซึ่งมีการกําหนดอัตราแลกเปลี่ยนไว 2
อยาง คือ อัตราซึ้อ (Buying) คือ อัตราที่ธนาคารรับซื้อ (ราคาตํ่า) และอัตราขาย (Selling) คือ
อัตราที่ธนาคารขายไป (ราคาสูง) ซึ่งอัตราแลกเปลี่ยนทั้ง 2 ประเภท ธนาคารกลางเปนผูกําหนด
โดยเทียบคาเงินของตนกับทองคํา หรือ เงินตราสกุลอื่นๆ ภายใตเงื่อนไขที่กองทุนการเงินระหวาง
ประเทศกําหนด
ปจจุบันประเทศไทยกําหนดการแลกเปลี่ยนเงินตราระหวางประเทศ เปนแบบ "ลอยตัว"
จะใชอุปสงคและอุปทานของเงินตราเปนตัวกําหนดอัตราแลกเปลี่ยนซึ่งขึ้นอยูกับสถาบันการเงินที่
ทําการ แลกเปลี่ยนเงินตรา
ดุลการชําระเงินระหวางประเทศ (Balance of Payment) หมายถึง รายงานทีแ่ สดงถึงยอด
รายไดและรายจายที่ประเทศไดรับหรือจายใหแกตางประเทศในระยะเวลา 1ป บัญชีตางๆ ที่ใชแสดง
รายงานดุลการชําระเงินระหวางประเทศมีอยู 3 บัญชี คือ
1. บัญชีเดินสะพัด เปนบัญชีแสดงรายรับและรายจายเกี่ยวกับสินคาเขาและสินคาออก
หรือ ดุลการคารวมทั้งดุลบริการ และดุลบริจาค
2. บัญชีทุนเคลื่อนยาย เปนบัญชีที่แสดงเกี่ยวกับการนําเงินทุนไปลงทุนระหวางประเทศ
3. บัญชีทุนสํารองระหวางประเทศ เปนบัญชีที่แสดงการเปลี่ยนแปลงของจํานวนเงิน
สํารองระหวางประเทศในแตละป
ลักษณะของดุลการชําระเงินระหวางประเทศ แบงออกเปน 3 ลักษณะ คือ
1.) ดุลการชําระเงินเกินดุล คือ รายรับสูงกวารายจาย (ทําใหเงินทุนสํารองฯ เพิ่มขึ้น)
2.) ดุลการชําระเงินขาดดุล คือ รายรับตํ่ากวารายจาย (ทําใหเงินทุนสํารองฯ ลดลง)
3.) ดุลการชําระเงินไดดุล (สมดุล) คือ รายรับเทากับรายจาย
องคกรทางเศรษฐกิจระหวางประเทศ

กองทุนการเงินระหวางประเทศ ( International Monetary Fund : IMF ) เปนของ


สหประชาชาติ สํานักงานอยูที่กรุงนิวยอรก สหรัฐอเมริกา ตั้งขึ้นมาเพื่อรวมมือกันในดานการเงิน
ระหวางประเทศ รักษาเสถียรภาพของการแลกเปลี่ยนเงินตราระหวางประเทศ ดูแลใหคําแนะนํา
และเสนอความชวยเหลือเพื่อแกปญหาการขาดดุลการชําระเงินแกประเทศสมาชิกหรือประเทศที่
ประสบปญหาหนี้ตางประเทศ
ธนาคารโลก (World Bank) เปนของสหประชาชาติ สํานักงานตั้งอยูที่วอชิงตัน ดี.ซี.
สหรัฐอเมริกา ตั้งขึ้นมาเพื่อระดมเงินฝากจากสมาชิก และใหสมาชิกกูยืมไปใชในการพัฒนาทาง
ดานเศรษฐกิจตามโครงตางๆ โดยอัตราดอกเบี้ยตํ่า และระยะเวลาการชําระหนี้ยาวนาน
สหภาพยุโรป ( European Union : EU ) มีสมาชิก 15 ประเทศ คือ เบลเยียม เนเธอร
แลนด ลักเซมเบอรก ฝรั่งเศส อิตาลี กรีซ เยอรมนี อังกฤษ เดนมารก สเปน โปรตุเกส ออส
เตรีย สวีเดน และฟนแลนด องคกรนี้รวมมือกันเพื่อลดการกีดกันทางการคา การบริการ และการ
ลงทุน โดยการใชเงินสกุลเดียวกัน การเปนยุโรปตลาดเดียว และการเปนเขตการคาเสรี
สมาคมประชาชาติเอเชียตะวันออกเฉียงใต หรือสมาคมอาเซียน (Association of South
East Asia Nations : ASEAN ) มีสมาชิก 10 ประเทศ คือ ไทย มาเลเซีย สิงคโปร ฟลิปปนส
อินโดนีเซีย เวียดนาม ลาว พมา บรูไน และกัมพูชา จุดประสงคของอาเซียนตั้งขึ้นเพื่อสงเสริม
ความรวมมือทางดานเศรษฐกิจ วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี สังคมและวัฒนธรรม ในหมูสมาชิก

You might also like