You are on page 1of 55

หนวยการเรียนรูที่ 2

ระบบจํานวนเต็ม

มาตรฐานการเรียนรู ผลการเรียนรูท ี่คาดหวัง


มาตรฐาน ค 1.1 : ขอ 1 1. ระบุหรือยกตัวอยางจํานวนเต็มบวก
มาตรฐาน ค 1.2 : ขอ 1, 3 และ 4 จํานวนเต็มลบ และศูนยได
มาตรฐาน ค 1.4 : ขอ 1 2. เปรียบเทียบจํานวนเต็มได
มาตรฐาน ค 6.1 : ขอ 1 และ ขอ 2 3. บวก ลบ คูณ และหารจํานวนเต็มได
มาตรฐาน ค 6.2 : ขอ 1 4. อธิบายผลที่เกิดขึ้นจากการบวก การลบ
มาตรฐาน ค 6.3 : ขอ 1 การคูณและการหารจํานวนเต็ม พรอม
มาตรฐาน ค 6.4 : ขอ 1 และ ขอ 2 ทั้งบอกความสัมพันธของการ
มาตรฐาน ค 6.5 : ขอ 1 ดําเนินการได
5. ตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของ
คําตอบที่ได

สาระการเรียนรู
2.1 จํานวนเต็ม (2 ชั่วโมง)
2.2 การเปรียบเทียบจํานวนเต็ม (2 ชั่วโมง)
2.3 สมบัติของจํานวนเต็ม (3 ชั่วโมง)
2.4 การบวก การลบ การคูณ และการหาร
จํานวนเต็ม (10 ชั่วโมง)

พรอมหรือยัง ? ถาพรอมแลว ก็เริม่ เรียนแลวนะครับ

35
36 สื่อเสริมสาระการเรียนรู คณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1
MATH

Series
2.1 จํานวนเต็ม

จุดประสงคการเรียนรู
ดานความรู : นักเรียนสามารถ
1. ระบุหรือยกตัวอยางจํานวนเต็มบวก จํานวนเต็มลบ และศูนยได
2. ระบุจํานวนตามเงื่อนไขที่กําหนดได
ดานทักษะ / กระบวนการ : นักเรียนมีความสามารถใน
1. การระบุหรือยกตัวอยาง และอธิบายลักษณะของจํานวนเต็มบวก
จํานวนเต็มลบ และศูนยได
2. การคิดคํานวณ
3. การแกปญหา
4. การใหเหตุผล
5. การสื่อสาร การสื่อความหมาย และการนําเสนอ
6. การเชื่อมโยงกับศาสตรอื่น ๆ ได
7. ความคิดริเริ่มสรางสรรค
ดานคุณลักษณะ : ปลูกฝงใหนักเรียน
1. มีความรับผิดชอบ
2. มีความสนใจใฝรู
3. มีความรอบคอบ มีระเบียบวินัย
4. มีความเชื่อมั่นในตนเอง
5. มีวิจารณญาณและทํางานอยางเปนระบบ
6. ตระหนักในคุณคา และมีเจตคติที่ดีตอวิชาคณิตศาสตร

ครูครรชิต แซโฮ โรงเรียนจันทรประภัสสรอนุสรณ สพท.ยะลา เขต 3


หนวยการเรียนรูที่ 2 ระบบจํานวนเต็ม 37

จํานวนเต็ม (Integer)
หนวยการเรียนรูที่ผานมา นักเรียนไดรูจักจํานวนนับแลว หรือเรียกจํานวนนับอีกอยางหนึ่งวา
จํานวนเต็มบวก ซึ่งไดแก 1, 2, 3, 4, 5, . . .
พิจารณาเสนจํานวนตอไปนี้

-4 -3 -2 -1 0 1 2 3 4

จะพบวาจํานวนที่อยูบนเสนจํานวนแบงออกเปน …… กลุม คือ ……………………………


…………………………………………………………………………………………………………

แผนผังแสดงความสัมพันธของ
จํานวนเต็ม ซึ่งประกอบดวย จํานวนเต็มบวก ศูนย และจํานวนเต็มลบ

จํานวนเต็ม

จํานวนเต็มลบ ศูนย จํานวนเต็มบวก


(Negative integer) (Zero) (Positive integer)

จากแผนภาพขางตน จะไดวา จํานวนเต็มประกอบดวย


จํานวนเต็มบวก ไดแก 1, 2, 3, 4, 5, …
ศูนย ไดแก 0
จํานวนเต็มลบ ไดแก -1, -2, -3, -4, -5, …
ดังนั้นเมื่อกลาวถึง จํานวนเต็ม จะหมายถึง จํานวนเต็มบวก หรือศูนย หรือจํานวนเต็มลบ ซึ่ง
เขียนแสดงจํานวนเต็มทั้งหมดโดยใชเสนจํานวน (Number line) ดังนี้

-5 -4 -3 -2 -1 0 1 2 3 4 5

รูหรือไม
จํานวนเต็มที่นอยที่สุดที่สามารถเขียนไดโดยใชตัวเลขสองตัว
(หามใชเลข 0 มากกวาหนึ่งตัว)

ครูครรชิต แซโฮ โรงเรียนจันทรประภัสสรอนุสรณ สพท.ยะลา เขต 3


38 สื่อเสริมสาระการเรียนรู คณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1

กิจกรรมที่ 2.1 : ทักษะการใหเหตุผล สื่อความหมาย และการนําเสนอ


1. จงเติมเครื่องหมาย / ลงในชองวางตอไปนี้ใหถูกตอง พรองทั้งบอกชนิดของจํานวนเต็มดวย
จํานวนเต็ม ชนิดของจํานวนเต็ม
จํานวน
เปน ไมเปน (จํานวนเต็มบวก ศูนย และจํานวนเต็มลบ)
1) 0
2) 300
3) -56
4) -6.8
5) - 402
6) - 35
6
1,000
7) 20
13
8) 190
9) -201.0101...
10) - 1080
9
2. จงเลือกจํานวนเต็มบวก จํานวนเต็มลบ จากจํานวนในแตละขอตอไปนี้
จํานวน จํานวนเต็มบวก จํานวนเต็มลบ
1) -4, -3, 0, 0.5, 1, 5
2) 1 1 3 40
10 , -1, - 10 , 3, - 10 , 4
3) 2, -0.5, 3, - 13 , -4, 14
4) -3, -2, -1, 0, 1, 2
5) -27, -7, 13, 993 , 53
6) 68, - 132 500
11 , -0.104, 5 , -101
7) 192, 30.5, - 753 , - 10.42 , 201
8) - 104 2,000
4 , 100 , 709, -1,010, -2,001
9) -3, 7, 31, -1, 5, -2, 0
10) -6, 9, -10, 29, -17, - 95

ครูครรชิต แซโฮ โรงเรียนจันทรประภัสสรอนุสรณ สพท.ยะลา เขต 3


หนวยการเรียนรูที่ 2 ระบบจํานวนเต็ม 39

จํานวนเต็มลบ
จากการพยากรณอากาศแสดงอุณหภูมิของอากาศในประเทศยุโรปในเดือนมกราคมของป
หนึ่งพบวา
อุณหภูมิของประเทศเดนมารก -25 ๐F
อุณหภูมิของประเทศสวิตเซอรแลนด -20 ๐F
อุณหภูมิของประเทศฝรั่งเศส -18 ๐F
อุณหภูมิของประเทศอังกฤษ -15 ๐F
นักเรียนจะพบวา -25, -20, -18 และ -15 เปนจํานวนเต็มที่มีเครื่องมหายลบอยูขางหนา
นักเรียนเขาใจความหมายของจํานวนเหลานี้หรือไม ? ………………………………………
จงพิจารณาเสนจํานวนตอไปนี้
5–8
5–7
5–6
5–5
5–4
5–3
5–2
5–1

-5 -4 -3 -2 -1 0 1 2 3 4 5

จากเสนจํานวนจะเห็นผลตางของจํานวนสองจํานวน ดังนี้
5–1=4 5–5=0
5–2=3 5 – 6 = -1
5–3=2 5 – 7 = -2
5–4=1 5 – 8 = -3
เรียกจํานวน -1, -2, -3 วา จํานวนเต็มลบ
-1 อานวา ลบหนึ่ง
-2 อานวา ลบสอง
-3 อานวา ลบสาม

ครูครรชิต แซโฮ โรงเรียนจันทรประภัสสรอนุสรณ สพท.ยะลา เขต 3


40 สื่อเสริมสาระการเรียนรู คณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1

นักเรียนจะสังเกตเห็นวา
เมื่ อตั วตั้ง น อยกว า ตั วลบ ผลลัพ ธที่ไ ดจะเปน จํานวนลบเสมอ และเมื่อตัวลบเพิ่มขึ้น
คําตอบที่ไดจะมีคาลดลงเรื่อย ๆ เรียกวา จํานวนลบ หรือจํานวนเต็มลบ

ตัวอยางที่ 1 จงเขียนจํานวนสี่จํานวน โดยกําหนดเงื่อนไขดังตอไปนี้


1) ตอจาก -3 โดยเพิ่มทีละ 2
2) ตอจาก -7 โดยลดทีละ 3
วิธีทํา 1) พิจารณาเสนจํานวน

-3 -2 -1 0 1 2 3 4 5
จํานวนที่ตองการคือ -1, 1, 3, 2
2) พิจารณาเสนจํานวน

-22 -20 -18 -16 -14 -12 -10 -8 -6


จํานวนที่ตองการคือ -10, -13, -16, -19
ตัวอยางที่ 2 จงบอกเงื่อนไขและเขียนจํานวนหาจํานวนตามเงื่อนไขของจํานวนที่กําหนดไวใน
แตละขอ
1) 5, 2, -1, . . .
2) -1, -3, -5, . . .
3) 0, -6, -12, . . .
4) -10, -6, -2, . . .
วิธีทํา 1) ลดทีละ 3 และจํานวนที่ตองการคือ -4, -7, -10, -13, -16
2) ลดทีละ 2 และจํานวนที่ตองการคือ -7, -9, -11, -13, -15
3) ลดทีละ 6 และจํานวนที่ตองการคือ -18, -24, -30, -36, -42
4) เพิ่มทีละ 4 และจํานวนที่ตองการคือ 2, 6, 10, 14, 18

ครูครรชิต แซโฮ โรงเรียนจันทรประภัสสรอนุสรณ สพท.ยะลา เขต 3


หนวยการเรียนรูที่ 2 ระบบจํานวนเต็ม 41

กิจกรรมที่ 2.2 : ทักษะการใหเหตุผล สื่อความหมาย และการนําเสนอ


1. จงเติมจํานวนเต็มในรูปแบบเดียวกันสามจํานวนตามลําดับตอจากจํานวนทีกําหนดให
จํานวนเต็ม เพิ่มทีละ ลดทีละ คําตอบที่ตองการ
1) -2, -4, -6, … - 2
2) -1, -3, -5, … - 2
3) -2, 0, 2, … 2 -
4) -3, -6, -9, … - 3
5) -4, -1, 2, … 3 -
6) -2, -7, -12, … - 5
7) -6, -5, -4, … 1 -
8) 5, 1, -3, … - 4
9) 6, 2, -2, … - 4
10) 1, -4, -9 - 5
2. จงตอบคําถามตอไปนี้
1) จงเขียนจํานวนหาจํานวน ตอจาก 0 โดยลดทีละ 3
………………………………………………………………………………………...
2) จงเขียนจํานวนหาจํานวน ตอจาก -1 โดยลดทีละ 2
………………………………………………………………………………………...
3) จงเขียนจํานวนหาจํานวน ตอจาก -15 โดยเพิ่มทีละ 3
………………………………………………………………………………………...
4) จงเขียนจํานวนหกจํานวน ตอจาก -6 โดยเพิ่มทีละ 4
………………………………………………………………………………………...
3. จงเขียนจํานวนสี่จํานวน ที่นับตอจากจํานวนที่กําหนดใหตอไปนี้ โดยพิจารณาตามเงื่อนไขที่
กําหนด
1) 0, -3, -6 2) 5, 2, -1, -4
………………………………………………………………………………………...
3) -10, -30, -50 4) 60, 20, -20, -60
………………………………………………………………………………………...
5) 100, 50, 0, -50 6) 742, 640, 538, 436
………………………………………………………………………………………...

ครูครรชิต แซโฮ โรงเรียนจันทรประภัสสรอนุสรณ สพท.ยะลา เขต 3


42 สื่อเสริมสาระการเรียนรู คณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1
MATH

Series

2.2 การเปรียบเทียบจํานวนเต็
นวน ม

จุดประสงคการเรียนรู
ดานความรู : นักเรียนสามารถ
1. เปรียบเทียบจํานวนเต็มไดถูกตอง
ดานทักษะ / กระบวนการ : นักเรียนมีความสามารถใน
1. การอธิบายเกี่ยวกับการเปรียบเทียบจํานวนเต็มได
2. การแกปญหา
3. การใหเหตุผล
4. การสื่อสาร การสื่อความหมาย และการนําเสนอ
5. การเชื่อมโยงกับศาสตรอื่น ๆ ได
6. ความคิดริเริ่มสรางสรรค
ดานคุณลักษณะ : ปลูกฝงใหนักเรียน
1. มีความรับผิดชอบ
2. มีความสนใจใฝรู
3. มีความรอบคอบ มีระเบียบวินัย
4. มีความเชื่อมั่นในตนเอง
5. มีวิจารณญาณและทํางานอยางเปนระบบ
6. ตระหนักในคุณคา และมีเจตคติที่ดีตอวิชาคณิตศาสตร

ครูครรชิต แซโฮ โรงเรียนจันทรประภัสสรอนุสรณ สพท.ยะลา เขต 3


หนวยการเรียนรูที่ 2 ระบบจํานวนเต็ม 43

การเปรียบเทียบจํานวนเต็ม
นักเรียนพิจารณาจํานวนบนเสนจํานวนและสังเกตจํานวนที่แตกตางกันบนเสนจํานวน

-4 -3 -2 -1 0 1 2 3 4
1) จํานวนที่อยูทางขวามือของศูนยแตกตางกับจํานวนที่อยูทางซายมืออยางไร
…………………………………………………………………………………………...
2) ถานําจํานวนบนเสนจํานวนมาเขียนเรียงลําดับจากซาย (-4) ไปขวา (4) จํานวนเพิ่มขึ้น
หรือลดลงอยางไร
…………………………………………………………………………………………...

สรุปลักษณะของจํานวนบนเสนจํานวน ดังนี้
จํา นวนที่ อยู ท างขวามื อ จะมากกว า จํ า นวนเต็ มที่ อ ยูท างซ า ยมือ เสมอ ดั ง นั้น บนเส น
จํานวน จํานวนเต็มลบที่อยูทางขวามือจะมากกวาจํานวนเต็มลบที่อยูทางซายมือ หรือจํานวนเต็ม
ลบที่อยูทางซายมือบนเสนจํานวนจะนอยกวาจํานวนเต็มลบที่อยูทางขวามือบนเสนจํานวน

ตัวอยางที่ 1 จงเติมคําตอบลงในชองวางตอไปนี้ใหถูกตอง
1) 5 มากกวา 3 ใชสัญลักษณ ..........5.>.3............
2) -6 นอยกวา -5 ใชสัญลักษณ ..........-6.<.-5..........
3) -1 .............. 0 ใชสัญลักษณ ...............................
4) -80 .............. -40 ใชสัญลักษณ ...............................
5) -100 .............. -60 ใชสัญลักษณ ...............................
6) -1 .............. -7 ใชสัญลักษณ ...............................
7) 2 .............. -2 ใชสัญลักษณ ...............................
8) -3,000 .............. -280 ใชสัญลักษณ ...............................
9) -20 .............. -200 ใชสัญลักษณ ...............................
10) -150 .............. -160 ใชสัญลักษณ ...............................

ครูครรชิต แซโฮ โรงเรียนจันทรประภัสสรอนุสรณ สพท.ยะลา เขต 3


44 สื่อเสริมสาระการเรียนรู คณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1

กิจกรรมที่ 2.3 : ทักษะการใหเหตุผลและการเชื่องโยง


1. จงเรียงลําดับจํานวนตอไปนี้จากนอยไปหามาก
1) -15, -21, -18, 1, -13 ………………………………………………………….
2) 10, 2, -22, -98, -17 ………………………………………………………….
3) -100, -300, 230, -50, -20 ………………………………………………………….
4) -120, -320, -220, 110, -20 ………………………………………………………….
5) 1,000, -400, -29, 680, -373 ………………………………………………………….
2. จงเรียงลําดับจํานวนตอไปนี้จากมากไปหานอย
1) -7, 4, -13, 0, -36 ………………………………………………………….
2) -20, -270, -120, -240, -1 ………………………………………………………….
3) -11, 70, -18, -450, 50 ………………………………………………………….
4) -200, -250, 5, -150, 100 ………………………………………………………….
5) 90, -9, -2,460, 4321, -835 ………………………………………………………….
3. จงเติมเครื่องหมาย > และ < เพื่อทําใหประโยคตอไปนี้เปนจริง
1) 6 .............. -5 2) -42 .............. -35
3) -8 .............. 9 4) -87 .............. -97
5) -17 .............. 19 6) -45 .............. -54
7) 0 .............. -6 8) -301 .............. -103
9) -9 .............. -13 10) 100 .............. 101
4. สถานีโทรทัศนชอง 55 รายงานสภาพอากาศประจําวันของ 5 จังหวัดทางภาคเหนือโดยวัด
อุณหภูมิที่ยอดเขาของจังหวัดตาง ๆ ไดดังนี้
จังหวัดลําพูน 5 องศาเซลเซียส จังหวัดเชียงใหม -3 องศาเซลเซียส
จังหวัดแพร -1 องศาเซลเซียส จังหวัดเชียงราย -7 องศาเซลเซียส
จังหวัดแมฮองสอน -5 องศาเซลเซียส
1) จังหวัดใดมีสภาพอากาศหนาวนอยที่สุด ……………………………………
2) จังหวัดใดมีสภาพอากาศหนาวมากที่สุด ……………………………………
3) จังหวัดใดมีสภาพอากาศอบอุนที่สุด ……………………………………
4) จงเรียงชื่อของจังหวัดตาง ๆ จากจังหวัดที่มีอากาศอบอุนไปยังจังหวัดที่มีอากาศอบอุน
นอยที่สุด …………………………………………………………………………

ครูครรชิต แซโฮ โรงเรียนจันทรประภัสสรอนุสรณ สพท.ยะลา เขต 3


หนวยการเรียนรูที่ 2 ระบบจํานวนเต็ม 45
MATH

Series

2.3 สมบัติของจํานวนเต็ม

จุดประสงคการเรียนรู
ดานความรู : นักเรียนสามารถ
1. บอกสมบัติของจํานวนเต็มได
2. ใชสมบัติของจํานวนเต็มในการแกปญหาได
ดานทักษะ / กระบวนการ : นักเรียนมีความสามารถใน
1. การอธิบายเกี่ยวกับสมบัติของจํานวนเต็มได
2. การแสดงวิธีการใชสมบัติของจํานวนเต็มในการแกปญหาได
3. การแกปญหาและการใหเหตุผล
4. การสื่อสาร การสื่อความหมาย และการนําเสนอ
5. การเชื่อมโยงกับศาสตรอื่น ๆ ได
6. ความคิดริเริ่มสรางสรรค
ดานคุณลักษณะ : ปลูกฝงใหนักเรียน
1. มีความรับผิดชอบ
2. มีความสนใจใฝรู
3. มีความรอบคอบ มีระเบียบวินัย
4. มีความเชื่อมั่นในตนเอง
5. มีวิจารณญาณและทํางานอยางเปนระบบ
6. ตระหนักในคุณคา และมีเจตคติที่ดีตอวิชาคณิตศาสตร

ครูครรชิต แซโฮ โรงเรียนจันทรประภัสสรอนุสรณ สพท.ยะลา เขต 3


46 สื่อเสริมสาระการเรียนรู คณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1

สมบัติของจํานวนเต็ม
1. ประโยคทางคณิตศาสตร

รูไว ใชวา ประโยคทางคณิตศาสตรสามารถเปนไดทั้งจริงและเท็จขึ้นอยูกับคาความ


จริงของประโยคนั้นหรือการกําหนดคาของตัวแปรที่ แทนลงในประโยค ในบาง
ประโยคจะมีคาบางคาที่ยังไมสามารถระบุได ทางคณิตศาสตรจะใหคาเหลานั้นแทน
ดวยตัวแปร นิยมใชภาอังกฤษ

ตัวอยางที่ 1 จงพิจารณาประโยคตอไปนี้
a–1<5
ในที่นี้ตัวแปรคือ a
แทนคา a = 3 จะได 3 – 1 < 5
2<5 เปนจริง
ดังนั้น a – 1 < 5 เปนจริง เมื่อ a = 3
แทนคา a = 9 จะได 9 – 1 < 5
8<5 เปนเท็จ
ดังนั้น a – 1 < 5 เปนเท็จ เมื่อ a = 9
ตัวอยางที่ 2 จงพิจารณาประโยคตอไปนี้
ประโยค
ประโยค ตัวแปร คาของตัวแปร
จริง เท็จ
1. 28 – 3 = 25 - - /
2. 5 – a = 2 a 3 /
3. x – 7 = 8 10
4. c + 5 = 8 2
5. 20 – a = 15 5
6. n – 9 = 13 4
7. 2d + 6 = 9 1
8. 40 – 6 = 34 -
9. 3a + 2 = 8 1
10. 2y – 1 = 3 2

ครูครรชิต แซโฮ โรงเรียนจันทรประภัสสรอนุสรณ สพท.ยะลา เขต 3


หนวยการเรียนรูที่ 2 ระบบจํานวนเต็ม 47

2. สมบัติเกี่ยวกับการบวกและการคูณจํานวนเต็ม
ใหนักเรียนชวยกันพิจารณา ดังนี้
ประโยคที่ 1 20 + 60 = 80
ประโยคที่ 2 60 + 20 = 80
1) ลักษณะของประโยคทั้งสองมีความแตกตางกันอยางไร
…………………………………………………………………………………………...
2) คําตอบของประโยคทั้งสองเทากันหรือไม
…………………………………………………………………………………………...
นักเรียนชวยกันสรุปสมบัติของการบวกขางตนวาเปน………………………………………
เมื่อ a และ b แทนจํานวนเต็มใด ๆ แลว a + b = b + a
เรียกวา………………….…………………………
ใหนักเรียนชวยกันพิจารณา ดังนี้
ประโยคที่ 1 (10 + 20) + 60 = 30 + 60 = 90
ประโยคที่ 2 10 + (20 + 60) = 10 + 80 = 90
1) ลักษณะของประโยคทั้งสองมีความแตกตางกันอยางไร
…………………………………………………………………………………………...
2) คําตอบของประโยคทั้งสองเทากันหรือไม
…………………………………………………………………………………………...
นักเรียนชวยกันสรุปสมบัติของการบวกขางตนวาเปน………………………………………

เมื่อ a และ b แทนจํานวนเต็มใด ๆ แลว (a + b) + c = a + (b + c)


เรียกวา………………….……………………………

ตัวอยางที่ 3 จงหาจํานวนที่แทนตัวแปร แลวทําใหไดประโยคที่เปนจริง


1) 20 + a = 3 + 20
2) (15 + x) + 28 = y + (37 + 28)
วิธีทํา 1) 20 + a = 3 + 20
ดังนั้น a = 3
2) (15 + x) + 28 = y + (37 + 28)
ดังนั้น x = 37 และ y = 15

ครูครรชิต แซโฮ โรงเรียนจันทรประภัสสรอนุสรณ สพท.ยะลา เขต 3


48 สื่อเสริมสาระการเรียนรู คณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1

จงเติมคําตอบลงในชองวางตอไปนี้ใหสมบูรณ
ประโยคที่เปนจริง จํานวนที่แทนตัวแปร สมบัติของจํานวนเต็ม
1. m + 6 = 6 + 8 สมบัติการสลับที่สําหรับการบวก
2. 11 + 25 = n + 11
3. 4 + (p + 27) = (q + 14) + r p = ……, q =……, r = ……
4. (a + 100) + 990 = 405 + (x + y) a = ……, x = ……, y = ……
5. (37 + 91) + 86 = c + (37 + d) c = ……, d = ……

ใหนักเรียนชวยกันพิจารณา ดังนี้
ประโยคที่ 1 10 × 20 = 200
ประโยคที่ 2 20 × 10 = 200
1) ลักษณะของประโยคทั้งสองมีความแตกตางกันอยางไร
…………………………………………………………………………………………...
2) ผลคูณของประโยคทั้งสองเทากันหรือไม
…………………………………………………………………………………………...
นักเรียนชวยกันสรุปสมบัติของการคูณขางตนวาเปน………………………………………

เมื่อ a และ b แทนจํานวนเต็มใด ๆ แลว a × b = b × a


เรียกวา………………….…………………………

ใหนักเรียนชวยกันพิจารณา ดังนี้
ประโยคที่ 1 (10 × 20) × 60 = 200 × 60 = 12,000
ประโยคที่ 2 10 × (20 × 60) = 10 × 1,200 = 12,000
1) ลักษณะของประโยคทั้งสองมีความแตกตางกันอยางไร
…………………………………………………………………………………………...
2) ผลคูณของประโยคทั้งสองเทากันหรือไม
…………………………………………………………………………………………...
3) การนําวงเล็บมาแบงกลุมทําใหมีผลตอผลลัพธของการคูณหรือไม
…………………………………………………………………………………………...

ครูครรชิต แซโฮ โรงเรียนจันทรประภัสสรอนุสรณ สพท.ยะลา เขต 3


หนวยการเรียนรูที่ 2 ระบบจํานวนเต็ม 49

นักเรียนชวยกันสรุปสมบัติของการคูณขางตนวาเปน………………………………………
เมื่อ a, b และ c แทนจํานวนเต็มใด ๆ แลว (a × b) × c = a × (b × c)
เรียกวา………………….……………………………

ตัวอยางที่ 4 จงหาจํานวนที่แทนตัวแปร แลวทําใหไดประโยคที่เปนจริง


1) 25 × a = 30 × 25
2) (16 × b) × 22 = 22 × (16 × 20)
วิธีทํา 1) 25 × a = 30 × 25
ดังนั้น a = 30
2) (16 × b) × 22 = 22 × (16 × 20)
ดังนั้น b = 20
จงเติมคําตอบลงในชองวางตอไปนี้ใหสมบูรณ
ประโยคที่เปนจริง จํานวนที่แทนตัวแปร สมบัติของจํานวนเต็ม
1. 112 × a = 53 × 112 สมบัติการสลับที่สําหรับการคูณ
2. (72 × b) × 81 = c × (72 × 63) b = ……, c = ……
3. (44 × 25) × 90 = m × (25 × n) m = ……, n = ……
4. (83 × y) × 69 = z × (57 × 69) y = ……, z = ……
5. 37 × (56 × p) = (q × 71) × 37 p = ……, q = ……

ใหนักเรียนชวยกันพิจารณา ดังนี้
ประโยคที่ 1 10 × (20 + 60) = 10 × 80 = 800
ประโยคที่ 2 (10 × 20) + (10 × 60) = 200 + 600 = 800
1) ลักษณะของประโยคทั้งสองมีความแตกตางกันอยางไร
…………………………………………………………………………………………...
2) ผลลัพธของประโยคทั้งสองเทากันหรือไม
…………………………………………………………………………………………...
นักเรียนชวยกันสรุปลักษณะความสัมพันธของจํานวนเต็มวาเปน……………………………
………………………………………

เมื่อ a, b และ c แทนจํานวนเต็มใด ๆ แลว a × (b + c) = (a × b) + (a × c) และ


(b + c ) × a = (b × a) + (c × a) เรียกวา………………….………………………

ครูครรชิต แซโฮ โรงเรียนจันทรประภัสสรอนุสรณ สพท.ยะลา เขต 3


50 สื่อเสริมสาระการเรียนรู คณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1

ตัวอยางที่ 5 จงหาจํานวนที่แทนตัวแปร แลวทําใหไดประโยคที่เปนจริง


1) m × (50 + 39) = (11 × 50) + (11 × n)
2) x × (36 + 67) = (29 × y) + (z × 67)
วิธีทํา 1) m × (50 + 39) = (11 × 50) + (11 × n)
ดังนั้น m = 11 และ n = 39
2) x × (36 + 67) = (29 × y) + (z × 67)
ดังนั้น x = 29, y= 36 และ z = 29
ตัวอยางที่ 6 จงตรวจดูวา 8 × (10 – 3) = (8 × 10) – (8 × 3) เปนจริงหรือไม
วิธีทํา 8 × (10 – 3) = 8 × 7 = 56
และ (8 × 10) – (8 × 3) = 80 – 47 = 56
ดังนั้น 8 × (10 – 3) = (8 × 10) – (8 × 3) เปนจริง

จงเติมคําตอบลงในชองวางตอไปนี้ใหสมบูรณ
1) 13 × (26 + 45) = (……… × 26) + (13 × ………)
2) (57 + 82) × 64 = (57 × ………) + (……… × 64)
3) 93 × 102 = ……… × (100 + ………)
= (……… × ………) + (93 × ………)
= ……… + ………
= ………
4) 99 × 76 = (100 – ………) × 76
= (………× 76) – (………× 76)
= ……… – ………
= ………
5) 112 × 998 = 112 × (……… – ………)
= (……… × ………) – (……… × ………)
= ……… – ……… = ………

ครูครรชิต แซโฮ โรงเรียนจันทรประภัสสรอนุสรณ สพท.ยะลา เขต 3


หนวยการเรียนรูที่ 2 ระบบจํานวนเต็ม 51

สรุปสมบัติเกี่ยวกับการบวกและการคูณจํานวนเต็ม

รูไว ใชวา
การบวก การคูณ
สมบัติการสลับที่ (Commutative property)
เมื่อ a และ b แทนจํานวนเต็มใด ๆ แลว เมื่อ a และ b แทนจํานวนเต็มใด ๆ แลว
a+b=b+a a× b=b× a
สมบัติการเปลีย่ นหมู (Associative property)
เมื่อ a, b และ c แทนจํานวนเต็มใด ๆ เมื่อ a, b และ c แทนจํานวนเต็มใด ๆ
แลว (a + b) + c = a + (b + c) แลว (a × b) × c = a × (b × c)
สมบัติการแจกแจง (Distributive property)
เมื่อ a, b และ c แทนจํานวนเต็มใด ๆ แลว
a × (b + c) = (a × b) + (a × c)
(b + c ) × a = (b × a) + (c × a)

กิจกรรมที่ 2.4 : ทักษะการใหเหตุผลและการสื่อสารทางคณิตศาสตร


1. จงหาจํานวนทีแ่ ทนตัวแปร แลวทําใหประโยคเปนจริง
1) x + 10 = 10 + (-31) ; x = ………………………………
2) y × 15 = 17 × 15 ; y = ………………………………
3) (2 + 3) + 5 = z + (3 + 5) ; z = ………………………………
4) (9 × 8) × 7 = 9 × (a × 7) ; a = ………………………………
5) 12 × [(-2) + 7] = [a × (-2)] + [12 × b] ; a = …………… , b = ……………
2. จงเติมจํานวนหรือตัวแปรลงในชองวางโดยทําใหประโยคเปนจริงสําหรับทุกๆคาของตัวแปร
1) (-5) + (………+ 9) = [(-5) + 5] + 9
2) 9 × (8 × ………) = (………× ………)× 5
3) a × (19 + 5) = (a × ………) + (a × ………)
4) 9 × (………+………+………) = 9 × 522
5) [5 + (-3) + 2] × ……… = (………× 6) + [(-3) × 6] + (………× 6)

ครูครรชิต แซโฮ โรงเรียนจันทรประภัสสรอนุสรณ สพท.ยะลา เขต 3


52 สื่อเสริมสาระการเรียนรู คณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1

3. จงตรวจดูวาประโยคตอไปนีข้ อใดเปนจริง (9) และประโยคในขอใดเปนเท็จ (8)


………………1) (8 + 5) × 2 = (8 × 2) + (5 × 2)
………………2) (12 – 6) × 4 = (12 × 4) – (12 × 4)
………………3) 7 × (3 + 9) = (7 + 3) × (7 + 9)
………………4) 28 – (16 – 7) = (28 – 16) – 7
………………5) 15 × (20 – 5) = (15 × 20) – (15 × 5)
………………6) (-4) × (13 + 7) = [(-4) × 13)] + [(-4) × 7)
………………7) [(-9) – 7] – 18 = (-9) – [7 – 18]
………………8) [45 ÷ 15] ÷ 3 = 45 ÷ (15 ÷ 3)
………………9) (21 ÷ 7) + (14 ÷ 7) = (21 + 14) ÷ 7
………………10) (a × b) × c = (a × c) + (b × c)
สมบัติของศูนยและหนึ่ง
1. สมบัติของศูนย
รูไว ใชวา ศูนย (0) ไมใชจํานวนนับ และ 0 เปนจํานวนคู
ศูนยแทนความไมมี เชน ในกลองเปลาใบนี้ไมมีสิ่งของอะไรอยูเลย
ศูนยแทนอุณหภูมิที่น้ํากลายเปนน้ําแข็ง ซึ่งเรียกวา จุดเยือกแข็ง
แตศูนยที่อยูในจํานวนตาง ๆ จะแสดงคาประจําหลัก เชน 20 202 2,000
4,050 ซึ่งศูนยเหลานี้มีความหมาย

พิจารณาประโยคตอไปนี้
(1) 3 + 0 = 3 (2) 8 – 0 = 8
(3) 5 × 0 = 0 (4) 0 ÷ 9 = 0
1. จํานวนนับบวกศูนยมีคาเปนอยางไร
…………………………………………………………………………………………...
2. จํานวนนับลบศูนยมีคาเปนอยางไร
…………………………………………………………………………………………...
3. จํานวนนับคูณศูนยมีคาเปนอยางไร
…………………………………………………………………………………………...
4. ศูนยหารดวยจํานวนนับมีคาเปนอยางไร
…………………………………………………………………………………………...

ครูครรชิต แซโฮ โรงเรียนจันทรประภัสสรอนุสรณ สพท.ยะลา เขต 3


หนวยการเรียนรูที่ 2 ระบบจํานวนเต็ม 53

พิจารณาตัวอยางตอไปนี้
(1) 2+0 = 2
0+2 = 2
ดังนั้น 2 + 0 = 0 + 2 = 2
จะเห็นวา จํานวนใด ๆ บวกกับ 0 จะไดจํานวนนั้น
จึงสรุปไดวา
เมื่อ a แทนจํานวนใด ๆ แลว a + 0 = 0 + a = a เรียกวา 0 วา เอกลักษณการบวก

(2) 9×0 = 0
0×9 = 0
ดังนั้น 9 × 0 = 0 × 9 = 0
จะเห็นวา จํานวนใด ๆ คูณกับ 0 จะได 0
จึงสรุปไดวา
เมื่อ a แทนจํานวนใด ๆ แลว a × 0 = 0 × a = 0

(3) 0 ÷ 10 = 100 = 0
0 =0
0 ÷ 255 = 255
ดังนั้น 9 × 0 = 0 × 9 = 0
จะเห็นวา 0 หารดวยจํานวนใด ๆ ที่ไมใช 0 จะได 0
จึงสรุปไดวา

เมื่อ a แทนจํานวนใด ๆ แลว 0 ÷ a = 0a = 0, a ≠ 0


(4) 1) 15 × 0 = 0 2) 0 × 8 = 0 3) 0 × 0 = 0
จะเห็นวา ถาผลคูณของจํานวนสองจํานวนใด ๆ เทากับ 0 จํานวนใดจํานวนหนึ่งอยางนอย
หนึ่งจํานวนตองเปน 0
จึงสรุปไดวา
เมื่อ a และ b แทนจํานวนใด ๆ ถา a × b = 0 แลว a = 0 หรือ b = 0

ครูครรชิต แซโฮ โรงเรียนจันทรประภัสสรอนุสรณ สพท.ยะลา เขต 3


54 สื่อเสริมสาระการเรียนรู คณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1

ศูนยเปนตัวหารไมไดหรือไมใชศูนยเปนตัวหาร เนื่องจากผลหารนั้นหา
รูไว ใชวา คาไมได เพราะการที่ตัวหารเปนศูนยไดผลลัพธเปน 2 กรณี
1. ให 03 = 1 ดังนั้น 3 = 0 × 1 = 0 ซึ่งเปนเท็จ
และ 03 = 3 ดังนั้น 3 = 0 × 3 = 0 ซึ่งเปนเท็จ
2. ให 00 = 1 ดังนั้น 0 = 0 × 1 = 0 ซึ่งเปนจริง
และ 00 = 3 ดังนั้น 0 = 0 × 3 = 0 ซึ่งเปนจริง
จะเห็นไดวา เมื่อตัวหารเปนศูนยและตัวตั้งเปนจํานวนใด ๆ คําตอบที่ได
เปนทั้งจริงและเท็จ จึงสรุปไดวา ผลหารนั้น หาคาไมได

2. สมบัติของหนึ่ง
รูไว ใชวา
หนึ่ง (1) เปนจํานวนนับที่นอยที่สุด

พิจารณาประโยคตอไปนี้
(1) 11 × 1 = 11
1 × 11 = 11
(2) 55 × 1 = 55
1 × 55 = 55
1) จํานวนใด ๆ คูณกับหนึ่งมีผลลัพธมีคาเปนอยางไร
…………………………………………………………………………………………...
2) จํานวนใด ๆ เมื่อคูณกับหนึ่งแลวผลลัพธจะไดเทากับจํานวนนับนั้นเสมอหรือไม
…………………………………………………………………………………………...
ใหนักเรียนพิจารณาประโยคทางคณิตศาสตรวาเปนประโยคเปนจริงหรือเปนเท็จ ดังนี้
1) 33 ÷ 1 = 33 หรือ 33 1 = 33
2) (-22) ÷ 1 = -22 หรือ -221 = -22
3) 99
99 = 1

ครูครรชิต แซโฮ โรงเรียนจันทรประภัสสรอนุสรณ สพท.ยะลา เขต 3


หนวยการเรียนรูที่ 2 ระบบจํานวนเต็ม 55

ชวยคนหาคําตอบใหหนอยนะ
1) จํานวนใด ๆ เมื่อหารดวยหนึ่งผลลัพธทีไดมีคาเปนอยางไร
…………………………………………………………………………………………...
2) จํานวนใด ๆ เมื่อหารดวยหนึ่งแลวผลลัพธจะไดเทากับจํานวนนั้นเสมอหรือไม
…………………………………………………………………………………………...
3) จํานวนใด ๆ ที่เทากันสองจํานวนหารกัน ผลลัพธจะไดเทากับหนึ่งเสมอหรือไม
…………………………………………………………………………………………...

สรุป 1) เมื่อ a แทนจํานวนใด ๆ แลว a × 1 = 1 × a = a เรียกวา 1 วา


เอกลักษณการคูณ (Multiplicative identity)
2) เมื่อ a แทนจํานวนใด ๆ แลว 1a = a
3) เมื่อ a แทนจํานวนใด ๆ ที่ไมใช 0 แลว a ÷ a = 1

กิจกรรมที่ 2.5 : ทักษะการใหเหตุผล


1. จงหาผลลัพธ
1) 0 + (-5) = …………………… 2) 101 + 0 = ……………………
3) (-7) – 0 = …………………… 4) 1 × 0 = ……………………
5) 0 × (-1) = …………………… 6) 0 ÷ 1 = ……………………
2. จงหาคาของ a ที่ทําใหประโยคตอไปนี้เปนจริง
1) (a + 2)(a + 3) = 0 ; a = ……………………
2) (a – 3)(a + 5) = 0 ; a = ……………………
3) (a + 1)(a – 1) = 0 ; a = ……………………
3. จงหาผลลัพธ
1) 1 × 15 = …………………… 2) 1 × (-1) = ……………………
3) (-11) × 1 = …………………… 4) 1×a = ……………………
5) -a × 1 = …………………… 6) (-a) ÷ 1 = ……………………
7) -6 = …………………… 8) -4 = ……………………
1 -4
9) (a × b) ÷ 1 = …………………… 10) (-a) × b ÷ 1 = …………………

ครูครรชิต แซโฮ โรงเรียนจันทรประภัสสรอนุสรณ สพท.ยะลา เขต 3


56 สื่อเสริมสาระการเรียนรู คณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1
MATH

Series 2.4 การบวก การลบ การคูณ


และการหารจํานวนเต็ม

จุดประสงคการเรียนรู
ดานความรู : นักเรียนสามารถ
1. บอกความหมายและลักษณะของคาสัมบูรณและจํานวนตรงขามได
2. หาคาของคาสัมบูรณและจํานวนตรงขามได
3. บวก ลบ คูณ และหารจํานวนเต็มได
ดานทักษะ / กระบวนการ : นักเรียนมีความสามารถใน
1. อธิบายผลที่เกิดขึ้นจากการบวก การลบ การคูณและการหาร
จํานวนเต็ม พรอมทั้งบอกความสัมพันธของการดําเนินการได
2. การคิดคํานวณ
3. การแกปญหา
4. การใหเหตุผล
5. การสื่อสาร การสื่อความหมาย และการนําเสนอ
6. การเชื่อมโยงกับศาสตรอื่น ๆ ได
7. ความคิดริเริ่มสรางสรรค
ดานคุณลักษณะ : ปลูกฝงใหนักเรียน
1. มีความรับผิดชอบ
2. มีความสนใจใฝรู
3. มีความรอบคอบ มีระเบียบวินัย
4. มีความเชื่อมั่นในตนเอง
5. มีวิจารณญาณและทํางานอยางเปนระบบ
6. ตระหนักในคุณคา และมีเจตคติที่ดีตอวิชาคณิตศาสตร

ครูครรชิต แซโฮ โรงเรียนจันทรประภัสสรอนุสรณ สพท.ยะลา เขต 3


หนวยการเรียนรูที่ 2 ระบบจํานวนเต็ม 57

1. คาสัมบูรณและจํานวนตรงขาม
1.1 คาสัมบูรณ (Absolute value)
พิจารณาเสนจํานวนตอไปนี้

-5 -4 -3 -2 -1 0 1 2 3 4 5

1) ระยะหางของจํานวนเต็มบนเสนจํานวนเทากันหรือไม ………………………
2) -5 อยูหางจาก 0 อยูเทาใด ………………………
3) 5 อยูหางจาก 0 อยูเทาใด ………………………
4) ระยะหางของ -5 และ 5 อยูหางจาก 0 เทากันหรือไม ………………………
จากขางตนจะพบวา
5 อยูหางจาก 0 เปนระยะ 5 หนวย
-5 อยูหางจาก 0 เปนระยะ 5 หนวย
ระยะที่เทากันนี้ คือ คาสัมบูรณของ 5 และ -5
กลาวไดวา คาสัมบูรณของ 5 เทากับ 5
คาสัมบูรณของ -5 เทากับ 5
จะเห็นวา คาสัมบูรณของ 5 และ -5 เหมือนกัน จึงสรุปไดวา
คาสัมบูรณของจํานวนใด ๆ เทากับระยะที่จํานวนนัน้ อยูหา งจาก 0 บนเสนจํานวน
1) จงบอกคาสัมบูรณจากเสนจํานวนตอไปนี้

-5 -4 -3 -2 -1 0 1 2 3 4 5

จากรูป คาสัมบูรณของ…………เทากับ…………
คาสัมบูรณของ…………เทากับ…………

-10 -8 -6 -4 -2 0 2 4 6 8 10

จากรูป คาสัมบูรณของ…………เทากับ…………
คาสัมบูรณของ…………เทากับ…………

ครูครรชิต แซโฮ โรงเรียนจันทรประภัสสรอนุสรณ สพท.ยะลา เขต 3


58 สื่อเสริมสาระการเรียนรู คณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1

2) จงแสดงคาสัมบูรณตอไปนี้บนเสนจํานวน
คาสัมบูรณของ 1 และ -1

คาสัมบูรณของ -6 และ 6

1.2 สัญลักษณของคาสัมบูรณ
คาสัมบูรณของจํานวนใด ๆ เทากับระยะที่จํานวนนั้นอยูหางจาก 0 บนเสนจํานวน โดยมี
สัญลักษณคือ
และเมื่อ a แทนจํานวนใด ๆ จะได
⎧⎪ a, a > 0
⎪⎪
a = ⎪⎨ 0, a = 0
⎪⎪
⎪-a, a < 0
⎪⎩

พิจารณาเสนจํานวนตอไปนี้

-5 -4 -3 -2 -1 0 1 2 3 4 5
5 อยูหางจาก 0 เปนระยะ 5 หนวย คาสัมบูรณของ 5 เทากับ 5 ใชสัญลักษณ 5
5 อานวา คาสัมบูรณของ 5 มีคาเทากับ 5
-5 อยูหางจาก 0 เปนระยะ 5 หนวย คาสัมบูรณของ -5 เทากับ 5 ใชสัญลักษณ -5
-5 อานวา คาสัมบูรณของ -5 มีคาเทากับ 5
ดังนั้น 5 = -5 = 5

รูไว ใชวา เมื่อ a แทนจํานวนใด ๆ จะได


⎧⎪ a, a > 0
⎪⎪
a = ⎪⎨ 0, a = 0
⎪⎪
⎪⎪⎩-a, a < 0

ตัวอยางเชน ถา a = -3 จะไดวา a = -2 = -(-2) = 2

ครูครรชิต แซโฮ โรงเรียนจันทรประภัสสรอนุสรณ สพท.ยะลา เขต 3


หนวยการเรียนรูที่ 2 ระบบจํานวนเต็ม 59

1.3 จํานวนตรงขาม (Inverse number)


นักเรียนรูหรือไมวา “จํานวนเต็มบวกและจํานวนเต็มลบบนเสนจํานวนที่มีคา
สัมบูรณเทากันจะอยูคนละขางของศูนย (0) และอยูหางจาก 0 เปนระยะเทากัน” …………………
พิจารณาตัวอยางตอไปนี้

-9 -7 -5 -3 -1 0 1 3 5 7 9

จากเสนจํานวนขางตน ทําใหทราบวา
จํานวนเต็มบวก 9 และจํานวนเต็มลบ -9 จํานวนเต็มทั้งสองจํานวนมีคาสัมบูรณเทากัน ซึ่ง
อยูคนละขางของ 0 และอยูหางจาก 0 เปนระยะ 9 หนวยเทากัน
ในกรณีเชนนี้ จะเรียก -9 เปนจํานวนตรงขามของ 9
จะเรียก 9 เปนจํานวนตรงขามของ 9
โดยทั่วไป กลาวไดวา

ถา a เปนจํานวนเต็มใด ๆ จํานวนตรงขามของ a มีเพียงจํานวนเดียว เขียนแทนดวย -a

รูไว ใชวา 1. จํานวนเต็มบวกทุกจํานวนมีจํานวนตรงขาม


2. จํานวนเต็มลบทุกจํานวนมีจํานวนตรงขาม
3. สําหรับ 0 จะมี 0 เปนจํานวนตรงขามของ 0

ตัวอยางที่ 1 จํานวนตรงขามของ 5 คือ -5


จํานวนตรงขามของ -5 คือ -(-5)
แตเนื่องจาก จํานวนตรงขามของ -5 คือ 5 ดังนั้น
-(-5) = 5
ตัวอยางที่ 2 จํานวนตรงขามของ -1 คือ -(-1) = 1
จํานวนตรงขามของ -2 คือ -(-2) = 2
จํานวนตรงขามของ -19 คือ …………………
จํานวนตรงขามของ 25 คือ …………………
จํานวนตรงขามของ 0 คือ -0 = …………………

ครูครรชิต แซโฮ โรงเรียนจันทรประภัสสรอนุสรณ สพท.ยะลา เขต 3


60 สื่อเสริมสาระการเรียนรู คณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1

จากตัวอยางที่ 1 และตัวอยางที่ 2 ทําใหไดขอสรุปอีกอยาง ดังนี้


ถา a เปนจํานวนเต็มใด ๆ จํานวนตรงขามของ -a คือ a ซึ่งเขียนแทนดวย -(-a) = a

กิจกรรมที่ 2.6 : ทักษะการสื่อสาร การนําเสนอและการเชื่อมโยง


1. จงเติมคําตอบลงในชองวางในขอตอไปนี้
1) คาสัมบูรณของ 0 เทากับ ……………… 2) คาสัมบูรณของ -7 เทากับ …………
3) คาสัมบูรณของ 11 เทากับ ……………… 4) คาสัมบูรณของ -15 เทากับ ………
5) 41 เทากับ ……………… 6) -28 เทากับ ……………
2. จงเติมคําตอบลงในชองวางในขอตอไปนี้
1) คาสัมบูรณของ 19 และ -19 ตางเทากับ ………………
2) คาสัมบูรณของ………………และ -40 ตางเทากับ 40
3) คาสัมบูรณของ………………และ………………ตางเทากับ 180
4) 135 เปนคาสัมบูรณของ……………… และ ………………
5) ………………เปนคาสัมบูรณของ………………และ -397
3. จงเติมคําวา “มากกวา” “นอยกวา” หรือ “เทากับ” ลงในชองวางเพื่อทําใหประโยคตอไปนี้
เปนจริง
1) คาสัมบูรณของ -50 ……………… คาสัมบูรณของ -102
2) คาสัมบูรณของ 134 ……………… คาสัมบูรณของ -134
3) คาสัมบูรณของ -110 ……………… คาสัมบูรณของ 90
4) -30 ……………… -35
5) -91 ……………… 19
4. จงเติมคําตอบลงในชองวางในขอตอไปนี้
1) จํานวนตรงขามของ -11 คือ ………………
2) จํานวนตรงขามของ 240 คือ ………………
3) จํานวนตรงขามของ -370 คือ ………………
4) จํานวนตรงขามของ 560 คือ ………………
5) จํานวนตรงขามของ -2,810 คือ ………………
5. จงเติมคําตอบลงในชองวางในขอตอไปนี้
1) -(-15) = ……………… 2) -(-37) = ………………
3) -(-43) = ……………… 4) -(-59) = ………………

ครูครรชิต แซโฮ โรงเรียนจันทรประภัสสรอนุสรณ สพท.ยะลา เขต 3


หนวยการเรียนรูที่ 2 ระบบจํานวนเต็ม 61

2. การบวกจํานวนเต็ม
2.1 การบวกจํานวนเต็มบวกดวยจํานวนเต็มบวก
พิจารณาการบวกตอไปนี้
3+4 = F

-1 0 1 2 3 4 5 6 7 8 9
การบวกขางตนเปนการหาผลบวกโดยใชเสนจํานวน โดยเริ่มตนที่ 0 นับไปทางขวาถึง 3
เมื่อบวกดวย 4 ใหนับเพิ่มไปทางขวา 4 หนวย ซึ่งจะไปสิ้นสุดที่ 7 จะได 7 เปนผลบวกของ 3
กับ 4
ดังนั้น 3 + 4 = 7
สรุปไวใช หลักการใชเสนจํานวน ถาเปนการบวกจํานวนเต็มบวกดวยจํานวนเต็มบวก
7. เริ่มตนที่ 0
8. เคลือ่ นไปทางขวาเปนระยะที่เทากับจํานวนแรก
9. ณ ตําแหนงในขอ 2. ใหเคลื่อนไปทางขวาอีกครั้งเปนระยะที่เทากับอีก
จํานวนหนึ่ง ถึงจุดที่แทนจํานวนใด จํานวนนั้นเปนคําตอบ

พิจารณาการบวกจํานวนเต็มโดยใชคาสัมบูรณ ดังนี้
ตัวอยางที่ 3 10 + 12 = F
วิธีทํา คาสัมบูรณของ 10 หรือ 10 = 10
คาสัมบูรณของ 12 หรือ 12 = 12
เพราะฉะนั้น 10 + 12 = 10 + 12 = 22
ดังนั้น 10 + 12 = 22
ตัวอยางที่ 4 17 + 33 = F
วิธีทํา คาสัมบูรณของ 17 = ………………
คาสัมบูรณของ 33 = ………………
เพราะฉะนั้น 17 + 33 = ………………
ดังนั้น ………………………………

ครูครรชิต แซโฮ โรงเรียนจันทรประภัสสรอนุสรณ สพท.ยะลา เขต 3


62 สื่อเสริมสาระการเรียนรู คณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1

สรุปไวใช
การบวกจํานวนเต็มบวกดวยจํานวนเต็มบวก ใหนําคาสัมบูรณ
ของจํานวนเต็มบวกทั้งสองมาบวกกัน ผลลัพธที่ไดเปนจํานวนเต็มบวก

2.2 การบวกจํานวนเต็มลบดวยจํานวนเต็มลบ
พิจารณาการบวกตอไปนี้
(-3) + (-4) = F

-1 -8 -7 -6 -5 -4 -3 -2 -1 0 1
การบวกขางตนเปนการหาผลบวกโดยใชเสนจํานวน โดยเริ่มตนที่ 0 นับไปทางซายถึง -3
เมื่อบวกดวย -4 ใหนับลดไปทางซาย 4 หนวย ซึ่งจะไปสิ้นสุดที่ -7 จะได -7 เปนผลบวกของ -3
กับ -4
ดังนั้น (-3) + (-4) = -7
สรุปไวใช หลักการใชเสนจํานวน ถาเปนการบวกจํานวนเต็มลบดวยจํานวนเต็มลบ
4. เริ่มตนที่ 0
5. เคลือ่ นไปทางซายเปนระยะที่เทากับคาสัมบูรณของจํานวนแรก
6. ณ ตําแหนงในขอ 2. ใหเคลื่อนไปทางซายอีกครั้งเปนระยะที่เทากับ
คาสัมบูรณอีก จํา นวนหนึ่ง ถึงจุดที่แ ทนจํา นวนใด จํา นวนนั้น เปน
คําตอบ

ตัวอยางที่ 5 (-2) + (-5) = F

-9 -8 -7 -6 -5 -4 -3 -2 -1 0 1
วิธีการ 1. เริ่มตนที่ 0
2. เคลื่อนไปทางซายเปนระยะที่เทากับคาสัมบูรณของ -2
3. จาก -2 นับลดไปทางซายมือเทากับคาสัมบูรณของ -5 (5 หนวย) คือตําแหนง -7
ดังนั้น (-2) + (-5) = -7

ครูครรชิต แซโฮ โรงเรียนจันทรประภัสสรอนุสรณ สพท.ยะลา เขต 3


หนวยการเรียนรูที่ 2 ระบบจํานวนเต็ม 63

พิจารณาการบวกจํานวนเต็มโดยใชคาสัมบูรณ ดังนี้
ตัวอยางที่ 6 (-15) + (-20) = F
วิธีทํา คาสัมบูรณของ -15 หรือ -15 = 15
คาสัมบูรณของ -20 หรือ -20 = 20
เพราะฉะนั้น -15 + -20 = 15 + 20 = 35
แตผลลัพธที่ไดตองเปนจํานวนลบ
ดังนั้น (-15) + (-20) = -35
ตัวอยางที่ 7 (-19) + (-21) = F
วิธีทํา คาสัมบูรณของ ……………… = ………………
คาสัมบูรณของ ……………… = ………………
เพราะฉะนั้น ……………… = ………………
แตผลลัพธที่ไดตองเปนจํานวนลบ
ดังนั้น ………………………………………………
สรุปไวใช
การบวกจํานวนเต็มลบดวยจํานวนเต็มลบ ใหนําคาสัมบูรณของ
จํานวนเต็มบวกทั้งสองมาบวกกัน ผลลัพธที่ไดเปนจํานวนเต็มลบ

กิจกรรมที่ 2.7 : ทักษะการใหเหตุผลและการสื่อสาร


1. จงหาผลบวกตอไปนี้
1) (-6) + (-3) = F

-9 -8 -7 -6 -5 -4 -3 -2 -1 0 1
ดังนั้น (-6) + (-3) = ……………
2) 2+6 = F

-1 0 1 2 3 4 5 6 7 8 9
ดังนั้น 2 + 6 = ……………

ครูครรชิต แซโฮ โรงเรียนจันทรประภัสสรอนุสรณ สพท.ยะลา เขต 3


64 สื่อเสริมสาระการเรียนรู คณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1

3) (-4) + (-4) = F

-9 -8 -7 -6 -5 -4 -3 -2 -1 0 1
ดังนั้น (-4) + (-4) = ……………
2. จงหาผลบวกตอไปนี้
1) 17 + 23 = …………… 2) 23 + 17 = ……………
3) (-4) + (-6) = …………… 4) (-6) + (-4) = ……………
5) (-8) + (-9) = …………… 6) (-9) + (-8) = ……………
7) (-20) + (-10) = …………… 8) (-10) + (-20) = ……………
9) (-54) + (-46) = …………… 10) (-46) + (-54) = ……………
จากผลลัพธที่ไดในขอ 3) ถึงขอ 10) การบวกจํานวนเต็มลบนาจะมีสมบัติ………………...
………………………………………
3. จงหาผลลัพธโดยบวกสองจํานวนที่อยูในวงเล็บใหญกอน
1) 5 + [2 + 8] =…………………… 2) [5 + 2] + 8 =…………….
=…………………… =…………….
3) (-4) + [(-6) + (-3)] =…………………… 4) [(-4) + (-6)] + (-3) =…………….
=…………………… =…………….
5) (-3) + [(-7) + (-9)] =…………………… 6) [(-3) + (-7)] + (-9) =…………….
=…………………… =…………….
7) [(-2) + (-10)] + (-5) =…………………… 8) (-2) + [(-10) + (-5)] =…………….
=…………………… =…………….
9) [(-7) + (-12)] + (-8) =…………………… 10) (-7) + [(-12) + (-8)] =…………….
=…………………… =…………….
4. จงหาจํานวนเต็มที่แทน x แลวทําใหไดประโยคที่เปนจริง
1) x + (-4) = -8 ; x = ……………………
2) x + (-7) = -15 ; x = ……………………
3) x + (-11) = -23 ; x = ……………………
4) x + (-16) = -38 ; x = ……………………
5) x + (-29) = -59 ; x = ……………………

ครูครรชิต แซโฮ โรงเรียนจันทรประภัสสรอนุสรณ สพท.ยะลา เขต 3


หนวยการเรียนรูที่ 2 ระบบจํานวนเต็ม 65

2. การบวกจํานวนเต็ม (ตอ)
2.3 การบวกจํานวนเต็มบวกดวยจํานวนเต็มลบและการบวกจํานวนเต็มลบดวย
จํานวนเต็มบวก
การบวกจํานวนเต็มบวกดวยจํานวนเต็มลบ ในกรณีที่จํานวนเต็มบวกมีคาสัมบูรณมากกวา
พิจารณาการบวกตอไปนี้
6 + (-4) = F

-1 0 1 2 3 4 5 6 7 8 9
การบวกขางตนเปนการหาผลบวกโดยใชเสนจํานวน โดยเริ่มตนที่ 0 นับไปทางขวาถึง 6
เมื่อบวกดวย -4 ใหนับลดไปทางซาย 4 หนวย ซึ่งจะไปสิ้นสุดที่ 2 จะได 2 เปนผลบวกของ 6
กับ -4
ดังนั้น 6 + (-4) = 2

สรุปไวใช หลักการใชเสนจํานวน ถาเปนการบวกจํานวนเต็มบวกดวยจํานวนเต็มลบ


1. เริ่มตนที่ 0
2. เคลือ่ นไปทางขวาเปนระยะที่เทากับคาสัมบูรณของจํานวนแรก
3. ณ ตํ า แหน ง ในข อ 2. ให เ คลื่ อ นไปทางซ า ยเป น ระยะที่ เ ท า กั บ ค า
สัมบูรณอีกจํานวนหนึ่ง ถึงจุดที่แทนจํานวนใด จํานวนนั้นเปนคําตอบ

ตัวอยางที่ 8 9 + (-8) = F

-1 0 1 2 3 4 5 6 7 8 9
วิธีการ 1. เริ่มตนที่ …………
2. เคลื่อนไปทางขวาเปนระยะที่เทากับคาสัมบูรณของ…………
3. จาก……นับลดไปทางซายมือเทากับคาสัมบูรณของ……ซึ่งจะไปสิ้นสุดที่……...
ดังนั้น 9 + (-8) = …………….

ครูครรชิต แซโฮ โรงเรียนจันทรประภัสสรอนุสรณ สพท.ยะลา เขต 3


66 สื่อเสริมสาระการเรียนรู คณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1

พิจารณาการบวกจํานวนเต็มโดยใชคาสัมบูรณ ดังนี้
ตัวอยางที่ 9 13 + (-9) = F
วิธีทํา คาสัมบูรณของ 13 หรือ 13 = 13
คาสัมบูรณของ -9 หรือ -9 = 9
นําคาสัมบูรณที่มากกวาเปนตัวตั้งแลวลบดวยคาสัมบูรณที่นอยกวา
ได 13 – -9 = 13 – 9 = 4
แตผลลัพธที่ไดเปนจํานวนเต็มบวก ตามจํานวนที่มีคาสัมบูรณมากกวา
ดังนั้น 13 + (-9) = 4
ตัวอยางที่ 10 39 + (-12) = F
วิธีทํา คาสัมบูรณของ …………………… = ……………………
คาสัมบูรณของ …………………… = ……………………
นําคาสัมบูรณที่มากกวาเปนตัวตั้งแลวลบดวยคาสัมบูรณที่นอยกวา
ได ………………………………………………………………
แตผลลัพธที่ไดเปนจํานวนเต็มบวก ตามจํานวนที่มีคาสัมบูรณมากกวา
ดังนั้น ………………………………………………………………

การบวกจํานวนเต็มลบดวยจํานวนเต็มบวก ในกรณีที่จํานวนเต็มบวกมีคาสัมบูรณมากกวา
พิจารณาการบวกตอไปนี้
ตัวอยางที่ 11 (-4) + 7 = F

-5 -4 -3 -2 -1 0 1 2 3 4 5
วิธีการ 1. เริ่มตนที่ 0
2. เคลื่อนไปทางซายเปนระยะที่เทากับคาสัมบูรณของ -4
3. จาก -4 นับเพิ่มไปทางขวามือเทากับคาสัมบูรณของ 7 ซึ่งจะไปสิ้นสุดที่ 3
ดังนั้น (-4) + 7 = 3
ตัวอยางที่ 12 (-4) + 7 = F
วิธีทํา คาสัมบูรณของ -4 = 4
คาสัมบูรณของ 7 = 7
นําคาสัมบูรณที่มากกวาเปนตัวตั้งแลวลบดวยคาสัมบูรณที่นอยกวา

ครูครรชิต แซโฮ โรงเรียนจันทรประภัสสรอนุสรณ สพท.ยะลา เขต 3


หนวยการเรียนรูที่ 2 ระบบจํานวนเต็ม 67

ได 7 – -4 = 7–4 = 3
แตผลลัพธที่ไดเปนจํานวนเต็มบวก ตามจํานวนที่มีคาสัมบูรณมากกวา เชนเดียวกับ
การหาผลบวกโดยใชเสนจํานวน
ดังนั้น (-4) + 7 = 3
ตัวอยางที่ 13 (-12) + 16 = F
วิธีทํา คาสัมบูรณของ …………………… = ……………………
คาสัมบูรณของ …………………… = ……………………
นําคาสัมบูรณที่มากกวาเปนตัวตั้งแลวลบดวยคาสัมบูรณที่นอยกวา
ได ………………………………………………………………
แตผลลัพธที่ไดเปนจํานวนเต็มบวก ตามจํานวนที่มีคาสัมบูรณมากกวา
ดังนั้น ………………………………………………………………

สรุปไวใช การบวกจํานวนเต็มบวกดวยจํานวนเต็มลบหรือการบวกจํานวน
เต็มลบดวยจํานวนเต็มบวก ในกรณีที่จํานวนเต็มบวกมีคาสัมบูรณมากกวา
ให นํ า ค า สั ม บู ร ณ ข องจํ า นวนที่ ม ากกว า เป น ตั ว ตั้ ง แล ว ลบด ว ยค า สั ม บู ร ณ ข อง
จํานวนที่นอยกวา ผลลัพธที่ไดเปนจํานวนเต็มบวก

การบวกจํานวนเต็มบวกดวยจํานวนเต็มลบ ในกรณีที่จํานวนเต็มลบมีคาสัมบูรณมากกวา
พิจารณาการบวกตอไปนี้
ตัวอยางที่ 14 4 + (-8) = F

-5 -4 -3 -2 -1 0 1 2 3 4 5
วิธีการ 1. เริ่มตนที่ 0
2. เคลื่อนไปทางขวาเปนระยะที่เทากับคาสัมบูรณของ -4
3. จาก 4 นับลดไปทางซายมือเทากับคาสัมบูรณของ -8 ซึ่งจะไปสิ้นสุดที่ -4
ดังนั้น 4 + (-8) = -4

ครูครรชิต แซโฮ โรงเรียนจันทรประภัสสรอนุสรณ สพท.ยะลา เขต 3


68 สื่อเสริมสาระการเรียนรู คณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1

ตัวอยางที่ 15 4 + (-8) = F
วิธีทํา คาสัมบูรณของ 4 หรือ 4 = 4
คาสัมบูรณของ -8 หรือ -8 = 8

นําคาสัมบูรณที่มากกวาเปนตัวตั้งแลวลบดวยคาสัมบูรณที่นอยกวา
ได -8 – 4 = 8–4 = 4
แตผลลัพธที่ไดเปนจํานวนเต็มลบ ตามจํานวนที่มีคาสัมบูรณมากกวา เชนเดียวกับ
การหาผลบวกโดยใชเสนจํานวน
ดังนั้น 4 + (-8) = -4
ตัวอยางที่ 16 9 + (-12) = F
วิธีทํา คาสัมบูรณของ …………………… = ……………………
คาสัมบูรณของ …………………… = ……………………
นําคาสัมบูรณที่มากกวาเปนตัวตั้งแลวลบดวยคาสัมบูรณที่นอยกวา
ได ………………………………………………………………
แตผลลัพธที่ไดเปนจํานวนเต็มลบ ตามจํานวนที่มีคาสัมบูรณมากกวา
ดังนั้น ………………………………………………………………

การบวกจํานวนเต็มลบดวยจํานวนเต็มบวก ในกรณีที่จํานวนเต็มลบมีคาสัมบูรณมากกวา
พิจารณาการบวกตอไปนี้
ตัวอยางที่ 17 (-5) + 4 = F

-5 -4 -3 -2 -1 0 1 2 3 4 5
วิธีการ 1. เริ่มตนที่ 0
2. เคลื่อนไปทางซายเปนระยะที่เทากับคาสัมบูรณของ -5
3. จาก -5 นับเพิ่มไปทางขวามือเทากับคาสัมบูรณของ 4 ซึ่งจะไปสิ้นสุดที่ -1
ดังนั้น (-5) + 4 = -1

ครูครรชิต แซโฮ โรงเรียนจันทรประภัสสรอนุสรณ สพท.ยะลา เขต 3


หนวยการเรียนรูที่ 2 ระบบจํานวนเต็ม 69

ตัวอยางที่ 18 (-5) + 4 = F
วิธีทํา คาสัมบูรณของ -5 = 4
คาสัมบูรณของ 4 = 8
นําคาสัมบูรณที่มากกวาเปนตัวตั้งแลวลบดวยคาสัมบูรณที่นอยกวา
ได -5 – 4 = 5–4 = 1
แตผลลัพธที่ไดเปนจํานวนเต็มลบ ตามจํานวนที่มีคาสัมบูรณมากกวา เชนเดียวกับ
การหาผลบวกโดยใชเสนจํานวน
ดังนั้น (-5) + 4 = -1
ตัวอยางที่ 19 (-12) + 9 = F
วิธีทํา คาสัมบูรณของ …………………… = ……………………
คาสัมบูรณของ …………………… = ……………………
นําคาสัมบูรณที่มากกวาเปนตัวตั้งแลวลบดวยคาสัมบูรณที่นอยกวา
ได ………………………………………………………………
แตผลลัพธที่ไดเปนจํานวนเต็มลบ ตามจํานวนที่มีคาสัมบูรณมากกวา
ดังนั้น ………………………………………………………………

สรุปไวใช การบวกจํานวนเต็มบวกดวยจํานวนเต็มลบหรือการบวกจํานวน
เต็ม ลบดวยจํ านวนเต็ม บวก ในกรณี ที่จํ า นวนเต็ มลบมี คาสั มบู รณ ม ากกว า
ให นํ า ค า สั ม บู ร ณ ข องจํ า นวนที่ ม ากกว า เป น ตั ว ตั้ ง แล ว ลบด ว ยค า สั ม บู ร ณ ข อง
จํานวนที่นอยกวา ผลลัพธที่ไดเปนจํานวนเต็มลบ

สงสัยไหมครับ ?
ถาเปนการบวกระหวางจํานวนเต็มบวกกับจํานวนเต็มลบ ในกรณีที่
จํานวนเต็มทั้งสองมีคาสัมบูรณเทากัน จะเกิดอะไรขึ้น ชวยตอบหนอยนะครับ
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………

ครูครรชิต แซโฮ โรงเรียนจันทรประภัสสรอนุสรณ สพท.ยะลา เขต 3


70 สื่อเสริมสาระการเรียนรู คณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1

สรุปอีกครั้ง การบวกจํานวนเต็มบวกดวยจํานวนเต็มลบหรือการบวก
จํานวนเต็มลบดวยจํานวนเต็มบวก
ในกรณีที่จํานวนเต็มบวกมีคาสัมบูรณมากกวา ใหนําคาสัมบูรณของจํานวนที่มากกวาเปน
ตัวตั้ง แลวลบดวยคาสัมบูรณของจํานวนที่นอยกวา ผลลัพธที่ไดเปนจํานวนเต็มบวก
ในกรณีที่จํานวนเต็มลบมีคาสัมบูรณมากกวา ใหนําคาสัมบูรณของจํานวนที่มากกวาเปน
ตัวตั้ง แลวลบดวยคาสัมบูรณของจํานวนที่นอยกวา ผลลัพธที่ไดเปนจํานวนเต็มลบ

กิจกรรมที่ 2.8 : ทักษะการใหเหตุผลและการสื่อสาร


1. จงหาผลบวก
1) 35 + (-18) = ……………………………………………………..
2) (-18) + 35 = ……………………………………………………..
3) (-36) + 34 = ……………………………………………………..
4) 34 + (-36) = ……………………………………………………..
5) (-39) + 16 = ……………………………………………………..
6) 16 + (-39) = ……………………………………………………..
7) (-57) + 74 = ……………………………………………………..
8) 74 + (-57) = ……………………………………………………..
9) (-100) + 16 = ……………………………………………………..
10) (-16) + (-100) = ……………………………………………………..
2. จงหาผลบวก
1) [(-15) + 7] + (-3) = ……………………………………………………..
2) (-15) + [7 + (-3)] = ……………………………………………………..
3) [12 + (-12)] + (-8) = ……………………………………………………..
4) 12 + [(-12) + (-8)] = ……………………………………………………..
5) [100 + (-64)] + (-36) = ……………………………………………………..
6) 100 + [(-64) + (-36)] = ……………………………………………………..
3. จงหาจํานวนเต็มสามจํานวนที่บวกกันแลวมีคําตอบเปนจํานวนตอไปนี้
1) 6 ตอบ ………………………………………………………………
2) -9 ตอบ ………………………………………………………………

ครูครรชิต แซโฮ โรงเรียนจันทรประภัสสรอนุสรณ สพท.ยะลา เขต 3


หนวยการเรียนรูที่ 2 ระบบจํานวนเต็ม 71

3. การลบจํานวนเต็ม
3.1 การลบจํานวนเต็มโดยใชเสนจํานวน
ใหนักเรียนพิจารณาการลบจํานวนเต็มตอไปนี้
1) การลบจํานวนเต็มบวกดวยจํานวนเต็มบวก
9–4=5

-1 0 1 2 3 4 5 6 7 8 9
2) การลบจํานวนเต็มบวกดวยจํานวนเต็มลบ
9 – (-4) = 13

0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13
3) การลบจํานวนเต็มลบดวยจํานวนเต็มบวก
(-9) – 4 = -13

-13 -12 -11 -10 -9 -8 -7 -6 -5 -4 -3 -2 -1 0


4) การลบจํานวนเต็มลบดวยจํานวนเต็มลบ
(-9) – (-4) = -5

-13 -12 -11 -10 -9 -8 -7 -6 -5 -4 -3 -2 -1 0

ครูครรชิต แซโฮ โรงเรียนจันทรประภัสสรอนุสรณ สพท.ยะลา เขต 3


72 สื่อเสริมสาระการเรียนรู คณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1

3.2 การลบจํานวนเต็มโดยใชจํานวนตรงขาม
พิจารณาการลบจํานวนเต็มบวกดวยจํานวนเต็มลบ สัมพันธกับการบวกจํานวนเต็มบวกกับ
จํานวนเต็มบวก ตอไปนี้
5 – (-3)

0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10
5+3

0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10
7 – (-4)

0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11
7+4

0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11
พิจารณาความสัมพันธของการลบจํานวนเต็มและการบวกจํานวนเต็มดังแสดงไวขางตน จะ
เห็นวา
การลบจํานวนเต็มบวกดวยจํานวนเต็มลบ การบวกจํานวนเต็มบวกดวยจํานวนเต็มบวก
5 – (-3) = 8 5+3=8
จะได 5 – (-3) = 5+3
7 – (-4) = 11 7 + 4 = 11
จะได 7 – (-4) = 7+4
# #
a – (-b) = a+b
หรือ a–b = a + (-b)

ครูครรชิต แซโฮ โรงเรียนจันทรประภัสสรอนุสรณ สพท.ยะลา เขต 3


หนวยการเรียนรูที่ 2 ระบบจํานวนเต็ม 73

นั่นก็คือ การลบของจํานวนสองจํานวนสองจํานวนใดๆ จะเทากับจํานวนที่เปนตัวตั้ง


บวกกับจํานวนตรงขามที่เปนตัวลบ

สมบัติของการลบจํานวนเต็ม
ถา a และ b เปนจํานวนใด ๆ
a – b = a + (-b)

ตัวอยางที่ 20 1) 4 – 2 = 4 + จํานวนตรงขามของ 2
= 4 + (-2)
2) 2 – 4 = 2 + จํานวนตรงขามของ 4
= 2 + (-4)
3) (-4) – 2 = (-4) + จํานวนตรงขามของ…………
= ……………………
4) (-4) – (-2) = (-4) + จํานวนตรงขามของ…………
= ……………………
5) 4 – (-2) = …………………………………………
= ……………………
ตัวอยางที่ 21 จงหาผลลบ 5 – 12
วิธีทํา 5 – 12 = 5 + (-12)
= -7
ตอบ -7
ตัวอยางที่ 22 จงหาผลลบ (-5) – 12
วิธีทํา (-5) – 12 = (-5) + (-12)
= ……………
ตอบ ……………
ตัวอยางที่ 23 จงหาผลลบ 5 – (-12)
วิธีทํา 5 – (-12) = 5 + ……………
= ……………
ตอบ ……………

ครูครรชิต แซโฮ โรงเรียนจันทรประภัสสรอนุสรณ สพท.ยะลา เขต 3


74 สื่อเสริมสาระการเรียนรู คณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1

ตัวอยางที่ 24 จงหาผลลบ (-5) – (-12)


วิธีทํา (-5) – (-12) = ……………
= ……………
ตอบ ……………

กิจกรรมที่ 2.9 : ทักษะการใหเหตุผลและการสื่อสาร


1. จงเขียนการลบตอไปนี้ในรูปการบวกของจํานวนตรงขาม
1) (-3) – 5 = ………………… 2) 4 – (-16) = …………………
3) (-13) – (-7) = ………………… 4) (-63) – (-28) = …………………
5) 10 – 13 = ………………… 6) 1 – 18 = …………………
7) 0 – 23 = ………………… 8) 0 – (-18) = …………………
9) (-19) – (-19) = ………………… 10) (-40) – 6 = …………………
2. จงหาผลลบ
1) (-3) – 5 = ………………… 2) 4 – (-16) = …………………
3) (-13) – (-7) = ………………… 4) (-63) – (-28) = …………………
5) 10 – 13 = ………………… 6) 1 – 18 = …………………
7) 0 – 23 = ………………… 8) 0 – (-18) = …………………
9) (-19) – (-19) = ………………… 10) (-40) – 6 = …………………
3. จงหาจํานวนเต็มที่แทน x แลวทําใหประโยคเปนจริง
1) (-4) – x = -10 ; x = ………… 2) x – 12 = 10 ; x = …………
3) (-5) – x = -20 ; x = ………… 4) (-46) – (-35) = x ; x = ………
5) 80 – x = 40 ; x = ………… 6) (-17) – x = 30 ; x = …………
7) -(-26) – x = 50 ; x = ………… 8) x – (-8) = 26 ; x = …………
9) 50 – (-50) = x ; x = ………… 10) (-50) – (-50) = x ; x = …………
4. จงหาผลลบ
1) (-10) + {(-13) – (-9)} = ……………………………………………………..
2) {(-4) – (-8)} + (-11) = ……………………………………………………..
3) 19 – (-25) + (-7) = ……………………………………………………..
4) (-12) – (-6) – 18 = ……………………………………………………..
5) {15 + (-11) – (-6)} + (-25) = ………………………………………………

ครูครรชิต แซโฮ โรงเรียนจันทรประภัสสรอนุสรณ สพท.ยะลา เขต 3


หนวยการเรียนรูที่ 2 ระบบจํานวนเต็ม 75

5. จงหาคาของ
1) (a + b) – c เมื่อ a = -5, b = -21, c = -18
(a + b) – c = ……………………………………………………..
= ……………………………………………………..
= ……………………………………………………..
2) a + (b – c) เมื่อ a = 14, b = -32, c = -50
a + (b – c) = ……………………………………………………..
= ……………………………………………………..
= ……………………………………………………..
3) a – (b – c) เมื่อ a = -100, b = 54, c = -45
a – (b – c) = ……………………………………………………..
= ……………………………………………………..
= ……………………………………………………..

4. การคูณจํานวนเต็ม
4.1 การคูณจํานวนเต็มบวกดวยจํานวนเต็มบวก
การคูณจํานวนเต็มบวกดวยจํานวนเต็มบวก คือการคูณจํานวนนับดวยจํานวนนับ ดังตัวอยาง
1) 3 × 4 = 4 + 4 + 4 = 12
3 × 4 = 4 × 3 มีสมบัติการสลับที่การคูณ
ดังนั้น 3 × 4 = 4 × 3 = 12
2) 4 × 7 = 7 + 7 + 7 + 7 = 28
4 × 7 = 7 × 4 มีสมบัติการสลับที่การคูณ
ดังนั้น 4 × 7 = 7 × 4 = 28
จะเห็นวา
การคูณจํานวนเต็มบวกดวยจํานวนเต็มบวก จะไดผลลัพธเปนจํานวนเต็มบวก
ตัวอยางที่ 25 1) 6×9 = 54
2) 7×8 = ………………
3) 8×9 = ………………
4) 9×8 = ………………

ครูครรชิต แซโฮ โรงเรียนจันทรประภัสสรอนุสรณ สพท.ยะลา เขต 3


76 สื่อเสริมสาระการเรียนรู คณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1

4.2 การคูณจํานวนเต็มบวกดวยจํานวนเต็มลบหรือการคูณจํานวนเต็มลบดวย
จํานวนเต็มบวก
การคูณจํานวนเต็มบวกดวยจํานวนเต็มลบ สามารถหาผลคูณโดยใชความหมายของการคูณ
และการบวกจํานวนเต็มลบ ดังตัวอยาง
5 × (-3) = (-3) + (-3) + (-3) + (-3) + (-3)
= -15
หรือ 5 × (-3) = (-3) × 5 (สมบัติการสลับที่การคูณ)
= (-5) + (-5) + (-5)
= -(5 + 5 + 5)
= -(5 × 3)
= -15
ดังนั้น 5 × (-3) = (-3) × 5 = -(5 × 3) = -15
จะพบวา 5 × (-3) = -( 5 × -3 )
= -(5 × 3)
= -15
และ (-5) × 3 = -( -5 × 3 )
= -(5 × 3)
= -15

สรุปไวใช
การคูณจํานวนเต็มบวกดวยจํานวนเต็มลบ หรือ การคูณจํานวนเต็มลบ
ดวยจํานวนเต็มบวก มีหลักการดังนี้
1. ใหหาคาสัมบูรณของจํานวนเต็มทั้งสอง
2. ใหนําคาสัมบูรณของจํานวนเต็มทั้งสองมาคูณกัน
3. ผลลัพธที่ไดในขอ 2 ใหตอบเปนจํานวนเต็มลบ

จากขอสรูปขางตน อาจกลาวอีกอยางไดวา การคูณจํานวนเต็มบวกดวยจํานวนเต็มลบ หรือ


การคูณจํานวนเต็มลบดวยจํานวนเต็มบวก จะไดผลลัพธเปนจํานวนเต็มลบ

ครูครรชิต แซโฮ โรงเรียนจันทรประภัสสรอนุสรณ สพท.ยะลา เขต 3


หนวยการเรียนรูที่ 2 ระบบจํานวนเต็ม 77

ตัวอยางที่ 26 1) (-6) × 9 = -( -6 × 9 )
= -(6 × 9)
= -54
2) 7 × (-8) = ………………
= ………………
= ………………
3) (-15) × 3 = -(15 × 3)
= -45
4) 19 × (-2) = ………………
= ………………
5) (-12) × 9 = ………………
= ………………
4.3 การคูณจํานวนเต็มลบดวยจํานวนเต็มลบ
พิจารณาตัวอยางตอไปนี้
(-3) × (-4) = ,
เนื่องจาก
(-4) + 4 = 0 (จํานวนตรงขามบวกกันเทากับศูนย)
นํา (-3) คูณทั้งสองขาง จะได
(-3) × [(-4) + 4] = (-3) × 0
[(-3) × (-4)] + [(-3) × 4] = 0 (สมบัติการแจกแจง)
[(-3) × (-4)] + (-12) =0
นํา 12 มาบวกทั้งสองขาง จะได
[(-3) × (-4)] + (-12) + 12 = 0 + 12
[(-3) × (-4)] + 0 = 0 + 12 (จํานวนตรงขามบวกกันเทากับศูนย)
(-3) × (-4) = 12
ดั้งนั้น (-3) × (-4) = 12
หรือ (-3) × (-4) = -3 × -4 = 3 × 4 = 12

ครูครรชิต แซโฮ โรงเรียนจันทรประภัสสรอนุสรณ สพท.ยะลา เขต 3


78 สื่อเสริมสาระการเรียนรู คณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1

สรุปไวใช
การคูณจํานวนเต็มลบดวยจํานวนเต็มลบ มีหลักการดังนี้
1. ใหหาคาสัมบูรณของจํานวนเต็มทั้งสอง
2. ใหนําคาสัมบูรณของจํานวนเต็มทั้งสองมาคูณกัน
3. ผลลัพธที่ไดในขอ 2 ใหตอบเปนจํานวนเต็มบวก

จากขอสรูปขางตน อาจกลาวอีกอยางไดวา การคูณจํานวนเต็มลบดวยจํานวนเต็มลบ จะได


ผลลัพธเปนจํานวนเต็มลบ
ตัวอยางที่ 27 1) (-6) × (-9) = -6 × -9
= 6×9
= 54
2) (-7) × (-8) = ………………
= ………………
= ………………
3) (-15) × (-3) = 15 × 3
= 45
4) (-19) × (-2) = ………………
= ………………
5) (-12) × (-9) = ………………
= ………………

ขอสังเกตที่ไมควรมองขาม
การคูณจํานวนเต็มสองจํานวนใด ๆ
1. จํานวนที่มีเครื่องหมาย เหมือนกัน คูณกัน ไดผลลัพธเปนจํานวนเต็มบวก
ตัวอยาง 2 × 5 = 10
(-2) × (-5) = 10
2. จํานวนที่มีเครื่องหมาย ตางกัน คูณกัน ไดผลลัพธเปนจํานวนเต็มลบ
ตัวอยาง 2 × (-5) = -10
(-2) × 5 = -10

ครูครรชิต แซโฮ โรงเรียนจันทรประภัสสรอนุสรณ สพท.ยะลา เขต 3


หนวยการเรียนรูที่ 2 ระบบจํานวนเต็ม 79

กิจกรรมที่ 2.10 : ทักษะการใหเหตุผล การสื่อสารและการเชื่อมโยง


1. จงหาคูณ
1) 9 × 12 = ………………… 2) (-11) × 7 = …………………
3) 13 × (-8) = ………………… 4) (-20) × (-12) = …………………
5) (-25) × 25 = ………………… 6) (-400) × 10 = …………………
7) 0 × 1250 = ………………… 8) (-214) × 0 = …………………
9) (-1) × (-1) = ………………… 10) (-2) × 1 = …………………
11) 9 × 12 = ………………… 12) 12 × 9 = …………………
13) 7 × (-11) = ………………… 14) (-11) × 7 = …………………
15) (-20) × 3 = ………………… 16) 3 × (-20) = …………………
17) (-13) × (-12) = ………………… 18) (-12) × (-13) = …………………
19) (-14) × 14 = ………………… 20) 14 × (-14) = …………………
2. จงหาผลลัพธ
1) 2 × (3 + 7) 2) (2 × 3) + (2 × 7)
= ……………………………… = ………………………………
= ……………………………… = ………………………………
3) (-4) × (5 + 6) 4) {(-4) × 5} + {(-4) × 6}
= ……………………………… = ………………………………
= ……………………………… = ………………………………
5) 3 × {(-2) + 7} 6) {3 × (-2)} + (3 × 7)
= ……………………………… = ………………………………
= ……………………………… = ………………………………
7) (-2) × {4 + (-9)} 8) {(-2) × 7) + {(-2) × (-9)}
= ……………………………… = ………………………………
= ……………………………… = ………………………………
9) (-3) × {(-1) + (-11)} 10) {(-3) × (-1)} + {(-3) × (-11)}
= ……………………………… = ………………………………
= ……………………………… = ………………………………

ครูครรชิต แซโฮ โรงเรียนจันทรประภัสสรอนุสรณ สพท.ยะลา เขต 3


80 สื่อเสริมสาระการเรียนรู คณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1

3. จงหาจํานวนเต็มที่แทน y แลวทําใหไดประโยคที่เปนจริง
1) y × 6 = -12 ; y = ………… 2) 5 × y = -5 ; y = ……………
3) (-2) × y = 6 ; y = ………… 4) (-1) × y = 1 ; y = …………….
5) y × 1 = -1 ; y = ………… 6) 100 × y = -200 ; y = …………
7) 7 × (-10) × y = -70 ; y = ………… 8) (-1) × y = 2 ; y = ………….
9) (-1) × y × (-1) = y ; y = ………… 10) (-5) × y × (-5) = -125 ; y = ……….

5. การหารจํานวนเต็ม
การหารจํานวนเต็มดวยจํานวนเต็มอาจเปนการหารลงตัวหรือเปนการหารไมลงตัวก็ได แตใน
หัวขอนี้จะกลาวถึงเฉพาะการหารจํานวนเต็มดวยจํานวนเต็มที่เปนการหารลงตัว ซึ่งมีผลหารเปน
จํานวนเต็มและเศษเปน 0
การหารจํานวนเต็มดวยจํานวนเต็มที่เปนการหารลงตัว อาศัยการคูณตามขอตกลงดังนี้
ตัวตั้ง
= ผลหาร
ตัวหาร
จะไดวา ตัวหาร × ผลหาร = ตัวตัง้

พิจารณา 96 = 8
12
จะไดวา 12 × 8 = 96
ในทางคณิตศาสตร อาจเขียน a ÷ b ดวย ab

ตัวอยางที่ 28 จงหาผลหาร -16


4
วิธีทํา ให -16 = a
4 อีกวิธีที่นาสน
จะได 4 ×a = -16
-16 = 4 × (-4)
เนื่องจาก 4 × (-4) = -16 -16 = 4 ×(-4)
ดังนั้น a = -4 4 4
-16 = -4
นั่นคือ 4 = -4

ครูครรชิต แซโฮ โรงเรียนจันทรประภัสสรอนุสรณ สพท.ยะลา เขต 3


หนวยการเรียนรูที่ 2 ระบบจํานวนเต็ม 81

ตัวอยางที่ 29 จงหาผลหาร 16
-4
16 อีกวิธีที่นาสน
วิธีทํา ให -4 = ………
16 = (-4) × (-4)
จะได (-4)× ……… = 16 16 = (-4)×(-4)
เนื่องจาก (-4)×(-4) = 16 -4 -4
ดังนั้น ……… = ……… = -4
นั่นคือ 16 = ………
-4
ตัวอยางที่ 30 จงหาผลหาร -16-4
วิธีทํา ให -16 = ………
-4
จะได (-4)× ……… = -16 อีกวิธีที่นาสน
เนื่องจาก …………… = 16 -16 = 4 × (-4)
-16 = 4 ×(-4)
ดังนั้น ……… = ……… -4 -4
นั่นคือ -16 = ……… =4
-4

หลักในการหารจํานวนเต็ม มีดังนี้
1) การหารจํานวนเต็ม เมื่อตัวตั้งและตัวหารเปนจํานวนเต็มบวกทั้งคู ผลลัพธที่
ไดเปนจํานวนเต็มบวก เชน 108
12 = 9
2) การหารจํานวนเต็ม เมื่อตัวตั้งหรือตัวหารตัวใดตัวหนึ่งเปนจํานวนเต็มลบ
โดยที่จํานวนอีกจํานวนหนึ่งเปนจํานวนเต็มบวก ผลลัพธที่ไดเปนจํานวนเต็ม
ลบ เชน -144 12
12 = -12 และ -12 = -1
3) การหารจํานวนเต็ม เมื่อตัวตั้งและตัวหารเปนจํานวนเต็มลบทั้งคู ผลลัพธที่
ไดเปนจํานวนเต็มบวก เชน -49
-7 = 7

ตัวอยางที่ 31 จงหาผลหารของ 50
-5
วิธีทํา เนื่องจาก 50 = (-5) × (-10)
50 = (-5)×(-10)
-5 -5
= -10
ดังนั้น 50
-5 = -10

ครูครรชิต แซโฮ โรงเรียนจันทรประภัสสรอนุสรณ สพท.ยะลา เขต 3


82 สื่อเสริมสาระการเรียนรู คณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1

ตัวอยางที่ 32 จงหาผลหารของ -50


5
วิธีทํา เนื่องจาก -50 = 5 × ………
-50 = 5×............
5 5
= ………………
ดังนั้น 50-5 = ………………
ตัวอยางที่ 33 จงหาผลหารของ -50 -5
วิธีทํา เนื่องจาก -50 = ………………
-50 = ………………
-5
= ………………
ดังนั้น 50
-5 =………………
กิจกรรมที่ 2.11 : ทักษะการใหเหตุผล การสื่อสารและการเชื่อมโยง
1. จงหาผลหาร โดยแสดงวิธีทํา
1) 48 ÷ (-4) 2) (-96) ÷ 3
…………………………………… ……………………………………
…………………………………… ……………………………………
…………………………………… ……………………………………
…………………………………… ……………………………………
3) 108 ÷ 9 4) 0 ÷ (-2)
…………………………………… ……………………………………
…………………………………… ……………………………………
…………………………………… ……………………………………
…………………………………… ……………………………………
5) (-1) ÷ (-1) 6) (-132) ÷ (-11)
…………………………………… ……………………………………
…………………………………… ……………………………………
…………………………………… ……………………………………
…………………………………… ……………………………………

ครูครรชิต แซโฮ โรงเรียนจันทรประภัสสรอนุสรณ สพท.ยะลา เขต 3


หนวยการเรียนรูที่ 2 ระบบจํานวนเต็ม 83

2. จงหาผลหาร
1) 12 ÷ (-2) = …………………… 2) 48 ÷ (-4) = ……………………
3) 36 ÷ (-6) = …………………… 4) 64 ÷ (-8) = ……………………
5) 110 ÷ (-10) = …………………… 6) (-72) ÷ 8 = ……………………
7) (-56) ÷ 7 = …………………… 8) (-54) ÷ 6 = ……………………
9) (-75) ÷ 5 = …………………… 10) (-124) ÷ 4 = ……………………
11) (-12) ÷ (-2) = …………………… 12) (-10) ÷ (-5) = ……………………
13) (-16) ÷ (-4) = …………………… 14) (-48) ÷ (-6) = ……………………
15) {48 ÷ (-6)} ÷ (-2) = ………………… 16) 48 ÷ {(-6) ÷ (-2) = …………………
17) {45 ÷ (-3)} ÷ (-3) = ………………… 18) (-45) ÷ {3 ÷ (-3)} = …………………
19) {(-64) ÷ 8} ÷ {(-8) ÷ (-4)} = ……………………
3. จงหาจํานวนเต็มที่แทน z แลวทําใหไดประโยคที่เปนจริง
1) z ÷ (-3) = 4 ; z = …………….
2) 15 ÷ z = -5 ; z = …………….
3) (-16) ÷ z = -4 ; z = …………….
4) z ÷ 1 = 12 ; z = …………….
5) (-32) ÷ z = 1 ; z = …………….
6) [(-64) ÷ 8] ÷ z = 2 ; z = …………….
7) [45 ÷ (-3)] ÷ (-5) = z ; z = …………….
8) [(-72) ÷ (-9)] ÷ 2 = z ; z = …………….
9) z ÷ [(-7) ÷ 7] = -5 ; z = …………….
10) 20 ÷ [8 ÷ (-z)] = -5 ; z = …………….
4. นุชไปตลาดกับแมและแมตองการซื้อขาวสาร 12 ถุง ราคาถุงละ 55 บาท แมถามนุชวาแมตอง
จายเงินกี่บาท ถานุชตองคิดคําตอบในใจ นุชจะมีวิธีคิดอยางรวดเร็วไดอยางไร จงอธิบาย
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………

ครูครรชิต แซโฮ โรงเรียนจันทรประภัสสรอนุสรณ สพท.ยะลา เขต 3


84 สื่อเสริมสาระการเรียนรู คณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1

ชวนคิดคณิตศาสตร

ทําไมไมใช 0 เปนตัวหาร

ลองทํากิจกรรมดู แลวคุณจะรู

1. กําหนดให 00 = a ถาเขียนประโยคนี้ใหอยูในรูปการคูณ จะเขียนไดอยางไร


……………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………….
2. จงหาคา a ที่ทําให 0 × a = 0 เปนจริง
……………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………….
3. คา a ที่หาไดในขอ 2 มีมากกวาหนึ่งคาหรือไม
……………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………….
4. ถาให a เปนคําตอบของ 00 จะหาคา a ที่แนนอนไดหรือไม เพราะเหตุใด
……………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………….
5. จงหาคําตอบของ 05 โดยใชวิธีการหาคา y ที่ 0 × y = 5
……………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………….
6. มีคําตอบของ 05 หรือไม เพราะเหตุใด
……………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………….
7. การหารจํานวนใด ๆ ดวย 0 เกิดปญหาอยางไรบาง
……………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………….

ครูครรชิต แซโฮ โรงเรียนจันทรประภัสสรอนุสรณ สพท.ยะลา เขต 3


หนวยการเรียนรูที่ 2 ระบบจํานวนเต็ม 85

6. บทสรุปสงทาย
1. การบวกจํานวนเต็ม
1.1 การบวกจํานวนเต็มบวกดวยจํานวนเต็มบวก ใหนําคาสัมบูรณของจํานวนเต็มบวก
ทั้งสองมาบวกกัน ผลลัพธที่ไดเปนจํานวนเต็มบวก
1.2 การบวกจํานวนเต็มลบดวยจํานวนเต็มลบ ใหนําคาสัมบูรณของจํานวนเต็มบวก
ทั้งสองมาบวกกัน ผลลัพธที่ไดเปนจํานวนเต็มบวก
1.3 การบวกจํ า นวนเต็ ม บวกด ว ยจํ า นวนเต็ ม ลบ หรื อ การบวกจํ า นวนเต็ ม ลบด ว ย
จํานวนเต็มบวก
1) ในกรณีที่จํานวนเต็มบวกมีคาสัมบูรณมากกวา ใหนําคาสัมบูรณของจํานวน
ที่มากกวาเปนตัวตั้ง แลวลบดวยคาสัมบูรณของจํานวนที่นอยกวา ผลลัพธที่ไดเปนจํานวนเต็ม
บวก
2) ในกรณีที่จํานวนเต็มลบมีคาสัมบูรณมากกวา ใหนําคาสัมบูรณของจํานวนที่
มากกวาเปนตัวตั้ง แลวลบดวยคาสัมบูรณของจํานวนที่นอยกวา ผลลัพธที่ไดเปนจํานวนเต็มลบ

2. การลบจํานวนเต็ม
ใหใชสมบัติที่วา ถา a และ b เปนจํานวนใด ๆ แลว
a – b = a + (-b)

ครูครรชิต แซโฮ โรงเรียนจันทรประภัสสรอนุสรณ สพท.ยะลา เขต 3


86 สื่อเสริมสาระการเรียนรู คณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1

ชวนคิดคณิตศาสตร

สามเหลี่ยมกลปะทะวงลอกล
ลองทํากิจกรรมดู แลวคุณจะรู
1. สามเหลี่ยมกล

1. จงเติม -7, -5, -3, -1, 1 และ 3 ลงในชองสี่เหลี่ยมโดยไมซ้ํากันเพื่อทําใหผลบวกของ


จํานวนเต็มสามจํานวนที่อยูในแนวเสนตรงเดียวกัน มีผลบวกเทากันทั้งสามแนว
2. ตรวจสอบกับเพื่อน ๆ วาไดคําตอบเหมือนกันหรือไม
2. วงลอกล

จงเติม -6, -3, 0, 3, 6, 9 และ 12 ลงใน โดยไมซ้ํากัน เพื่อทําใหผลบวกของจํานวนเต็มสาม


จํานวนที่อยูในแนวเสนตรงเดียวกัน มีผลบวกเทากันทั้งสามแนว

ครูครรชิต แซโฮ โรงเรียนจันทรประภัสสรอนุสรณ สพท.ยะลา เขต 3


หนวยการเรียนรูที่ 2 ระบบจํานวนเต็ม 87

ชวนคิดคณิตศาสตร

ปริศนาจํานวนเต็ม ภาค 1
ลองทํากิจกรรมดู แลวคุณจะรู
ขอตกลง ใหนักเรียนเติมจํานวนเต็มใน F ใหถูกตอง เมื่อกําหนดใหจํานวนที่อยูในสดมภที่
หนึ่งเปนตัวตั้ง และจํานวนที่อยูในแถวที่หนึ่งเปนตัวบวก หรือตัวลบ

+ 0 -3 4
5 5 2 9
-1
-1 -4 3
-3 -2

- 5
-1 1
-6 -4
-1
-1 -5

ครูครรชิต แซโฮ โรงเรียนจันทรประภัสสรอนุสรณ สพท.ยะลา เขต 3


88 สื่อเสริมสาระการเรียนรู คณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1

6. บทสรุปสงทาย (ตอ)

3. การคูณจํานวนเต็ม
3.1 การคูณจํานวนเต็มบวกดวยจํานวนเต็มบวก จะไดผลลัพธเปนจํานวนเต็มบวก
3.2 การคู ณ จํ า นวนเต็ ม บวกด ว ยจํ า นวนเต็ ม ลบ หรื อ การคู ณ จํ า นวนเต็ ม ลบด ว ย
จํานวนเต็มบวก จะไดผลลัพธเปนจํานวนเต็มลบ
3.3 การคูณจํานวนเต็มลบดวยจํานวนเต็มลบ จะไดผลลัพธเปนจํานวนเต็มบวก

4. การหารจํานวนเต็ม มีหลักการดังนี้
4.1 การหารจํานวนเต็ม เมื่อตัวตั้งและตัวหารเปนจํานวนเต็มบวกทั้งคู ผลลัพธที่ไดเปน
จํานวนเต็มบวก
4.2 การหารจํานวนเต็ม เมื่อตัวตั้งหรือตัวหารตัวใดตัวหนึ่งเปนจํานวนเต็มลบ โดยที่
จํานวนอีกจํานวนหนึ่งเปนจํานวนเต็มบวก ผลลัพธที่ไดเปนจํานวนเต็มลบ
4.3 การหารจํานวนเต็ม เมื่อตัวตั้งและตัวหารเปนจํานวนเต็มลบทั้งคู ผลลัพธที่ไดเปน
จํานวนเต็มบวก

**รูแลวหรือยัง?** เมื่อโจทยมีวงเล็บตองทําตามลําดับความสําคัญดังนี้ คือ วงเล็บเล็ก วงเล็บ


ปกกา และวงเล็บใหญ

ครูครรชิต แซโฮ โรงเรียนจันทรประภัสสรอนุสรณ สพท.ยะลา เขต 3


หนวยการเรียนรูที่ 2 ระบบจํานวนเต็ม 89

ชวนคิดคณิตศาสตร

ปริศนาจํานวนเต็ม ภาค 2 ตอนจบ


ลองทํากิจกรรมดู แลวคุณจะรู
ขอตกลง ใหนักเรียนเติมจํานวนเต็มใน F ใหถูกตอง เมื่อกําหนดใหจํานวนที่อยูในสดมภที่
หนึ่งเปนตัวตั้ง และจํานวนที่อยูในแถวที่หนึ่งเปนตัวคูณ หรือตัวหาร

× 4 -9 2
8 -8
-3 -12
35 -14
6 12

÷ 2 -2 -4
1
8
-2
2

ครูครรชิต แซโฮ โรงเรียนจันทรประภัสสรอนุสรณ สพท.ยะลา เขต 3

You might also like