You are on page 1of 14

ไทยสมัยกอนสุโขทัย

วัลลภา รุงศิริแสงรัตน
รองศาตราจารยประจําโปรแกรมวิชาสังคมศึกษา

เรื่องราวของไทยสมัยกอนสุโขทัยเปนเรื่องราวที่นา สนใจ เพราะสุโขทัยมิใชรัฐแรก ของไทย


ที่สถาปนาอํานาจในประเทศไทย หากมีเมืองตางๆ ของไทย ตั้งอยูในไทยกอนสุโขทัยเปนเวลานาน
โดยเฉพาะในดินแดนทางภาคเหนือของไทย จาก หลักฐานตางๆ ของไทยที่อยูบริเวณลุมน้ําแมน้ําโขง
ตอนบน เรื่อยมาถึงลุมน้ํา แมน้ําปง ถึง 57 นคร1 นครที่คัญ เชน นครหริภุญไชย2 นครพะเยา3
และที่นิรัญนครเงินยาง4

จนกระทั้งถึงพุทธศตวรรษที่ 19 พระเจามังรายแหงเมือง เชียงใหมสามารถสถาปนาอาณาจักร


ลานนา ในลุมแมน้ําปงได สําเร็จ อยางไรก็ตามกอนทีค่ นไทยจะสถาปนาอํานาจในภาคเหนือ ของไทย
ปรากฏวาผืนแผนดินไทย ในภาคตางๆ มีมนุษย หลากหลาย อาศัยอยูกอน นับตั้งแตยุคกอน
ประวัติศาสตร 5 เรื่อยมาถึงสมัย ประวัติศาสตร เพื่อใหเห็นภาพตางๆ ดังกลาวอยางชัดเจนยิ่งขึ้น จึงขอ
กลาวรายละเอียดดังนี้

สมัยกอนประวัติศาสตร
จากหลักฐานโบราณวัตถุที่เปนเครื่องมือเครื่องใชของมนุษย ในยุคโบราณที่ขุดพบในประเทศ
ไทย ทําใหสามารถแบงยุคกอน ประวัติศาสตรไทยออกเปน 4 ยุค คือ

1. ยุคหินเกา (Palaeolithic Period )


ยุคนี้มีอายุระหวาง 500,000 – 100,000 ป ดร. เอช . อาร. แวน ฮิงเกอเรน ( Dr. H.R. Van Keekeren)
นักโบราณคดีชาวฮอลันดา ขณะเปนเฉลยศึกญี่ปุนกอสรางทางรถไฟสายมรณะกาญจนบุรี - พมา ใน
ระหวางสงครามโลกครั้งที่สอง ไดขุดพบเครื่องมือ หินเทาะ6 ที่ทําขึ้นโดยมนุษยกอนประวัติศาสตร ณ
บริเวณใกล สถานีบานเกา หางจากตัวเมืองกาญจนบุรไี ปทางตะวันตก เฉียงเหนือ 35 กิโลเมตร จาก
การตรวจหลักฐานเครื่องมือ หินเทาะเหลานี้ ทําใหทราบวาไดมีมนุษยใชเครื่องมือหินเทาะ ในยุคหิน
เกาอยูในดินแดนที่เปนที่ตั้งของประเทศไทยแลว ยังมีขอ สันนิษฐานตอไปอีกวามนุษยเหลานี้ อาจ
เปนมนุษยเผาพันธุ เดียวกับที่พบที่ชวาและปกกิ่งเรียกวา มนุษยชวา และมนุษยปกกิ่ง ( Java man and
Peking man ) : ซึ่งอาศัยอยู เมื่อประมาณ 500 ,000 ปมาแลว ประเทศไทยอาจเปนทางผานติดตอหรือ
เปนที่อาศัย ระหวางแหลงทั้งสองดังกลาว นอกจากจะพบเครื่องมือหินเกาที่ จังหวัดกาญจนบุรีแลว ยัง
พบในจังหวัดอื่นๆ เชน พบที่ถ้ําเขา หินปูน จังหวัด เชียงใหม ดอยถ้ําพระ จังหวัดเชียงราย

2 . ยุคหินกลาง ( Meosolithic pereriod )


ยุคนี้มีอายุระหวาง 10,000 – 5,000 ป มาแลว มี หลักฐานแสดงวามนุษยสมัยหินกลางอาศัยอยู
ในดินแดนไทยหลาย แหง โดยเฉพาะทีอ่ ําเภอไทรโยค จังหวัดกาญจนบุรีไดพบ เครื่องมือหิน และ
โครงกระดูกของมนุษยเศษกระดูกสัตว นอกจากนี้ ยังพบเครื่องปนดินเผาที่เกาแกที่สุดในประเทศไทยอายุ
เกือบ 1,000 ป ที่ถ้ําผี จังหวัดแมฮองสอน สําหรับโครงกระดูกโครงหนึ่งของ มนุษยที่พบที่อําเภอไทร
โยค จังหวัดกาญจนบุรีประมาณวา มีอายุราว 20,000 ปมาแลว แสดงวาดินแดนแควนอยของ แมน้ํา
กลอง ซึ่งไหลผานภูมิประเทศ ของจังหวัดกาญจนบุรี ไดมี มนุษยอาศัยอยูเปนเวลานานกวา 20,000 ป
เปนการพิสูจนวา ดินแดน ของไทย มีมนุษยอาศัยอยูเปนเวลานานมากกวาที่เคยเขาใจกัน แตจะเปนมนุษย
เผาใด ที่อาศัยอยูในบริเวณเหลานั้น หรือเคลื่อนยาย มาจากที่ใด ยังเปนเรื่องที่จะตองสืบคนตอไป

นอกจากนี้ความรูในเรื่องการเพาะปลูกขาว และการเลี้ยงสัตว ของมนุษยนั้น เดิมเชื่อกันวาเกิดขึ้นครั้ง


แรกในบริเวณตะวันออกกลาง (Middle East) ในยุคหินใหม ( Neolithic Period) ตอมานักภูมิศาสตร ชือ่
นาย คารล เชาวเออร ( Carl Saure ) ตั้งสมมุติฐานวาการเพาะปลูก นาจะเกิดในเอเชียตะวันออกเฉียงใตในยุคหิน
กลาง และจากการขุด ที่ถ้ําผี จังหวัดแมฮองสอนของนาย เชฟเตอร เอฟ กอรทแมน ( Chester F.
Gorman ) นักโบราณคดี แหงมหาวิทยาลัยฮาวาย ในป พ.ศ.2513 ไดพบเมล็ดขาวปะปนอยูก ับ
เครื่องมือหินเทาะ กระดูกสัตว และเครื่องปนดินเผา ซึ่งมีทั้งที่เปนแบบผิวเกลี้ยงที่

เปนเงาและมีลายเชือกทาบ จากการตรวจสอบอายุปรากฏวา มีอายุ ตั้งแต 6,000 ถึง 9,700 ป


นายเชสเตอร เอฟ กอรแมน จึงมีความ เชื่อวาการกสิกรรมไดเริ่มขึน้ กอนในเอเชียตะวันออกเฉียงใต
ตอจากนั้นแผขยายไปสูประเทศจีน ความเห็นของนายเชสเตอร เอฟ กอรแมน จึงขัดกับความเชือ่ เดิม
ที่วาจีนไดแผวฒ
ั นธรรมมายัง เอเชียตะวันออกเฉียงใต7
3. ยุคหินใหม ( Neolithic Period )
ยุคนี้มีอายุระหวาง 5,000 – 2,700 ป หลักฐานที่เปน เครื่องมือเครื่องใชของมนุษยในยุคนี้
ไดแก การขุดพบขวานหินขัด ที่ชาวบานเรียกวา ขวานฟา เพราะเชื่อกันวาเปนขวานศักดิ์สิทธิ์ ที่ตกลงมา
จากฟาขณะทีฟ่ าแลบ ฟาผา ขวานฟาชนิดนี้ขุดพบ ในหลายภาคของประเทศไทย เชน ที่ตําบลจระเข
เผือก อําเภอเมือง จังหวัดกาญจนบุรี ที่บานหนองแชเสา อําเภอเมือง จังหวัดราชบุรี ที่ตําบลกลาง
แดด อําเภอเมือง จังหวัดนครสวรรค และที่ บานโคกเจริญ อําเภอชัยบาดาล จังหวัดลพบุรี

4. ยุคโลหะ (Metal period )


ยุคนี้อายุระหวาง 2,700 – 1,500 ป ยุคโลหะ หมายถึง ยุคที่มีการขุดพบเครื่องมือที่เปนสัมฤทธิ์
และเหล็ก ซึ่งอยูใน ชัน้ ดินระดับเดียวกัน เชน ในป พ.ศ. 2511 นายดอน ที. บายาด (Donn T. Bayard)
แหงมหาวิทยาลัยฮาวาย ไดขดุ พบขวานทองแดง ชิ้นแรกที่บานโนนนกทา อําเภอภูเวียง จังหวัดขอนแกน ซึ่ง
เกากวาที่พบในจีนและอินเดียประมาณ 500 – 1,000 ป อันเปนเครื่องยืนยัน ไดวาไดมีการใชเครือ่ ง
สําริดกันในบริเวณนี้ มาตัง้ แตยุคหินใหม 8

อยางไรก็ตาม การขุดคนที่นับวานาสนใจ และสําคัญยิ่ง ในประเทศไทยอีกแหงหนึ่งก็คือ การขุด


คนของนายวิทยา อินทรโกศัย แหงกรมศิลปากร ในป พ.ศ. 2510 ที่บานเชียง อําเภอหนองหาน
จังหวัดอุดรธานี ไดคนพบกระดูกซึ่งสันนิษฐาน วามีอายุราว 4,000 – 5,000 ป นอกจากนั้นยังพบเศษผา
ไหม ติดกระดูกเครื่องปนดินเผาเครื่องใช และเครื่องประดับทําดวย สําริดและเหล็ก จึงสันนิษฐานวา
มีอายุราว 3,000 ป 9 ถาหากอายุ ดังกลาวนีถ้ ูกตอง โบราณวัตถุจากบานเชียง จะเปนเครื่องปน ลายเขียน
ที่เกาแกที่สุดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต อยางไรก็ตาม จากการสํารวจของกรมศิลปากร ในป พ.ศ. 2528
ไดพบหลักฐาน หลายชิน้ ทีต่ ําบลโคกพนมดี อําเภอโคกปบ จังหวัดปราจีนบุรี ที่ยืนยันวาระยะเวลา
การตั้งถิ่นฐาน ของชุมชนทีโ่ คกพนมดีมีอายุ ระหวาง 3,000 – 5,000 ป มาแลว จึงถึงไดวาพวกที่ไป
สราง อารยธรรม บานเชียง เคลื่อนยายไปโคกพนมดี10 แตคนที่บานเชียง เมื่อ 5,000 ปมาแลว จะเปน
พวกใดไมทราบแนชัด หากพิสูจนไดวา เปนคนไทยจะเปนการพลิกประวัติศาสตรไทยใหม กลาวคือ
ภาคอีสานของไทยจะกลายเปนดินแดนแหงแรกที่มวี ัฒนธรรมสูง และเปนศูนยกลางที่เผยแพรความรู
ไปสูประเทศจีน และประเทศ ทางตะวันตกของทวีปเอเชีย
ชนพื้นเมืองเดิมในดินแดนไทย
นักมานุษยวิทยาไดจดั ประเภทของมนุษยสมัยโบราณในประเทศไทยรุนแรก อยูในตระกูล
ออสโตเนเวียน (Austronesian) ซึ่งอพยพเขามาอยูในแหลมอินโดจีน รวมทั้งประเทศไทยเมื่อหลาย พัน
ปมาแลว มนุษยในตระกูลนี้เดิมอยูทไี่ หนไมทราบแนชัด ชนชาติในตะกูลออส - โตรเนเชียนที่สืบเชื้อ
สายมาถึงทุกวันนี้ ไดแก พวกอินโดนีเซีย มลายู จาม ขา ไทย และญวน12 ถัดมาจากชนชาติใน
ตระกูลออสโตรเนเชียนซึ่งอพยพเขามาอยู ในแหลมอินโดจีน คือ ชนชาติในตระกูลมอญ เขมร
นักโบราณคดี สันนิษฐานวาถิ่นเดิม ของชนชาตินี้ อาจจะอยูตอนใตของประเทศจีน แตสวนใหญมี
ความเห็นวา อพยพมาจากประเทศอินเดีย13 เพราะมีชนชาติลาหลังตกคางอยูใ นประเทศไทยทาง
ภาคเหนือ คือพวก “ละวา”14 เขาใจวาพวกนี้คงจะตั้งหลักแหลงอยูบานเมืองแลว ตอมาเมื่อพวกไทย
อพยพเขามาแยงชิงดินแดนพวกละวา ซึ่งกระจัดกระจายอยูตามปาเขาหรือไมก็ผสมปนเปกัน ปจจุบันนี้
พวกชาวเขาทีอ่ าศัยอยูในภาคเหนือของประเทศไทย เขาใจวาสืบ เชื้อสายมาจากพวกละวาสมัยโบราณ
ชนชาติตระกูลมอญ - เขมรนี้ นักมานุษยวิทยา ไดแบงออกเปนหลายพวก เชน
1. พวกแมว - เยา
2. พวกวะ - ปะหลอ
3. พวกแตลง - (มอญ - รามัญ ทางภาคเหนือ ลานนา) เรียกวาพวกเม็ง
3.พวกปาลี (Pale) - บางทานจัดพวกมอญอยูในกลุมนี้ดว ย15

เมืองหรือรัฐในไทยสมัยกอนสุโขทัย
จากหลักฐานทางโบราณคดี ตํานานนิทานพื้นบาน ตลอดจนบันทึกของทางราชการจีน และ
บันทึกของพระภิกษุจนี ที่เดินทางผานเอเชียตะวันออกเฉียงใตพุทธศตวรรษที่ 12 ทําให ทราบวามีชน
ชาติอื่นๆ ไดสถาปนาอํานาจในภาคตางๆ ของไทย เมืองตางๆ เหลานี้มีความเจริญถึงขั้นมีผูปกครอง
มีวัฒนธรรม เปนของตังเองดังจะกลาวไดดังนี้ คือ

1. ภาคกลาง ยอมเปนที่ทราบแลววาอารยธรรมของ ภาคกลางของประเทศไทย ไดแก พื้นที่


รอบอาวไทยตอนบน ซึ่งปจจุบันนีเ้ ปนทีต่ ั้งของจังหวัดนครปฐม กาญจนบุรี สุพรรณบุรี ลพบุรี
สิงหบุรี ชัยนาท นครสวรรค สระบุรี นครนายก ปราจีนบุรี และราชบุรี เราไดพบเมืองโบราณตางๆ
ไดทิ้งรองรอยหลักฐาน สวนใหญซึ่งแสดงใหเห็นถึงอิทธิพลศิลปวัฒนธรรมอินเดีย16 หลักฐานดังกลาว
สวนใหญมีอายุราวพุทธศตวรรษที่ 11 - 13 เมืองตางๆ เหลานี้รูจักกันดีในชื่อวา ทราวดี และละโว
รัฐทราวดีกอนที่มอญ จะสถาปนารัฐทราวดีขี้นที่ภาคกลาง ตอนบนของดินแดนไทยในพุธศตวรรษที่ 11
นั้น เขาใจวามอญ อพยพมาจากทางตะวันตกของจีนลงสูลุมแมน้ําอิระวดีตอนลางคือ บริเวณปาก
แมน้ําอิระวดีแมน้ําสะโตง ปากแมน้ําสาละวิน และเรื่อยไปถึงแควนตะนาวศรี ตั้งแต 1,500 ป กอน
พุทธศตวรรษ และนับตั้งแตพุทธศตวรรษที่ 10 เปนตนมา มอญไดรวบรวม กันเปนปกแผนเจริญ
รุงเรืองขึ้น มีศูนยกลางที่เมืองสุธรรมวดี
( Sudham – mavati ) หรือเมืองสะเทิม (Thaton ในปจจุบัน) มอญติดตอคาขายใกลชิดกับ
อินเดีย และลังกาและรับเอาวัฒนธรรม ของอินเดียมาใช นอกจากในเขตพมาตอนใตแลว มอญยังขยาย
เขามายังลุมแมน้ําเจาพระยา แตจะเขามาเมือ่ ใดไมมีหลักฐานแนชดั จนกระทั่งพุทธศตวรรษที่ 12 มอญใน
ลุมแมน้ําเจาพระยาก็มีความเจริญ เปนรัฐใหญตามเอกสารของภิกษุจีน ฮวน ชาง ( Huan Tsang) ซึ่ง
เดินทางจากจีนไปอินเดียในชวงนี้ เรียกรัฐมอญในลุมน้ําเจาพระยาวา “โทโลโปตี” (To - lo - po - ti )
คงเรียกเพีย้ นมาจาก คําวา ทวารวดี ในบันทึกนั้นบรรยายวาทวารวดีอยูทางทิศ ตะวันตกของกัมพูชา
และทิศตะวันออกของศรีเกษตร ตอมาไดพบหลักฐานที่จังหวัดนครปฐม ที่ยืนยันวาโทโลโปตี ใน
ภาษาจีน คือ ทราวดีนั่นเอง สวนหลักฐานที่แสดงวาประชาชนสวนใหญ ของทวารวดีเปนชาวมอญก็
คือ ศิลาจารึกเปนภาษามอญโบราณ ที่พบที่นครปฐมและลพบุรี จารึกทั้งสองอายุราวพุทธศตวรรษที่ 11

พุทธศตวรรษที่ 13 อํานาจของทวารวดีไดแผขึ้นไป ตอนเหนือของประเทศไทย เชื้อสายของ


กษัตริยทวารวดีไดไป ครองเมืองหริภุญไชยหรือลําพูนในปจจุบนั เอกสารเกี่ยวกับ ประวัตศิ าสตร
ลานนาไทย เชน หนังสือชินกาลมาลีปกรณ และ หนังสือจามเทวีวงศกลาววา กษัตริยผูปกครองหริภุญ
ไชยคน แรกคือ พระนางจามเทวี เปนราชธิดาเจาเมืองละโว และบริเวณ พระธาตุหริภุญไชย ยังไดพบ
ศิลาจารึกภาษามอญหลายหลัก การปกครองของหริภุญไชยคงเปนอิสระจากภาคกลาง ในทาง
ตางประเทศหริภุญไชยก็ดําเนินนโยบายเปนเอกเทศ เชน

มีความสนิทสนมกับมอญที่สะเทิม นับตั้งแตพุทธศตวรรษที่ 16 เปนตนไป ทวารวดีของ


มอญก็หมดอํานาจลงเนื่องจากเขมรได แผอาํ นาจเขามาทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคกลางของ
ประเทศไทย ในขณะเดียวกันชนชาติไทยไดเริ่มอพยพมาสู ลุมแมน้ําเจาพระยาและตั้งถิ่นฐานอยูท ี่ละโว
(ลพบุรี)17 แต ชนชาติไทย ยังมิไดอยูรวมกันเปนกลุมใหญคงอยูกนั อยาง กระจัดกระจาย18 ประมาณ
ปลายพุทธศตวรรษที่ 18 เมื่ออิทธิพล ทางการเมืองของเขมรในลุมแมน้ําเจาพระยาหมดลงเกิดมีเมือง
ตางๆ ของชนชาติไทย ที่สาํ คัญ มีเมืองพะเยา เชียงใหม สุโขทัย และละโว เมืองตางๆ เหลานีเ้ ขาใจ
วามีรูปแบบการปกครอง บนนครรัฐ มีอาณาเขตในการปกครองไมกวางขวางนัก และ มีหลักฐานวา
เปนไมตรีกันในระยะแรกๆ

ประวัติการสรางเมืองละโวปรากฏในพงศาวดารเหนือวา พุทธศักราช 1002 พระยา


กาฬวรรณดิศราชกษัตริยผูปกครองเมือง นครปฐม ซึ่งเปนเมืองขึ้นของอาณาจักรฟูนัน19 ( Funan ) ได
สงคนไปสรางเมืองละโว หลังพุทธศตวรรษที่ 11 หลักฐาน ระบุวาบานเมืองในลุมแมน้ําเจาพระยา รวมทั้ง
ละโวกลายเปนสวนหนึ่ง ของทราวดี อยางไรก็ตามละโวก็มีกษัตริยปกครอง ประชาชน นับถือ
พระพุทธศาสนาศาสนาพราหม ตลอดจนความเชื่อในลัทธิพื้นบานอาชีพของประชาชน คือ การ
เกษตรกรรม การทอผา การทําเครื่องปนดินเผา ทําโลหะ ตลอดจนการทําการคากับจีน พุทธศตวรรษ
ที่ 16 ละโวตกอยูภายใตอิทธิพลของเขมร20 ระยะหลัง จากนี้เขาใจวาคงเปนชวงระยะเวลาที่ชนชาติไทย
อพยพเขามา
อยูในละโวแลว โดยในระยะแรกอยูกันอยางกระจัดกระจาย มิไดรวม กันเปนกลุมกอน และแมจะยังไมพบ
หลักฐานวา ชนชาติไทย ไดรวมกันตอสูเพื่ออิสระจากเขมร แตเขาใจวาปลายศตวรรรษที่ 16 คนไทยสามารถ
รวมกําลังยึดครองละโวไดแลว ดังปรากฏหลักฐานพงศาวดารเหนือระบุวาในป พ.ศ. 1596 พระเจา
จันทรโชติ กับพระนางปฏิมาสุฎาดวงจันทรครองเมืองละโว ประสูติพระโอรส ทรงพระนามวาพระ
นารายณ เมื่อสิ้นพระชนมในป พ.ศ. 1630 กษัตริยพกุ ามซึ่งในพงศาวดารเหนือเรียกวา “พระนเรศวร”
ไดยกทัพมาตี กรุงอโยธยา เมื่อเสร็จสิ้นกับกองทัพพุกาม พระนารายณไดเสด็จไปสรางพระปรางคที่เมือง
ละโวแลวเปลี่ยน ชื่อเมืองใหมวา “เมืองลพบุรี” ใหมฐี านะเปนเมืองลูกหลวง ภายหลังรัชกาล ของพระ
นารายณแลว ยังปรากฏหลักฐานตอมาวาในป พ.ศ. 1654 พระเจาสายน้ําผึ้งไดครองราชสมบัติ ณ กรุงอ
โยธยาสืบมา21 นักศึกษาประวัติศาสตรบางทาน ไดใหทฤษฎีเกี่ยวกับผูต ั้ง กรุงศรีอยุธยาวาสืบเชื้อสาย
มาจากผูครองกรุงอโยธยา ซึ่งจะกลาว ในหัวขอตอไป

2. ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือของไทย เปนดินแดนทีม่ ี มนุษยอาศัยอยูนับตั้งแตยคุ กอนประวัตศิ าสตร
จากหลักฐาน ทางโบราณคดี ตํานาน และสภาพทองถิน่ ทําใหทราบวามีซากเมือง กําแพงเมือง และคู
เมืองโบราณ ในภาคตะวันออก 300 เมือง ชื่อเมืองตางๆ ปรากฏในตํานานพื้นบานของภาคนี้มีเมือง
หนองหาน เมืองฟาแดดสูงยาง เมืองเชียงเหียน เมืองหงษ เมืองทอง ฯลฯ เมืองเหลานี้เปน
ดินแดนที่มีอํานาจทางการเมือง และอิทธิพลทางวัฒนธรรมของรัฐตางๆไดขยายเขามา แตไมมีเมืองใด เปน
ศูนยกลางแหงอํานาจอยางแทจริง ขณะเดียวกันรองรอย ของเมืองโบราณ และลักษณะของโบราณวัตถุ
ที่พบอาจกําหนด ความเจริญของภาคตะวันอออกเฉียงเหนือไดดังนี้
2.1 สมัยพุทธศตวรรษที่ 11 – 13 บริเวณปากแมน้ํามูล ในเขตจังหวัดอุบลราชธานี และแควน
จําปาศักดิ์เปนกลุมของ บานเมืองในอาณาจักรเจนละ23 มีการขยายอิทธิพลทั้งในดาน วัฒนธรรม และ
การเมืองตามลุมแมน้ํามูล และขามเทือกเขา เพชรบูรณ ไปยังเมืองศรีเทพในลุมแมน้ําปาสัก
2.2 สมัยพุทธศตวรรษที่ 13-15 เปนแควนศรีจนาศปุระ24 ในบริเวณตอนตนลุมแมน้ํามูลและ
แมน้ําชี ดังที่พบจารึกที่เมืองเสมา ระบุนามกษัตริยแ ละแวนแควนที่อยูนอกเหนืออิทธิพลของ อาณาจักร
เจนละ วัฒนธรรมสวนใหญเปนอิทธิพลทางพุทธศาสนา
2.3 สมัยพุทธศตวรรษที่ 16 – 18 มีการแผอิทธิพลทาง การเมืองและวัฒนธรรมจากกัมพูชาตาม
ลําน้ําโขง ขึ้นไปถึงจังหวัด สกลนคร และอุดรธานี ผานเทือกเขาพนมดงรักมาคลุมบริเวณ สองฝง
แมน้ํามูลทั้งหมด ยกเวนในเขตทองที่จังหวัดชัยภูมิ ขอนแกน มหาสารคามบางสวน และกาฬสินธุใน
ลุมแมน้ําชี ซึ่งคงรักษาวัฒนธรรมทางพุทธศาสนาไดตลอดมา
2.4 สมัยพุทธศตวรรษที่ 19 วัฒนธรรมของกัมพูชา เริม่ เสื่อมบริเวณลุมแมน้ําโขงและแมน้ําชีตอนบน
เปนสวนหนึ่ง
ของอาณาจักรลานชาง25 สวนทางตอนใตตั้งแตบริเวณเขตจังหวัด ชัยภูมิลงมาจนถึง
นครราชสีมา ในเขตลุมแมน้ํามูลนั้นคง เปนอิสระ

3. ภาคใต จากหลักฐานทางดานโบราณคดี บันทึกทาง ราชการจีน และบันทึกของพระภิกษุจีน


ทําใหทราบวาบริเวณ ภาคใตของประเทศไทยในพุทธศตวรรษที่ 7- 15 มีรัฐซึ่งตั้งขึ้น กอนสุโขทัยมี
3.1 รัฐผั่น – ผั่น ( Pan –Pan) เจริญรุงเรืองอยูในราว พุทธศตวรรษ ที่ 8 –12 เคยเปน
เมืองขึ้นของอาณาจักรฟูนัน เมืองหลวงตั้งอยูตอนเหนือของแมน้ําสายหนึ่ง หางจากฝงทะเล ตะวันตก
ประมาณ 10 ลี้ รัฐผั่น – ผั่น ประชาชนอาศัยอยูริมทะเล ยังไมรูจักการสรางกําแพงเมือง คงแตทํา
พะเนียด พระมหากษัตริย ประทับครึ่งบรรทมอยูบนหอยสังข ขาราชการชั้นผูใหญเวลา เขาเฝาจะเดิน
เขารางตรง มือทั้งสองไขว ฝามือวางอยูบนบา ในราชสํานักมีพราหมณหลายคน พราหมณเหลานี้มา
จากประเทศ อินเดีย เพื่อเขามาพึ่งพระมหากรุณาธิคุณ เปนที่โปรดปรานของ พระมหากษัตริย มีวดั 10
วัด มีพระภิกษุและชีที่ศึกษาพระคัมภีร อันศักดิ์สิทธิ์ของพระพุทธศาสนา นักประวัติศาสตรสันนิษฐาน
วา รัฐผั่น–ผั่น จะอยูใ นอําเภอพุนพิน จังหวัดสุราษฎรธานี จนจด เขตรัฐตามพรลิงค (Tambralinga) ซึ่ง
อยูทางใตลงมา26
3.2 รัฐตามพรพิงค ( Tambralinga ) เขาใจวาตรงกับบริเวณ เมืองนครศรีธรรมราชในปจจุบนั
อยูทางทิศใตของรัฐผั่น – ผั่น มีเรื่องราวที่นา สนใจคือ
- พุทธศตวรรษที่ 7 เปนเมืองขึ้นของฟูนัน
- พุทธศตวรรษที่ 14 เปนเมืองขึ้นของอาณาจักร ศรีวิชยั 27
- พุทธศตวรรษที่ 14- 15 ขยายอาณาเขต เขาไป ทางแถบบริเวณคอคอดกระของ
ประเทศไทย
- พุทธศตวรรษที่ 16 กองทัพพวกโจฬะ28เขา รุกราน ยึดไดตะกั่วปาและ
นครศรีธรรมราช รัฐตามพรพิงคมีกษัตริย ปกครอง เชน ในป พ.ศ. 1773 ปกครองโดยพระเจาธรรม
ราช จันทรภานุ และในสมัยนี้มีการติดตอกับลังกาทางการทูต ตอมาในป พ.ศ. 1813 เกิดขัดแยงกับ
ลังกาถึงขั้นทําศึกสงคราม และพายแพแก ลังกา
3.3 รัฐลังกาสุ ( Langkasuka) อยูทางทิศใตของรัฐตามพรพิงค สันนิษฐานวาศูนยกลางของรัฐนี้คงอยู
แถวเมืองปตตานี รวมทั้ง เมืองตะกัว่ ปาและเมืองตรัง เคยเปนเมืองขึ้นของอาณาจักรฟูนัน เริ่มมี
ความสัมพันธทางการทูตกับจีนในป พ.ศ. 1052 พงศาวดารจีน กลาวถึงอาณาจักรนีว้ า
“ประชาชนทั้งหญิงชายไวผมปลอย ผูชายสวมเสื้อผา ที่ไมมีแขน กษัตริยและขุนนางของ
อาณาจักรนี้มผี าสีแดงคลุมเครื่อง แตงกาย ซึ่งคลุมหลังระหวางไหลทั้งสองขาง คาดผาหอย หัวดวย
เชือกทดตุมหูเปนหวงทอง เมื่อพระมหากษัตริยเสด็จออก จากวังจะประทับบนหลังชาง หลังคากูบเปน
ผาขาว หนาขบวน มีพลกอง และพลทหารถือธงลอม รอบดวยทหารทีห่ นาตาดุราย...”29

3.4 รัฐเชียะโท ( Ch’ ih – t’u) อยูใตรัฐตามพรลิงค ปจจุบันนี้เขาใจวาไมอยูที่เมืองกลันตัน ก็


อยูบริเวณเมืองพัทลุง มีอายุระหวางพุทธศตวรรษที่ 9 – 12 จดหมายเหตุของจีน ไดกลาวถึง อาณาจักร
เจียะโทวา ราชวงศของกษัตริยรัฐเชียะโท มีนามวา ซือ-ทัน (Ch’u t’an) กษัตริยพระนามวา ลิ - ฟู - โท - สี (
Li – Fu – to –si ) ทรงประทับอยูที่นครเสงชี มีกําแพง 3 ชั้น ที่มีประตูระบายสี เปนรูปพระโพธิสัตว
และรูปเทวดาเหาะอยูใ นอากาศ มีกระดิง่ ทองคําจําหลักดวยหินมีคา มีหญิงสาว 4 คน ยืนอยูขาง
พระองค ทหารรักษาพระองคมีจํานวนมากวา 100 คน มีพวกพราหมณ หลายรอยคนเขาเฝานั้งอยูเปน 2
แถว สําหรับงานวิวาหมงคล ของชาวเมืองจะตองหาฤกษหายามเสียกอน คูบาวสาวจะตองไป อยูกับ
บิดาของเจาบาวถาหากยังมีชวี ิตอยู ผูที่เปนพอแมหรือ พี่นองตายจะไวทุกขโดยโกนศีรษะและสวม
เสื้อผาสีขาว30
4. ภาคเหนือ ดินแดนทางภาคเหนือของไทย เปนที่รูจักกัน ในนามของลานนาไทย ใน
ปจจุบันคือ บริเวณตั้งแตลุมแมน้ําโขง เรื่อยลงมาในทองที่จังหวัดเชียงราย เชียงใหม ลําพูน ลําปาง
แพร นาน และแมฮองสอน31 ในอดีตบริเวณดังกลาว นับวาเปนสวนหนึ่ง ของอาณาจักรลานนาไทย32
คนไทยกลุมแรกที่เขามาสถาปนา อํานาจในดินแดนภาคเหนือของไทยคือ กลุมราชวงศสิงหนวัติ
หลังจากราชวงศสิงหนวัตหิ มดอํานาจแลว คนไทยกลุมราชวงศ ลวจังกราชไดกาวขึน้ มามีบทบาทแทน
ดังรายละเอียดตอไปนี้คือ

4.1 ราชวงศสิงหนวัติ จากตํานานสิงหนวัติหรือ ตํานาน สิงหนวัติกุมาร กลาวถึงการอพยพ


ของชนชาติไทย วาเริ่มเมื่อ มหาศักราชได 17 ตัว33 ปกดไจ พระเจาเทวกาลแหงเมืองราชคฤห34 ทรง
สถาปนาเจาชายพิมพิสารราชโอรสองคโตเปนพระมหาอุปราช สวนราชกุมารองคที่สองทรงพระนามวา
สิงหนวัติกุมาร และราชโอรส องคอื่นๆ อีก 28 พระองค ออกไปสรางบานแปงเมืองตามที่ตางๆ ซึ่งใน
ขณะนัน้ เปนดินแดน ของขอมดําและละวา35 ในบรรดา ราชโอรสที่ออกไปสรางบานแปงเมืองนี้ เจาชายสิง
หนวัติกุมาร ถือวาเปนผูมีบทบาทสําคัญตอประวัติศาสตรไทย กลาวคือ ทรงนําชาวไทยจํานวนมาก
เดินทางไปทางทิศอาคเนยถงึ ทําเลที่หาง จากแมน้ําโขง 350 เสน ตั้งเมือง “พันธสิงหนวัตนิ คร” หรือ
“โยนกนคร” ลงบนเมือง สุวรรณโคมคํา36 ซึ่งขณะนั้นรางไปแลว และสถาปนาพระองค ทรงเปนปฐม
กษัตริยแ หงสิงหนวัติ เมื่อป พ.ศ. 431 ในขณะนัน้ พวกขอมดําที่เมืองอุโมงคเสลา37 ซึ่งอยูตน แมน้ํากก
ไมยอมออนนอม พระเจาสิงหนวัติจึงยกทัพไปตีเมือง ไปอุโมงคเสลาได และใหสงสวยทองคําสีตวง
หมากบิน (มะตูม) เปนประจําทุกป การตีเมืองอุโมงคเสลาไดในครั้งนี้ นับเปนครั้งแรก ที่ไทยสามารถ
ตั้งเมืองของตนในดินแดนของขอมดํา นอกจากนี้ ยังขยายอํานาจลงมาทางใตถึงเขตแดนละโว38 กษัตริย
ราชวงศ สิงหนวัติสืบสันติวงศตอมาถึง 43 พระองค ครองราชยระหวาง พ.ศ. 431 – 1558 มีกษัตริยที่
สําคัญๆ และมีเหตุการณ ที่สําคัญ ๆ เกิดขึ้นในรัชสมัยดังนี้

พระเจาอุชุตราราช กษัตริยอ งคที่ 3 ครองราชยถึงป พ.ศ. 516 ในรัชกาลนี้อาณาจักรเขตของ


เมืองขยายไปกวางขวางคือ
ทิศเหนือ จดแดนนานเจา(มีหนองแสเปนเมืองหลวง)
ทิศใต จดเขตละโวที่ปากแมน้ําระมิงค (แมน้ําปง)
ทิศตะวันออก ถึงแดนจุฬามณี (ตังเกี๋ย)
ทิศตะวันตก จดดอยเขารูปชางจนถึงแมนา้ํ คงคา
ทางดานศาสนานั้นทรงทํานุบํารุงศาสนา โดยอัญเชิญพระบรมสารีริกธาตุเจาบรรจุในพระบรม
ธาตุดอยตุง สรางสถูป บรรจุพระบรมสารีริกธาตุไว ณ ตําบลภูกวาว พุทธศาสนาจึงไดแพร หลายใน
ดินแดนลานนา ตั้งแตนี้มาพระเจาอุชุตราราชจึงไดสมญา นามวา “อุชุตราราชธรรมมิกราชเจา”
พระเจามังรายราช กษัตริยอ งคที่ 4 โปรดใหโอรสชื่อ ไชยนารายณแยกไปตั้งเมืองเวียงไชย
นารายณ39 อยูท างทิศตะวัน ออกเฉียงใต ของภูกวาวใกลกับเมืองโยนกนคร
พระองคเจาพัง กษัตริยองคที่ 39 ครองราชยเมื่อ พ.ศ. 1411 พระองคทรงครองเมืองได 2 ป
พระยาขอมเมืองอุโมงคเสลา ซึ่งเปนเมืองขึ้นไดยกทัพมาตีเมืองโยนกนครไดแลวแตงตั้ง พระองคพังไป
เปนหัวหนาหมูบานที่เวียงสีตวง40 และใหสงสวย เปนทองคํา 4 ตวง ใหแกพระยาขอมดําเมืองโยนกนคร
เปนประจํา ทุกป ตอมาพระองคพังกับราชเทวีไดประสูติโอรส 2 องค คือ เจาทุกขิตตกุมาร กับ เจา
พรหมกุมาร เจาพรหมกุมารโอรสองคนอย เปนคนกลาหาญและมีฝมือในการรบ ในที่สุดเมื่อ
สิ้นพระชนมได
15 พรรษา ไดประกาศไมยอมสงสวยใหกับขอมดํา พรอมทั้งเปลี่ยน ชื่อเมืองสีตวงเปนเวียงพางคํา41
ฝายพระยาขอมเมื่อทราบขาว ยกทัพใหญมาปราบผลปรากฏวาพระยาขอมดําแพ หนีเขาเมือง โยนก ฯ
พระเจาพรหมตามไปตีในเมืองโยนกนคร พระยาขอมหนี จากเมืองไปทางทิศใตจนเขาเขตละโว
จากนั้นพรหมกุมารไดสราง เมืองใหมชื่อวา “เวียงไชยปราการ” ครองราชยอยูระหวางป พ.ศ. 1480 –
1539 เมื่อพระเจาพรหมสิ้นพระชนมแลว พระเจาชัยศิริโอรสพระเจาพรหมครองราชยตอมา จากนั้น
กษัตริยแ หงเมือง สุธรรมวดียกทัพมาตีเวียงไชยปราการ พระเจาชัยศิริสูขาศึกไมได จึงเผาเมืองและหนี
ลงไปทางใตสรางเมืองใหมชื่อ “เวียงกําแพงเพชร” สวนเวียงไชยปราการกลายเปนเมืองราง
ฝายเมืองโยนกนครเมื่อพระองคพังสวรรคต พระเจา ทุกขิตตกุมารครองตอมาอีก 16 ป ก็
สิ้นพระชนม พระองค เจามหาวรรณราชโอรส ครองตอมาอีก 21 ป ถึงสมัยของพระองคเจา ชัยชนะ
โอรสของพระเจามหาวรรณ ในรัชกาลนีใ้ นพงศาวดาร โยนกระบุวาเกิดแผนดินไหว เมืองโยนกนคร
ลมสลายไป ประชาชนที่อยูในเขตเมืองโยนกนครที่รอดชีวิต จึงชวยกันสราง เมืองใหมริมฝงแมน้ําโขง
ทางฝงตะวันตก อยูทางทิศตะวันออก เฉียงเหนือของเมืองโยนกนครที่ลมจมไปใหชื่อวา “เวียงปรึกษา”
จากนั้นก็ยก “ขุนลัง” ขึ้นปกครอง ขณะเดียวกันไดมชี าวไทย อีกกลุมหนึ่งซึ่งอพยพมาอยูก อนหนานี้
แลว ไดฉวยโอกาสที่เมือง โยนกนครลมจม เขาปกครองแทนที่ราชวงศสิงหนวัติ โดยสถาปนา ราชวงศ
“ลวจังกราช” ขึ้น
4.2 ราชวงศลวจังกราช ชนชาวไทยที่อพยพลงมากอน ราชวงศสิงหนวัติ คือ กลุมคนไทยที่จะ
เปนผูสถาปนาราชวงศ ลวจังกราช หรือราชวงศลาวจก ในระยะแรกๆ ยังไมมีบทบาทอะไร เมื่อพระเจา
สิงหนวัติอพยพมาสรางเมืองโยนกนคร กลุมคนไทย ที่อพยพมากอนก็ยอมอยูใตอํานาจ จนกระทั่ง
เมืองโยนกนคร ลมสลายไปจึงตั้งตนเปนใหญ ตํานานพื้นเมืองเชียงใหมหรือ ราชวงศปกรณ ฉบับแปล
จากภาษาไทยยวน กลาวถึงชนชาติ ไทยกลุมนี้วา ทาวลวจังกราชไดจตุ ิลงมาเกิดที่เมืองเชียงราว43 หรือ
เมืองชยะวรนคร เมื่อจุลศักราช 1 (พ.ศ. 1182 ) พระยาลาวจก (ลวจังกราช ) มีลูก 3 คน คือ ลาวคอบให
ครองเมืองเชียงของ ลาวชางครองเมืองยอง ลาวเกาแกวมาเมืองไปอยูบ านผาเรา (เมืองทั้งสามเขาใจวา
อยูในเขตเมืองเชียงราว) กษัตริยองคที่ 9 ของราชวงศลวจังกราชคือ ลาวเคียงครองราชยระหวางป
พ.ศ. 1473 – 1504 ไดยายเมืองเชียงราวไปตั้งใหมใกลกลับแมน้ําสาย และตั้งชื่อใหมวา “หิรญ ั นครเงิน
ยาง” พระราชโอรสและ พระราชนัดดาของราชวงศลวจังกราชครองหิรัญนครเงินยาง ตอมา ถึงสมัย
ลาวเมง ผูครองนครหิรัญเงินยางองคที่ 24 ไดธิดาของ เจาเมืองเชียงรุง ชื่อนางอัว่ มิง่ จอมเมือง (หรือ
นางเทพคําขยาย) เปนชายาและไดประสูติโอรสในป พ.ศ. 1782 ทรงพระนามวา พระเจามังราย
หลังจากที่ลาวเมงและพระราชบิดาสวรรคต พระเจามังราย ไดเสด็จขึน้ ครองราษยในป พ.ศ.
1082 เพื่อเปนการ เผยแพร พระบรมเดชานุภาพ และขยายอนาเขตออกไปใหกวางขวาง
พระเจามังรายไดสงกองทัพไปตีเมืองพะเยา และหริภุญชัยไดในป พ.ศ. 1819 และป พ.ศ. 1824 ตามลําดับ
พรอมๆ กับการขยายอาณาเขต ไดทรงพิจารณาถึงบริเวณที่เหมาะสม เพื่อจัดตั้งเปนศูนยกลาง ทางการ
ปกครองและในที่สุดในป พ.ศ. 1839 ทรงตัดสินพระทัย สรางเมืองเชียงใหมเปนเมืองราชธานีของ
อาณาจักรลานนาไทย ภายใตการปกครองของราชวงศมังราย เชื้อพระวงศของราชวงศ มังรายปกครอง
อาณาจักรลานนาจนถึงป พ.ศ. 2101 ตกเปนเมืองขึ้น ของพมา การเสียเอกราชใหแกพมาในครั้งนีน้ ับวา
เปนการสิ้นสุด สภาพความเปนอาณาจักรที่มีเอกราชโดยสมบูรณตลอดไป เพราะหลัง จากนี้ไปลานนาไทย
ตกเปนประเทศราชของไทยจนถูกรวมเขาเปน สวนหนึ่งของอาณาจักรไทยในป พ.ศ. 2445
เชิงอรรถ
1
ชุม ณ บางชาง , “ประวัติศาสตรอาณาจักร ลานนาไทย . ที่ระลึกวันพิธีเปดอนุเสาวรียพระเจา
กาวิละเชียงใหม . (เชียงใหม : โรงพิมพแสงศิลป, 2515 ) หนา 70.
2
นครหริภุญไชย หรือเมืองลําพูนตั้งอยูบริเวณริมฝงแมนา้ํ ปงตอนใต
3
นครพะเยาหรือภูกามยาว ตั้งอยูบริเวณริมฝงแมน้ําปง อยูตอนกลางคอนไปทางเหนือเล็กนอย
4
หิรัญนครเงินยางจากพงศวดารโยนกประชุมพงศาวดาร ภาคที่ 61 และตํานานพื้นเมืองเชียงใหม
ของคณะกรรมการ จัดพิมพเอกสารทางประวัติศาสตรกลาววาเปนเมืองที่ตั้งอยูบนฝง แมน้ําโขงตอนบน
ซึ่งในปจจุบันเขาใจวาอยูในบริเวณหนึ่ง ของอําเภอเชียงแสน
5
ยุคกอนประวัติศาสตรในประเทศไทยนับจากป พ.ศ. 1000 เปนระยะเวลาที่ไมมีหลักฐานเปน
ลายลักษณอกั ษร จึงเรียก คนสมัยกอน พ.ศ. 1000 ขึ้นไปวาคนกอนประวัติศาสตร จารึกที่ พบวาเกา
ที่สุดที่พะเนียด อําเภอเมือง จังหวัดลพบุรี มีอายุราว พ.ศ. 1000
6
ชิน อยูดี , สมัยกอนประวัติศาสตรในประเทศไทย. (พระนครกรมศิลปากร , 2510 ) หนา
20 – 24
7
เรื่องเดียวกัน , หนา 48.
11
พิสิฐ เจริญวงศ . “คดีปลนอดีตที่บานเชียง.” สยามรัฐ (5 มีนาคม 2505)
12
สุนทร คัยนันท. ฉะเชิงเทราในประวัตศิ าสตร (ฉะเชิงเทรา : ภาควิชาประวัติศาสตร วิทยาลัยครู
ฉะเชิงเทรา , 2534 ), หนา 3.
13
ชิน อยูดี และสุด แสงวิเชียร , อดีต (กรุงเทพฯ : โรงพิมพพิฆเณศ , 2517 หนา 229 –345.
14
ถนอม อานามวัฒน และคณะ , ประวัติศาสตร ไทยยุคกอนประวัติศาสตรถึงสิ้นอยุธยา
(กรุงเทพฯ : ภาควิชา ประวัตศิ าสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ , 2518 , หนา 7.
15
เรื่องเดียวกัน . หนา 8.
16
เรื่องเดียวกัน , หนา 8 .
17
สงวน โชติสุขรัตน , ไทยญวน – คนเมือง (กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร , 2512 ) , หนา 2-3
18
เรื่องเดียวกัน , หนา 62 .
19
D.G.E.Hall , A History of South East Asia ( London : Macmilan , 1966 ) , p.lll.
ยุคโบราณอาณาจักรที่กอตั้งขึ้นบนคาบสมุทร อินโดจีน นั้น อาณาจักรทีส่ ําคัญและเกาแกที่สุดที่
ไดรับอารยธรรมแบบอินเดียคือ อาณาจักรฟูนัน ซึง่ เขาใจกันวามีศูนยกลาง อยูบริเวณที่ราบลุม
ทะเลสาบใหญของเขมร อาณาจักรฟูนนั เปนมหาอํานาจแหงแรก ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต และ
ยิ่งใหญในอินโดจีนถึง 5 ศตวรรษ กลาวคือขยายอํานาจในตอนตนพุทธศตวรรษที่ 8 และเริ่มเสื่อมลง
ในราวพุทธศตวรรษ ที่ 11
21
วัลลภา รุงศิริแสงรัตน , ประวัติศาสตรเมืองลพบุรี (ลพบุรี : ฝายเอกสารการพิมพ วิทยาลัย
ครูเทพสตรี) ,2531 หนา 81.
22
ไพทูรย มีกศุ ล , ประวัติศาสตรไทย (มหาสารคาม : ปรีดาการพิมพ , 2521) หนา 35
23
ศรีศกร วัลลิโภดม , “อีสานระวางพุทธศตวรรษที่ 1- 16”. เมืองโบราณ (ตุลาคม –ธันวาคม
2519).
อยางไรก็ตามในระยะสี่ปที่ผานมา รองศาตราจารยศรีศกร วัลลิโภดม ไดจดั แบงเมืองใน
ภาคตะวันอออกเฉียงเหนือกอน สุโขทัยออกเปนสองแอง คือ แองสกลนคร ซึ่งคลุมพื้นที่ ในเขตจังหวัด
เลย อุดรธานี หนองคาย สกลนคร นครพนม และมุกดาหาร กับแองโคราช ไดแก เมืองที่อยูใน
บริเวณ ลุมแมน้ําชีตอนบนในเขตขังหวัดขอนแกน โปรดอานรายละเอียด ในศรีศักร วัลลิโภดม , สยาม
ประเทศ : ภูมิหลังของประเทศไทย ตั้งแตยุคดึกดําบรรพ จนถึงสมัยกรุงศรีอยุธยาราชอาณาจักรสยาม ,
(กรุงเทพฯ : มติชน , 2534 ) หนา 59 –68.
24
อาณาจักรเจนละนี้ไทยรูจกั กันในนามของขอมหรือ กัมพูชา
25
ปจจุบันเขาใจวาอยูบริเวณอําเภอปกธงชัย จังหวัด นครราชสีมา
26
ไพทูรย มีกศุ ล , เรื่องเดิม , หนา 36 .
27
ถนอม อานามวัฒน และคณะ ,เรื่องเดิม ,หนา 12 .
18
เรื่องเดียวกัน . หนา 13 .
29
พวกโจฬะ คือ ชาวเมืองในลังกา
30
ถนอม อานามวัฒน และคณะ , เรื่องเดิม , หนา 13.
31
เรื่องเดียวกัน , หนา 14.
32
สมเด็จพระบรมวงศเธอกรมพระยา ดํารงราชานุภาพ และพระยาราชเสนา , เทศาภิบาล
(พระนคร : คลังวิทยา , 2495) , หนา 63.
33
คําวา “อาณาจักรลานนาไทย” เริ่มใชตั้งแตสมัย พระเจามังรายทรงรวบรวมดินแดนตางๆ ซึ่ง
ตั้งมั่นเปนอิสระ ในภาคเหนือ ใหเปนอันหนึ่งอันเดียวกันไดในพุทธศตวรรษที่ 19 พรอมทั้งสรางเมือง
เชียงใหมใหเปนราชธานีใน ป พ.ศ. 1839
34
จากตํานานสิงหนวัติฉบับสอบคนของนายมานิต วัลลิโภดม อธิบายไววามหาศักราช 17 คือ
โบราณศักราช หรือ ปฐมศักราช ได 17 ป ตรงกับพ.ศ. 430 เอาเกณฑ 413 บวก เพราะโบราณศักราช มี
เกณฑออนกวาพุทธศักราช 413 ป
35
ราชคฤห หมายถึง เมืองแถนในมณฑลยูนนาน
36
เปนสาขาหนึ่งพวกมอญ – เขมร ในหนังสือพงศาวดารโยนก และชินกาลมาลีปกรณเรียกวาขอมดํา
หรือกรอม บางทานวา เปนมอญ ผสมกับชาวพื้นเมือง เชน ขา ละวา ฯลฯ กลายเปนขอมดํา
36
ปจจุบนั เขาใจวาอยูบริเวณสบกก หางจากอําเภอ เชียงแสนลงมาทางใตประมาณ 7- 8
กิโลเมตร
37
เมืองอุโมงคเสลา ดร. ประเสริฐ ณ นคร เสนอวา อยูใ นอําเภอฝาง จังหวัดเชียงใหม
38
ไพทูรย มีกศุ ล , เรื่องเดิม หนา 40.
39
กระทรวงมหาดไทย , ประวัติมหาดไทย ภาคที่ 3 (กรุงเทพฯ : โรงพิมพมหาดไทย 2510 ) ,
หนา 64.
40
ลูกหลานของปูเจาลาวจกไดเปนใหญ ในเมืองนี้มากอน โดยยอมขึน้ ตอเมือนาคพันธสิงหน
วัตินคร และสงสวยทองคํา สีตวงหมากเปนประจํา จึงไดชื่อวา “เวียงสีตวง” หรือเวียงสีทอง ภายหลัง
ชื่อเวียงพางคํา
41
สงวน โชติสุขรัตน , ประชุมตําราลานนาไทย (กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร , 2515 ) , หนา 67
.
42
สงวน โชติสุขรัตน , เรื่องเดิม , หนา 94.
43
เมืองเชียงราวปจจุบนั อยูใ นอําเภอเชียงแสน เปนเมือง ที่ปูเจาลาวจก ไดอพยพไทยรุนแรกมา
สรางเมืองขึ้นหลายเมือง ริมแมสายเมืองทีส่ รางขึ้นในระยะแรก ๆ อยูไ มไกลกันนัก แตการคมนาคมไม
สะดวก การเดินทางไปมาหาสูกันตองเดินทาง เปนเวลาหลายวัน
44
วัลลภา เครือเทียนทอง , “การปฏิรูปการปกครอง ลานนาไทย ในรัชสมัยของ
พระบาทสมเด็จ พระจุลจอมกลา เจาอยูห ัว ”(ปริญญานิพนธเสนอตอบัณฑิตวิทยาลัยจุฬาลงกรณ
มหาวิทยาลัย, 2519 ) , หนา 10 .
45
เรื่องเดียวกัน , หนา 19.

You might also like