You are on page 1of 153

1

จีน: ประวัติศาสตรการเมืองและเศรษฐกิจ

ศูนยเกาหลีศกึ ษา มหาวิทยาลัยรามคําแหง
www.ru.ac.th/korea

ยุคโบราณกาล

ในบทความนี้ประสงคที่จะอธิบายประวัติความเปนมาของการกอตั้งสังคมจีน
โดยเริ่มตนตั้งแตการคนพบตนกําเนิดมนุษยชาติเรื่อยไปจนถึงชวงตนของคริสตศตวรรษ
ที่ 21 เพื่อใหผูอานไดสืบสาวเรื่องราวถึงประวัติความเปนมาของการกอตัวของสังคม ใน
ขณะเดียวกัน จะเนนวิเคราะหถึงความเกี่ยวของสัมพันธกับเกาหลีและญี่ปุนที่มีปรากฏ
ขึ้นในแตละยุควาเปนเชนไร มีอะไรที่เปนจุดรวมที่กอใหเกิดความสัมพันธระหวางสังคม
เหลานี้ และสงผลอันใดใหบังเกิดขึ้นในยุคถัดมา
ขอมูลทางประวัติศาสตรของการกอกําเนิดของแตละสังคม และการพัฒนาการ
ของสังคมตามลําดับขั้นจนกลายเปนชาติ-รัฐ (nation-state) ที่มีเอกลักษณเฉพาะเปนของ
จีน ของเกาหลี และของญี่ปุนนั้น เปนกุญแจสําคัญเพราะจะทําใหเราสามารถติดตาม
เรื่องราวของเหตุการณตางๆ ที่ไดดําเนินติดตอกันเรื่อยมาจนตราบเทาทุกวันนี้

เหตุการณสําคัญกอนการกอตั้งเปนสังคม
ขอมูลที่คนพบทางโบราณคดี ทางมานุษยวิทยากายภาพ และทางประวัติศาสตร
ยุคโบราณบงชี้วา มนุษยรุนแรกอุบัติขึ้นบนโลกเมื่อราว 10 - 15 ลานปมาแลว โดยได
แยกตัวออกจากสายพันธุวานร (Pongidae หรือลิงไมมีหาง เชน อุรังอุตัง ชิมแปนซี และ
กอริลลา) โดยเรียกชื่อวา รามาพิธีคัส (Ramapethecus) ฟอสซิลที่คนพบคือ กระดูก
ขากรรไกรสวนบน ที่เชิงเขาสีวาลิก ในประเทศอินเดีย แตเนื่องจากหลักฐานฟอสซิลมี
เพียงชิ้นสองชิ้น จึงไมอาจยืนยันไดวาเปนมนุษยกลุมแรกที่แทจริงหรือไม ตอมา เหลา
2

นักวิทยาศาสตรไดพากันออกคนหาฟอสซิลมนุษยตามแหลงตางๆ ทั่วโลก ในที่สุด เร


มอนด ดารท นายแพทยโรเบอรท บรูม และหลุยส-แมรี่ ลีกกี้ ตางมุงไปคนหาฟอสซิล
ในทวีปแอฟริกาตามที่ชาลส ดารวินไดทํานายไวในหนังสือของเขา ชื่อ The Descent of
Man (1871) วา บรรพบุรุษของมนุษยนาจะมีถิ่นกําเนิดครั้งแรกในทวีปแอฟริกา ตอมา
ก็ไดมีการคนพบหลักฐาน วามีมนุษยกลุมแรกของโลกเกิดขึ้นในทวีปนั้นจริงๆ
การขุดคนตามชองเขาลึก บริเวณไหลทวีปและบริเวณใกลทะเลในประเทศทันซา
เนี ย เอธิ โ อเป ย และยู ก านดา รวมทั้ ง ตามเหมื อ งถ า นหิ น บริ เ วณแอฟริ ก าตอนใต
นับตั้งแตป ค.ศ. 1920 นั้น นักวิทยาศาสตรไดพบฟน หัวกะโหลก และกะโหลกสวน
หลังมากมายกวา 1,022 ชิ้น เมื่อผูเชี่ยวชาญรวมกันวิเคราะหหลักฐานดังกลาว ตางลง
ความเห็นวานาจะเปนมนุษยกลุมแรกซึ่งมีชีวิตอยูในราว 1.75 ลานปมาแลว โดยเรียกวา
ออสตราโลพิธีคัส (Australopethecus) มนุษยกลุมนี้สามารถสรางเครื่องมือที่ทําดวยหิน
และทําหอกไม สวนโครงสรางทางดานรางกายนั้นสามารถเดินไดดวยเทาทั้งสองขาง มี
ลําตัวตั้งตรงในขณะที่เดิน อันเปนผลมาจากการพัฒนากระดูกเชิงกรานและเขาที่ยืดเขา
ออกไดเต็มที่ รวมทั้งมีการขึ้นของฟนหลังและฟนกรามขนาดใหญ นั่นหมายความวา มี
ความสามารถในการกินอาหารประเภทเนื้อได ซึ่งตางจากวานรที่กินเฉพาะพืชเปน
อาหารเทานั้น
ออสตราโลพิธีคัส ไดสูญพันธุจากโลกไปกวา 500,000 ปมาแลว มนุษยยุคตอมา
เรียกกันวา โฮโม อีเรคตัส (Homo erectus) มีชีวิตอยูระหวาง 600,000 – 2 ลานปมาแลว
โดยมีหลักฐานชี้ชัดวา สามารถสรางเครื่องมือหินสําหรับใชสับ หรือตัด โดยกะเทาะให
มีความคมดานหนึ่ง และขวานหิน อีกทั้งสรางภาชนะใสของ เสื้อผาเครื่องนุงหม ที่อยู
อาศัย และสามารถจัดระเบียบทางสังคมโดยมีการแบงงานระหวางชาย - หญิง พึ่งพา
นายพรานในการล า สั ต ว และอยู ร วมกั น เป น กลุ ม ราว 20 – 50 คน หรื อ 3 – 12
ครอบครัว อนึ่ง เชื่อกันวาเปนกลุมแรกที่เริ่มใชภาษาในการสื่อสาร แมวาจะพูดไดชา
ราว 1 ใน 10 ของความเร็วที่มนุษยปจจุบันพูดกัน
นักวิทยาศาสตรไดพบหลักฐานฟอสซิลของโฮโม อีเรคตัสในทวีปเอเชีย แอฟ
ริ ก า และยุ โ รป โดยเฉพาะอย า งยิ่ ง การค น พบมนุ ษ ยป ก กิ่ ง ซึ่ งจั ด อยู ใ นสกุ ล Homo
erectus และมีประวัติการคนพบที่นาสนใจยิ่ง กลาวคือ เมื่อป ค.ศ. 1911 นายเจ กันนาร
แอนเดอรสัน (J. Gunnar Anderson) นักธรณีวิทยาชาวสวีเดนไดรับแตงตั้งใหเปนที่
3

ปรึกษาของรัฐบาลจีนเพื่อทําการสํารวจถานหิน และแหลงแร ในขณะที่เขาทํางานใน


ฐานะที่ปรึกษาอยูนั้น แอนเดอรสันไดใหความสนใจในเรื่องการวิวัฒนาการของมนุษย
ตามแนวคิดของชาลส ดารวิน ดวย เขาจึงพยายามหาและเก็บหลักฐานตามแหลงตางๆ
ที่ออกสํารวจอยูเสมอ จนกระทั่งในป ค.ศ. 1921 เขาไดพบซากกระดูกที่หมูบานโจวโข
วเตี้ยน ตั้งอยูหางจากนครปกกิ่งไปทางทิศตะวันออกเฉียงใตราว 30 ไมล นอกจากนี้เขา
ยังพบกระดูกของสัตวเลี้ยงลูกดวยนมมากกวา 20 ชนิด และฟนกราม 2 ซี่เพิ่มอีกดวย
แอนเดอรสันไดรวมมือกับ ดร. ออตโต ชแดนสกี้ (Dr. Otto Zdansky) โดย แอน
เดอรสันไดมอบหมายให ดร.ออตโต ชแดนสกี้ทําการขุดคนตามผนังหินปูนของเนินดิน
แถบบริเวณนั้นและเก็บซากกระดูกหลายชนิด แอนเดอรสันดีใจมากโดยเขาใจวาเขาได
คนพบสิ่งที่ตองการ นั่นคือ ซากดึกดําบรรพของสัตวเลี้ยงลูกดวยนมของยุคเทอรเทียรี่
และพลีสโตซิน ดร. ออตโต ชแดนสกี้ไดเก็บซากกระดูกในขณะที่ทําการขุดคนแหลง
แรในบริเวณนั้นตลอดชวงฤดูรอนเปนเวลาหลายปและไดนํากระดูกเหลานั้นกลับไปยัง
สวีเดน เพื่อศึกษาวิเคราะหในหองทดลอง เขาไดเขียนจดหมายถึงแอนเดอรสันวา ซาก
กระดูกจํานวนหนึ่งที่นําไปยังหองทดลองนั้น มีฟนกรามจํานวน 2 ซี่ที่เปนของมนุษย
โบราณในสกุลโฮโม ผลของการวิเคราะหนี้กอใหเกิดความลิงโลดใจแกแอนเดอรสัน
เปนยิ่งนัก เขาจึงไดรวมกับ ดร.บีรจีร โบลิน (Dr. Birgir Bohlin) ดําเนินการขุดคนหา
ซากดึกดําบรรพอยางจริงจังในระหวางเดือนเมษายนถึงเดือนตุลาคม ป ค.ศ. 1927 ใน
บริเวณถ้ําโจวโขวเตี้ยน
ในครั้ ง นี้ คณะนั ก สํ า รวจได พ บฟ น ของมนุ ษ ย โ บราณซี่ ห นึ่ ง จึ ง ได นํ า ไปให
นักวิทยาศาสตรชื่อ ดร.เดวิดสัน แบลค (Dr. Davidson Black) ที่คณะแพทยศาสตรใน
นครปกกิ่ง หลังจากที่ไดวิเคราะหวิจัยอยางละเอียดพรอมกับเปรียบเทียบกับฟนกราม 2
ซี่ที่พบกอนหนานี้ ดร.เดวิดสัน แบลคจึงตั้งชื่อซากที่คนพบใหมนี้วา Homo pekinensis
การค น พบครั้ งนี้ไ ดส รา งความฮือ ฮาไปทั่ ววงการทางวิท ยาศาสตร ทั้ ง ในยุโ รปและ
อเมริกา
ดร.โบลิ น ได ทํ า การสํ า รวจอี ก ครั้ ง ในป ค.ศ. 1928 และพบซากฟ น รวมทั้ ง
ชิ้ น ส ว นของหั ว กะโหลกของเด็ ก หนุ ม และของผู ช ายจํ า นวนหนึ่ ง ในป ต อ มา นั ก
ธรณีวิทยาชาวจีนชื่อ ดับบลิว ซี ไป (W.C. Pei) ทําหนาที่ควบคุมการขุดคนโดยเนนการ
สํารวจบริเวณตอนลางของถ้ํา การสํารวจดําเนินมาจนกระทั่งถึงวันที่ 2 ธันวาคม ใน
4

เวลา 16 นาฬิกา คณะสํารวจไดพบกับหัวกะโหลก ซึ่งถือวาเปนหลักฐานที่สําคัญยิ่ง จึง


ตองใชเวลานานหลายเดือนในการสกัดและเชื่อมตอใหเปนรูปเปนรางและสรุปวา ซาก
ที่คนพบเปนมนุษยโบราณอยางแนนอน
ดร. เดวิ ด สั น แบล ค ได ทํ า งานหนั ก ตลอดทั้ ง วั น ทั้ ง คื น ในการวิ เ คราะห ซ าก
กระดู ก ที่ ขุ ด ค น พบเป น เวลานาน จนกระทั่ ง ร า งกายทรุ ด โทรมและเสี ย ชี วิ ต ใน
หองทดลองของเขาในวันที่ 15 มีนาคม ค.ศ. 1934
นักกายวิภาคศาสตรคนตอมาที่เขารับหนาที่แทน ดร. เดวิดสัน แบลค คือ ดร.
ฟรานซ ไวเดนริช (Dr.Franz Weidenrich) เปนชาวเยอรมันที่มีชื่อเสียงคนหนึ่งของ
ยุโรป เขาไดออกจากบานเกิดเพราะถูกบีบบังคับทางการเมืองจากพวกนาซี ตอมาไดรับ
ตํ า แหน ง เป น ศาสตราจารย รั บ เชิ ญ ของคณะแพทย ศ าสตร ที่ ก รุ ง ป ก กิ่ ง และเป น
ผูอํานวยการกิตติมศักดิ์ของสถาบันวิจัยดานธรณีวิทยาของจีน เขาไดศึกษาวิจัยซาก
กระดูกตอไปแมวาการสํารวจที่หมูบานโจวโขวเตี้ยนจะสิ้นสุดลงในป ค.ศ. 1937 เพราะ
ถูกญี่ปุนเขารุกรานจีน
ในชวงเวลานั้น ความสัมพันธระหวางสหรัฐอเมริกากับญี่ปุนไมสูดีนักและทวี
ความเลวรายไปเรื่อยๆ ดร. ไวเดนริชจึงเห็นวา มีความจําเปนที่จะตองนําซากกระดูก
ทั้งหมดสงไปทําการศึกษาคนควาตอยังประเทศสหรัฐอเมริกาเพราะจีนอาจจะตกอยูใน
เงื้อมมือของญี่ปุนในอีกไมชา จึงไดนํากระดูกบรรจุกลองอยางดีและสงไปทางเรือของ
กองทัพเรือสหรัฐฯ ดร. ไวเดนริชก็ออกจากประเทศจีนไปในป ค.ศ. 1941 พรอมทั้งนํา
รูปถาย ภาพเหมือนรูปรางของซากกระดูก และตัวแบบหลอของซากกระดูกชิ้นสําคัญ
ไปพร อ มกั บ ตั ว เขา อย า งไรก็ ต าม นั บ แต นั้ น เป น ต น มา ซากกระดู ก ทั้ ง หมดที่ เ สาะ
แสวงหามาดวยความยากลําบากก็สูญหายไปโดยไรรองรอยจนทุกวันนี้ (ชวงเวลานั้น
โลกไดเขาสูสงครามโลกครั้งที่สอง)
มนุษยโบราณสกุล Homo erectus ทีพ่ บในประเทศจีนอยูในสกุลเดียวกันกับ
มนุษยชวา ซึ่งคนพบโดยยูยีน ดูบัว (Eugene Dubois) ชาวเนเธอรแลนดที่พบซาก
กะโหลกบนฝงแมน้ําโซโลใกลกับหมูบ านตรินิล (Trinil) บนเกาะชวาในเดือนสิงหาคม
ป ค.ศ. 1891 ซากที่เขาคนพบนั้นไดตั้งชื่อวา Pithecantropus erectus แตมนุษยปกกิ่งมี
อายุหลังมนุษยชวาเล็กนอย สวนลักษณะอื่นคลายคลึงกัน
มนุษยโบราณ Homo erectus นี้ยังพบในบริเวณทวีปอื่นดวย เชน ในทวีปยุโรป
5

ไดคนพบมนุษยไฮเดลเบอรกในประเทศเยอรมัน สวนทวีปแอฟริกาก็พบที่ชองเขาลึก
โอดูไวในประเทศทันซาเนีย เปนตน
คณะผูสํารวจยังพบเครื่องไมเครื่องมือจํานวนนับพันชิ้นที่ตกอยูเกลื่อนกลาด
รอบๆ บริ เ วณหลุ ม ที่ 1 ที่ ทํ า การสํ า รวจ ซึ่ ง สามารถยื น ยั น ได ว า มนุ ษ ย ป ก กิ่ ง สร า ง
เครื่องมือและใชเครื่องมือเหลานั้นในการดํารงชีวิต เครื่องมือเหลานี้ไดรับการสะกัดจาก
หินในรูปแบบที่แตกตางกันเพื่อใชเปนขวานหินและมีดหิน นอกจากนี้ยังพบกระดูก
ของสัตวชนิดตางๆ ดังเชน หมี กวางปา เสือดาว และมา จึงสันนิษฐานวามนุษยปกกิ่ง
ดํารงชีพดวยการลาสัตว อนึ่ง กะโหลกศีรษะของสัตวเหลานี้ไดนํามาใชเปนภาชนะตัก
น้ํา และใชเพื่อการเตรียมอาหารอีกดวย
มนุษยปกกิ่งสามารถใชไฟและควบคุมไฟได อีกทั้งรอบๆ บริเวณถ้ํา มีพืชพันธุ
หลายหลากชนิดขึ้นอยู และคนพบซากพันธุพืชเหลานั้นที่กลายเปนหิน ดังนั้น อาจกลาว
ไดวา วัฒนธรรมของมนุษยปกกิ่งไดพัฒนาขึ้นมาอยูในระดับสูงโดยอยูรวมกันเปน
ครอบครัว อาศัยอยูเปนกลุมตามถ้ํา และสามารถลาสัตวบางชนิด รวมทั้งใชประโยชน
จากพืชชนิดตางๆ ได

จากมนุษยปกกิ่งถึงชนกลุมตางๆ ในบริเวณเอเชียตะวันออกเฉียงเหนือ
ตอมาผูเชี่ยวชาญในสาขาวิชามนุษยโบราณวิทยา (Human Paleotology) ไดนํา
หลักฐานที่ ไดออกสํารวจขุดคนฟอสซิลทั่วทุกมุมโลกตลอดคริส ตศตวรรษที่ 20 มา
วิเคราะหอยางละเอียด และไดจัดลําดับชั้นของสิ่งมีชีวิตในสกุลโฮโม เซเปยนส ที่มี
ลักษณะเฉพาะในแตละยุค โดยเรียกชื่อตางกันดังนี้
ก. มนุษยสไตนแฮม พบในประเทศเยอรมัน มีชีวิตอยูในราว 200,000 –
300,000 ปมาแลว
ข. มนุษยสวอนสโคม พบในประเทศอังกฤษใกลกรุงลอนดอน มีชีวิตอยูในชวง
เดียวกับมนุษยสไตนแฮม
ค. มนุษยนีแอนเดอรธอลส มีชีวิตอยูในราว 125,000 – 400,000 ปมาแลว
ลักษณะทั่วไปของมนุษยนีแอนเดอรธอลส ก็คือ การเดินตัวตั้งตรง เชนเดียวกับ
มนุษย สมัยใหม มีขนาดสมองใหญราว 1,200 – 1,800 ลบ.ซม. โครงสร างทางดาน
รางกายที่เดนชัดไดแก เตี้ย โดยมีความสูงเฉลี่ยราว 5 ฟุต แตหนักและหนา หนาอกกวาง
6

และกลม มีกลามเนื้อเปนมัดๆ กระดูกขาใหญและโคง นิ้วมือใหญและสั้น เทาอูม สวน


กะโหลกศีรษะลาดต่ําและแบน กระดูกคิ้วโปนหนาเหนือขอบตาและโคงลงมาเชื่อมกับ
สันจมูก
มนุ ษ ย นี แ อนเดอร ธ อลส มี ค วามเฉลี ย วฉลาด สามารถดํ า รงชี วิ ต อยู ใ นสภาพ
อากาศหนาวของยุคน้ําแข็งดวยการอาศัยอยูในถ้ํา สวมใสเสื้อผาหนัง ใชไฟได อาศัยอยู
รวมกันเปนหมูบาน และสามารถลาสัตวใหญนอยไดทุกประเภท มีการเรียกวัฒนธรรม
ของคนกลุมนี้วามุสเตอเรียน อาศัยอยูแถบยุโรปตะวันตก และพบหลักฐานวามีชีวิตอยู
ในบริเวณประเทศอิรัก รัสเซีย และจีน
ง. มนุษยโครมันยอง มีชีวิตอยูตั้งแต 40,000 ปมานี้ ถือวาเปนมนุษยที่มีลักษณะ
ดังเชนมนุษยยุคปจจุบัน โดยจัดใหอยูในสปชียอย คือ โฮโม เซเปยนส เซเปยนส (Homo
sapiens sapiens) ซึ่ งสั นนิ ษ ฐานว า ได วิ วัฒ นาการแยกสายออกมาจากมนุ ษย นีแ อน
เดอรธอลสออกมา ผูเชี่ยวชาญในสาขาวิชามนุษยโบราณวิทยาคนพบหลักฐานฟอสซิล
ในสภาพสมบูรณที่หมูบานโครมันยอง ซึ่งตั้งอยูทางตอนใตของประเทศฝรั่งเศส โดยพบ
โครงกระดู ก ของมนุ ษ ย 5 คน มี อ ายุ ขั ย ในขณะที่ เ สี ย ชี วิ ต ราว 40 – 50 ป มี ข นาด
กระโหลกที่บรรจุสมองไดราว 1,590 ลบ.ซม. หนาผากสูง คางยื่น ใบหนากลม สั้น ซึ่ง
เปนลักษณะโครงสรางทางกายภาพเหมือนกับมนุษยปจจุบัน
จากจุดกําเนิดของโฮโม อีเรคตัส ในบริเวณตอนเหนือของจีนดังที่เรารับรูกันใน
นามมนุษยปกกิ่งนั้น ยอมเปนจุดที่ชี้ชัดวา ในบริเวณแถบนี้ของโลกไดมีมนุษยโบราณ
เกิดขึ้น และวิวัฒนาการตอไปเปน โฮโม เซเปยนส จากนั้น บางกลุมไดอพยพแยกยาย
ออกไปอาศัยอยูตามแหลงที่อยูทั่วบริเวณเอเชียตะวันออก และตามสวนอื่นของโลก จึง
เปนที่นาสนใจวา ในยุคนั้น สภาพของคนกลุมที่อาศัยอยูในบริเวณนี้เปนอยางไรและมี
ความเกี่ยวของสัมพันธระหวางกันและกันอยางไร

ขอสันนิษฐาน เกี่ยวกับสภาพความเปนอยูของมนุษยในยุคเริ่มแรก
จากหลักฐานทางโบราณคดีที่คนพบ เราอาจประมวลสภาพของสังคมเหลานี้ใน
ยุคโบราณไดดังนี้
ก. มีจํานวนประชากรไมมากนักอาศัยอยูกระจัดกระจายเปนกลุมๆ ทั่วบริเวณ แต
ละกลุมจะอาศัยอยูรวมกันราว 3 – 15 ครอบครัว หรือมีสมาชิกในกลุมราว 20 – 100 คน ตาง
7

มีความสัมพันธทางสายเลือด กลุมตางๆ เหลานี้เปนที่มาของเทือกเถาเหลากอ หรือโคตร


ตระกูล (clan) พวกเขาจะอาศัยอยูตามถ้ํา หรือบางกลุมมีการสรางที่อยูอาศัยชั่วคราว เชน ทํา
เปนเพิงใชหลบแดดและฝน อนึ่ง มีการตอสูแยงชิงอาหาร และปกปองอาณาเขตของกลุมตน
อยูเนืองๆ ทําใหความสัมพันธระหวางคนภายในกลุมเปนไปอยางแนนแฟน เพราะตองออก
หาอาหารและรักษาความปลอดภัยรวมกัน ในขณะที่เปนอริกับคนตางกลุมที่พยายามเขามา
แยงชิงอาหาร และเขามาลวงล้ําอาณาเขตของกลุมตน
การหาอาหารและการจับจองอาณาเขตที่อยูอาศัยกอใหเกิดการอพยพเคลื่อนยาย
โดยเปนผลมาจากการแยกตัวออกจากกลุมที่มีขนาดใหญขึ้น หรือการอพยพไปเปนกลุมเพื่อ
แสวงหาดินแดนที่มีความอุดมสมบูรณกวา หรือถูกรุกรานจากกลุมอื่นที่มีพลังเหนือกวา
แมวาบางกลุมจะไมใชชนเผาเรรอนก็ตาม แตการอพยพก็เปนไปอยางตอเนื่องตลอดเวลา
ตามแถบเชิงเขา
ข. ทุกชีวิตจะตอสูดิ้นรนเพื่อใหมีชีวิตรอด ตองใชเวลาในการตอสูกับความยาก
ลําบากในการดําเนินชีวิตภายใตสภาพธรรมชาติที่โหดราย ทั้งสภาพอากาศที่หนาวเหน็บใน
ฤดูหนาว ฝนตก ฟารอง และพบกับความแรนแคนยามเมื่อหาอาหารมาเลี้ยงดูสมาชิกไมได
เพียงพอตามความตองการ ดังนั้น ในยุคนี้ ผูคนจึงไมมีเวลาวางพอที่จะคนคิด ประดิษฐ
สิ่งของศิลปะ และศาสนาอื่นใด จนกระทั่งสังคมสามารถกอตัวกันขึ้นเปนหลักแหลง และมี
การเพาะปลูกพืช และมีอาหารอยางเพียงพอ ซึ่งไดแกประชากรที่อาศัยอยูตามบริเวณที่ราบ
ลุม มี แ ม น้ํ า ไหลผ าน มีค วามอุ ด มสมบู ร ณ และอาจมีผู ค นหลากหลายกลุ ม มาอาศัย อยู
รวมกันกลายเปนกลุมใหญ
ค. แมวาศาสนาและลัทธิความเชื่อจะยังไมเกิดขึ้น แตการที่คนที่ตองอาศัยอยู
ทามกลางธรรมชาติและคนไมอาจควบคุมได ดังนั้น เมื่อเกิดสภาวะที่โหดรายขึ้น เชน ไฟ
ไหม แผนดินไหว หิมะถลม อุทกภัย วาตภัย ฯลฯ ผูคนก็จะสวดออนวอนสิ่งศักดิ์สิทธิ์ให
ชวยคุมครอง จึงกอใหเกิดการนับถือผีสางเทวดา (animism) ขึ้น ตอมาเมื่อมีคนอางวา
สามารถติดตอกับสิ่งศักดิ์สิทธิ์ได คนผูนั้นก็จะไดรับการยกยองใหเปนผูนําทางดานความเชื่อ
จึงเกิดมีคนทรง พอมด แมมด หมอผีขึ้น ทําใหนักมานุษยวิทยาที่มีชื่อเสียง ชื่อ Bronislaw
Malinowski กลาววา ศาสนา/ลัทธิความเชื่อในสังคมโบราณเกิดขึ้นเพื่อใชในการปลอบ
ประโลมใจของผูคนในยามทุกขยาก
8

ง. ระบบการปกครองในยุคเริ่มแรกนี้ ผูอาวุโสหรือหัวหนาของครอบครัว
ขยายมักจะทําหนาที่เปนผูนํากลุมและทําการจัดระเบียบทางสังคม กฎเกณฑทางสังคม
สรางขึ้นตามขอตกลงหรือไดรับการกําหนดขึ้นโดยกลุมผูอาวุโส อันเปนขอตกลงที่คน
ในกลุมตองรับรูและปฏิบัติตามเพื่อใหสมาชิกภายในกลุมอาศัยอยูรวมกันอยางเปนสุข
อย า งไรก็ ต าม เนื่ อ งจากต อ งอยู ร ว มกั บ คนกลุ ม อื่ น ในบริ เ วณเดี ย วกั น หรื อ บริ เ วณ
ใกลเคียงกัน ผูนําจึงตองมีความเขมแข็ง สามารถปกปองคุมครองมิใหคนกลุมอื่นเขามา
ทําราย หรือแยงชิงอาหาร รวมทั้งตองปกปองอาณาเขตของกลุมของตน ดวยเหตุนี้ จึง
ตองมีชายฉกรรจคอยเกื้อหนุน และเปนกองกําลังขับไลผูรุกราน
ผูนําจะเปนผูรอบรูในดานการแสวงหาอาหาร และแบงปนอาหารอยางเปนธรรม
ใหความสนใจ ดูแลความทุกขสุขของมวลสมาชิก อีกทั้งเปนผูนําทางพิธีกรรมอีกดวย
การปกครองเหลาสมาชิกมักมีลักษณะเปนแบบพอปกครองลูก ที่ผูนํา - ผูตามมีความ
ผูกพันกันอยางใกลชิดตามสายเลือด (lineage) ยิ่งผูคนตองอาศัยอยูในดินแดนที่หนาว
เหน็ บ และมี ท รั พ ยากรธรรมชาติ อ ยู อ ย า งจํ า กั ด ยิ่ ง ทํ า ให ค นแต ล ะกลุ ม ต อ งประสาน
ความสัมพันธกันอยางแนบแนนภายในกลุม กอใหเกิดการยึดถือระบบโคตรตระกูล
(clan) อยางเหนียวแนน ทั้งนี้ความเปนปกแผนของกลุม หมายถึง ความอยูรอดของ
สมาชิกทุกคนนั่นเอง
ความสัมพันธระหวางโคตรตระกูลเกิดขึ้นเมื่อแตละกลุมตางอาศัยอยูบริเวณที่
ราบลุมที่มีความอุดมสมบูรณดังที่กลาวแลวขางตน การตอสูเพื่อแยงชิงความเปนใหญ
ระหวางผูนํากลุมจึงเกิดขึ้น ผูนํากลุมที่เขมแข็งกวาก็จะมีอํานาจเหนือ และเปนผูนํากลุม
ตางๆ ในอาณาบริเวณนั้นทั้งหมด เมื่อมีจํานวนสมาชิกเพิ่มมากขึ้น ผูนําก็จะตั้งตนเปน
หัวหนาเผา หรือเปนกษัตริย ในเอเชียตะวันออกยุคแรกนั้น จีนมีการรวมตัวกันเปน
สังคมใหญที่เปนปกแผนตามที่ราบลุมแมน้ําฮวงโห และแมน้ําแยงซีเกียงกอนหนาชาว
เกาหลีและญี่ปุน ในขณะที่บริเวณทางตอนเหนือของจีนและของเกาหลี ผูคนจะอาศัยอยู
รวมกันเปนกลุมๆ สวนใหญดํารงชีวิตแบบปาเถื่อนลาหลังอยูมาก คนจีนจะเรียกชน
เหลานั้นวา อนารยชน สวนที่ญี่ปุนก็มีสภาพไมแตกตางจากชนในบริเวณทางเหนือของ
จีน โดยมีการแยกกันอยูเปนกลุมเล็กกลุมนอย
ในกรณีของจีนนั้นไมเปนการงายนักที่จะชี้ชัดถึงขอมูลทางประวัติศาสตรของจีน
ยุคโบราณ ทั้งที่เปนการอธิบายสภาพความเปนอยูของคนในแตละชวงเวลาและการ
9

พัฒนาการของสังคมจากชวงเวลาหนึ่งไปสูอีกชวงเวลาหนึ่งตลอดยุคโบราณ ทั้งนี้เพราะ
คําวา จีนในยุคนั้นยังมิไดหมายถึงการเปนชนชาติเดียวกัน แตเปนที่รวมของชนตางชาติ
พันธุกวา 50 กลุมเขาดวยกัน นอกจากนี้แตละชาติพันธุก็ยังมีการแบงแยกยอยออกเปน
กลุมเล็กกลุมนอยอีกหลายกลุม อนึ่ง แมวาพวกฮั่นซึ่งเปนกลุมใหญมีจํานวนมากที่สุด
ราวรอยละ 90 และครอบครองแผนดินจีนอยางตอเนื่อง แตก็มีชนกลุมนอย เชน พวกคี
ตาน แมนจู และมองโกล เขายึดอํานาจทําการปกครองจีน ในขณะที่ชนกลุมนอยกลุม
อื่นๆ ก็มีการดํารงชีวิตอยูอยางอิสระในเขตปกครองของตนเอง โดยไมเรียกตัวเองวาเปน
คนจีน อยางไรก็ตาม เมื่อกลาวสรุปทายที่สุดวา หากพวกเขาอาศัยอยูบนแผนดินจีน (ตาม
การขีดเสนกั้นอาณาเขตประเทศในยุคใหม) ก็คงตองเรียกวา คนจีน ไปทั้งหมด
ดังนั้น การที่จะอธิบายถึงประวัติศาสตรยุคโบราณของจีนอยางละเอียดจึงทําได
ยาก และมั ก ก อ ให เ กิ ด ความสั บ สนอย า งมาก โดยเฉพาะอย า งยิ่ ง เมื่ อ กล า วถึ ง
ความสัมพันธระหวางจีน-เกาหลี-ญี่ปุน ทั้งนี้เพราะตามสภาพที่เปนจริงในยุคโบราณนี้
นั้น ในบางกรณีอาจเปนความสัมพันธระหวางชนกลุมนอยของจีนกับเกาหลีและญี่ปุน
สวนเอกสารทางประวัติศาสตรที่เขียนโดยคนเกาหลีและญี่ปุนกลับระบุวา สังคมของ
พวกเขาไดติดตอกับ “จีน” แตก็ไมอาจเขาใจไดวา หมายถึง ชนกลุมนอยหรือราชสํานัก
ของอาณาจักรจีนกันแน อยางไรก็ตาม เรื่องนี้จึงเปนเรื่องที่นาทาทายและชวนใหศึกษา
ถึงสภาพและเหตุการณที่เกิดขึ้นในบริเวณภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือของ
จีนในยุคอดีตกาลนี้

1. สภาพทางภูมิศาสตรปจจุบัน
ในเบื้องตนนี้จะขอกลาวถึงสภาพภูมิศาสตรของแผนดินที่เรียกวา “จีน” ในยุค
ปจจุบันเพื่อที่จะสามารถฉายภาพใหเห็นถึงการตั้งถิ่นฐาน ประชากร และการกําเนิด
วัฒนธรรมของผูคนในบริเวณนี้ ทั้งนี้เพราะภูมิศาสตรเปนปจจัยสําคัญที่กอใหเกิดเปน
รูปลักษณของสังคมขึ้น
จีนเปนประเทศที่กวางใหญอันดับสามของโลก โดยมีพื้นที่เฉพาะสวนที่เปน
แผนดินใหญ ประมาณ 9.6 ลานตารางกิโลเมตร ทางทิศเหนือมีบริเวณนับตั้งแต
ตอนกลางของแมน้ําเฮลุงเจียง ใกลโมเหอ ลงมาจนถึงฝงเจิงมูของหมูเกาะหนานชางทาง
ทิศใต และจากที่ราบสูงปารมีรทางทิศตะวันตก มาจนถึงบริเวณที่แมน้ําเฮลุงเจียง และ
แมน้ํ าวาสุลีไหลมาบรรจบกันทางทิศตะวั นออก ประเทศจี น มีพรมแดนทางบกยาว
10

20,000 กิโลเมตร ซึ่งติดตอกับประเทศเกาหลีทางตะวันออก สาธารณรัฐประชาชนมอง


โกลเลี ย ทางเหนื อ ประเทศรั ส เซี ย และรั ฐ อิ ส ระของอดี ต สหภาพโซเวี ย ตทาง
ตะวันออกเฉียงเหนือและตะวันตกเฉียงเหนือ สวนทางทิศตะวันตกและตะวันตกเฉียงใต
ติดตอกับอัฟกานิสถาน ปากีสถาน อินเดีย เนปาล สิกขิม และภูฐาน และติดตอกับพมา
ลาว และเวียตนามทางตอนใต สวนฝงทะเลของแผนดินใหญนั้นมีความยาวมากกวา
18,000 กิโลเมตร ทางฝงทะเลจีนตะวันออกทางทิศใตและตะวันออกเฉียงใตนั้น ติดตอ
กับคาบสมุทรเกาหลี ญี่ปุน ฟลิปปนส มาเลเซีย อินโดนีเซีย และบรูไนตามลําดับ
จีนมีหมูเกาะใหญนอยมากกวา 5,000 เกาะ ซึ่งตั้งอยูกระจัดกระจายตามนานน้ํา
ทะเลที่มีขนาดกวางใหญของจีน เกาะที่ใหญที่สุดไดแก เกาะไตหวัน รองลงมาก็คือเกาะ
ไหหนัน หมูเกาะใหญนอยทั้งที่อยูในที่ลึกและตื้นเขินเหลานี้ไดรับการเรียกรวมๆ กันไป
วาหมูเกาะทะเลจีนใต โดยมีชื่อเปนทางการวา หมูเกาะตงชา ชีชา จวงชา และหนานชาง
เปนตน
ก. ภู มิ ป ระเทศ ภู มิ ป ระเทศของจี น โดยทั่ ว ไปนั้ น จะเป น ที่ ร าบสู ง ทางทิ ศ
ตะวั น ตกแล ว ค อ ยๆ ลดต่ํ า ลงมาทางทิ ศ ตะวั น ออก ลั ก ษณะภู มิ ป ระเทศจะมี ลัก ษณะ
ตางกัน ตั้งแตเปนเทือกเขาสูงเสียดเมฆจนลาดมาเปนที่ราบลุมแมน้ําที่มีขนาดและรูปราง
ตางกัน ดังเชน ที่ราบสูง เนินเขาและที่ราบสูงอันกวางใหญแผปกคลุมแผนดินจีนทาง
ตะวันตกเฉียงเหนือ สวนแมน้ําลําคลองและปากแมน้ําฉางเจียงอยูทางทิศตะวันออก หาก
มองจากเบื้องบนลงมา จะเห็นไดวาภูมิประเทศของจีนจะมีลักษณะเหมือนชั้นบันได สูง
จากตะวันตกแลวลดต่ําเปนขั้นๆ มาทางตะวันออกตามลําดับ กลาวคือ จากที่ราบสูงชิง
ไฮ-ธิเบต ลงมายังที่ราบลุมทางทิศตะวันออก และฝงทะเล
ข. เทือกเขา เปนที่รูจักกันทั่วไปวา ประเทศจีนประกอบดวยเทือกเขานอยใหญ
มากมาย ซึ่งมีเนื้อที่รวมกันมากกวา 2 ใน 3 ของเนื้อที่ประเทศทั้งหมด อาจจําแนก
ลักษณะเทือกเขาเหลานี้ตามแนวทิศทางไดเปน 3 ประเภท คือ แนวเทือกเขาตะวันออก-
ตะวันตก เทือกเขาตะวันออกเฉียงเหนือ-ตะวันตกเฉียงใต และแนวเทือกเขาเหนือ-ใต
แนวเทือกเขาตะวันออก-ตะวันตกจะอยูบริเวณทิศตะวันตกของจีน ประกอบดวย
เทือกเขาอัลไต เทียนชาน คุนลุน คาราคอรัม กางดิส หิมาลัย ชิงหลิง และหนังหลิง
11

เทือกเขาอัลไตนั้น มีความหมายวา “ภูเขาทองคํา” ในภาษามองโกเลีย ตั้งอยูทาง


เหนือของเขตปกครองตนเองซินเจียง มีความสูงโดยเฉลี่ยประมาณ 3,000 เมตรเหนือ
ระดับน้ําทะเล ทอดแนวไปทางตะวันออกเฉียงใตจนถึงประเทศมองโกเลีย
เทือกเขาเทียนชานนั้น มีบริเวณอยู ทางตอนกลางของมณฑลซินเจี ยง สู งจาก
ระดับน้ําทะเล 3,000 – 5,000 เมตร ยอดที่สูงที่สุดอยูทางตะวันตกของเทือกเขาซึ่งสูงถึง
7,000 เมตร เทือกเขานั้นประกอบดวยภูเขาใหญมากมายที่ซับซอนขนานกันอยูจนทําให
เกิดหุบเหวและทะเลสาบขึ้นมากมายระหวางรอยตอของภูเขาเหลานี้ เชน ทะเลสาบอาย
ติงกล ทางตอนกลางของหุบเหวเตอปน มีระดับน้ําลึกที่ต่ํากวาระดับน้ําทะเลถึง 154
เมตร นับวาเปนบริเวณที่ต่ําสุดของประเทศจีน
เทือกเขาคุนลุนทอดแนวจากที่ราบสูงปารมีรทางตะวันตกไปยังตะวันออกจนถึง
ทางตะวันตกเฉียงเหนือของที่ราบลุมเสฉวน มีความยาวทั้งหมด 2,500 กิโลเมตร โดย
เฉลี่ยแลว เทือกเขานี้จะสูงกวาระดับน้ําทะเลมากกวา 5,000 เมตรขึ้นไป โดยมียอดเขาสูง
ถึง 7,000 เมตรอีกหลายยอด เทือกเขาคุนลุนนี้จะมีหิมะปกคลุมหลายชั้นตลอดจนกอน
น้ําแข็งใหญๆ จึงเปนแหลงกําเนิดของแมน้ําฮวงโห (แมน้ําเหลือง) และแมน้ําฉางเจียง
(แยงซีเกียง) สําหรับภูเขาบารยันฮารซึ่งอยูทางตะวันออกของเทือกเขาคุนลุนก็เปนแหลง
ตนน้ําของแมน้ําทั้งสองสายดังกลาวดวย
เทือกเขาชิงหลิงทอดยาวประมาณ 1,500 กิโลเมตร ไปตามภาคกลางของประเทศ
จีน ตั้งแตกานสูซึ่งอยูตอนใตทางตะวันตกไปยังทางตะวันออกจนถึงบริเวณแมน้ําฮ
วงโหและแมน้ําแยงซีเกียงไหลบรรจบกัน เทือกเขาสูงนี้สูงกวาระดับน้ําทะเล 2,000 –
3,000 เมตร และเปนแหลงกําเนิดของตนน้ําลําธารตางๆ ระหวางแมน้ําฮวงโหและแมน้ํา
ฉางเจียง
เทือกเขาคาราคอลัม หมายถึง “ภูเขาคุนลุนสีมวงดํา” ในภาษาเหวยเวอ ทอดแนว
จากพรมแดนซินเจียง-แคชเมียร ซึ่งอยูทางตะวันตกเฉียงเหนือมายังตะวันออกเฉียงใตเขา
ไปในธิเบตตอนเหนือ ความสูงเหนือระดับน้ําทะเลโดยเฉลี่ย ประมาณ 6,000 เมตร
ขณะที่ยอดโชกียสูงถึง 8,611 เมตร นับเปนยอดเขาที่สูงที่สุดเปนอันดับที่สองของโลก
เทือกเขาหนันหลิง เปนชื่อที่ใชเรียกกันทั่วไปสําหรับภูเขาที่อยูในมณฑลกวางสี-
กวางตุง และหูหนัน-เจียงสี ประกอบดวยภูเขายุยเจิ้ง ตูปง เมิ่งจูง ชีเตี้ยน และตายู ซึ่ง
ตางก็ถูกขนานนามวา “ภูเขาทั้งหา”
12

เทือกเขากางดิส แปลวา “ผูเปนนายแหงภูเขาทั้งหมด” ในภาษาธิเบต สูงเหนือ


ระดับน้ําทะเล 6,000 เมตรทางธิเบตตอนใต และเปนแหลงกําเนิดของตนน้ําลําธารที่จะ
ไหลลงทางที่ราบสูงภาคพื้นทวีปและมหาสมุทรอินเดีย สวนยอดเขาคางริงโบชือ หรือ
“สมบัติแหงหิมะ” นั้น นับเปนสถานที่ศักดิ์สิทธิ์สําหรับชาวพุทธที่จะมาจาริกแสวงบุญ
เทือกเขาหิมาลัยตั้งอยูทางริมสุดทางใตของที่ราบสูงชิงไฮ-ธิเบต บริเวณที่สําคัญ
ของเทือกเขานี้จะอยูทางพรมแดนของจีน-อินเดีย และจีน-เนปาล ความยาวทั้งหมดของ
เทือกเขานี้มีประมาณ 2,500 กิโลเมตร สูงกวาระดับน้ําทะเลโดยเฉลี่ยประมาณ 2,500
เมตร ขณะที่มากกวา 40 เปอรเซ็นตจะมียอดสูงที่ปกคลุมดวยหิมะประมาณ 7,000 เมตร
ยอดเขาที่สําคัญที่สุดไดแกยอดโชโมลังมา หรือ “ยอดเขาเทพี” ในความหมายของธิเบต
ซึ่งถือวาเปน “ที่พักอาศัยของหิมะ” เพราะยอดเขานี้สูงถึง 8,848.13 เมตรทางพรมแดน
จีน-เนปาล นับไดวาเปนยอดเขาที่สูงสุดของโลก นักไตเขาชาวจีนไดทําการไตเขานี้เพื่อ
ทําการสํารวจ 2 ครั้ง คือ ใน ค.ศ. 1960 และ ค.ศ. 1975
เทื อ กเขาทางตะวั น ออกเฉี ย งเหนื อ -ตะวั น ตกเฉี ย งใต นั้ น ประกอบด ว ยแนว
เทือกเขาทางตะวันออกและตะวันตก โดยจะอยูทางตะวันออกของจีนเปนสวนใหญ
ทางตะวันออกเฉียงเหนือของจีน มีระดับความสูงเฉลี่ย 2,700 เมตร ตั้งแตคาบสมุทรเลียว
ตุง และชานตุง ลงมาทางใตจนถึงมณฑลซินเจียงและฟูเจี้ยน ที่เหลือจะประกอบดวย
เทือกเขาฮิงกันใหญ ซึ่งอยูทางตะวันออกเฉียงเหนือของจีน ภูเขาไตหางซึ่งอยูทางเหนือ
ของจีนมียอดเขาอยูทางตนน้ําแยงซีเกียง และภูเขาซุยเฟงในหูหนัน
สวนเทือกเขาทางเหนือ-ใต โดยมากจะประกอบดวยภูเขาเหิงดวนในซือฉวนทาง
ตะวันตกและมณฑลยูนนาน และภูเขาทางมณฑลไตหวันตะวันออก
ค. แมน้ําและทะเลสาบ แมน้ําในประเทศจีนมากกวา 1,500 สายมีบริเวณลุม
แมน้ํา กวางขวางมีเนื้อที่มากกวา 1,000 ตารางกิโลเมตร ไดแก แมน้ําฉางเจียงหรือแยงซี
เกียง ฮวงโห เฮลุงเจียง ชูเจียง ไฮเหอ และฮวยเหอ
แม น้ํ า ฉางเจี ย ง เป น แม น้ํ า ที่ ก ว า งใหญ ที่ สุ ด ของจี น เกิ ด จากแม น้ํ า เต า เถาทาง
ตะวันตกเฉียงใตของยอดเขาเกอลาตันตงซึ่งมีหิมะปกคลุมหนาแนนและเปนยอดเขาที่
สํ าคั ญของเทื อกเขาตั งกูล า ไหลผ า นมณฑล ชิง ไฮ ธิเ บต ซือ ฉวน ยูน นาน เหอเปย
หูหนัน เจียงสี อันฮุย และเจียงสู แลวไหลลงสูที่ราบลุมแมน้ําซึ่งมีบริเวณเนื้อที่ราว 1.8
ลานตารางกิโลเมตร
13

แมน้ําฮวงโหนับเปนแมน้ํากวางใหญอันดับสองของจีน มีตนกําเนิดจากทางดาน
เหนือของเทือกเขาบารยันฮารในมณฑลชิงไฮ ไหลผานมณฑลชิงไฮ ซือฉวน กานสู หนิง
เซี้ย มองโกเลียใน ชานสี เหอหนันและชานตุง แลวไหลลงอาวโบไฮทางจังหวัดเคนลี่
ของมณฑลชานตง แมน้ําสายนี้มีความยาวทั้งหมด 5,464 กิโลเมตรและมีเนื้อที่ของที่ราบ
บริเวณลุมแมน้ํามากกวา 750,000 ตารางกิโลเมตร บนฝงแมน้ําจะมีเมืองหลันโจว เบา
เถา เจิ้งโจว จี้หนัน และเมืองสําคัญอื่นๆ ตั้งอยู ลุมแมน้ําฮวงโหนี้เปนตนกําเนิดของ
บริเวณประวัติศาสตรและวัฒนธรรมจีน
แมน้ําฮวงโหเปนแมน้ําที่มีความอุดมสมบูรณที่สุดของโลกเพราะแตละปไดพัด
พาดินอุดมสมบูรณถึง 1.6 พันลานตันมาไวตามบริเวณที่แมน้ําไหลเอื่อย และพื้นดินจะ
เริ่มตื้นเขินมีโคลนทับถมกันเปนจํานวนมาก โดยอาศัยการสะสมของการทับถมของดิน
อุดมที่แมน้ําพามานี้เอง ทองแมน้ําจะตื้นเขินขึ้นมาจนกลายเปนเขื่อนสองฟากฝง ใน
สมัยโบราณนั้นแมน้ํานี้มีสมญาวา “ความวิปโยคของจีน” เพราะเกิดน้ําทวมใหญอยู
เสมอ ยิ่งกวานั้น การปรวนแปรอยางทารุณของแมน้ํานี้ยังมีการบันทึกในประวัติศาสตร
ไว 26 ครั้งดวยกันถึงเหตุการณที่กอใหเกิดความทุกขยากสูญเสียอยางใหญหลวงของชาว
จีน
ง. ภูมิอากาศ การที่จีนมีพื้นที่กวางใหญทั้งเนื้อที่และลักษณะภูมิประเทศ ทําให
จีนมีภูมิอากาศที่แตกตางกันไปตามแตละทองถิ่น
โดยทั่วไปแลว ภูมิอากาศบริเวณคาบสมุทรเลยโจว เกาะไหหนันและตอนใต
ของไตหวัน และมณฑลยูนนานนั้นจัดเปนภูมิอากาศเขตรอน มีอากาศรอนและฝนตก
ตลอดป จึ ง ทํ า ให มี พื ช พรรณธั ญ ญาหารอุ ด มสมบู ร ณ มณฑลเฮลุ ง เจี ย งทางภาค
ตะวันออกเฉียงเหนือจะมีอากาศอบอุนในระยะสั้นๆ และมีฤดูหนาวที่อากาศหนาวจัด
มาก สวนบริเวณลุมแมน้ําฉางเจียงและฮวยเหอทางภาคตะวันออกนั้นมีอากาศอบอุน
และชุมชื้นโดยมีฤดูแตกตางกันทั้ง 4 ฤดู สวนที่ราบสูงยูนนาน-ไกวโจวทางตะวันตก
เฉียงใตของจีนมีฤดูหนาวคอนขางอบอุนและฤดูรอนคอนขางเย็น เปนตน
มีความแตกตางของอุณหภูมิทางตอนเหนือและตอนใตในฤดูหนาวมาก แตจะมี
นอยในฤดูรอน ความแตกตางของอุณหภูมิในเดือนมกราคมระหวางเมืองฮารบินทาง
ตะวันออกเฉียงเหนือและเมืองกวางโจวทางตอนใตอยูในระดับ 35 องศา ในขณะที่
บริเวณภาคเหนือนั้นแมน้ํามีหิมะปกคลุม แตลุมแมน้ําในมณฑลทางตอนใตจะกลายเปน
14

ฤดูใบไมผลิแลว นอกจากนี้ขณะที่ทางจีนตอนใตจําตองใชเสื้อกันฝนกัน แตบริเวณ


หลายแหงทางตะวันตกเฉียงเหนือกลับไมจําเปนตองใชเสื้อกันฝนกันเลย
จ. พื ช ความแตกตางกันด านที่ดิ นและลมฟาอากาศนั้น ทําให จีนมีพืชพรรณ
หลายหลากชนิ ด ตั้ ง แต พื ช ที่ อ ยู ใ นบริ เ วณป า ชุ ม ชื้ น จนถึ ง ทุ ง หญ า กว า งใหญ แ ละ
ทะเลทรายที่แหงแลง ทางปลายสุดของตะวันออกเฉียงเหนือนั้นเปนบริเวณปาไมผลัด
ใบในเขตอบอุนคอนขางหนาวที่มีใบไมเล็กแหลม เชน ลาช สปรูซ สน สวนปาตน
เอลม เมเปล ลินเดน เบอรช และแอชจะขึ้นปกคลุมแถบภูเขาตางๆ บริเวณพรมแดนจีน-
เกาหลี ในขณะที่ปาตนโอคและปาผสมระหวางโอคและสนนั้นขึ้นอยูตามภูเขาทาง
ภาคเหนือและคาบสมุทรเหลียวตุง และชานตุง จึงทําใหกลายเปนเขตปาไมผลัดใบใน
เขตอบอุนตามแนวดานเหนือ และตะวันออกเฉียงเหนือ
ฉ. ความแตกตางทางดานชาติพันธุ ประชากรของจีนมีมากกวา 1,300 ลานคน
ประกอบดวยชนชาติฮั่นราวรอยละ 91 และสวนที่เหลือเปนชนตางชาติพันธุ (ชนกลุม
นอย) ราว 56 เผา ที่อาศัยอยูกระจัดกระจายเปนกลุมๆ อยูทั่วประเทศ ทําใหจีนมีลักษณะ
เปนเสมือนสหประชาชาติที่ชนหลายเผาอาศัยอยูรวมกัน โดยมีภาษา วัฒนธรรม ลัทธิ
ความเชื่อ ขนบธรรมเนียมประเพณี เสื้อผาและเครื่องแตงกาย ตลอดจนอาหารที่แตกตาง
กัน ชนกลุม นอยที่ อาศั ย อยูทางภาคเหนือ และภาคตะวัน ออกเฉี ย งเหนื อที่ติด ต อกั บ
คาบสมุทรเกาหลี ไดแก คีตาน วีมาน เฉียงนู แมนจู มองโกล เปนตน
ความแตกต า งทางด า นชาติ พั น ธุ ใ นประเทศจี น มี ลั ก ษณะคล า ยคลึ ง กั บ ความ
แตกตางกั นทางดานภูมิศาสตร โดยบริเวณภาคเหนือและตะวันออกเฉียงเหนือที่มี
อากาศหนาวเย็น เพราะตั้งอยูติดกับบริเวณไซบีเรีย สวนภาคกลางและทางภาคตะวันตก
ของประเทศแหงแลง มีทะเลทรายปกคลุมเปนบริเวณกวางใหญนั้น มีจํานวนประชากร
อาศัยอยูอยางกระจัดกระจายและมีจํานวนไมมากนัก ผูคนจะเดินทางติดตอกันตาม
เสนทางทางบก เรื่อยไปถึงเอเชียกลางและทวีปยุโรป ผานดินแดนที่มีความแหงแลงของ
ทะเลทรายและเขตทุ ร กั น ดารของเทื อ กเขา ซึ่ ง ได ส ร า งตํ า นานสายไหมขึ้ น ในอดี ต
ในขณะที่ประชากรสวนใหญของประเทศจะอาศัยอยูตามที่ลุมชายฝงตะวันออกติดกับ
มหาสมุทรแปซิฟก และทางทิศใตที่ติดตอกับประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต ผูคน
ทางฝงนี้จึงมีความชํานาญในการเดินเรือ ทําการติดตอกับสังคมอื่นที่ตั้งอยูตามชายฝง
ของทะเลเหลือง ทะเลตะวันออก(ทะเลญี่ปุน) และทะเลจีนใต
15

2. ประชากร: ยอนรอยจากยุคโบราณกาลมาถึงยุคการตั้งถิ่นฐานถาวร
มนุษยโบราณสกุลโฮโม อีเรคตัสไดวิวัฒนาการตอมาเปนโฮโม เซเปยนส เซ
เปยนส และไดอาศัยอยูกระจัดกระจายไปทั่วลุมน้ําฮวงเหอ ในบริเวณภาคเหนือและภาค
ตะวันออกเฉียงเหนือ คงตองย้ําอีกครั้งหนึ่งวา ผูคนที่อาศัยอยูบนดินแดนแผนดินใหญ
ในยุคโบราณ ยังไมอาจเรียกไดวาเปน “คนจีน” ในความหมายปจจุบัน ทั้งนี้เปนเพราะ
จํานวนประชากรมีไมมากนัก และอาศัยอยูอยางกระจัดกระจายเปนกลุมๆ ตามพื้นที่
ตางๆ แตละกลุมจะผูกพันติดตอกันตามสายเลือด หรือโคตรตระกูล (clan) โดยพวกเขา
มีชื่อเรียกกลุมของตนเองตามเผาที่ตางกันไป สวนการขีดเสนแบงอาณาเขตยังไมเกิดขึ้น
เวนแตการกําหนดพื้นที่ระหวางกลุมหรือเผาอยางคราวๆ โดยเฉพาะอยางยิ่งตามพื้นที่ที่
มีความอุดมสมบูรณ เชน บริเวณที่ราบลุมแมน้ําฮวงโห และแมน้ําแยงซีเกียง ซึ่งเปน
บริ เ วณที่ ค นหลายกลุ ม อาศั ย อยู ใ นบริ เ วณใกล เ คี ย งกั น อนึ่ ง คนในยุ ค โบราณก อ น
คริ ส ต ศั ก ราชนั้ น มั ก มีก ารรบพุงแยงชิ งความเป นใหญ เหนื อดินแดนที่ ราบลุมแหงนี้
ตลอดเวลา
ในที่นี้จะไมขอกลาวถึงกลุมชาติพันธุที่อาศัยอยูในทั่วทุกภูมิภาคของจีนทั้งหมด
แตจะเนนกลาวเฉพาะบริเวณภาคกลาง - ภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ทั้งนี้
เพราะภาคกลาง - ภาคเหนือหรือแถบลุมแมน้ําฮวงโห เปนบอเกิดของอารยธรรมจีน
ตั้งแตเริ่มแรก สวนภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (หรือที่ชาวตะวันตกเรียกวา แมนจูเรีย)
เปนดินแดนที่ติดตอกับคาบสมุทรเกาหลีและทะเลตะวันออก (ทะเลญี่ปุน) ที่มีคน
มากมายหลายเผาอาศัยอยูบริเวณแถบนี้อาจแบงประชากรออกเปนกลุมใหญได 2 กลุม
คือ กลุมคนนอกดานและคนในดาน ดังมีรายละเอียดตอไปนี้
(1) คนนอกดาน เปนชนเผาที่อาศัยอยูในภาคเหนือสุดและภาค
ตะวันออกเฉียงเหนือ (อยูนอกเขตกําแพงเมืองจีน ปจจุบันอยูในเขตมณฑลมองโกเลียใน
เฮหลุงเจียง จี้หลิน และเหลียวหนิง) รวมไปถึงประเทศมองโกเลีย ซึ่งเปนชนเผาที่มีความ
เจริญ นอยกวาเมื่อเทียบกับคนในดาน โดยคนในดานจะเรียกคนนอกดานเหล านี้ วา
พวกอนารยชน ไดแก เผาคีตาน (Khitan) เผาหยูเจิน (Jurchen) เผาแมนจู (Manchu) เผา
เฉียงนู (Hsiung-nu) เผาเจีย (Chieh) เผาเซียนเปยหรือมองโกล (Hsien-pei) เปนตน อนึ่ง
ชนแตละเผายังแบงแยกออกเปนเผาเล็ก เผานอยอีก เชน พวกแมนจู ประกอบดวยพวก
16

ตังกัส (Tangus) และพวกทารทาร (Tartar) ในขณะที่พวกมองโกลประกอบดวยพวก


เซียนเปย และพวกโตปา (To’pa) เปนตน
ชนเผาเหลานี้เปนพวกเรรอน (normad) ประกอบอาชีพดวยการเลี้ยงสัตว โดย
เดินทางดวยมา อาศัยอยูตามเตนทที่สามารถอพยพเคลื่อนยายไดงายไปยังแหลงที่มีหญา
อุดมสมบูรณเพื่อสัตวเลี้ยงของตน ชวงฤดูรอนมักอพยพขึ้นไปอาศัยอยูตามไหลเขาและ
ที่ราบสูง สวนในฤดูหนาวก็รอนเรลงไปอาศัยยังหุบเขาและที่ราบลุมระหวางไหลเขา
คนเหลานี้มีฝมือในการรบบนหลังมามาก มีอุปนิสัยดุราย ปาเถื่อน และโหดเหี้ยมที่
สามารถสั งหารศั ตรูโ ดยไมคํานึ งถึงมนุษ ยธรรม นั่ น คื อ สามารถทํ าลายและฆ าลาง
เผาพันธุ ไมวาจะเปน ผูหญิง เด็ก และคนชราที่เปนสมาชิกของชนเผาอื่น จึงมีการสูรบ
หรื อสงครามระหวางเผ าเสมอๆ อนึ่ ง เนื่ องจากเปน กลุม ที่มีฝมือ ในการรบ และมั ก
รุกราน “คนในดาน” อยางตอเนื่อง และมีหลายครั้งที่สามารถยึดครองเมืองหลวงและ
ครอบครองจีนทั้งประเทศไดหลายครั้งหลายครา เชน เผาคีตานปกครองจีนในระหวาง
คริสตศตวรรษที่ 10 – 13 เผาหยูเจินตั้งราชวงศจินขึ้น เผามองโกลตั้งราชวงศหยวนใน
ระหวาง ค.ศ. 1276 – 1368 และเผาตังกัสแหงแมนจูปกครองจีนระหวาง ค.ศ. 1644 –
1911 นอกจากนี้ พวกเขาไดตั้งตนเปนอาณาจักรเล็กๆ ในแถบภาคเหนือ และภาค
ตะวันออกเฉียงเหนือ เชน เผาคีตานตั้งอาณาจักรเหลียวระหวาง ค.ศ. 947 – 1125 พวก
มองโกลหรือชนเผาเซียนเปยตั้งอาณาจักรเหวยเหนือ (Northern Wei) ของราชวงศโตปา
(To’pa) เปนตน
จะเห็นวาชนเผานอกดานไดสรางความหวาดผวาใหแกอาณาจักร หรือรัฐตางๆ
ที่ตั้งอยูในดานอยางตอเนื่อง และการที่คนในดานเรียกวา ชนปาเถื่อน ก็เพราะมีการยก
พลบุกแยงชิงอาหาร ปลนสดมภทรัพยสิน แยงชิงผูหญิงและกวาดตอนผูคนไปเปนทาส
ทําทารุณกรรมสังหารผูคนโดยไมเลือก รวมทั้งเผาผลาญบานเรือน เปนตน คนในดาน
ตางก็ตองปกปองกลุมของตนเองทุกวิถีทาง และสรางกําแพงเมืองเพื่อปองกันการรุกราน
ในบางครั้งก็กรีฑาทัพออกไปปราบปรามกลุมตางๆ ที่อาศัยอยูนอกดานอยูเนืองๆ
(2) คนในดาน หรือเรียกในภาษาจีนวา จงหยวน หมายถึงเขตพื้นที่ราบลุม
ตอนกลางของจีนมีประชากรอาศัยกันอยูอยางหนาแนนตามบริเวณลุมน้ําฮวงโห เพราะ
เปนบริเวณที่ราบลุมกวางใหญ มีความอุดมสมบูรณ เหมาะที่จะทําการเพาะปลูก ทั้งนี้
เพราะกระแสน้ําไดพัดพาตะกอนจากเทือกเขาตนน้ําจากภาคกลางและภาคตะวันตกไหล
17

ตามแควนอยใหญสูแมน้ําใหญ ตะกอนเหลานี้จะทับถมบริเวณที่ราบลุมตอนปลายของ
แมน้ํา
ณ. ที่แหงนี้เอง (ภาคกลาง – ภาคเหนือ) ถือเปนบอเกิดอารยธรรมที่เจริญรุงเรือง
ของจีน โดยในยุคแรก ผูคนทําการเพาะปลูกขาวมิลเลต ขาวโพด และขาว รูจักการเลี้ยง
หมอนไหมและทอผา ทําภาชนะดินเผา มีการผลิตและประดิษฐหยกเปนเครื่องประดับ
เครื่องมือ เครื่องใชที่ทําดวยหิน และทําการถลุงทองสัมฤทธิ์เพื่อทําอุปกรณ และอาวุธ
สวนที่ราบลุมแมน้ําฉางเจียง หรือแยงซีเกียงก็เปนอีกบริเวณหนึ่งที่ผูคนตั้งบานเรือน
อาศัยอยู แถบนี้มีจํานวนประชากรเพิ่มขึ้นอยางรวดเร็ว ทั้งนี้เพราะความอุดมสมบูรณ
บริเวณลุมน้ําแยงซีเกียงจะมีความเจริญรุงเรืองนอยกวาบริเวณลุมน้ําฮวงโห
ในยุ คโบราณนี้ มีก ารกอตั้ งรัฐต างๆ ขึ้ นมากมายในแถบภาคเหนื อ โดยแบ ง
ออกเปนเผาๆ กระจัดกระจายไปทั่วบริเวณสองลุมน้ํานับตั้งแต ป 2000 – 1500 ปกอน
คริสตศักราชอนึ่ง การรบพุงระหวางรัฐตางๆ เปนไปอยางตอเนื่อง โดยเผาที่มีกําลัง
เขมแข็งก็เขาปกครองเผาที่ออนแอกวาสลับกันไปมา จนกระทั่งคนเผาเซี้ย (Xia) เปน
กลุมที่มีอิทธิพลมาก ไดกอตั้งเปนราชวงศเซี้ยขึ้น แตนักประวัติศาสตรยังไมยอมรับวา
บริเวณนี้มีความเปนปกแผนเปนประเทศ เพราะชนเผาอื่นมากมายที่ไมไดยอมรับถึง
ความยิ่งใหญของชนเผาเซี้ย และทําการตอตานอิทธิพลของรัฐเซี้ย ตอมาไมนาน อํานาจ
ของคนเผานี้ก็เสื่อมถอยลง
ในชวงถัดมาราวป 1520 – 1027 กอนคริสตศักราช มีชนเผาชางไดสรางอิทธิพล
เหนือชนกลุมอื่น และสถาปนาเผาตนเปนราชวงศชาง (Shang) โดยไดสรางเมืองหลวงที่
เมื อ งโบก อ น ต อ มาได ก ลายเป น สั ง คมที่ มี ค วามเจริ ญ ก า วหน า ทั้ ง ทางด า นการเมื อ ง
เศรษฐกิจ และสังคมวัฒนธรรมขึ้น สิ่งสําคัญก็คือมีการสรางสังคมที่มีรูปแบบของรัฐบาล
กลาง สรางกองทัพที่มีระบบระเบียบ และสรางกําแพงลอมรอบเมือง ผูคนมีการแบง
ชนชั้นตามสายตระกูลหรือโคตรตระกูล มีการถือเชื้อสายของชนชั้นสูง (aristocratic
lineage) อีกทั้งหามแตงงานระหวางคนภายในตระกูลเดียวกัน ในอาณาจักรชาง
ประชากรสามารถทําไหหมักเหลาไวน สรางเครื่องดนตรี และประดิษฐตัวอักษร Si Mu
Wu บนแผนทองสัมฤทธิ์ สรางปฏิทิน และมีการฝงศพดวยการฝงมนุษย (ทาส) ตามศพ
ผูเปนนายเพื่อบูชายันตดวย
18

ตอมาชนเผาโจว (Chou) ไดทําลายลางอํานาจของราชวงศชาง และทําการ


ครอบครองบริเวณแถบลุมน้ําฮวงโหในชวงป 1027 – 258 กอนคริสตศักราช ราชวงศโจว
ไดนําระบบศักดินามาใช โดยมอบที่ดินทํากินและประชาชนใหกับขุนนางเชื้อพระวงศ
ไปดําเนินการอยางเปนอิสระ ลักษณะนี้กอใหเกิดหนวยการปกครองยอยจํานวน 71 รัฐ
รัฐที่มีขนาดใหญไดแก ลู เว ฉี หยวน ฉิน เปนตน ทุกหนวยการปกครองยอย จะขึ้น
ตรงตอกษัตริย

จักรพรรดิจนี

ยุคโบราณที่จีนปกครองในระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชยนั้น จักรพรรดิทรงมีฐานะเปน
โอรสแหงสวรรค ผูไดรับอาณัติจากสวรรคใหมาปกครองโลกมนุษย ดังนั้น พระราชอํานาจของ
พระองคจึงมีอยูอยางไมจํากัด พระราชโองการถือเปนกฎหมายสูงสุดที่ผูใดจะละเมิดมิได
มีหลักฐานพบวา จักรพรรดิในตํานานที่ปกครองจีนมีมานานกอนยุคราชวงศเซี้ยหรือราว
2,000 ปกอนคริสตศักราชเสียอีก โดยตัวหนังสือจีนที่เขียนวา หวง แปลวา พระราชาสมมติเทพ
หรือเทวราชา และคําวา ตี้ แปลวา กษัตริยผูทรงธรรม/นักปราชญ หรือธรรมราชา ทั้งสองคํานี้จะ
เขียนแยกออกจากกันเพื่อใชเรียกตําแหนงกษัตริยที่มีคุณสมบัติตรงตามนั้น ตอมาในยุคราชวงศฉิน
(ป 211 กอนคริสตศักราช) ไดรวมคําทั้งสองเปนคําเดียวกัน คือ หวงตี้ (คนไทยอานวา ฮองเต) เพื่อ
ใชเรียกองคจักรพรรดิ คํานี้จึงใชเรียกเรื่อยมาจนกระทั่งถึงวาระสุดทายของราชวงศชิงในป ค.ศ.
1912 คนจีนมีความเชื่อกันวา จักรพรรดิเปนสมมติเทพที่สวรรคสงลงมาปกครองบานเมือง
ตามปกติ การสืบเชื้อสายจะเปนไปตามสายโลหิต โดยพระโอรสองคโตของมเหษีจะขึ้น
ครองราชยต อ จากพระบิ ด า ซึ่ ง เป น ไปตามหลั ก ลั ท ธิ ธ รรมเนี ย มของขงจื้ อ อย า งไรก็ ต าม หาก
ผูปกครองพระองคใดไมอยูในทศพิธราชธรรม หรือโหดราย ก็จะถูกสวรรคลงโทษ กอใหเกิด
ทุพภิกขภัย และอาเพศตางๆ อันเปนลางบอกเหตุ จึงตองมีการเลือกจักรพรรดิองคใหม ซึ่งอาจเปน
สามัญชนที่มีความเกงกลา ดังเชน ในสมัยราชวงศฮั่นและราชวงศหมิง หรืออาจเปนชนเผาอื่น
ดังเชนในสมัยราชวงศหยวนและราชวงศชิง เปนตน อันเปนการเปลี่ยนเปนราชวงศใหมและสืบ
ทอดอํ า นาจติ ด ต อ กั น มาเป น ช ว งๆ ลั ก ษณะดั ง นี้ เ ป น เอกลั ก ษณ สํ า คั ญ ของจี น ที่ ทํ า ให ร ะบบ
สมบูรณาญาสิทธิราชยมีความมั่นคงและธํารงอยูไดนานหลายพันป
19

เมื่อสมัยของโจวตะวันตกสิ้นสุดลงในป 770 กอนคริสตศักราช ก็มีการตั้งเมือง


หลวงใหมชื่อ ลัวอี้ (หรือเมืองหลัวหยาง ในมณฑลเหอหนันปจจุบัน)และเรียกกันวายุค
โจวตะวันออกโดยไดแบงออกเปนชวงๆ คือ สมัยฤดูใบไมผลิและฤดูใบไมรวง ( 770 –
476 กอนคริสตศักราช) และสมัยรัฐทหาร ( 475 – 221 กอนคริสตศักราช) ชาวโจวสา
มารถประดิษฐเทคโนโลยีในการหลอมเหล็กและหลอเหล็กเปนผานไถ ทําเปนขวาน
และเครื่องมืออื่นๆ อนึ่ง กษัตริยอนุญาตใหชาวบานจับจองที่ดินทํากินสวนบุคคลได
ดังนั้น ในรัฐลู จึงมีการเรียกเก็บภาษีที่ดินของชุมชนขึ้นเปนครั้งแรกในป 594 กอน
คริสตศักราช
โดยแทจริงแลว กษัตริยหรือจักรพรรดิของราชวงศชาง และราชวงศโจวมิไดมี
อํานาจและมีอิทธิพลเหนือรัฐอื่นๆ มากมายนัก ทั้งนี้เพราะชนในแตละรัฐตางเปนกลุม
ชนที่มีลักษณะเดนเปนเอกลักษณของตนเอง ทําการปกครองและใชชีวิตอยูรวมกันใน
กลุมพวกของตน แตที่เรียกเปนราชวงศก็เนื่องจากคนกลุมนี้มีความเขมแข็งมากกวารัฐ
อื่นเพียงเล็กนอย อีกทั้งยังอางวามีอิทธิพลเหนือดินแดนเหลานั้นดวย อนึ่ง ความกวาง
ใหญไพศาลของเขตปกครองของแตละรัฐ และระยะทางที่หางไกลระหวางรัฐทําให
ราชอาณาจั ก รเป น เพี ย งในนาม และการขี ด เส น อาณาเขตเป น เพี ย งความนึ ก คิ ด ของ
ผูปกครองที่เปนกษัตริย ดวยเหตุนี้ นักประวัติศาสตรชาวตะวันตกจึงยังไมเรียกวาจีนใน
ความหมายที่เปนแผนดินที่มีความเปนอันหนึ่งอันเดียวกัน จนกระทั่งมีการรวบรวมแวน
แควนเปนปกแผนเปนครั้งแรกในสมัยราชวงศฉิน (ป 221 – 210 กอนคริสตศักราช)
ดังที่กลาวแลวขางตนวา การแยงชิงความเปนใหญระหวางรัฐตางๆ เกิดขึ้นอยู
ตลอดเวลา ทําใหรัฐเล็กๆ ตองตกอยูใตอิทธิพลของรัฐใหญ ในขณะเดียวกันภายในรัฐ
เดี ยวกั นก็ มีการแยงชิงอํานาจระหวางกลุ มผู นําทางการเมืองอยางดุเดือดและเขม ขน
อํานาจที่แทจริงจึงตกอยูในมือของเหลาขุนนางและขาราชการชั้นผูใหญ ในขณะที่
ประชาชนไดรับความทุกขยาก ดังนั้นจึงเกิดมีนักปราชญ เชน ขงจื้อ (มีชีวิตอยูในชวงป
551 – 479 กอนคริสตศักราช เกิดที่รัฐลู) เลาจื้อ จังจื้อ และหันเฟย เปนตน คนเหลานี้ได
ตั้งสํานักหรือสถานศึกษาเพื่อฝกอบรมเหลาขุนนาง และผูคนใหมีคุณธรรมของการอยู
รวมกัน นั่นคือ ความซื่อสัตย ความเห็นอกเห็นใจ ความรัก และความยุติธรรม ขึ้นมา
ทดแทนการแขงขันชิงดีชิงเดน ความอิจฉาริษยา ความเห็นแกตัว และสงครามเพื่อให
20

สั ง คมมีค วามสงบสุ ข ดังนั้ น จึ งเกิ ด มี ลั ท ธิ ห รือสํ านัก ขึ้ น มากมายในช ว งรอยต อ ของ
คริสตกาล ในจํานวนนี้ ลัทธิขงจื้อไดรับความนิยมสูงสุดและกลายเปนลัทธิความเชื่อที่
เป น รากฐานของการดํ า รงชี วิ ต ของคนในสั ง คมเอเชี ย ตะวั น ออกนั บ ตั้ ง แต นั้ น มาจน
ปจจุบนั
ในยุคราชวงศฉิน คนในดานไดรวมตัวกันเปนปกแผน จึงมีการเรียกวา อาณาจักร
จีนขึ้นเปนครั้งแรก โดยไดขีดเสนอาณาเขตทางทิศเหนือของประเทศไปจรดกําแพงเมือง
จีน หรือวานหลี่ฉางเฉิง หรือกําแพงหมื่นลี้ ซึ่งมีความยาวประมาณ 10,000 ลี้ (ราว 5,000
กิโลเมตร) ความกวางบางชวงขนาดมาวิ่งเรียงสี่ตัวได กําแพงนี้สรางขึ้นเพื่อปองกันการ
รุกรานจากพวกนอกดานที่มักเขามาปลนฆาชิงทรัพยอยูเนืองๆ ในการสรางกําแพงยักษ
นี้เปนการสรางเชื่อมกําแพงของแควน (รัฐ) ตางๆ ใหติดตอกันยาวตอเนื่องจากภาค
ตะวั น ตกไปจรดทะเลในภาคตะวั น ออก การสร า งกํ า แพงนี้ เ ป น โศกนาฏกรรมของ
มนุษยชาติเพราะเนื่องจากผูคนที่ถูกเกณฑไปสรางตางลมตายนับพันคน อยางไรก็ตาม
กําแพงนี้ถือไดวาเปนสิ่งมหัศจรรย 1 ใน 7 ของโลกในยุคโบราณและมีปรากฏใหเห็น
จนถึงทุกวันนี้
การเก็บภาษีอยางหนักราวสองในสามของผลผลิต การเกณฑคนไปทํางานใหกับ
รัฐ และเกณฑคนไปสรางกําแพงยักษและพระราชวัง ทําใหเกิดความเดือดรอนทั่วไปใน
หมู ชาวนา จนถึงป 209 กอนคริสตศักราช หัวหนากบฎชาวนาชื่อ เฉิน เซ็ง (Chen
Sheng) และอู กวาง (Wu Guang) ไดนําพรรคพวก 900 คน ประกาศตั้งรัฐบาลใหมและ
เรียกรองใหชาวจีนรวมกันขับไลราชวงศฉินออกไป การกระทําในครั้งนี้กอใหเกิดความ
ปนปวน ในที่สุดก็สามารถลมลางราชวงศฉินลงไปได
ตอมา หัวหนากบฎชาวนาชื่อ หลิว ปง ไดรวบรวมประเทศและตั้งตนเปนกษัตริย
แห ง ราชวงศ ฮั่ น ขึ้ น เรี ย กกั น ว า ฮั่ น ตะวั น ตก ครองอํ า นาจระหว า งป 206 ก อ น
คริสตศักราชถึง ค.ศ. 24 พระองคนําระบบการปกครองของราชวงศฉินมาใชโดยผูวา
ราชการจังหวัดทําหนาที่ในการบริหารและควบคุมดูแลอําเภอในเขตจังหวัดที่รับผิดชอบ
และผูวาราชการจังหวัดจะขึ้นตรงตอรัฐบาลกลาง ราชวงศฮั่นไดปกครองจีนและสราง
อารยธรรมขึ้นมากมาย
ศิลปวัฒนธรรมในยุคราชวงศฉิน - ฮั่นนี้ไดเจริญรุงเรืองยิ่ง โดยมีหลักฐานสําคัญ
สองชิ้นที่ถูกคนพบ นั่นคือ หนังสือเรื่อง Records of the Historians เขียนโดยซือหมา
21

เฉียน (Sima Qian, 145-90 B.C.) และ History of the Han Dynasty เขียนโดยบันคู (Ban
Gu, 32-92 A.D.) หนังสือเลมแรกเปนการเขียนตามแนวชีวประวัติเพื่อเลาเรื่องราว
เกี่ ย วกั บ ประวั ติ ศ าสตร ทั่ ว ไป ส ว นเล ม ที่ ส องเขี ย นเรื่ อ งเกี่ ย วกั บ ประวั ติ ศ าสตร ข อง
ราชวงศ ฮั่ น แนวการเขี ย นทั้ ง สองแบบนี้ ก ลายเป น แบบฉบั บ ของบั น ทึ ก ทาง
ประวัติศาสตรของทางราชการอีก 2,000 ปในกาลตอมา โดยมีการเขียนบทประพันธที่
รอยเรียงเปนเรื่องยาว สวนนักปรัชญาชื่อ หวัง ชอง (Wang Chong) เขียนเรื่อง
Discourses Weighed in the Balance ไดใหขอคิดเห็นเกี่ยวกับปรากฏการณธรรมชาติใน
แง วั ต ถุ นิ ย มเบื้ อ งต น และคั ด ค า นความเชื่ อ ในเรื่ อ งโชคลางที่ ช นชั้ น ปกครองใช เ ป น
เครื่ อ งมื อ หลอกลวงประชาชน ในดานจิ ต รกรรมนั้น ชาวจี น ในราชวงศฮั่นสามารถ
แกะสลักหินและอิฐไดเปนผลสําเร็จ สามารถวาดภาพบนแผนอิฐบนหลุมฝงศพและทํา
เครื่องเขินไดอยางสวยงาม ในทางวิทยาศาสตรก็มีการเขียนหนังสือชื่อ Nine Chapters of
the Mathematical Art ที่นําเสนอแนวคิดใหมๆ เชน การคิดคํานวณเศษสวน วิธีการคิด
เลขบวกและลบ และทศนิยม เปนตน สวนนักฟสิกสชื่อจาง เฮง (Zhang Heng) สามารถ
ประดิษฐเครื่องบันทึกแผนดินไหวและเครื่องมือทางดาราศาสตรซึ่งทํางานโดยกําลังน้ํา
จาง ชองจิง (Zhand Shongjing) เขียนหนังสือชื่อ On Typhoid Fevers and Other
Diseases เปนเรื่องเกี่ยวกับไขไทฟอยดและโรคภัยไขเจ็บตางๆ ถือไดวาเปนตํารา
การแพทยที่มีความสําคัญยิ่ง ในชวงเวลาเดียวกันนี้ หัวตู (Hoa Tuo) ไดใชวิธีฝงเข็มกอน
การผาตัด อันเปนวิธีการที่มีประสิทธิภาพ จึงถือไดวาเขาเปนบุคคลแรกของโลกที่ใชวิธี
ฝงเข็มใหคนไขสลบในขณะที่ทําการผาตัด
ไค หลุน (Cai Lun) เปนคนแรกที่ทํากระดาษขึ้นเปนครั้งแรก ซึ่งใชเปลือกไม เศษ
ผ า เก า เศษตาข า ยตกปลาเก า ๆ และเศษป า นเก า ๆ เป น วั ต ถุ ที่ ใ ช ผ ลิ ต กระดาษ
คุณประโยชนที่เขากระทําขึ้นนี้มีผลตอการพัฒนาและการแลกเปลี่ยนทางวัฒนธรรมของ
โลกยิ่ง

3. ความสัมพันธกับเกาหลีและญี่ปุน
นักประวัติศาสตรของจีนสวนใหญไมไดกลาวถึงรายละเอียดของชนเผาที่อาศัย
อยูนอกดานมากนักในยุคโบราณกอนคริสตกาล ขอมูลที่ปรากฏเปนหลักฐานที่มีอยูก็คือ
แถบภาคเหนือสุดและภาคตะวันออกเฉียงเหนือเปนที่อยูอาศัยของเหลาอนารยชน และมี
22

การรุกรานจากชนเผาเหลานั้นอยูเนืองๆ และมีการสรางกําแพงขวางกั้นมิใหอนารยชน
เขามารุกรานคนในดานไดงาย อนึ่ง การรุกรานระหวางกันของคนภายในดานและกับคน
นอกดานยังผลใหมีการอพยพยายถิ่นไปแสวงหาดินแดนที่สงบสุขกวาบนคาบสมุทร
เกาหลีและญี่ปุน ในขณะเดียวกัน มีการกวาดตอนเชลยศึก และการปลนสดมภนําเอา
เครื่องมือเครื่องใชไปดวย กอใหเกิดการแพรกระจายวัฒนธรรมไปสูชนกลุมนอยนอก
ดานใหไดรับรู และเอาแบบอยางวิธีการปลูกขาว และการทําเครื่องปนดินเผา รวมทั้ง
สิ่ ง ของเครื่ อ งใช ที่ จํ า เป น ต อ การดํ า รงชี วิ ต จากคนในด า นไปใช จึ ง เกิ ด เป น บริ เ วณ
วัฒนธรรมที่คลายคลึงกันไปทั่วภูมิภาคแถบนี้
(1) การแลกเปลี่ยนทางวัฒนธรรมและเศรษฐกิจ ในยุคนี้จีน ไดทําการคาขาย
และแลกเปลี่ยนทางวัฒนธรรมกับตางประเทศมากมาย ชวงตนของราชวงศฮั่นตะวันตก
นั้น จักรพรรดิวูดิ (Wudi) ไดมีการติดตอกับญี่ปุน ตอมาในป ค.ศ. 57 ญี่ปุนยุคยามาโต
(Yamato) ไดสงคณะทูตพรอมกับนําของขวัญไปใหแกจักรพรรดิจีน ในทางกลับกัน
จักรพรรดิกวางวู (Guangwu) แหงอาณาจักรฮั่นตะวันออกไดสงพระราชลัญจกรทองคํา
ไปใหแกกษัตริยญี่ปุน อนึ่ง จีนยังไดสงผลิตภัณฑที่ทําดวยทองแดง เหล็ก และผาไหมไป
ยังญี่ปุนอยางตอเนื่อง ในขณะที่ญี่ปุนสงอาวุธและสินคากลับไปยังจีน
จีนไดติดตอกับประเทศตางๆ ในเอเชียตะวันออกเฉียงใตและเอเชียใตตั้งแตสมัย
ฮั่นตะวันตก โดยสงทูตออกเดินทางจากมณฑลกวางตุงผานทะเลจีนใตไปยังประเทศใน
แถบแหลมมลายู และเลียบชายฝงพมาไปยังประเทศอินเดีย สําหรับการติดตอกับประเทศ
ตางๆ ในแถบเอเชียตะวันตกนั้น คณะทูตจีนใชการเดินทางบกไปยังปากีสถาน อัฟริกานิ
สถาน เนปาลและแควนแคชเมียร ในชวงนั้น พุทธศาสนาไดแพรหลายบริเวณรอบๆ
ประเทศแถบเอเชียตะวันตกแลว จึงคอยๆ แผขยายอิทธิพลความเชื่อเขาไปยังจีนทีละเล็ก
ทีละนอย
การติดตอของจีนไดดําเนินตอไปทางทิศตะวันตกถึงประเทศอิรัก และอิหราน
(เดิมเรียกวา เปอรเซีย หรือ Parthia) รวมทั้งประเทศตางๆ ในแถบนั้น ในขณะเดียวกัน
คณะทูตจากประเทศเหลานั้นก็ไดเดินทางไปเยี่ยมคารวะจักรพรรดิจีน และไดนําผาไหม
และสินคาของจีนกลับไปยังประเทศของพวกเขา ระยะทางระหวางเมืองจีนกับประเทศ
แถบทะเลเมดิเตอเรเนียนหางกันถึง 7,000 กิโลเมตร จึงเกิดตํานาน “เสนทางสายไหม”
(Silk Road) ที่กองคาราวานเดินทางผานทะเลทราย ขามภูเขา และเผชิญกับคนและสังคม
23

ที่แปลกแตกตางทั้งทางดานรางกายและวัฒนธรรมมากมายที่อาศัยอยูบนเสนทางอันยาว
ไกล นี่เปนสัญลักษณสําคัญของการผูกสัมพันธและสรางความเขาใจระหวางชาติ ควบคู
ไปกับการคาระหวางประเทศ ซึ่งไดเริ่มขึ้นนับตั้งแตตนของคริสตกาลมาแลว
(2) อิทธิพลของจีนตอคาบสมุทรเกาหลีในยุคกอนคริสตศักราช จักรพรรดิ
วูดิไดขยายดินแดนดวยการสงกําลังทหารไปโจมตีเมืองตางๆ ทางทิศเหนือ ทิศใต และ
ทิศตะวันตกทั่วสารทิศ อนึ่ง พระองคไดกรีฑาทัพทั้งทางบกและทางทะเลไปทางทิศ
เหนื อและตะวันตกเฉียงเหนือของประเทศ เพื่ อยึด ดินแดนบนคาบสมุทรเกาหลีเป น
ประเทศราชหรืออาณานิคม เมื่อยึดไดก็ตั้งศูนยกลางการปกครองเกาหลีที่เมืองซึ่งตั้งอยู
ใกลกับนครเปยงยางปจจุบัน จีนมีอํานาจครอบครองเกาหลีทางตอนเหนือและลงมาทาง
ทิศใตจนถึงเขตของเมืองโซล โดยเรียกอาณานิคมนี้วา โลลาง กลาวกันวา อาณานิคมโล
ลางมีจํานวนประชากรราว 315,000 คนจากครัวเรือนทั้งสิ้น 63,000 ครัวเรือน อาณานิคม
นี้มีประชากรอาศัยอยูเปนจํานวนมากและมีความอุดมสมบูรณมากกวาแควนชานตุงและ
แควนเหลียวตุงเสียอีก ดังนั้น พระองคจึงไดตั้งศูนยกลางวัฒนธรรมจีนขึ้นในบริเวณนี้
อีกทั้งยังไดขยายอิทธิพลวัฒนธรรมจีนไปยังญี่ปุนอีกดวย จุดนี้เองที่เปนจุดที่คนเกาหลี
ตางกระหยิ่มใจที่ไดทําหนาที่สงผานวัฒนธรรมจีนไปยังญี่ปุน อีกทั้งยังย้ําอยูเสมอวา
วัฒนธรรมจีนที่สงผานไปยังญี่ปุนนั้น ไดรับการผสมผสานกับวัฒนธรรมเกาหลีกอน
แลวจึงสงไปยังดินแดนอาทิตยอุทัย

จีน: ศูนยกลางแหงประชาคมนานาชาติและอารยธรรม

ดังที่กลาวแลววา ที่ราบลุมบนฝงแมน้ําเหลือง (แมน้ําฮวงโห) เปนที่อยูอาศัยของ


ผูคนมานานหลายพันปแลว จนกระทั่งป 221 กอนคริสตศักราช กษัตริยแหงราชวงศฉิน
ไดรวบรวมแวนแควนเปนอาณาจักรจีนขึ้นเปนครั้งแรก แตก็ธํารงความเปนปกแผนได
จนถึงป 206 หรือราว 15 ป ก็ลมสลาย ตอมา ราชวงศฮั่นไดยึดอํานาจและเขาครอบครอง
ดินแดนที่มีความอุดมสมบูรณแหงนี้เปนเวลายาวนานติดตอกันกวา 400 ป (ป 202 กอน
คริสตศักราช – ค.ศ. 220) จะเห็นไดวา อาณาจักรจีนไดเริ่มขีดเสนกั้นอาณาเขตและเปน
ที่ยอมรับกันทั่วไปนับตั้งแตป 221 กอนคริสตศักราชเปนตนมา ในขณะที่ดินแดนบน
24

คาบสมุ ท รเกาหลี แ ละญี่ ปุ น เพิ่ ง จะเริ่ ม ก อ ตั ว เป น รู ป เป น ร า งขึ้ น ในช ว งรอยต อ แห ง
คริสตกาลนี้เอง
เหตุการณทางประวัติศาสตรที่เริ่มตนตั้งแตยุคนี้เรื่อยมาจนถึงคริสตศตวรรษที่ 19
เปนหวงเวลาที่นาสนใจยิ่ง เพราะทั้งจีน เกาหลี และญี่ปุนตางไดสรางความเปนชาติของ
ตนเองขึ้น และสรางสรรควัฒนธรรมและอารยธรรมของแตละชาติอยางรวดเร็ว ยิ่งใน
ตอนปลายของช วงเวลาดัง กลา ว หรื อนั บ ตั้งแต คริส ต ศ ตวรรษที่ 16 เป น ตน มา
สถานการณของเอเชียตะวันออกเฉียงเหนือไดเปลี่ยนไปแทบพลิกหนามือเปนหลังมือ
เมื่อโลกตะวันตกไดแผอิทธิพลครอบคลุมโลกตะวันออก ทําใหภาพความโดดเดนของ
อารยธรรมของซีกโลกนี้ถูกบดบังและวัฒนธรรมบางอยางถูกลบทิ้ง และยังผลใหเกิดการ
ตอสูระหวางคนผิวเหลืองดวยกันเองกลายเปนการประหัตประหารกันและกันเพราะตาง
อิงกับอารยธรรมภายนอก ในขณะเดียวกัน ก็ตองตอสูกับชนชาวผิวขาวผูซึ่งมีอาวุธและ
วัฒนธรรมที่เหนือกวา กอใหเกิดการลมสลายของจักรวรรดิจีน ในทางตรงขาม การ
ปรับตัวของญี่ปุนไดพลิกฟนกลายเปนผูชนะโดยใชแรงผลักจากภายในผนวกกับการผูก
มิตรกับชาติตะวันตกอยางเคียงบาเคียงไหลแทนการเปนเบี้ยลางของชนผิวขาวอยางไร
ศักดิ์ศรีเฉกเชนประเทศทั้งหลายในเอเชีย แอฟริกา และลาตินอเมริกา ทําใหอาณาจักร
อาทิ ต ย อุ ทั ย กลายเป น ชาติ ม หาอํ า นาจของโลกตะวั น ออก ในขณะที่ เ กาหลี ซึ่ ง ตั้ ง อยู
ทามกลางชาติมหาอํานาจจีน – ญี่ปุน – รัสเซีย ไดถูกบดบังและถูกยึดครองจากชาติที่
แข็งแกรงกวาสลับกันไปมาอยางหลีกเลี่ยงไมพน
ประวัติศาสตรในยุคนี้ก็เชนกันที่ย้ําถึงความสมานฉันทของทั้งสามชาติที่ตั้งอยู
ใกลชิดติดกัน โดยเฉพาะในดานการคาและการแลกเปลี่ยนทางวัฒนธรรมระหวางกัน
และกัน อยางไรก็ตามดวยสภาพทางภูมิศาสตรที่จีน – เกาหลี – ญี่ปุนตั้งอยูรวมกันเปน
กระจุก จึงกอใหเกิดสงครามการรุกรานและการยึดครองประเทศเพื่อนบานตลอดหวง
ประวัติศาสตร ซึ่งประวัติศาสตรในชวงนี้เองไดสงผลใหเกิดเปนขอขัดแยงมาจนถึง
ศตวรรษที่ 21 ดังเชน เกาหลี – ญี่ปุน ที่ตางอางสิทธิเหนือหมูเกาะโดกโด (Dokdo) และ
ญี่ปุน – จีน เหนือหมูเกาะเตี้ยวยวี๋ (Diaoyu) ตลอดจนขอแตกตางในเนื้อหาทาง
ประวัติศาสตรที่นักวิชาการของแตละชาติเขียนขึ้น เชน ระหวางจีน – เกาหลี ในเรื่อง
อาณาจักรโคกูริว และจีน – เกาหลีที่อางวาแบบเรียนประวัติศาสตรของนักเรียนชั้น
25

มัธยมศึกษาญี่ปุนบิดเบือนขอเท็จจริง ประเด็นตางๆ ดังกลาวไดเกิดเปนปญหาระหวาง


ประเทศและกอใหเกิดความตึงเครียดในดานความสัมพันธระหวางประเทศในยุคปจจุบัน

ราชวงศฮั่น
นับตั้งแตราชวงศฮั่นไดครอบครองดินแดนจีนเมื่อป 202 กอนคริสตศักราช
เรื่อยมาจนถึงป ค.ศ. 220 นั้น การสรางความเปนปกแผนไดกระทําขึ้นอยางตอเนื่อง เฉก
เชนราชวงศฉินที่กอใหเกิดความเขมแข็งแกสังคมจีน ทั้งทางดานการเมืองการปกครอง
เศรษฐกิจ สังคมวัฒนธรรมและขนบธรรมเนียมประเพณี จนกลายเปนแหลงอารยธรรมที่
สูงเดน อีกทั้งไดขยายอิทธิพลทางวัฒนธรรมไปเหนือดินแดนนอกดาน (บริเวณนอก
กําแพงเมืองจี นไปทางทิศ เหนื อและตะวั น ออกเฉี ยงเหนื อ หรือที่ เรี ย กว า แมนจู เรี ย )
รวมทั้งเกาหลีและญี่ปุน ราชวงศฮั่นมีประวัติที่นาสนใจยิ่ง ดังนี้
เมื่อหัวหนากบฎชาวนาชื่อ หลิว ปง ไดรวบรวมประเทศและตั้งตนเปนกษัตริย
แหงราชวงศฮั่นขึ้น เรียกวา ฮั่นตะวันตก (Western Han) ครองอํานาจระหวางป 206 กอน
คริสตศักราช ถึง ค.ศ. 24 พระองคไดนําระบบการปกครองของราชวงศฉินมาใช และได
ทํากิจกรรมหลัก เชน การทําเกลือ การถลุงเหล็ก และการทําเหรียญกษาปณที่ผูกขาดโดย
รัฐบาลกลาง ทําใหอํานาจของสวนกลางมีมากขึ้นและเปนศูนยรวมแหงอํานาจของรัฐ
ราชวงศฮั่นไดยึดนโยบาย “ลดการเกณฑคนไปทํางานใหรัฐและลดการเก็บภาษี”
ทํา ใหเ ศรษฐกิจ ฟ น ตัว และพั ฒ นาก า วหนา ส ว นดา นการเกษตรกรรมนั้ น ได เพิ่ ม ขี ด
ความสามารถในการผลิตดวยการใชวัวลากเมื่อไถนา ใชเครื่องมือในการปลูกและเก็บ
เกี่ยว นอกจากนี้นายเฉากัวผูเชี่ยวชาญดานการเกษตรไดเสนอระบบการปลอยที่ดินให
วางหนึ่งปเพื่อใหดินฟนตัวกอนที่จะเพาะปลูกในปถัดไป หรืออาจเรียกวา เพาะปลูกบน
ที่ดินสลับปกัน การกระทําดังนั้นทําใหไดรับผลผลิตเพิ่มสูงขึ้นหลายเทา ระบบการทํา
เกษตรแผนใหมนี้ไดรับการบันทึกในหนังสือชื่อ The Book of Fan Schengzhi ที่อธิบาย
ถึงเทคโนโลยีทางการกสิกรรมและประสบผลสําเร็จสูงสุด
ชาวฮั่นตะวันตกไดพัฒนาในดานผาไหม สินคาอุปโภคบริโภค และเครื่องมือใน
การทํามาหากินอยางไมหยุดยั้ง ในสมัยราชวงศฮั่น กษัตริยของราชวงศฮั่น ชื่อ วูดิ ไดสง
ทูตชื่อ ชาง เฉียน เดินทางไปเจริญสัมพันธไมตรีกับชนตางเผา (nationalities) ในป 138
และอีกครั้งหนึ่งในป 119 กอนคริสตศักราช กอใหเกิดการคาขายและแลกเปลี่ยนทาง
26

วัฒนธรรมระหวางกันและกัน ทําใหชาวฮั่นนําการเพาะปลูกพืชผลไมหลากชนิดมาจาก
ชนตางเผา เชน องุน กระเทียม วอลนัท และงา รวมทั้งนําดนตรีและการเตนรําจากชน
ชาติอื่นเขามาในอาณาจักรฮั่นดวย
อยางไรก็ตาม เจาฟาและขุนศึกที่ไดรับพระราชทานที่ดินใหไปปกครองหัวเมือง
ตางๆ แตในที่สุดก็ไดกลายเปนศัตรูกันในกาลตอมา ทั้งนี้เนื่องมาจากการแยงชิงที่ดินเพื่อ
ขยายอิทธิพลของตนออกไป และตางฝายตางตองการเปนใหญ ทําใหขอขัดแยงขยายตัว
ออกไปเปนวงกวาง ในขณะเดียวกัน ในราชสํานักเองก็มีการแกงแยงอํานาจ และมีการ
เปลี่ยนตัวจักรพรรดิหลายครั้ง โดยแตละครั้งก็ตองใชกําลังทหารเขาชวงชิง จึงเกิดการสู
รบลมตายมากมาย
ในป ค.ศ. 25 หลิว ซิว ผูซึ่งเปนเจาของที่ดินขนาดใหญไดรวบรวมสมัครพรรค
พวกแยงชิงอํานาจและตั้งตนเปนจักรพรรดิของราชวงศฮั่นตะวันออก (Eastern Han)
และสามารถธํารงอํานาจอยูไดระหวางป ค.ศ. 25 – 220 ในสมัยนี้ ระบบเศรษฐกิจแบบ
ศักดินาไดรับการพัฒนาไปพรอมๆ กับความขัดแยงเกิดขึ้นในสังคมอยางตอเนื่อง
อยางไรก็ตาม ราชวงศฮั่นตะวันตกและตะวันออกไมสามารถแกไขขอแยงทาง
สังคมได ทั้งนี้เปนเพราะเจาของที่ดินและขุนศึกตางมีอํานาจในการปกครองแวนแควน
ของตน คนเหลานี้ตางแขงขันทางดานอํานาจและขยายอิทธิพลของตนออกไปอยางเอา
เป น เอาตาย จึ งจํ า เป น ที่ จ ะต อ งหารายได จํ า นวนมากจากชาวนาและพ อ ค า เพื่ อ สร า ง
ปราสาทราชฐานและเครื่องมือเครื่องใชใหครบครัน ชาวนาจึงถูกเอารัดเอาเปรียบและถูก
ฉกฉวยผลผลิตและทรัพยสินไปอยางตอเนื่อง เมื่อมีการตอสูระหวางแวนแควนหรือ
ระหวางรัฐเล็กๆ ก็จะตองเกณฑชาวนาไปเปนทหาร ทําใหชาวนาลุกฮือเพื่อเรียกรองขอ
ความเปนธรรมหลายครั้งในป ค.ศ. 107 และมีการลุกฮือของชาวนาขึ้นอีกกวา 100 ครั้ง
ในอาณาจักรฮั่นในชวง 80 ปตอมา
ในป ค.ศ. 184 กบฏชาวนามีความเขมแข็งมากที่สุดในประวัติศาสตรของชาติจีน
กองทัพชาวนา ภายใตการนําของหวางจิ้น ผูซึ่งใชลัทธิเตานิกายหลักการของสันติภาพได
นํากองกําลังกอการจลาจล โดยใชชื่อวา Yellow – Turban แตไดรับการขัดขวางจาก
กองทัพของเหลาเจาของที่ดินและขุนนาง การตอสูกันไดเกิดขึ้นเปนเวลานานถึง 20 ป
แมวากองกําลังของกบฏจะพายแพ แตการจลาจลครั้งนี้ไดทําลายสถานภาพของเจาของ
ที่ ดิ น และสามารถกํ า จั ด ประเพณี สื บ ทอดอํ า นาจของชนชั้ น เจ า ของที่ ดิ น ไป ทํ า ให
27

ประวัติศาสตรแหงการปฏิวัติของชาวนาไดรับการจารึกและถือเปนแบบอยางของการ
ปฏิวัติจากเบื้องลางในกาลตอมา
การจลาจลของชาวนาภายใต ก ารนํ า ของกลุ ม ที่ โ พกศี ร ษะสี เ หลื อ ง (Yellow
Turbans) เปนผลใหอาณาจักรของราชวงศฮั่นตะวันออกสิ้นสุดลง ทั้งนี้ แมวาจักรพรรดิ
แหงราชวงศฮั่นในชวงตนจะนําเอาลัทธิขงจื้อมาใชเปนแกนนําในการดําเนินนโยบายการ
ปกครองประเทศ แตเมื่อเวลาผานไปอํานาจของราชสํานักไดลดลงไปเรื่อยๆ ในขณะที่
ขุนนางเจาผูครองนครตางเพิ่มบารมีอํานาจมากขึ้น และใชอํานาจอันมิชอบกดขี่ขมเหง
ชาวนาและแยงยื้อผลประโยชนจากผูยากไร จนคนเหลานั้นไมอาจทนตออํานาจของ
เหลาทหาร ขาราชการและขุนนางเหลานั้นได อยางไรก็ตาม ขุนนางเจาผูครองนครตาง
พยายามใชกําลังทหารบดขยี้กบฏชาวนาซ้ําแลวซ้ําเลา และพยายามสรางอิทธิพลทาง
ทหารขึ้นมาเสริมอํานาจตน รวมทั้งแผอิทธิพลไปเหนือรัฐหรือแควนที่ออนแอกวา ทําให
รัฐบาลกลางของราชวงศฮั่นตะวันออกถึงกาลอวสานเมื่อไมมีแควนใดยอมรับอํานาจ
ในเวลาตอมา เกา เกา (Cao Cao ค.ศ. 155 – 220) ไดยึดครองอํานาจเหนือแควน
แถบที่ราบลุมแมน้ําฮวงโห หลิวเปย (Liu Bei ค.ศ. 161 – 223) ยึดครองอํานาจเหนือแวน
แควนแถบเสฉวน และซุนกวน (Sun Quan ค.ศ. 182 – 252) ไดยึดครองดินแดนที่ราบลุม
ภาคกลางของแมน้ําแยงซีเกียง จากนั้นไดตั้งอาณาจักรขึ้นคือ รัฐเว (Wei ค.ศ. 220 – 265)
มีเมืองหลวงชื่อเลาหยาง รัฐฉู (Shu ค.ศ. 220 – 263) มีเมืองหลวงชื่อเชงคู และรัฐอู (Wu
ค.ศ. 229 – 280) มีเมืองหลวงชื่อนานกิงขึ้นตามลําดับ จีนก็เขาสูยุคสามอาณาจักร

สมัยสามอาณาจักรหรือสามกก (Three Kingdoms)


การตอสูกันระหวางอาณาจักรทั้งสามคือ เว ฉู และอู ไดดําเนินตอไปอยางไม
หยุดยั้ง ปญหาที่เผชิญหนาก็คือ การหาอาหารและเสบียงอยางเพียงพอแกกองทัพ ดังนั้น
เกาเกาจึงไดใชทหารและประชาชนจํานวนมากสรางเขื่อนชลประทานผันน้ําจากแมน้ํา
ฮวงโหเพื่อหลอเลี้ยงพืชผลในแถบที่ราบตามชายฝงแมน้ํา ทําใหการเกษตรกรรมเจริญ
งอกงามในบริเวณทางภาคเหนือของอาณาจักรเว
สวนอาณาจักรฉูนั้น ประมุขของรัฐไดสั่งใหขุดคลองขนาดใหญจากเมืองลั่วหยาง
ไปจนถึงเมืองหางโจว ทําใหจังหวัดเสฉวน ยูนนานและหางโจวมีความอุดมสมบูรณ
เพราะผลิตผลทางการเกษตรเพิ่มขึ้นมากมาย และอาณาจักรอูก็ไดพัฒนาทางดานการ
28

เกษตรกรรมใหเจริญรุดหนาและสรางอุตสาหกรรมการตอเรือ ตลอดจนทําการคาทาง
ทะเลไปยังเกาะไตหวันและเมืองทาตางๆ

สมัยจินตะวันตก (Western Jin)


อาณาจักรทั้งสามดังที่กลาวถึงนั้น อาณาจักรเวเขมแข็งที่สุด ในป ค.ศ. 263 ก็
สามารถเอาชนะรัฐฉูได และตั้งราชวงศจินขึ้น ตอมาในป ค.ศ. 280 ไดรับชัยชนะ
อาณาจักรอู จึงทําใหจีนรวมกันเปนปกแผนอีกครั้งหนึ่ง แตก็เปนระยะเวลาสั้นๆ
รัฐบาลของราชวงศจินเต็มไปดวยการคอรรัปชั่น การคัดเลือกขาราชการมิไดใช
ระบบคุณธรรมหรือตามความสามารถ แตเลือกจากพวกพอง กลุมขุนนางที่มีเชื้อสายจาก
เชื้อพระวงศกุมอํานาจทางการเมืองเด็ดขาด คนกลุมนี้ใชชีวิตอยางหรูหราและฟุมเฟอย
สวนขุนนางที่ถูกสงไปปกครองแวนแควนตางๆ เพื่อใหประเทศเกิดความเขมแข็งนั้น
กลับสรางอํานาจและใชกําลังทหารเขาโจมตีกันและกัน ทําใหราชวงศจินมีอิทธิพลเหนือ
ประเทศจีนอยูไดเพียง 16 ปก็ลมสลาย พวกชาวนาและประชาชนไดรับความเดือดรอน
อันเปนผลมาจากสงครามระหวางเหลาขุนนาง มิหนําซ้ําภัยพิบัติทางธรรมชาติเขาซ้ําเติม
อยางตอเนื่อง จีนจึงตกอยูในสภาพแตกแยกออกเปนเสี่ยงๆ โดยบริเวณภาคใตตกอยู
ภายใตการปกครองของราชวงศจินตะวันออก สวนภาคเหนือแบงแยกออกเปนรัฐตางๆ
จํานวน 16 รัฐ จากนั้น การตอสูแยงชิงอํานาจระหวางกันก็ดําเนินตอไปจนถึงยุคราชวงศ
ใตและราชวงศเหนือ ซึ่งตอมาก็สิ้นสุดลงเมื่อป ค.ศ. 589
สภาพเศรษฐกิจและสังคมในยุคนี้ถือวากาวหนาตอไปอีกขั้นหนึ่ง กลาวคือ ใน
ดานการเกษตรกรรมนั้น ชาวนาสามารถปลูกขาวไดปละ 2 ครั้ง เพราะมีน้ําชลประทาน
หล อ เลี้ ย งอยา งสม่ํ า เสมอและมี ภู มิ อ ากาศเหมาะสม สิ น ค าหั ต ถกรรมมีม ากขึ้ น และ
กระบวนการผลิตสลับซับซอนยิ่งขึ้น เทคโนโลยีในการปนฝายและทอผาเจริญรุดหนา
โดยใชเวลาทอชั่วขามคืน มีสินคาผลิตขึ้นไดมากมาย ไมวาจะเปนกระดาษ เกลือ เครื่อง
เขิน เครื่องเงิน เครื่องปนดินเผา ถวยชาม และการตอเรือ เมืองหลายเมืองเปนศูนยกลาง
การคาที่มีผูซื้อ-ขายมาจากแดนใกลและไกล
คนจี น ในยุ ค นั้ น เขี ย นโคลงกลอนและบทกวี ม ากมาย รวมทั้ ง มี ก ารวิ เ คราะห
วิพากษวิจารณบทประพันธอีกดวย อนึ่ง พุทธศาสนาไดรับความนิยมมาก มีการสราง
29

พระพุทธรูปดวยการแกะสลักหินผาตามถ้ําตางๆ และสรางวัดวาอารามขึ้นทั่วประเทศ
นอกจากนั้น มีการวาดภาพที่สวยสดงดงามและกลายเปนสมบัติล้ําคา
จี น ได ส ง ช า งฝ มื อ และคนวาดภาพไปยั ง ประเทศเกาหลี เ พื่ อ ถ า ยทอดความรู
นักปราชญขงจื้อและผูเชี่ยวชาญดานการฝงเข็มและการทําปฏิทินก็เดินทางไปยังเกาหลี
เชนกัน ในขณะเดียวกัน จีนไดนําดนตรีและเครื่องดนตรีจากเกาหลีเขาประเทศ การ
แลกเปลี่ยนดังนี้ทําใหเพิ่มสีสันและความรุงเรืองทางวัฒนธรรมยิ่งขึ้น ในป ค.ศ. 238
จั ก รพรรดิ มิ ง ดิ แ ห ง อาณาจั ก รเว ไ ด แ ลกของกํ า นั ล กั บ ราชิ นี ข องญี่ ปุ น ต อ มาราว
คริสตศตวรรษที่ 4 มีคนจีนอพยพไปอยูในญี่ปุนไดนําเทคโนโลยีเกี่ยวกับเสื้อผา การปน
หมอ-ถวยชาม การเลี้ยงไหม การตัดเย็บเสื้อผา และการปรุงอาหารถายทอดใหกับคน
ญี่ปุน นอกจากนี้ ยังไดนําหนังสือปรัชญาของขงจื้อ เมงจื้อ และหนังสืออื่นๆ เขาไป
เผยแพรในดินแดนอาทิตยอุทัย
ในยุคสามอาณาจักร จักรพรรดิของอาณาจักรอูไดสงทูตชื่อ กังไตและซูหยิน
เดินทางไปเจริญสัมพันธไมตรีกับประเทศตางๆ ในแหลมอินโดจีน เชน อาณาจักรจําปา
และอาณาจักรฟูนาน ภายหลังที่เดินทางกลับ ทูตทั้งสองไดเขียนหนังสือชื่อ เรื่องราวของ
ตางประเทศ โดยกังไต และ สิ่งล้ําคาในอาณาจักรฟูนาน โดยซูหยิน ในกาลตอมา
อาณาจั ก รฟู น านก็ ได สง ทูต ของพวกเขาไปเยี่ย มเยื อ นเมื อ งจี น หลายครั้ ง อนึ่ ง ในยุ ค
ราชวงศใต พระชาวฟูนานไดเดินทางมายังจีนและแปลพระไตรปฎกจากภาษาจีนเปน
ภาษาเวียตนามแลวนํากลับไปยังอาณาจักรฟูนาน จึงถือไดวาเปนครั้งแรกที่จีนไดสงออก
ตัวหนังสือจีน และสงออกสถาปตยกรรม วิธีการทํากระดาษ และสิ่งทอไปยังเวียตนาม
(หรืออาณาจักรฟูนาน) ตอมา ทูตของประเทศตางๆ ที่ตั้งอยูบนเกาะอินโดนีเซียและ
แหลมมลายูไดสงทูตไปยังจีนและนําเครื่องบรรณาการไปถวายแดพระเจากรุงจีน
ในป ค.ศ. 399 พระรูปหนึ่งชื่อ ฟาเซี่ยน อายุ 65 ป ไดเดินทางออกจากเมืองเชียง
กันของจีนไปยังประเทศทางทิศตะวันตก ไดแก อินเดีย ปากีสถาน และบังคลาเทศ และ
ไดจําพรรษาอยูในดินแดนแหงนั้นนานถึง 3 ป เพื่อเรียนรูภาษาพื้นเมืองนอกเหนือจาก
การศึกษาคัมภีรตางๆ ทางพุทธศาสนา นอกจากนั้น ทานยังไดไปเยี่ยมสถานที่ประสูติ
ของพระพุทธเจาในประเทศเนปาล และไปพํานักยังประเทศศรีลังกาอีกเปนเวลา 2 ป
กอนที่จะเดินทางกลับไปยังจีนโดยทางเรือ ภายหลังที่ออกเดินทางไปยังดินแดนตางๆ
30

นานถึง 14 ป ทานไดเขียนหนังสือชื่อ บันทึกเมืองพุทธศาสนา อันเปนผลมาจากการ


สังเกตและประสบการณที่ผานพบมา
ตอมาพระอินเดียชื่อ กุมารวิชา ไดเดินทางมายังจีนและไดแปลพระไตรปฎก 300
เรื่อง งานชิ้นนี้ถือเปนผลงานการแลกเปลี่ยนทางวัฒนธรรมครั้งสําคัญระหวางจีนกับ
อินเดียในชวงป ค.ศ. 384 – 417 ซึ่งในเวลาเดียวกันนี้เองที่ยาพื้นเมืองอินเดีย ศิลปกรรม
และประดิษฐกรรมไดนําเขามาจากอินเดีย รวมทั้งพระพุทธรูปสูง 4.2 ฟุตที่กษัตริยแหง
สิมหะลานครไดมอบเปนของกํานัลแดจักรพรรดิอันดิแหงราชวงศจินตะวันออก
ตลอดชวงเวลาตั้งแตยุคสามอาณาจักรไปจนถึงราชวงศเหนือและใต ทูตของ
ประเทศตางๆ แถบเอเชียกลางและเอเชียตะวันตกไดเดินทางเพื่อเจริญสัมพันธไมตรีกับ
จีนอยางตอเนื่อง ราชวงศซัสซาเนียนของอิหรานไดมีความสัมพั นธ อยางใกลชิ ดกั บ
ราชวงศเว และมีพอคาจากจักรวรรดิโรมันไดเดินทางเขามาคาขายกับอาณาจักรอู เมื่อ
เร็วๆ นี้มีการคนพบหลักฐาน เชน เหรียญทองคํา และเหรียญตรามากมายทั้งในจีนและ
ในประเทศเหลานั้น ซึ่งยืนยันไดวามีการติดตอกันอยางกวางขวางในยุคโนน

ราชวงศสุย (Sui dynasty)


ป ค.ศ. 581 หยาง เจี้ยน (Yang Jian ค.ศ. 541 – 604 ) แหงเมืองโจวภาคเหนือได
บังคับใหจักรพรรดิจิงดิสละราชสมบัติและเขาสถาปนาตนเองขึ้นเปนจักรพรรดินามวา
เหวินดิ (Wendi คําวา di หมายถึงจักรพรรดิ) และตั้งเมืองหลวงชื่อฉางอัน จึงเปนการ
เริ่มตนราชวงศสุย (ค.ศ. 581 – 618) นับแตนั้นมา จากนั้นก็ยกกองทัพไปพิชิตแวนแควน
ตางๆ จนสามารถรวบรวมจีนใหเปนปกแผนขึ้นมาอีกครั้ง
จักรพรรดิเหวินดิไดนําระบบการปกครอง “สามสํานักหกกระทรวง” มาใช สาม
สํานัก ไดแก สํานักราชเลขานุการองคจักรพรรดิ องคมนตรี และคณะรัฐมนตรีซึ่งนําโดย
นายกรัฐมนตรี สํานักทั้งสามเปนองคกรหลักสูงสุดในการบริหารประเทศ สวนกระทรวง
ต า งๆ นั้ น จํ า แนกออกเป น กระทรวงบุ ค ลากร กระทรวงการคลั ง กระทรวงพิ ธี ก าร
กระทรวงกลาโหม กระทรวงยุติธรรม และกระทรวงโยธาธิการ ระบบการบริหารงาน
แบบนี้เคยใชในสมัยราชวงศฉิน-ฮั่นมาแลว
จักรพรรดิหยางดิ (ค.ศ. 605 – 618) ไดสืบทอดอํานาจตอมา พระองคไดสราง
พระราชวังหลายแหง จึงตองเกณฑชาวบานชาวนาจํานวนมากมากอสราง อนึ่ง พระองค
31

ทรงไปราชการโดยเดินทางประพาสทางน้ําลงไปทางใตถึง 3 ครั้ง ในแตละครั้งตองใช


ไพรพลและเงินทองมากมาย นอกจากนี้ พระองคทรงยกกองทัพโจมตีเกาหลี 3 ครั้ง ซึ่ง
ต องเกณฑช าวนาหลายลานคนไปเป นทหาร ทหารกองหนุ น และกรรมกร ในที่ สุ ด
ประชาชนและชาวนาไมอาจทนรับกับสภาพที่ตองถูกเกณฑไปเปนทหารโดยไมมีเวลา
ทํามาหาเลี้ยงครอบครัว และตองเสียภาษี ตลอดจนตองมอบผลผลิตจํานวนมากไปใหกับ
ทหารและราชสํานัก จึงรวบรวมพวกกอการจลาจลขึ้นทั่วประเทศ ในป ค.ศ. 617 ขุนนาง
ชื่อ หลีหยวน ถือโอกาสเขาขางฝายชาวนา นํากําลังเขายึดเมืองฉางอันและจับจักรพรรดิ
หยางดิประหารชีวิต ในปตอมาจึงเปนการสิ้นสุดราชวงศสุย

ราชวงศถัง (Tang dynasty)


หลีหยวนไดสถาปนาตนเองขึ้นเปนจักรพรรดิและตั้งราชวงศถัง (ค.ศ. 618–907)
ขึ้น จากนั้นก็ดําเนินการปราบปรามกบฏชาวนาอยางโหดเหี้ยม ทําใหความสงบบังเกิด
ขึ้น และสามารถรวบรวมประเทศใหเปนปกแผนอีกครั้ง
ราชวงศถังพยายามลดความตึงเครียดระหวางกลุมผูปกครองกับชาวนาลงดวยการ
แบงที่ทํากินใหเทาเทียมกันและจัดระบบเก็บภาษี 3 แบบขึ้น ในเรื่องการแบงที่ทํากินนั้น
ชายใดเมื่ออายุครบ 18 ปจะไดรับที่ดินจากรัฐบาลคนละ 100 มู (หนวยการวัดที่ดิน) ที่ดิน
20 มูสามารถนําไปซื้อ-ขายหรือโอนใหแกลูกหลานได สวนอีก 80 มูนั้นจะตองสงคืน
ใหแกรัฐเมื่อเกษียณอายุหรือเสียชีวิต ภรรยาหมายจะไดรับ 30 มู และจะไดรับเพิ่มเปน 50
มูหากตองรับหนาที่เปนหัวหนาครัวเรือน สวนผูหญิงที่มิใชแมหมายไมสามารถมีที่ดิน
ได
สวนระบบการเก็บภาษี 3 แบบนั้น หมายความวา ผูชายจะตองมอบขาว 2 ถัง
ใหแกรัฐบาลทุกปเพื่อเปนคาเชา และมอบของกํานัลเปนผาไหมยาว 20 ฟุต และเสนใย
ไหม 3 ออนซ นอกจากนี้ตองไปทํางานใหแกรัฐอีก 20 วัน หากเขาไมประสงคที่จะไป
ทํางาน ก็ตองมอบผาไหม 3 ฟุตตอการทํางานหนึ่งวันเปนการทดแทน
ในชวงเวลาเกือบสามรอยปภายใตการปกครองของราชวงศถัง สภาพเศรษฐกิจ
สังคมไดเจริญรุดหนาไปเปนอันมาก การเกษตรกรรมไดพัฒนากาวหนาดวยการสราง
ระบบชลประทาน ทําใหสามารถเพาะปลูกบนพื้นที่วางเปลาไดมาก ยังผลใหผลิตผล
32

เพิ่มขึ้น การปลูกชาเพื่อการจําหนายไดเกิดขึ้นในยุคนี้เอง โดยมีการปลูกทั่วไปในภาคใต


และมีการทําไรชาขนาดใหญ
ธุรกิจการคาและหัตถกรรมเจริญกาวหนา เมืองฉางอันกลายเปนศูนยกลางธุรกิจที่
สําคัญ และเมืองอื่นๆ ก็เปนศูนยกลางการคาขาย ดังเชน ลั่วหยาง หางโจว เจียงโจว หมิง
โจว เปนตน และมีการสรางถนนเชื่อมติดตอกันระหวางเมือง รวมทั้งมีการเดินทางโดย
ทางน้ําจากเหนือจรดใตตามคลองขนาดใหญที่ขุดขึ้น
(1) ความผูกพันระหวางชนเผาตางเชื้อชาติ (linkages between nationalities) จีน
เปนที่รวมของชนชาติตางๆ จํานวน 56 เผา ประชากรสวนใหญเปนชนชาติฮั่นจํานวน
ราวรอยละ 91 ของประชากรทั้งหมด สวนกลุมอื่นไดแก แมนจู ธิเบต เหวยเวอ เหมียว อี้
จวง บูเยย และมองโกล ซึ่งมีประชากรของแตละกลุมมากกวา 1 ลานคนขึ้นไป ชนกลุม
ขนาดกลาง เชน ตง เหยา ยาย ตูเจี้ยน ฮานี ไต คาซัค ลื่อ ลื่อซู วา ชือ เกาชาน ลาฮู ชุย ตง
เสียง นาซี จิงโป และโตบา โดยแตละกลุมจะมีประชากรระหวางกลุมละ 100,000 –
1,000,000 คน สวนชนกลุมที่มีขนาดเล็กที่มีประชากรราว 10,000 – 100,000 คน อีกมาก
ในยุคราชวงศถัง ชนแตละเชื้อชาติตางเสริมสรางอํานาจและตั้งเปนอาณาจักรที่
เปนของตนเอง เชื้อชาติที่มีประชากรจํานวนมาก (กลุมเชื้อชาติขนาดใหญ) ไดติดตอ
สัมพันธกับอาณาจักรของราชวงศถังดวยการสงลูกสาว หรือสูขอลูกสาวเพื่อแตงงานดวย
ทําใหความสัมพันธระหวางอาณาจักรของชนชาติเล็กๆ กับอาณาจักรที่ทรงพลังของ
ราชวงศถังมีความสนิทสนมและแนนแฟน
(2) กบฏชาวนาและการสิ้นสุดราชวงศถัง ระบบศักดินาที่ขุนนางหรือเจาผูครอง
นคร ไดรับสิทธิจากองคจักรพรรดิใหไปปกครองแควนใดแควนหนึ่ง ขุนนางนั้นจะมี
สิทธิเหนือแวนแควนที่ปกครองอยู ขุนนางผูครองนครจะมอบที่ดินใหแกชาวนาเปนผูทํา
กินบนผืนแผนดินที่ไดรับอนุญาต และชาวนาจะตองมอบผลผลิตบางสวนใหกับขุนนาง
เปนการตอนแทน นอกจากนั้นชาวนาจะตองไปทํานาซึ่งเปนที่ของขุนนางอาทิตยละ 3
วัน
แวนแควนที่ขุนนางไปปกครองจะมีกองทหารทําการคุมครองแควนนั้นๆ ซึ่ง
ผูปกครองแควนจะมีอํานาจแตงตั้งและบังคับบัญชาเหลาทหาร ในยามใดที่ราชสํานัก
องคจักรพรรดิชิงดีชิงเดนและแยงอํานาจระหวางสมาชิกในราชวงศ หรือองคจักรพรรดิ
ออนแอ หรือทําตัวเสเพลไมเอาใจใสในการปกครองบริหารบานเมือง ในทางตรงกันขาม
33

ขุนนาง หรือผูปกครองแวนแควนบางแหงตั้งใจบริหารงานและทุมเทในการพัฒนาให
แควนของตนเจริญกาวหนาอยางรวดเร็ว ลักษณะดังนี้จะกอใหเกิดการแข็งขอ ไมยอมรับ
อํานาจของสวนกลาง และจะเกิดสงครามระหวางจั กรพรรดิ กับเจาผูครองนคร และ
ระหวางแวนแควนที่มีความเขมแข็งกับแควนที่ออนแออยูเสมอ
ในบางกรณี องคจักรพรรดิและผูปกครองแวนแควนตองการสรางบารมีและใช
ชีวิตอยางสุขสบาย จึงเก็บภาษีอากรจากชาวนาและประชากรในอัตราสูง อีกทั้งเกณฑคน
ใหไปทํางานในราชสํานักเปนระยะเวลานาน รวมทั้งเกณฑคนไปเปนทหารเพื่อรุกราน
แควนอื่นๆ ทั้งสองกรณีดังกลาวกอใหเกิดความทุกขยากในหมูประชากรและชาวนา
จนกระทั่งความทุกขยากบังเกิดขึ้นอยางดาษดื่นจนผูคนไมอาจทนรับกับสภาพดังกลาว
ได ชาวนาจึงรวมตัวกันตอตานอํานาจของขุนนางและองคจักรพรรดิ และเรียกกันวา
กบฎชาวนา
ในชวงสุดทายของราชวงศถัง เหลาขาราชการ ขุนนาง และผูปกครองแวนแควน
ตางแยงชิงอํานาจกันเพื่อสะสมที่ดินใหไดมากที่สุด จึงทําการเบียดบังและขับไลชาวนา
ออกจากที่ดินทํากิน ทําใหชาวนาสูญเสียที่ทํากินเพราะถูกผลักดันใหตองออกจากที่ดิน
เดิมไป อนึ่ง ในยุคนี้ รัฐบาลไดเพิ่มอัตราการเก็บภาษีสูงมาก โดยใหเสียภาษีขาวเขียว นั่น
คือ เรียกเก็บภาษีกอนที่ขาวจะเก็บเกี่ยว นอกจากนี้ ไดเกิดภัยแลงซ้ําแลวซ้ําเลาในแควน
ชานตุงและเหอหนาน พวกชาวนาไมอาจทนตอความแรนแคนและการกดขี่ไดอีกตอไป
จึงเกิดการจลาจลขึ้น
ป ค.ศ. 874 หวัง เซียนซีไดนําชาวนาแข็งขอขึ้นที่เมืองเชียงหยวน ในปตอมา
ฮวาง เจาไดกอกบฏชาวนาที่เมืองเกาโจว กลุมกบฏชาวนาสองกลุมไดนํากองทัพชาวนา
ทั้งสองกลุมไดรวมตัวกันตอตานรัฐบาล ในที่สุดทางการไดสังหารหวัง เซี่ยนซีในขณะที่
ตอสูกัน ฮวาง เจาจึงไดนํากองทัพชาวนาทั้งสองกลุมซึ่งมีผูเขารวมถึง 100,000 คน ทํา
สงครามกองโจรกับกองทหารของขุนนางเปนเวลาหลายปตามสมรภูมิของแควนตางๆ
เชน อานหุย เจียงสี ฟูเจี้ยน กวางโจว และเลาหยาง จนถึงเมืองฉางอัน การปะทะกัน
ระหวางชาวนากับกองทหารเปนไปอยางดุเดือดและเปนระยะเวลานาน จนกระทั่งในป
ค.ศ. 884 ฮวาง เจาก็ถูกสังหารที่หมูบานฮูลังกูใกลกับภูเขาไตซาน แตพลพรรคก็ยัง
ดําเนินการตอสูตอไปอีกหลายป
34

แมวากบฏชาวนาจะพายแพในเวลาตอมา แตก็ยังผลใหราชวงศถังเสื่อมศรัทธา
และสูญสิ้นราชวงศไปในที่สุด

ราชวงศทั้ง 5 และ 10 อาณาจักร


ในขณะที่กบฏชาวนาไดตอสูกับกองทหารองคจักรพรรดิแห งราชวงศถังนั้ น
บรรดาผูปกครองแวนแควนตางๆ ก็ทําการขยายอํานาจทางการทหารและสรางอิทธิพล
ขึ้น ตอมาเมื่อทําการปราบปรามฮวาง เจาสําเร็จและราชวงศถังถึงกาลอวสาน นายพลซู
เหวินจึงไดนําทัพบุกเขาไปยังเมืองฉางอันและบีบบังคับใหจักรพรรดิไอดิสละราชสมบัติ
ใหแกเขาในป ค.ศ. 907 เขาไดสถาปนาราชวงศซูเหวินหรือนักประวัติศาสตรเรียกวา
ราชวงศทั้ง 5 มีอํานาจอยูในระหวางป ค.ศ. 907 – 960 (เปนเวลา 53 ป) ราชวงศนี้มี
อํานาจเหนือบริเวณลุมน้ําฮวงโห
สวนทางตอนใตของจีนนั้น ไดมีแวนแควน 10 แควนปกครองดินแดนแถบ
มณฑลชานสี นักประวัติศาสตรเรียกวา ดินแดน 10 อาณาจักร

ความเจริญรุงเรืองทางดานสังคมวัฒนธรรมในยุคราชอาณาจักรสุย ราชวงศถัง
ราชวงศทั้ง 5 และ 10 อาณาจักร
ในยุคดังกลาว พุทธศาสนาไดรับความนิยมเปนอยางมากในชวงราชวงศสุยและ
ราชวงศถัง ตอมา ปลายยุคราชวงศถังไดเกิดมีกลุมตอตานพุทธศาสนาขึ้น ซึ่งนําโดย ฮั่น
ยู และฟู ยี ผูซึ่งมีแนวคิดแบบวัตถุนิยม
วรรณคดีในยุคนี้ไดเฟองฟู มีกวีที่มีชื่อเสียงไดสรางผลงานมากมาย กลาวกันวา มี
บทกวีในยุคราชวงศถังถึง 50,000 บทที่เขียนโดยกวีจํานวน 2,200 คน กวีผูที่มีชื่อเสียง
ไดแก ลี ไบ ดู ฟู และไบ จูยี เปนตน นอกจากนี้ ยังมีหนังสือเกี่ยวกับประวัติศาสตรท่ี
เขียนบันทึกเรื่องราวในอดีตอีกเปนจํานวนมาก อนึ่ง จิตรกรที่สําคัญไดผลิตงานปน ทั้งที่
เปนรูปปนของจักรพรรดิและพระพุทธรูป จากนั้น ไดนําไปประดิษฐานไวตามที่ตางๆ
ส ว นจิ ต รกรบางคนได แ กะสลั ก หิ น ตามถ้ํ า ซึ่ ง มี ค วามสวยสดงดงามและกลายเป น
ปฏิมากรรมชั้นเยี่ยมในกาลตอมา
ความกา วหน า ทางวิ ท ยาศาสตร ดํ า เนิ น ไปอย า งต อ เนื่ อ งในยุ ค เหล า นี้ รวมทั้ ง
ผลงานทางดานการแพทยอีกมาก โดยมีสถาบันจักรพรรดิดานการแพทยที่เปนศูนยรวม
35

ของศาสตราจารยและนักศึกษาแพทยที่เชี่ยวชาญเรื่องโรคตางๆ การฝงเข็ม การนวดแผน


โบราณ และอื่นๆ อนึ่ง วิทยาลัยแพทยแหงนี้แบงออกเปน 5 ภาควิชา ที่เนนการเรียนการ
สอนเฉพาะสาขา เชน อายุรกรรม ศัลยกรรม สมุนไพร เปนตน
ในดานการแลกเปลี่ยนดานวัฒนธรรมและความรวมมือทางเศรษฐกิจกับประเทศ
ตางๆ ในเอเชียนั้น ในยุคราชวงศถัง จีนมีความกาวหนาทางเศรษฐกิจและเจริญรุงเรือง
ทางวัฒนธรรมมาก ประจวบเหมาะกับการคมนาคมขนสงเปนไปอยางสะดวกระหวาง
เมืองฉางอันซึ่งเปนเมืองหลวงกับอาณาจักรตางๆ ในเอเชีย
ยุคสามอาณาจักรของเกาหลี คือ โคกูริว ซิลลา และเพ็กเจ ไดมีความสัมพันธอันดี
กับราชวงศถัง โดยอาณาจักรของเกาหลีไดสงนักเรียนมาศึกษาเลาเรียนในประเทศจีน ใน
ป ค.ศ. 840 อาณาจักรซิลลาสงนักเรียนมายังจีนถึง 105 คน และเมื่อเรียนจบก็เดินทาง
กลั บ ไปทํ า งานโดยไดรั บตํ า แหน ง ใหญ โ ตในอาณาจั ก รแห งนั้ น พวกเขาไดเ ผยแพร
วัฒนธรรมจีนไปทั่วประเทศ ในดานการคา สินคาสําคัญจากเกาหลี ไดแก มา วัว ผา ปอ
และยา ในขณะที่จีนสงสินคาไปขายยังเกาหลี คือ ผาไหม ชา ถวยชาม และเครื่องเย็บปก
ถักรอย นอกจากนั้น จีนยังรับเอาบทเพลง การเตนระบํา และเครื่องดนตรีจากเกาหลีเขา
มา ทําใหเพิ่มสีสันการดํารงชีวิตในราชอาณาจักรถังยิ่งนัก
การติ ดตอกั บญี่ปุ นก็เป นไปอย างตอเนื่อง โดยไดสงพระของพุทธศาสนาไป
อบรมสั่งสอนคนญี่ปุน ดังเชน ในป ค.ศ. 743 พระจีนชื่อ เจียน เจน ไดรับเชิญใหเดินทาง
ไปยังญี่ปุนโดยไดนํายาสมุนไพรจีนไปเผยแพร และไดดําเนินการสรางวัดโทโชไดใน
เมืองนาราอีกดวย
ในการติ ด ต อ กั บ อิ น เดี ย ปากี ส ถาน และบั ง คลาเทศก็ ไ ด ดํ า เนิ น ต อ ไปอย า ง
สม่ํ า เสมอ ทั้ ง นี้ เ พราะการนํ า คํ า สั่ ง สอนของพุ ท ธศาสนาเข า มายั ง จี น นั่ น เอง โดยมี
พระภิกษุของจีนเดินทางไปยังประเทศเหลานี้ สวนการติดตอกับเอเซียกลาง ยุโรป และ
แอฟริกาก็เปนไปอยางไมขาดสายทั้งในดานการคาขายและการทูตระหวางกัน สินคาจีน
ที่ ขึ้ น ชื่ อ ส ง ไปขายยั ง ประเทศแถบตะวั น ออกกลางและยุ โ รป ได แ ก ผ า ไหม สิ น ค า
แกะสลัก และสินคาประเภทที่เกี่ยวของกับวัฒนธรรมจีน สวนทางดานแอฟริกานั้น จีน
สงเทคนิควิธีการทํากระดาษ การทอผาไหม และการผลิตสินคาหัตถกรรมหลายชนิดไป
สอนคนพื้นเมืองใหผลิตสิ่งของเครื่องใชดังกลาวในบริเวณแถบนี้ของโลก
36

ราชวงศซอง
ในระหวางป ค.ศ. 960 – 1368 อิทธิพลของขุนนางหรือผูปกครองแวนแควน
ตางๆ ยังคงมีอยูตอไปอีกสี่รอยกวาปแมวาจะเกิดสงครามระหวางรัฐหรือแควน เกิดกบฏ
ชาวนา และเกิดการแยงชิงอํานาจของเหลาขุนนางเชื้อพระวงศในราชสํานัก โดยจะ
ปรากฏอยูเสมอวา ภายหลังวิกฤติการณสําคัญๆ ผูปกครองแควนที่เขมแข็งจะตั้งตนเปน
จักรพรรดิและตั้งราชวงศใหมขึ้นมา จากนั้นไมนานก็จะเกิดปญหาทางการเมืองนําไปสู
การล มสลายของราชวงศ นั้นๆ ต อมาแคว น ใหม ที่ เขมแข็ งกวาก็ จะยึด อํ านาจและตั้ ง
ราชวงศขึ้นมาแทนที่
สงครามระหวางรัฐตางๆ ในยุคราชวงศทั้ง 5 ที่เปนไปอยางตอเนื่องนั้นๆได
กอใหเกิดการพังพินาศดานเศรษฐกิจของจีน จนกระทั่งในป ค.ศ. 960 เฉา กวานยินได
รวบรวมไพรพลยึดเมืองหลักและสถาปนาตนเองเปนจักรพรรดิและตั้งราชวงศซองขึ้น
นักประวัติศาสตรเรียกวา อาณาจักรซองเหนือ (Northern Song : 960 – 1126) โดยมีเมือง
หลวงชื่อ เบียนกิง องคจักรพรรดิไดพยายามปองกันมิใหหัวเมืองนอยใหญแข็งขอ จึงได
รวบอํานาจทหารไวที่สวนกลางทั้งหมด และแตงตั้งที่ปรึกษาคอยดูแลปกครองแควน
เหลานั้นแทน อํานาจการเคลื่อนยายกองทหารจะอยูที่สวนกลางเทานั้น
ความสงบสุ ข ของราชวงศ ซ อ งส ง ผลให ช าวจี น พั ฒ นาความรู วิ ท ยาการและ
วัฒนธรรมใหเจริญกาวหนาตอไป ชาวนาไถนากอนปลูกขาวแบบนาดํา มีการใชผาน
เหล็กและการชลประทานอยางกวางขวาง มีการปลูกไรชาเปนบริเวณกวางในมณฑล
กวางตุงและมณฑลกวางสี รวมทั้งที่ราบลุมตามฝงแมน้ํา ในยุคนี้ มีการทําเหมืองทองคํา
เงิน ทองแดง เหล็ก และดีบุกโดยไดรับผลผลิตมากกวาสมัยราชวงศถัง มีการใชถานหิน
ถลุงเหล็กยังผลใหคุณภาพของเหล็กดีขึ้น สวนการทําเครื่องลายครามนั้น ผลผลิตมีความ
สวยงามและมีคุณภาพยิ่งโดยไดพัฒนาเตาเผา ซึ่งจะมีเอกลักษณของเครื่องลายครามไป
ตามแควนตางๆ
ในยุคนี้ จีนไดสรางธนบัตรขึ้นในป ค.ศ. 1023 สมัยจักรพรรดิเหยินจง (Renzong)
โดยเรียกวา เจียวจื่อ (Jiaozi) ซึ่งถือวาเปนธนบัตรที่เกาแกที่สุดของจีน

ราชวงศเหลียว ราชวงศเซี้ยตะวันตกและราชวงศจิ้น
ในขณะที่ราชวงศซองเรืองอํานาจอยูนั้น ราชวงศเหลียว (Liao: 916 – 1125) ได
37

กอตั้งขึ้นในแถบทางตอนเหนือแถบมณฑลเหอเปยและมณฑลชานสี ตอมา ค.ศ. 1125


รัฐเหลียวถูกรัฐจิ้นรุกรานและยึดแควนไดสําเร็จ ทําใหชนเผาคีตานซึ่งปกครองราชวงศ
เหลียวตองถอยรนไปตั้งแควนเล็กๆ ชื่อเมืองเหลียวตะวันตก จากนั้นไมนาน เมืองเหลียว
ตะวันตกก็พายแพแกกองทัพของเจงกีส ขานแหงมองโกลไป
ในชวงที่แควนซองและแควนจิ้นเผชิญหนากันทางทหารและเขาโจมตีเพื่อแยงชิง
ความเป น ใหญ อ ยู นั้ น ชนเผ า เฉี ย งนู ที่ อ าศั ย อยู ใ นแถบหนิ ง เซี้ ย กานสู และภาค
ตะวันออกเฉียงเหนือของมณฑลชานสีรวมกันกอตั้งราชวงศเซี้ยตะวันตก (Western Xia:
1038 – 1227) ขึ้น ตอมาเซี้ยตะวันตกทําสงครามกับซองหลายครั้งจนกระทั่งตางฝายตาง
ไดรับความเสียหายและประชาชนพบกับความลําบากยากเข็ญไปทั่ว ในที่สุด ทั้งสองฝาย
จึงทําสัญญาสงบศึกในป ค.ศ. 1044 ในกาลตอมา อาณาจักรเซี้ยตะวันตกออนแอลงไป
เรื่อยๆ ในที่สุดก็ตกอยูใตอํานาจของเจงกีส ขานในป ค.ศ. 1227
ตลอดระยะเวลาที่แตละรัฐทําสงครามกันนั้น ชนเผาฮั่น ชนเผาคีตาน และชนเผา
แดงเซียงยังคงรักษาความสัมพันธทางการทูตและคาขายระหวางกัน รวมทั้งสงสินคาไป
ขายใหอาณาจักรเหลียวและอาณาจักรเซี้ยอยูเสมอมิไดขาด
การแยงชิงอํานาจและตั้งรัฐอิสระก็ดําเนินตอไป และมีการเผชิญหนากันระหวาง
อาณาจั ก รซ อ งทางตอนใต แ ละอาณาจั ก รจิ้ น การสู ร บเกิ ด ขึ้ น อย า งหลี ก เลี่ ย งไม ไ ด
จนกระทั่งป ค.ศ. 1411 อาณาจักรทั้งสองก็บรรลุขอตกลงสันติภาพระหวางกัน

ราชวงศหยวน: ความเจริญรุงเรืองของชนเผามองโกล
ชนเผามองโกลเปนชนกลุมนอยที่อาศัยอยูในบริเวณลุมแมน้ําเอรกันมาชานาน
นับตั้งแตอดีต ตอมาเมื่อมีจํานวนเพิ่มมากขึ้น ประชากรของเผานี้ก็ขยายบริเวณที่อยูอาศัย
ออกไปตั้งบานเรือนแถบที่ราบสูงมองโกเลียระหวางเทือกเขาฮิงกันและเทือกเขาอัลไต
ชาวมองโกลมีวิถีชีวิตแบบพวกเรรอน จึงมีความสามารถในดานลาสัตว ขี่มา และยิงธนู
ในตอนปลายคริสตศตวรรษที่ 12 หัวหนาเผามองโกลชื่อ เตมูจิน สามารถ
รวบรวมคนมองโกลใหเปนปกแผนเดียวกันไดทั้งหมด ตอมา ป ค.ศ. 1206 เขาไดรับ
เลือกใหเปน “ขานที่ยิ่งใหญ” หรือ เจงกีส ขาน และไดตั้งอาณาจักรมองโกลขึ้น
เจงกิส ขานมีความสามารถในดานการรบมาก และไดกรีฑาทัพรุกลงไปทางใต
ยึดแควนใหญนอย ดังเชน ค.ศ. 1215 ยึดแควนจิ้น และค.ศ. 1227 ยึดแควนเซี้ยตะวันตก
38

แตเจงกีส ขานลมเจ็บและเสียชีวิตเสียกอน บุตรชายชื่อ ออกได สืบทอดอํานาจตอและ


เอาชนะแควนซองได จึงไดสถาปนาตนเองเปน ขานผูยิ่งใหญ หรือ กุบไล ขาน และตั้ง
ราชวงศหยวน (Yuan regime: 1271 – 1368) ขึ้น จากนั้น เขาก็ไดยึดแวนแควนตางๆ
รวมทั้งแควนของชนเผาตางเชื้อชาติอื่นๆ อันเปนการรวมจีนเปนประเทศอันหนึ่งอัน
เดียวกันอีกครั้ง
ราชวงศหยวนไดรวบอํานาจการบริหารงานเขาสูสวนกลาง โดยมีเมืองดาดู (หรือ
นครปกกิ่ง) เปนศูนยกลางทางเศรษฐกิจและวัฒนธรรม การคาขายและการคากับ
ตางประเทศเจริญรุดหนาไปมากในยุคนี้ มีพอคาและนักเดินทางชาวตางประเทศเดิน
ทางเขามาในเมืองจีนอยางไมขาดสาย ในจํานวนคนเหลานี้ มีชาวเวนิช ชื่อ มารโค โปโล
ไดเขารับราชการในราชสํานักของราชวงศหยวน เขาไดเขียนหนังสือบรรยายความมั่งคั่ง
และความอุดมสมบูรณของอาณาจักรวา “…ที่นี่มีสินคาหลากหลายชนิดในตลาด มีการ
ซื้อขายผาไหมกวา 1,000 เลมเกวียนระหวางเมืองตางๆ ในแตละวัน ไมมีเมืองใดในโลก
เสมอเหมือนเมืองดาดูที่มีสินคาแปลกๆ ทั่วทุกมุมโลกวางขายในตลาด…”

ราชวงศหมิงและราชวงศชิง
ป ค.ศ. 1368 ซู หยวนซาง ไดสถาปนาตนขึ้นเปนจักรพรรดิและตั้งราชวงศหมิง
(Ming dynasty: 1368 – 1644) โดยมีเมืองหลวงชื่อ นานกิง ในยุคนั้น อํานาจของรัฐบาล
กลางมี ค วามเข ม แข็ ง ยิ่ ง โดยมี ก ารยกเลิ ก ตํ า แหน ง ราชเลขานุ ก ารและตํ า แหน ง
นายกรัฐมนตรี และไดกระจายอํานาจใหกับรัฐมนตรีหกกระทรวง คือ กระทรวงบุคลากร
กระทรวงพิ ธี ก รรม กระทรวงการคลั ง กระทรวงกลาโหม กระทรวงยุ ติ ธ รรม และ
กระทรวงโยธาธิการ รัฐมนตรีแตละคนจะขึ้นตรงตอองคจักรพรรดิ
สวนในระดับภูมิภาคนั้น แบงการปกครองออกเปน 13 จังหวัด แตละจังหวัดอยู
ภายใตการดูแลของผูวาราชการจังหวัดที่รับผิดชอบสวนราชการตางๆ รวมทั้งการคลัง
ศาลจังหวัด และผูบัญชาการทหาร ตลอดจนระดับที่ต่ํากวาจังหวัดคือ อําเภอและตําบล
สําหรับหัวเมืองที่ตั้งอยูหางไกลและแควนที่มีชนกลุมนอยอาศัยอยูนั้น มีการสงผูแทน
ฝายทหารไปดูแล ซึ่งผูแทนนั้นๆ จะทําหนาที่เปนขาราชการและรับผิดชอบงานการ
ปกครองไปดวย
39

สมัยราชวงศหมิงนี้มีการคัดเลือกผูเขารับราชการดวยการสอบไล ซึ่งเจริญรอย
ตามยุคราชวงศสุย-ถังที่ใชระบบนี้มากอน โดยแตละอําเภอจะมีโรงเรียนของตนเอง เมื่อ
นักเรียนเรียนจบหลักสูตรก็จะไดรับประกาศนียบัตรที่เรียกวา ซิ่วไข ผูที่ไดรับซิ่วไข
สามารถเขาไปสอบไลในระดับจังหวัด ซึ่งจัดสอบขึ้นที่เมืองหลวงของจังหวัด หากสอบ
ผานก็จะไดรับประกาศนียบัตรที่เรียกวา จูเรน และผูที่ไดรับจูเรนจะสามารถเขาสอบไล
ระดับประเทศ หากสอบไดก็จะไดประกาศนียบัตรที่เรียกวา จิ้นซือ นั่นหมายความวา
บุคคลคนนั้นก็จะไดรับแตงตั้งเปนขาราชการ ซึ่งอาจจะทํางานในสวนกลางหรือสวน
ภูมิภาคไดทั่วประเทศ
ในแตละชวง รัฐบาลจะสงเจาหนาที่ออกไปสํารวจสํามะโนประชากรและสํารวจ
ที่ดิน เพื่อที่จะใชเปนหลักฐานในการเก็บภาษี และในการเกณฑคนไปทํางานใหกั บ
รัฐบาล รัฐบาลจึงสามารถเรงรัดและเก็บภาษีไดอยางเต็มเม็ดเต็มหนวย
ยุคราชวงศหมิงมีการพัฒนาทางดานเศรษฐกิจสังคมไปสูการคอยๆ กอตัวของ
ลัทธิทุนนิยมขึ้น ทั้งนี้เปนผลมาจากการเพิ่มผลผลิตไดเปนจํานวนมาก เพราะชาวนาขยาย
พื้นที่การปลูกขาวและพัฒนาการไถและการเพาะปลูก สวนการปลูกฝายก็ไดรับผลผลิต
เพิ่มขึ้นมากโดยขยายพื้นที่เขาไปในแถบที่ราบลุมแมน้ําฮวงโห ในขณะที่มณฑลหูโจว
และซีเจียงมีชื่อเสียงในการทําผาไหม จนเปนที่กลาวขานวา “ผาไหมหูโจว” มีชื่อเสียงไป
ทั่ว
การทําเหมืองและการผลิตสินคาหัตถกรรมก็ไดพัฒนากาวหนาเปนอันมาก การ
ถลุงเหล็กกลายเปนกิจการของเอกชนไปและยังผลใหมีการพัฒนาเทคโนโลยีในชั้นสูง
ขึ้น ดังตัวอยางเชน เตาถลุงเหล็กในเมืองซุนหัวของมณฑลเหอเปยที่มีความสูงถึง 12 ฟุต
และสามารถหลอมแรเหล็กไดครั้งละหนึ่งตัน โรงงานนี้มีคนงานทํางานราว 4-6 คน
นอกจากนี้ มีการสรางระฆังขนาดใหญซึ่งใชกําลังคนทํางานเปนจํานวนมาก
สวนการทําถวยชามเครื่องเคลือบนั้น มีเตาเผาขนาดใหญและใชเทคโนโลยีชั้นสูง
การทํากระดาษและการพิมพเจริญกาวหนาอยางเห็นไดชัด นอกจากนี้ มีการตอเรือขนาด
ใหญเพื่อใชเดินทะเล
ขนาดและปริมาณการผลิตสินคาเกษตรและหัตถกรรมดังกลาว ซึ่งมีปรากฏตาม
แหลงผลิตทั่วไปตามมณฑล (ในยุคนั้นถือเปนรัฐหรือแควน) ตางๆ ทําใหมีศูนยกลางการ
ซื้อขายถึง 30 เมืองที่ประชาชนนําสินคา เชน เสื้อผาและผา อาหาร ชา และหนังสือมา
40

วางขาย ตลอดจนสินคาหัตถกรรมชนิดตางๆ ทําใหเศรษฐกิจของคนจีนในยุคนี้เฟองฟู


และสรางความมั่งคั่งใหแกผูผลิตและพอคา
พอถึงชวงกลางของยุคราชวงศหมิง การสะสมทุนและการกอตัวของนายทุนเริ่ม
ปรากฏขึ้นโดยเฉพาะอยางยิ่งในอุตสาหกรรมทอผาไหม และผาฝายในแถบตะวันออก
เฉียงใต ซึ่งมีโรงงานนับพันแหงในเมืองซูโจวที่วาจางคนงานกรรมกรเปนจํานวนมาก
และมีการแบงงานกันทําตามขั้นตอนของการผลิตตางๆ คนงานเหลานี้ไดรับคาจางจาก
การขายแรงงาน หากเมื่อใดไมมีงาน พวกเขาก็จะวางงาน ดังนั้น จึงเกิดความสัมพันธ
ระหวางนายจางกับลูกจางตามรูปแบบของระบบเศรษฐกิจทุนนิยมเดนชัดขึ้นเปนลําดับ
ทามกลางระบบเศรษฐกิจแบบศักดินา
ในชวงสุดทายของราชวงศหมิง ชาวนากอการจลาจลขึ้นอันเปนผลมาจากการฉอ
ราษฎรบังหลวงในหมูขาราชการและรัฐบาล โดยเหลาขาราชการตางแยงยื้อที่ดินเปน
กรรมสิทธิ์สวนตนมากขึ้นเพราะตางชวงชิงความมั่งคั่งและอํานาจ ประจวบกับสภาพภัย
แลงปรากฏขึ้นทั่วไปอยางตอเนื่อง ทําใหไรนาเสียหาย ชาวนาจึงรวมตัวกันประทวงและ
ชูประเด็น “การแบงที่ทํากินเทาเทียมกันและยกเลิกการเก็บภาษีอากร” ชาวนาตาง
เดิ น ขบวนเข า สู เ มื อ งหลวง ทหารของราชวงศ ห มิ ง กลั บ ยอมแพ อ ย า งง า ยดาย ทํ า ให
จักรพรรดิองคสุดทายของราชวงศนี้ปลงพระชนมดวยการผูกคอตายในป ค.ศ. 1644
เหลาเสนาอํามาตยของราชวงศหมิงหนีไปรวมมือกับขุนนางแมนจูทําการบดขยี้กองทัพ
ของชาวนา เมื่อไดรับชัยชนะแลว ผูนําแมนจูจึงไดสถาปนาขึ้นเปนจักรพรรดิและตั้ง
ราชวงศชิง (Qing dynasty : 1646 - 1911) ขึ้นในป ค.ศ. 1646 ในบริเวณภาค
ตะวันออกเฉียงเหนือ
ตอมาจักรพรรดิแหงราชวงศชิง ไดขยายดินแดนออกไปอยางกวางขวางและรวม
ประเทศเปนปกแผนอีกครั้ง อํานาจของราชวงศชิงขยายอิทธิพลไปทางทิศตะวันตกไปยัง
ทะเลสาบบอลแคชและเทือกเขาปาร มีร ทางทิศเหนื อจรดพรมแดนไซบีเรีย ทางทิศ
ตะวันออกเฉียงเหนือจรดเทือกเขาฮิงกันสวนนอกและทะเล รวมทั้งเกาะสักกาลิน ทาง
ทิศตะวันออกจรดมหาสมุทรแปซิฟก เกาะไตหวัน และหมูเกาะขางเคียง สวนทางใตจรด
หมูเกาะหนานชา และทางตะวันตกเฉียงใตมีพรมแดนถึงธิเบตและยูนนาน
ตั้งแตชวงหลังของคริสตศตวรรษที่ 16 เปนตนมา รัสเซียไดขยายอิทธิพลเขาสูไซ
บีเรีย และในกลางทศวรรษที่ 17 รัสเซียก็เขารุกรานที่ราบลุมเฮลุงเจียงซึ่งเคยอยูใตอํานาจ
41

การปกครองของจีนตลอดมา แตจักรพรรดิคางสีแหงราชวงศชิงสามารถตานทานการ
ขยายของรัสเซียไวได ตอมาทั้งจีนและรัสเซียบรรลุขอตกลงสันติภาพระหวางกันในป
ค.ศ. 1689 จึงไดลงนามในสนธิสัญญานิบฉู โดยกําหนดใหบริเวณเฮลุงเจียงและที่ราบลุม
วาสุลีอยูใตการปกครองของจีน
ความเจริญกาวหนาทางวิทยาการและวัฒนธรรมของจีนในยุคราชวงศหมิงและ
ราชวงศชิงเปนไปอยางตอเนื่อง และการติดตอคาขายกับประเทศตางๆ ในทวีปเอเชีย
ยุโรป และแอฟริกาเปนไปอยางกวางขวาง อยางไรก็ตาม เมืองทาสําคัญๆ ของจีนไดถูก
โจรสลัดญี่ปุนโจมตีอยูเนืองๆ แตกองทัพของจักรพรรดิชิงไดตอบโตจนพวกโจรสลัด
ยอมแพหลบหนีไป อยางไรก็ตาม ความรุงเรืองของจีนไดถึงกาลอวสานในตอนปลาย
ของราชวงศชิงนี้เอง ทั้งนี้เปนผลมาจากการรุกรานของชาวยุโรปและญี่ปุน ดังจะไดกลาว
ในหัวขอถัดไปนี้

จีนกับการติดตอกับตะวันตก
การแผอิทธิพลของชาวตะวันตกนับตั้งแตตอนเริ่มตนคริสตศตวรรษที่ 16 เปน
ตนมานั้นไดสงผลใหเกิดการเปลี่ยนแปลงตอเศรษฐกิจ สังคม และการเมืองในแถบเอเชีย
ตะวันออกทีละเล็กละนอย โดยพวกเขาใชแบบแผนของการติดตอที่เริ่มจากการเดินเรือ
ไปแวะจอดพัก และสรางมิตรภาพกับชนพื้นเมือง จากนั้นก็สงมิชชันนารีและพระเขาไป
เผยแพรคริสตศาสนาและทําการคาขาย ตอมา ก็เขายึดครองจุดยุทธศาสตรเพื่อปกปอง
ผลประโยชนของตน เชน เกาะที่เปนศูนยกลางการคมนาคม และบริเวณชองแคบ เปน
ตน และในที่สุดก็เขายึดดินแดนสวนใหญของชนพื้นเมืองเปนอาณานิคม โดยสงคนเขา
ไปปกครองและตั้ ง กองทหารประจํ า การเพื่ อ ตั ก ตวงเอาผลประโยชน ส ง กลั บ ไปยั ง
ประเทศแมของตน
ชาวยุ โ รปได ใ ช เ วลานานหลายศตวรรษในการเข า ไปแผ อิ ท ธิ พ ลยั ง ดิ น แดน
อเมริกาเหนื อ อเมริก าใต แอฟริ ก า ตะวันออกกลาง เรื่อยมาจนถึ งอิ นเดีย และเอเชี ย
ตะวันออกเฉียงใต ตามลําดับ เมื่อสามารถยึดครองดินแดนแทบทุกสวนของโลกไดแลว
ก็เขาไปรุกคืบยังเอเชียตะวันออกเฉียงเหนือ โดยไดใชความพยายามที่จะทําลายและยึด
ครองจีนดวยยุทธวิธีทุกรูปแบบ จนในที่สุดประเทศที่มีอารยธรรมสูงสงแหงนี้ก็ลมสลาย
ดังลําดับตามเหตุการณตอไปนี้
42

(1) ชนกลุมแรกที่มาเยือน ชาวยุโรปกลุมแรกที่เขาไปติดตอกับจีนก็คือ ชาวปอรตุ


เกส โดยภายหลังที่ไดยึดชองแคบมะละกาไดสําเร็จก็ไดโจมตีบริเวณชายฝงของกวางตุง
ในป ค.ศ.1511 แตก็ไดรับการตอบโตจากกองทัพของราชวงศหมิง ตอมาในป ค.ศ.1553
พวกปอรตุเกสไดเชาสวนหนึ่งของเกาะมาเกาโดยไดติดสินบนขาราชการจีนที่มีอํานาจ
ตัดสินใจในการใหเชา แตแทจริงแลว ฝรั่งชาตินี้อางวาเกาะมาเกาเปนอาณานิคมของตน
อยางไรก็ตาม จีนก็ยังทําการปกครองเกาะนี้เพื่อแสดงถึงการมีอํานาจเหนือเกาะอยู
ตอมา ชาวสเปนและชาวดัชไดเขามา และยึดเกาะไตหวันในชวงรอยตอของปลาย
ของราชวงศหมิงและตอนตนของราชวงศชิง แตชาวดัชสามารถชวงชิงความไดเปรียบ
และมีอิทธิพลเหนือไตหวันได เมื่อนายพลเซ็ง เจงกอง ผูซึ่งตอตานราชวงศชิงไดหนีไป
อยูเกาะไตหวัน เขาไดรวบรวมชาวพื้นเมืองขับไลชาวฮอลันดาผูรุกรานเปนผลสําเร็จและ
ไดตั้งรัฐบาลอิสระขึ้น ตอมาก็ถูกกองทหารของราชวงศชิงยกไปบุกยึดเกาะไตหวันให
เปนสวนหนึ่งของอาณาจักรราชวงศชิงในป ค.ศ.1683 และไดสงขาราชการไปปกครอง
พรอมทั้งตั้งกองทหารเพื่อปกปองเกาะนี้
ในชวงคริสตศตวรรษที่ 17 และ 18 เหลาประเทศจักรวรรดินิยมลาเมืองขึ้นชาว
ยุโรป เชน อังกฤษ ฝรั่งเศส และสหรัฐอเมริกาไดแผอิทธิพลเขาไปยังประเทศแถบเอเชีย
ตะวันออก โดยเฉพาะอยางยิ่งชาวอังกฤษที่อาศัยบริษัทอีสอินเดีย เขามาตั้งสํานักงาน
คา ขายที่ เมื อ งกวางโจวเปน ครั้ ง แรกในป ค.ศ.1699 เพื่ อ ทํ า การค า และแสวงหา
ผลประโยชนใหกับบริษัทของตนในแถบนี้ จนกระทั่งในป ค.ศ.1793 รัฐบาลอังกฤษได
สงทูตพิเศษชื่อ แม็คคารทนี่ เพื่อขอสิทธิพิเศษทางดานการคา แตก็ไดรับการปฏิเสธ ทั้งนี้
เนื่องจากวาคณะผูบริหารของราชวงศชิงยังคงยึดถือการปกครองแบบศักดินาอยู จึงยึด
นโยบายปดประตูทางการคากับชาติตะวันตก ยกเวนเปดใหเฉพาะเมืองกวางโจวเทานั้นที่
จะสามารถทําการคาได ในตอนแรก อังกฤษก็ขายสินคาจําพวกผาและพริกไทย สวนจีน
ขายสินคาจําพวกชา ผาไหม ยา และเครื่องเคลือบดินเผา (ถวยชาม)
กาลเวลาผานไปจนถึงตนศตวรรษที่ 19 ขนาดและปริมาณการคาระหวางจีนกับ
อังกฤษก็มิไดเพิ่มมากขึ้นเทาใดนัก ทั้งนี้เปนเพราะนโยบายการปดประตูทางการคาของ
จีนนั่นเอง อังกฤษเริ่มขาดดุลการคามากขึ้นเรื่อยๆ ดังนั้น จึงไดลักลอบสงฝนไปขาย
ใหแกจีนโดยความรวมมือของขาราชการและพอคาที่เห็นแกได ฝนก็เขาไปทําลายความ
เข ม แข็ ง ของจี น อย า งรวดเร็ ว เพราะคนติ ด ฝ น งอมแงมทั่ ว ไป ทํ า ให มี ก ารนํ า ฝ น เข า
43

ประเทศเปนปริมาณและมูลคาสูงขึ้นเรื่อยๆ พอคาชาวอังกฤษตางไดรับผลกําไรมหาศาล
จากการคาฝน ในทางตรงกันขาม สถานการณการคลังของจีนไดรับผลกระทบอยาง
รุนแรงและเขาขั้นวิกฤต รัฐบาลจีนจึงประกาศยุติการนําฝนเขาประเทศ แตคําประกาศนี้
กอใหเกิดความไมพอใจในหมูพอคาชาวอังกฤษที่ตองสูญเสียกําไรมหาศาล ปญหาเรื่อง
ฝนนี้เองที่เปนสาเหตุสําคัญของสงครามที่ประทุขึ้นในป ค.ศ.1840 โดยจะไดกลาวใน
หัวขอถัดไป
ในแงของการแพรกระจายทางวัฒนธรรมนั้น มิชชั่นนารีชาวยุโรปไดเขาไปใน
จีนตั้งแตป ค.ศ.1579 เพื่อเผยแพรคริสตศาสนา ในตอนปลายราชวงศหมิง มีโบสถคาธอ
ลิคจํานวน 13 แหงในจังหวัดตางๆ ของจีน พอถึงป ค.ศ.1610 มีการสรางโบสถเพิ่มขึ้น
เปน 2,500 แหง และเพิ่มเปน 150,000 แหงในป ค.ศ.1650 สวนมิชชั่นนารีนิกายโปรแตส
แตนทไดเขาไปยังจีนในราวปที่เกิดสงครามฝน
(2) บทบาทของชาวยุโรปกับการเปลี่ยนแปลงในสังคมจีน ป ค.ศ. 1840 ซึ่งเปนป
ที่ ได เกิด มี สงครามฝนระหว างอั ง กฤษกั บ จีน นั้น นับ วาเป น จุด หัวเลี้ ยวหั วต อที่ สํ าคั ญ
ระหวางเกากับใหมในประเทศจีน เปนเครื่องหมายบงบอกถึงความสิ้นสุดแหงการที่จีนมี
ความเปนอยูอยางมีอารยธรรมที่เปนอิสระมาเปนเวลานาน และบงบอกถึงการสิ้นสุดของ
การปดตัวเองโดยไมไดมองโลกภายนอกอยางจริงจัง
นับตั้งแตสมัยที่พวกปอรตุเกสไดมาถึงจีนตอนใตจนกระทั่งถึงยุคนี้นับเปนเวลา
เกือบ 300 ปแลวนั้น ราชสํานักจีนไดประสบผลสําเร็จในการรับมือกับพวกตะวันตกตาม
แบบฉบับของตนเอง การคาไดถูกจํากัดวงอยูที่เมืองทาสองสามแหงซึ่งผูแทนจากราช
สํานักจะปฏิบัติหนาที่อยางเขมงวดกวดขัน และเก็บภาษีสูง นี่เปนแบบดั้งเดิมแหงการที่
รัฐมีอํานาจควบคุมการคาไมวาจะเปนของตางประเทศหรือของพื้นเมืองก็ตาม เปนระบบ
ที่ อ อกแบบขึ้ น เพื่อ จะใช ค วบคุ ม ดู แลได อย า งใกลชิ ด เพื่ อ ที่ จ ะทํ าใหพ วกพอ ค า อยู ใ น
สถานภาพที่ต่ําตอยเรื่อยไป เพื่อใหการคาตกอยูภายใตอํานาจผลประโยชนของรัฐ และ
เพื่อใหไดภาษีอากรมากที่สุด แตมีความรับผิดชอบนอยที่สุดของพวกขาราชสํานักใน
สวนที่เกี่ยวกับการดําเนินการคาที่แทจริง (ซึ่งพวกพอคาที่ไดรับอนุญาตจะตองปฏิบัติให
สอดคลองตองกันกับธรรมเนียมการปฏิบัติแบบเกาๆ ที่รัฐเปนผูผูกขาด) เพราะฉะนั้น
ความลาชาหลายอยางของระบบจึงมิใชวาชาวตางประเทศไมมีความสามารถ แตเปน
เพราะวาการจํากัดเงื่อนไขที่ “เปนปกติ” ในการประกอบธุรกิจในประเทศจีนเสียมากกวา
44

พอคาจีนไดศึกษาวิธีที่จะอยูรวมกับชาวตางประเทศมานานแลว อย างไรก็ตาม พวก


ตะวันตกโดยเฉพาะพอคาชาวอังกฤษในตอนปลายคริสตศตวรรษที่ 19 ดื้อดึงไมยอมอยู
ภายใตขอบังคับที่เขมงวดเหลานี้ เพราะมีความเชื่อในเรื่องการคาเสรีและมักจะบูชา
เงินตราเปนพระเจา พวกเขาไดทําการตอตานระบอบการปกครองของจีนที่ไมยอมรับสิ่ง
เหลานี้
แบบแผนที่กําหนดไวสําหรับการคากับชาวตางประเทศทําใหพวกพอคาตองอยู
ในฐานะที่เสียเปรียบเชนนั้น ยอมทําใหเกิดความยากลําบากไปถึงรัฐบาลดวยเหมือนกัน
ภาษีที่เก็บมากเกินไปและการเขมงวดกวดขันเทากับเปนการเชื้อเชิญบุคคลที่กลาไดกลา
เสียและเปนคนเจาความคิดทําการลักลอบหนีภาษีขึ้นมา อนึ่ง การลักลอบหนีภาษียอม
พิสูจนใหเห็นวา เปนการทําใหไดกําไรงาม ไมใชเพียงเฉพาะผูที่มีสวนรวมโดยตรง
เทานั้น แตรวมไปถึงพวกขาราชการตามทองถิ่นดวย เพราะพวกขาราชการที่รับสินบนจึง
ไมเขาไปแตะตองการคาที่ผิดกฎหมาย องคประกอบเหลานี้ไดชวยอธิบายถึงเหตุผลวา
ทําไมรัฐบาลจึงพบกับความยากลําบากในการทําใหการคาฝนสิ้นสุดลง ทั้งๆ ที่ไดมีการ
ห า มแล ว ห า มอี ก ว า ไม ใ ห ส ง ฝ น เข า ไปและไม ใ ห ค า ฝ น รั ฐ ไม เ พี ย งแต จ ะต อ ง
กระทบกระทั่งกับชาวตางประเทศซึ่งเห็นวาฝนจากอินเดียและตะวันออกกลางเปนยา
ประหลาดที่ใชรักษการขาดดุลการคากับจีนซึ่งเรื้อรังมาเปนเวลานานเทานั้น แตยังได
กระทบกระทั่งกับพวกจีนดวยกันเอง ซึ่งผลประโยชนสวนตัวไดทําใหพวกเขารวมมือทํา
การคาที่ผิดกฎหมายมากกวาที่จะขจัดการลักลอบใหหมดไปเพื่อประโยชนสุขของคนจีน
ทั้งประเทศ
อนึ่ง ผลประโยชนสวนตัวของชาวตางประเทศที่มีสวนรวมในการคาของจีนมิได
ผูกพันอยูกับการคาฝนไปเสียทั้งหมด และเปนไปไดที่การไกลเกลี่ยแบบผูรูจะทําใหการ
ขนฝนเขาไปลดนอยลง ในเมื่อสินคาชนิดอื่นๆ โดยเฉพาะสินคาหัตถกรรมสามารถเขา
มาแทนที่ฝนได แตเคราะหรายอยูที่ราชสํานักจีนปฏิบัติในเรื่องสัมพันธไมตรีกับชาว
ตางประเทศตามแบบประเพณี โดยส วนใหญ ถือวาเปนความสัมพัน ธแบบเมืองที่ส ง
เครื่องบรรณาการไปถวาย หรือรัฐบรรณาการ อันเปนเหตุทําใหจักรพรรดิจีนทรงเห็นวา
ประเทศเหล า นั้ น เป น เมื อ งขึ้ น ไปหมด ด ว ยเหตุ นี้ จึ ง ไม มี ก ารผ อ นปรนในการสร า ง
สัมพันธภาพที่เทาเทียมกับมหาอํานาจตะวันตก หรือยอมใหมีการไกลเกลี่ย ซึ่งจะเปน
45

การบั่นทอนอํานาจเด็ดขาดที่องคจักรพรรดิจะพึงมีตอชาวตางประเทศดุจเดียวกับที่ทรงมี
ตอไพรฟาประชากรของพระองคเอง
ในสถานการณเชนนี้ จึงไมมีทางที่จะแกปญหานี้ไดเลย ความชั่วรายที่เกิดจาก
การคาฝนนั้นมีผลกวางใหญไพศาลมาก พรอมกันนั้นจีนไมสามารถรักษานโยบายการคา
อย า งโดดเดี่ ย วให ค งไว เ หมื อ นเดิ ม ทํ า ให เ ป น การบั ง คั บ ให ห าวิ ธี ก ารตกลงกั น แบบ
ชั่วคราวกับฝายตะวันตก และการใชกําลังตอกันก็เปนสิ่งที่หลีกเลี่ยงไมพน
(3) สงครามฝน (ค.ศ. 1839 – 1843) ความเสียหายทางดานเศรษฐกิจและสุขภาพ
ของคนจีนอันเนื่องมาจากการลักลอบคาฝนของพอคาชาวอังกฤษและขุนนางพอคาจีน
จนไมอาจจะทนได รัฐบาลของราชวงศชิงจึงไดสงอุปราชหลิน ซีสู (Lin Zesu) ไปยัง
เมืองกวางตุงในเดือนมีนาคม ค.ศ. 1839 เขาไดสั่งใหพอคามอบฝนใหกับทางการ และ
บังคับใหผูอํานวยการศูนยการคาอังกฤษชื่อ ชาลส อิลเลียต มอบฝนจํานวน 20,000 หีบ
ซึ่งมีน้ําหนักกวา 1.15 ลานกิโลกรัม ในจํานวนนี้เปนฝนของพอคาชาวอเมริกันราว 1,500
หีบ จากนั้นในวันที่ 3 มิถุนายน เขาไดสั่งเผาฝนทั้งหมดตอหนาสาธารณชน นอกจากนั้น
เขาไดประกาศหามพอคาชาวอังกฤษนําฝนเขาประเทศจีนอีกตอไป
รัฐบาลอังกฤษไดสงกองทัพเรือ ที่ประกอบดวยเรือรบ 40 ลําและทหาร 4,000 คน
เขาโจมตีเมืองทาในกวางตุง และโจมตีเมืองเซี๊ยเมินของมณฑลฟูเจี้ยน (คนไทยเรียกวา
ฮกเกี้ยน) และสามารถยึดเมืองดิงไฮ มณฑลซีเจียง รวมทั้งรุกไปถึงเมืองเทียนสินในเดือน
สิงหาคม ค.ศ. 1840 ดวยอํานาจของอาวุธรายแรงคือปนใหญที่ทหารอังกฤษใชโจมตี
รัฐบาลชิงจึงไดสั่งปลดอุปราชหลิน ซีสูและทําการสอบสวนเพื่อลงโทษฐานกอใหเกิด
สงคราม รัฐบาลชิงไดสงทูตกีซานไปเจรจาสงบศึกกับกองทัพอังกฤษ
ในเดือนมกราคม ค.ศ. 1841 กีซานไดลงนามในขอตกลงกับอังกฤษโดยยกเกาะ
ฮองกงใหและเปดเมืองทากวางโจวใหเปนศูนยกลางการคากับอังกฤษ แตจักรพรรดิทรง
ตระหนักวา การมอบดินแดนและการจายคาปฏิกรรมสงครามเปนการทําใหจีนเสื่อม
ศักดิ์ศรี จึงไดประกาศสงครามกับอังกฤษ และกองทัพอังกฤษไดโจมตีเมืองกวางโจวดวย
ปนใหญสรางความเสียหายแกบานเมืองมาก ผูบัญชาการรบชื่อ ยีชาน ผูซึ่งเปนหลานของ
จักรพรรดิเดากวางประกาศยอมแพ อยางไรก็ตาม กองทัพอังกฤษยังไมยอมรามือ และเขา
โจมตีเมืองทาตางๆ ขึ้นไปทางเหนือสามารถยึดเมืองเซี่ยงไฮ เซี๊ยเหมิน ดิงไฮ และเมืองซี
46

เจียง อีกทั้งไดใชกองทัพเรือปดลอมเมืองนานกิง ในที่สุด จักรพรรดิชิงก็ขอเจรจาสงบศึก


ลงนามในสนธิสัญญานานกิง
สนธิสัญญานี้บังคับใหจีนเปดเมืองทา 5 เมืองทําการคากับอังกฤษ ยกเกาะฮองกง
ใหและจายคาปฏิกรรมสงครามจํานวน 21 ลานเหรียญสหรัฐฯ รวมทั้งยอมใหอังกฤษ
กําหนดอัตราภาษีสินคานําเขาใหเหลือเพียงรอยละ 5 และชาวอังกฤษสามารถสราง
บานเรือนและอาคารตางๆ ตามเมืองทา 5 แหงนั้นดวย
ป ค.ศ. 1844 สหรัฐอเมริกาและฝรั่งเศสก็เซ็นสนธิสัญญาเลียนแบบอังกฤษ
เชนเดียวกับสนธิสัญญานานกิง ทําใหจีนสูญเสียอธิปไตยบางอยางไป อีกทั้งตองเปด
ประตูรั บ สินค าจากชาติตะวันตกทุกประเภท จีน จึ งเข าสูยุคกึ่งอาณานิ คม-กึ่งศัก ดิ น า
(semi-colonial and semi-feudal)
การพายแพของจีนสรางความตระหนกใหแกชนชาติอื่น เชน เกาหลี ญี่ปุน และ
ไทย ที่ตางไมคาดคิดวาประเทศยิ่งใหญเชนจีนจะพายแพแกพวกตะวันตกอยางงายดาย
จึงไดปรับนโยบายของตนเพื่อรับกับสถานการณใหมที่เกิดขึ้นในภูมิภาคสวนนี้ของโลก
ในขณะเดียวกัน การยอมรับอิทธิพลของวัฒนธรรมจีนก็เริ่มลดลง ทั้งนี้เพราะตางคิดวา
แมแตประเทศที่มีอารยธรรมเกาแกที่ยิ่งใหญยังไมสามารถปกปองและเอาชนะพวกฝรั่ง
ได ดังนั้น ตางเริ่มมองหาทางเลือกใหมที่จะศึกษาและนําเอาวัฒนธรรมตะวันตกเขามา
ปรับใชกับสังคมของตนเอง นั่นหมายความวา ประเทศเหลานี้ตางเปดประเทศของตน
และยินยอมใหชาวตะวันตกเขาประเทศได เชน ญี่ปุนเปดประเทศในป ค.ศ. 1854 สวน
เกาหลีก็เปดคาขายกับชาติตะวันตกในป ค.ศ. 1882 (3) อันเปนผลมาจากความเกรงกลัว
อํานาจทางทหารและอาวุธของชาติตะวันตก และตองการหลีกเลี่ยงสถานการณที่จีนตอง
ประสบกับความพายแพในสงครามฝนนั่นเอง
(4) กบฏไถผิง (Taiping revolution: 1851 – 1864) หลังสงครามฝนสิ้นสุดลง จีน
พบกับความยุงเหยิงในทางเศรษฐกิจ สังคมวัฒนธรรม และการเมืองมากมายอยางที่ไม
เคยปรากฏมากอน คนจีนมีความเชื่อและความคิดเห็นแตกแยกจนไมอาจประสานรอย
ราวใหกลับไปสูสังคมที่ยิ่งใหญภายใตการปกครองของจักรพรรดิไดอีก การแตกแยก
ทางดานความคิดความเชื่อเปนผลมาจากการเผชิญหนาระหวางการปกครองระบบศักดิ
นากับระบบทุนนิยม ระหวางระบบการปกครองแบบราชสํานักกับการรุกรานของชาติ
มหาอํานาจตะวันตก และระหวางการยอมรับแบบแผนกฎเกณฑชีวิตตามประเพณีนิยม
47

กับวัฒนธรรมแบบวัตถุนิยมตามหลักเหตุและผล การเผชิญหนาดังกลาวกอใหเกิดการลม
สลายของระบบการปกครองแบบราชสํานักที่มีราชวงศหนึ่งทําการปกครองในระบอบ
สมบูรณาญาสิทธิราชย ในที่สุด ราชวงศชิงก็ถึงกาลอวสานในป ค.ศ. 1911 เมื่อขบวนการ
สี่พฤษภาคม (May Fourth) ไดเกิดขึ้นและนําจีนไปสูระบบการปกครองแบบสาธารณรัฐ
นับแตนั้นมา
ในที่นี้จะกลาวถึงกระบวนการของการเปลี่ยนแปลงตั้งแตชวงป ค.ศ. 1841 ที่เกิด
กบฏไถผิงขึ้น ทั้งนี้เพราะรัฐบาลของราชวงศชิงไดเก็บเกี่ยวแยงชิงผลผลิตจากชาวนาทุก
ทางเพื่อหาเงินมาจายคาปฏิกรรมสงครามจํานวนมหาศาล จนคนสวนใหญไมอาจทนตอ
การเอารัดเอาเปรียบและการกดขี่ขมเหงไดตอไปอีก จึงพากันลุกฮือกอการจลาจลและ
การกบฏขึ้นหลายแหงหลายครั้ง การกอกบฏที่สําคัญก็คือ กบฏไถผิง
ในป ค.ศ. 1841 ฮอง ชิวฉวน เปนผูนําชาวนาทําการจลาจลในมณฑลกวางสี และ
สถาปนาอาณาจักรไถผิงขึ้น แผนการปฏิรูปสังคมของไถผิงก็คือ การจัดสรรที่ดินที่ใหแก
ทุกคนบนพื้นฐานความเทาเทียมกัน ฝูงชนชาวจีนตางใหการสนับสนุน จนทําใหกองทัพ
ไถผิงสามารถยึดครองดินแดนทางตอนใตไดเกือบทั้งหมด ตอมา ป ค.ศ. 1853 สามารถ
ยึดนครนานกิงและตั้งเปนเมืองหลวงของอาณาจักรไถผิง จากนั้นก็สามารถยึดดินแดนใน
17 มณฑลและยังขยายอิทธิพลออกไปอยางกวางขวาง ในที่สุดกองทัพของราชวงศชิงได
รวมมือกับกองทัพตางชาติ คือ อังกฤษ ฝรั่งเศส และรัสเซีย ชวยกันบดขยี้กบฏไถผิง และ
ในป ค.ศ. 1864 อาณาจักรไถผิงก็ถูกปราบปรามจนสูญสิ้นไป
(5) การแบงปนสวนจีนเพื่อตักตวงผลประโยชน จักรวรรดินิยมอังกฤษ ฝรั่งเศส
เยอรมัน และรัสเซียไดแบงปนประเทศจีนเพื่อตักตวงผลประโยชนสงกลับเมืองแม ใน
ขณะเดียวกัน ญี่ปุนซึ่งเปนประเทศที่มีความเขมแข็งทางการทหารไดเขารวมวงดวย โดย
การทําสงครามกับจีนในป ค.ศ.1894 จีนพายแพจึงตองยอมยกดินแดนคือ เกาะไตหวัน
หมูเกาะเปสคาดอเร็ส และแหลมเหลียวตุงให และตองยอมเปดเมืองทาจุงกิง ซูโจวและ
หัวโจวเพื่อใหญี่ปุนเขามาคาขายไดอยางสะดวก อีกทั้งตองเสียคาปรับในการทําสงคราม
จํานวน 200 ลานเหรียญสหรัฐฯ
ตอมาจีนตองทําสงครามฝนครั้งที่สองกับอังกฤษและฝรั่งเศส ซึ่งเปนที่แนนอน
วาทหารของรัฐบาลชิงไมอาจตอสูได จึงถูกตางชาติเขายึดเมืองสําคัญๆ และตองเสีย
คาปรับสงครามอีกจํานวนมากขึ้นเรื่อยๆ จนกระทั่งวันที่ 1 มิถุนายน ค.ศ.1900 พันธมิตร
48

8 ชาติ ประกอบดวยรัสเซีย ฝรั่งเศส อังกฤษ เยอรมัน สหรัฐฯ ญี่ปุน อิตาลี และออสเตรีย


ได รวมมือกันทําสงครามกับกลุมกบฏที่ตอต านเหลาจัก รวรรดินิยมที่ ลักลอบทํ าลาย
ผลประโยชนข องมหาอํา นาจตามเมื อ งตา งๆ โดยได ย กกองทั พ บดขยี้ ก ลุม กบฏและ
สามารถยึ ด เมื อ งเที ย นสิ น และป ก กิ่ ง คื น มาจากฝ า ยจี น ผู รั ก ชาติ การกระทํ า ของพวก
มหาอํานาจเปนไปอยางโหดเหี้ยม ดวยการสังหารทุกคนที่คนพบไมวาจะเปนผูหญิง เด็ก
และคนชรา รัฐบาลชิงจําเปนตองเจรจาสงบศึกและจายคาปฏิกรรมสงครามเปนจํานวน
เงินถึง 450 ลานเหรียญโดยผอนใชเปนเวลา 39 ป และรัฐบาลชิงจําเปนตองขับเคี่ยวกับ
ฝายกบฏมิใหกอการจลาจลขึ้นอีก
สวนรัสเซียไดเขายึดครองภูมิภาคอีหลีซึ่งอยูทางตอนเหนือติดกับเตอรกีสถาน
ของรัสเซีย ดินแดนสวนนี้อุดมดวยแรธาตุและพื้นที่อุดมสมบูรณเหมาะแกการเพาะปลูก
รัสเซียยึดดินแดนแถบนี้พรอมกับไดรับคาปฏิกรรมสงครามอีก 5 ลานรูเบิลสในป
ค.ศ.1881 ตอมาจีนไดขอดินแดนคืนแตตองเสียคาชดเชยทางทหารเพิ่มเปน 9 ลานรูเบิลส
จีนไดตั้งเตอรกีสถานของจีนเปนมณฑลซินเจียง

กลาวโดยสรุป ประวัติศาสตรของจีนมีเรื่องราวที่นาสนใจยิ่งนับตั้งแตไดกอตั้ง
เปนอาณาจักรอันหนึ่งอันเดียวกันในยุคราชวงศฉินเปนตนมา อาณาจักรฉินประกอบดวย
ชนเผาฮั่นอาศัยอยูบนที่ราบลุมภาคกลาง ซึ่งเปนแหลงที่มีความอุดมสมบูรณบนบริเวณ
ฝงแมน้ํา ฮวงโหและแยงซีเกียง หรือที่เรียกวา แถบจงหยวน หรือบริเวณในดาน
แมวาอารยธรรมสูงสงไดรับการสรางขึ้นโดยชนเผาฮั่นเปนหลักในแถบจงหยวน
แตชนกลุมนอยก็มีบทบาทสําคัญตอความเจริญรุงเรืองของจีนในชวงเวลาตอมา ดังเชน
ชนเผาคีตานไดตั้งราชวงศเหลียว (ค.ศ. 912 – 1125) ชนเผาเฉียงนูตั้งราชวงศเซี้ย
ตะวันตก (ค.ศ. 1308 – 1227) ในขณะที่ราชวงศซอง (ค.ศ. 960 – 1368) ครอบครอง
อํานาจในแถบจงหยวน ทําใหในยุคราชวงศซอง เซี้ย และเหลียวแบงแผนดินออกเปน 3
ส ว น กล า วคื อ อาณาเขตทางตอนเหนื อ และทางตะวั น ตกของบริ เ วณนอกด า นเป น
ดินแดนของเซี้ย อาณาเขตทางตอนเหนือและทางตะวันออกเฉียงเหนือของบริเวณนอก
ดานเปนดินแดนของเหลียว สวนซองครอบครองดินแดนในดานทั้งหมด รัฐทั้งสามตางมี
ความเข ม แข็ ง และเป น อิ ส ระตอ กั น จากจุ ด นี้ เ องที่ นั ก ประวั ติ ศ าสตร จี น เริ่ ม มองเห็ น
49

ความสําคัญ และเริ่มใหความสนใจศึกษาเรื่องราวทางประวัติศาสตรของชนกลุมนอย
มากขึ้น
ชนเผานอกดานหรือพวกอนารยชนไดสรางความประหลาดใจใหแกชาวฮั่นเปน
อยางยิ่งเมื่อชนเผามองโกลสามารถมีชัยเหนือชนเผาคีตานและเฉียงนู และสามารถยึด
ครองเขตจงหยวน (ในดาน) ไดทั้งหมด อีกทั้งไดเขายึดครองราชสํานักในกรุงปกกิ่งได
สําเร็จ เมื่อชาวมองโกลครอบครองอํานาจเหนือจีนและตั้งราชวงศหยวน (ค.ศ. 1271 –
1368) ขึ้น ก็สงกองทัพรุกและยึดครองดินแดนบนคาบสมุทรเกาหลีไดอีกครั้ง (ภายหลัง
ที่เคยตกเปนมณฑลโลลางภายใตการยึดครองของราชวงศฮั่น ซึ่งมีอํานาจในระหวางป
206 กอนคริสตศักราช – ค.ศ. 220)
ตอมา พวกอนารยชนนอกดาน ไดสรางความเกรียงไกรขึ้นมาอีกครั้ง เมื่อชนเผา
แมนจูเขายึดครองอาณาจักรหมิง (ค.ศ. 1368 – 1644) ไดสําเร็จ และสามารถตั้งเปน
ราชวงศชิง (ค.ศ. 1646 – 1910) ขึ้น ทหารชิงไดเขาไปมีอิทธิพลเหนือคาบสมุทรเกาหลี
อีกครั้ง จึงเปนที่นาสนใจวา ราชวงศของชนเผามองโกลและแมนจูตางอางสิทธิเหนือ
ดินแดนเกาหลีในชวงที่มีอํานาจครอบครองจีนทั้งหมด ในขณะที่พวกฮั่น เชน ราชวงศ
หมิง ซอง ถัง และฉิน ไมไดใหความสนใจในการแผอิทธิพลเหนือคาบสมุทรเกาหลีแต
อยางใด
การแผอิทธิพลและการเขาไปยึดครองดินแดนบนคาบสมุทรเกาหลีนั้น จีนไดเขา
ไปเบียดบังหาผลประโยชนทางเศรษฐกิจเพื่อสงกลับไปยังจีน เชน ปลา เกลือ เหล็ก ไม
ซุง พืชผลทางการเกษตร อีกทั้งใชกําลังบังคับใหคนเกาหลีเปนแรงงานตัดไมสงไปยัง
ประเทศของตน ดังนั้น ในยามที่จีนออนแอลง อันเปนผลมาจากการแกงแยงชิงดีชิงเดน
ในดานอํานาจและดินแดนระหวางกันและกัน ชาวเกาหลีจึงลอบโจมตีบานขุนนางที่
สงไปจากจีน รวมทั้งโจมตีเมืองตางๆ ของจีนที่ตั้งอยูในแถบแมนจูเรียทางตอนเหนือและ
ทางตะวันออกของคาบสมุทร อีกทั้งงดสงบรรณาการไปมอบใหแกพระเจากรุงจีนเปน
บางชวงบางตอน แตความสําเร็จดังกลาวก็ไมไดยาวนานเทาใดนัก ทั้งนี้เมื่อจีนเขมแข็ง
ขึ้น ก็รุกรบและขับไลชาวเกาหลีใหกลับคืนสูดินแดนบนคาบสมุทร และบีบบังคับใหสง
บรรณาการไปยังจักรพรรดิที่อยูในนครหลวงของจีนอีกครั้ง
50

ความสัมพันธระหวางจีนกับเกาหลี
แตเดิมนั้นนักประวัติศาสตรจีนใหความสนใจในการเขียนเรื่องราวของกลุมชนที่
มีถิ่นฐานบนฝงแมน้ําเหลือง (ฮวงโห) และแมน้ําแยงซีเกียง หรือแถบจงหยวน มากกวาที่
จะบันทึกเรื่องราวของชนเผาที่ตั้งอยูนอกดาน โดยเฉพาะอยางยิ่งพวกมองโกลที่มีถิ่นที่
อยูทางตอนเหนือและพวกแมนจูในแถบมองโกเลีย (มณฑลเหลียวหนิง จี้หลิน และเฮอ
หลุงเจียง ในปจจุบัน) จนกระทั่งชนเผาเหลานี้มีกําลังอํานาจมากขึ้น และสามารถยึด
ครองประเทศจีนไดทั้งหมดในยุคราชวงศหยวน และราชวงศชิง ทําใหนักวิชาการเริ่มให
ความสนใจศึ ก ษาประวั ติศ าสตร ข องคนกลุ ม นอ ยเหล านี้ อ ย างจริ ง จั ง ทั้งในด า นการ
กอกําเนิดของเผา วิถีชีวิต และพัฒนาการของชนเผาอยางละเอียด ทั้งนี้ทั้งนั้น จุดเริ่มตน
สําคัญก็คือเมื่อราชวงศหยวนไดครอบครองอํานาจเหนือจีนทั้งหมด
เหตุการณที่เกิดขึ้นในยุคโบราณนั้นมีการพูดถึงนอยมาก หรือแมวาจะกลาวถึงก็
เป น เพี ย งการให ภ าพกว า งๆ ของเหล า “อนารยชน” ทางทิ ศ เหนื อ และ
ตะวันออกเฉียงเหนือ สวนรายละเอียดถึงการกอตั้งเปนสังคม และความสัมพันธระหวาง
ชนเผาตางๆ และกับชาวเกาหลีนั้นไดรับความสนใจนอยมาก ทั้งนี้อาจเปนเพราะตางคิด
วา “พวกปาเถื่อนมักแยงชิง ความเปนใหญในหมูกันเอง” และ “ชนเผาเหลานี้ไรความ
เจริญ ตองพึ่งพาวัฒนธรรมที่สูงเดนของพวกฮั่น” รวมไปถึง “การเขามาสวามิภักดิ์ตอ
ราชสํานักของจีนเพื่อตองการความอยูรอด” นั่นเอง
ในยุคราชวงศฮั่นของจีนนั้น การขีดอาณาบริเวณของราชอาณาจักรจะขึ้นไปจรด
กําแพงเมืองจีนในทางตอนเหนือ (ในดานหรือเขตจงหยวน) เทานั้น สวนพวกที่อยู
บริเวณนอกกําแพงจะถูกเรียกวา Wu Hu แปลวา “ไมใชคนจีน” (non-chinese) หรือ
หมายถึง “ชนปาเถื่อน” (barbarian) อันประกอบดวยชนเผาเรรอนใหญๆ คือ เฉียงนู
(Hsiung-nu) เฉียงเปย (Hsiung bei) ดี (Di) เชียง (Qiang) และไจ (Jie) อีกทั้งมีชนเผาหลัก
ไดแก มองโกล แมนจู คีตาน และวีมาน ครอบครองความเปนใหญเหนือบริเวณแถบนี้
เปนหยอมๆ
นอกจากนี้ ยัง มีช นเผ าอี ก หลายเผา ในจํ า นวนนั้น มี เ ผ าปู โ ย และโคกูริ วที่ นั ก
ประวัติศาสตรเกาหลีอางวาเปนบรรพบุรุษของชนชาติเกาหลี ชนเผาดังกลาวอาศัยอยูทาง
ตอนเหนือของคาบสมุทรเกาหลี บางครั้งก็ทําการขยายอาณาเขตไปทางตะวันตกในแถบ
มณฑลเหลียวตุงและทางตอนเหนือที่เปนบริเวณของมณฑลจี้หลินของจีนในปจจุบัน
51

ในชวงที่อาณาจักรโคกูริว (ป 57 กอนคริสตศักราช – ค.ศ. 935) เรืองอํานาจนั้น


ชนเผาโคกูริวไดทําการขยายดินแดนออกไปอยางกวางขวางทั้งทางทิศเหนือ และทิศ
ตะวั น ตกของคาบสมุ ท ร และลงมาทางใต จ นถึ ง เมื อ งเป ย งยางและเมื อ งเกซอง นั ก
ประวัติศาสตรเกาหลีจะเขียนวา อาณาจักรนี้ไมยอมออนขอใหราชสํานักจีนที่ตั้งอยูใน
บริเวณลุมแมน้ําฮวงโห โดยตั้งตัวเปนรัฐอิสระและไมนําพาคําขอรองของจักรพรรดิจีนที่
ใหรวมกันโจมตีปราบปรามชนกลุมนอยเผาอื่นๆ เชน เผาเฉียงนู ที่มักโจมตีบริเวณใน
ดานอยูเนืองๆ และในยามที่รัฐเล็กๆ ของจีนทําศึกสงครามตอกัน ทั้งนี้ชนเผาเฉียงนูมัก
ลักลอบเขาปลนสดมภและฆาฟนผูคนโดยไมเลือกเพื่อแยงชิงอาหาร เครื่องมือเครื่องใช
ในครัวเรือน และของมีคาทุกอยาง นอกจากนี้ ในบางครั้งชนเผาโคกูริวยังนํากําลังพลเขา
โจมตีรัฐเยน (Yen) บริเวณแหลมเหลียวตุงของจีนที่ตั้งอยูทางทิศตะวันตกของอาณาจักร
โคกู ริ ว เพื่ อ ขยายอาณาเขต ดั ง นั้ น จี น จึ ง รุ ก เข า ไปโจมตี ดิ น แดนโคกู ริ ว จนในที่ สุ ด
สามารถยึดครองโคกูริวเปนอาณานิคมไดเปนผลสําเร็จ
สวนนักประวัติศาสตรจีน กลับมีความคิดเห็นที่แตกตางกัน กลาวคือในยุคนี้ คน
จีนหรือชาวฮั่นจะมีแนวความคิดวา ศูนยกลางของอาณาจักรและอารยธรรมอยูที่บริเวณ
ราชสํานักที่ตั้งอยูบนแถบลุมแมน้ําเหลือง (หรือในเมืองหลวง ซึ่งก็เปลี่ยนจากเมืองหนึ่ง
ไปเปนอีกเมืองหนึ่ง แลวแตวารัฐใดจะสามารถครอบครองความเปนใหญได) คําวา
ศูนยกลางจึงมีความสําคัญยิ่งเพราะเปนแหลงรวมทางการทหาร การปกครอง อารยธรรม
และความเปนเลิศในดานความรู การแพทย ดาราศาสตร และงานศิลปะวิทยาการทุก
แขนง ด ว ยเหตุ นี้ จี น ในยุ ค นั้ น จึ ง ถื อ ว า ตนเป น ใหญ เ หนื อ ดิ น แดนอนารยชนทาง
ภาคเหนือ และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ อาณาจักรโคริว เพ็กเจ ซิลลา รวมทั้งญี่ปุนซึ่ง
ตองอาศัยพึ่งพาความยิ่งใหญของจีน และรับเอาอารยธรรมของจีนไปปรับใชในสังคม
ของตน อนึ่ง นักวิชาการจีนยังไดระบุหลักฐานสําคัญวา ผูนําของรัฐเหลานี้จะตองรับ
สารตราตั้ ง จากพระเจ า กรุ ง จี น และคธาในงานปราบดาภิ เ ษก จึ ง จะได เ ป น กษั ต ริ ย
ปกครองดินแดนดังกลาวไดอยางสมบูรณ และจะตองสงเครื่องบรรณาการไปมอบให
ตามชวงเวลาที่กําหนดเสมอ
จุดสําคัญที่สุดที่ยังผลใหเกิดปญหาขอพิพาททางประวัติศาสตรระหวางจีน –
เกาหลีในยุคปจจุบัน (ตนคริสตศตวรรษที่ 21) ก็คือ การอางสิทธิ์ของนักวิชาการจีนวา
อาณาจั ก รโคกู ริ ว เป น ของจี น ในอดี ต ด ว ยการเปลี่ ย นแปลงข อ เขี ย นในหนั ง สื อ
52

ประวัติศาสตรของตน ทั้งๆ ที่กอนหนานั้นไดย้ําอยางชัดเจนวา โคกูริวเปนอาณาจักร


หนึ่งในสาม (ยุคสามอาณาจักร ราวป 57 กอนคริสตศักราช – ค.ศ. 667) ของเกาหลี
โบราณ อนึ่ง ในทศวรรษที่ 1980 นักประวัติศาสตรจีนยังไดเปลี่ยนแปลงเนื้อหาอีกวา ปู
โย (ป 500 – 494 กอนคริสตศักราช) และโคกูริวเปนอาณาจักรสวนหนึ่งของ
ประวัติศาสตรจีน โดยใหเหตุผลวา เนื่องจากชนเผาปูโยและโคกูริวเปนชนกลุมนอยที่
อาศั ย บนแผ น ดิ น จี น ได ส ร า งสรรค โ บราณสถาน เช น หลุ ม ฝ ง ศพที่ ทํ า ด ว ยหิ น เป น
เสมือนหนึ่ง “ประมิดของโลกตะวันออก” ปจจุบัน หลุมฝงศพประเภทนี้ มากกวา 100
แหงตั้งอยูในบริเวณที่ราบระหวางเมืองเกานี (Guonei) และเมืองหวันดู (Wandu) ของ
มณฑลจี้หลิน ซึ่งไดรับการยกยองใหเปนมรดกโลกจากองคการยูเนสโก
นัก วิช าการของจีนได เริ่ มตนศึกษาประวัติศาสตรชนกลุม นอยที่อาศั ยอยูตาม
ชายแดนของประเทศ โดยไดตั้งศูนยวิจัยชื่อ The Research Center for Chinese
Borderland History and Geography (RCCBHG) ในป ค.ศ. 1983 ซึ่งเปนองคกรหนึ่งใน
สถาบันสังคมศาสตรของจีน (Chinese Academy of Social Science (CSS)) ศูนยศึกษา
RCCBHG มีความสําคัญตอประเทศจีนมาก โดยมีสมาชิกคนหนึ่งของโปริตบิวโรของ
รัฐบาลกลางมาเปนกรรมการของศูนยวิจัย ฯ และมีผูนําทางการเมืองอีกหลายคนที่รวม
เปนสมาชิก
อนึ่ ง ศู น ย วิ จั ย แห ง นี้ ไ ด ตั้ ง ศู น ย ย อ ย ชื่ อ ศู น ย ศึ ก ษาภาคตะวั น ออกเฉี ย งเหนื อ
(Northeast Center) ขึ้นในป ค.ศ. 1999 ตอมาเมื่อมีการประชุมรวมระหวางคณะกรรมการ
กลางของพรรคคอมมิวนิสตจีน CSS และเจาหนาที่ของมณฑลสามมณฑล (เฮอหลุงเจียง
จี้ ห ลิ น และเหลี ย วตุ ง ) มติ ข องที่ ป ระชุ ม ได กํ า หนดให ตั้ ง โครงการศึ ก ษาภาค
ตะวันออกเฉียงเหนือ (Northeast Project) ในเดือนกุมภาพันธ ป ค.ศ. 2002 เพื่อศึกษา
คนควาวิจัยแบบสหวิทยาการขึ้น โดยกําหนดชวงเวลาการศึกษา 5 ป รายงานการศึกษา
ของโครงการนี้ระหวางป ค.ศ. 2002 – 2004 มีจํานวนทั้งสิ้น 126 เรื่อง ในจํานวนนี้มีราว
70 เรื่องที่ศึกษาวัฒนธรรมโคกูริวและความสัมพันธกับวัฒนธรรมจีน ซึ่งงานวิจัยตางก็
ยืนยันไปในทิศทางเดียวกันวา โคกูริวเปนอาณาจักรที่ตั้งอยูในจีน จึงควรเปนสวนหนึ่ง
ของจีน โดยระบุรายละเอียดดังตอไปนี้
อาณาจักรโคกูริวเปนแหลงรวมของชนเผาปูโยและชนกลุมนอยอื่นๆ ไดแก ยี
แมก (Yemaek) หรือวีมาน (Wiman) ฮั่น (Han) เชียนเปอย (Xianbei) ซูเซน (Sushen)
53

เปนตน อาณาจักรนี้ตั้งอยูในดินแดนของจีน ดังนั้น จึงไมมีสายสัมพันธใดที่เชื่อมโยงกับ


ชนชาติเกาหลี โดยเฉพาะอยางยิ่งกลุมที่เปนชนชั้นผูปกครอง อนึ่ง อาณาจักรโคกูริวก็อยู
ภายใตการคุมครองของอาณาจักรฮั่นตะวันตก และอยูภายใตการปกครองของราชวงศถัง
ของจี น ซึ่ ง เป น หนึ่ ง ของราชวงศ ที่ สื บ สานอํ า นาจของจี น อย า งต อ เนื่ อ งตลอด
ประวัติศาสตรอันยาวนาน นอกจากนี้อาณาจักรโคกูริวไดสงเครื่องบรรณาการเพื่อผูก
สัม พัน ธ และยอมรับ อํ านาจและอารยธรรมจากราชสํานักของจีนอยางสม่ําเสมอจน
อาณาจักรนี้ลมสลาย อีกทั้งประชากรของอาณาจักรโคกูริวจํานวนเกือบสามแสนคนได
อพยพไปรวมอยูกับสังคมจีนในบริเวณลุมแมน้ําเหลืองและกลายเปนชาวฮั่นในที่สุด
ประการสุดทาย นักประวัติศาสตรจีนเนนวา ไมมีความสัมพันธระหวางอาณาจักรโคกูริว
กับอาณาจักรโคริว (ค.ศ. 918 – 1392) ของเกาหลี ทั้งนี้เพราะพวกเขาอางวา ผูกอสราง
อาณาจักรโคริวนั้นเปนชาวฮั่นที่มาจากดินแดนของราชวงศสุยและราชวงศถังของจีน
มิใชสืบเชื้อสายมาจากอาณาจักรซิลลาของเกาหลีแตอยางใด
เรื่องราวทางประวัติศาสตรดังที่เพิ่งกลาวถึงนี้ไดรับการคัดคานจากนักวิชาการ
ชาวเกาหลีซึ่งตางอางวา อาณาจักรโคกูริวเปนของเกาหลี และผูกพันกับการตั้งอาณาจักร
โคริ ว โดยตรง อี ก ทั้ งชื่ อ โคกู ริว ย อ มาเปน โคริ ว ซึ่ ง หมายถึ ง โคเรี ย หรื อ เกาหลี ใ น
ปจจุบันนั่นเอง ในที่นี้ จะไมขอพิสูจนวา อาณาจักรโคกูริวเปนของใคร แตจะกลาวถึง
ความสัมพันธของจีนที่มีตอเกาหลีตั้งแตยุคสามอาณาจักรเรื่อยมาจนถึงคริสตศตวรรษที่
19 ในยุคนั้นจีนถือวาตนเปนศูนยกลางของโลก โดยรัฐอื่นที่ตั้งอยูรอบขาง เชน โคกูริว
เพ็กเจ ซิลลา หมูเกาะริวกิว และญี่ปุน ตางตองสงบรรณาการไปมอบใหแกจักรพรรดิจีน
ในราชวงศฮั่น ราชวงศจิ้น ราชวงศเหนือ – ใต ราชวงศสุย และราชวงศถัง ความตอเนื่อง
ของการสงบรรณาการในยุคนี้ขึ้นอยูกับความเขมแข็งของราชสํานักจีนเปนสําคัญ แมวา
จีนในชวง ค.ศ. 1 – 1000 นั้นจะมีการแยงชิงอํานาจระหวางรัฐตางๆ เพื่อความเปนใหญ
อยูตลอดเวลา กอใหการผลัดเปลี่ยนการครอบครองอํานาจ และการแบงแยกออกเปนรัฐ
เล็กๆ เชน ยุคสามกก (ค.ศ.220 – 280) และยุค 5 ราชวงศ 10 อาณาจักร (ค.ศ. 907 – 960)
เปนตน แตรัฐบริวารรอบขางยังคงยึดถือความเปนผูนําของจีนเสมอ โดยเฉพาะอยางยิ่ง
สามอาณาจักรของเกาหลีที่ตองพึ่งพาวัฒนธรรม ไดแก ดาราศาสตร การแพทย พุทธ
ศาสนา ระบบการปกครอง ภาษาและวรรณคดี ตลอดจนกําลังทหาร ดังเชนเมื่ออาณาจักร
ซิลลาทําสงครามกับอาณาจักรโคกูริวและเพ็กเจ ไดขอรองใหกองทัพถังมาชวยจนไดรับ
54

ชั ย ชนะ สามารถรวมดิ น แดนบนคาบสมุ ท รเกาหลี เ ป น อั น หนึ่ ง อั น เดี ย วกั น เรี ย กว า


สหพันธรัฐซิลลา (United Silla ค.ศ. 668 – 918) เปนตน
โลกทัศนของจีนไดบรรลุผลสําเร็จอยางยิ่งใหญเมื่อชนเผามองโกลเอาชนะพวก
ฮั่น เขายึดครองราชสํานักจีนโดยตั้งราชวงศหยวนขึ้น จากนั้นก็ไดแผแสนยานุภาพอัน
เกรียงไกรเขายึดครองจีนทั้งในดานและนอกดานไดทั้งหมด อีกทั้งยังยึดครองดินแดน
ทางภาคตะวันตกไปจรดยุโรปและครอบครองกรุงมอสโคว นั่นหมายความวา จีนเปน
ศูนยกลางในซีกโลกตะวันออกอยางแทจริง
ในยุคราชวงศหยวนนี้ตรงกับยุคอาณาจักรโคริวของเกาหลี (ค.ศ. 918 – 1329)
และจีนถือวา ไดยึดครองดินแดนบนคาบสมุทรเกาหลีตลอดยุคโคริว ดังมีรายละเอียด
ของเหตุการณตอไปนี้
มองโกลเปนชนเผาเรรอน เลี้ยงสัตว อาศัยอยูในแถบเทือกเขาอัลไตไปจนถึง
แมนจู เ รี ย มาช า นาน เมื่ อ เตมู จิ น รวบรวมแว น แคว น ของสายตระกู ล ต า งๆ ขึ้ น เป น
อาณาจักรในตอนคริสตศตวรรษที่ 12 แมวามองโกลจะมีรัฐบาลและวัฒนธรรมที่ดั้งเดิม
ไรความเจริญ แตดวยการเปนนักรบบนหลังมาที่เกงกาจ ทําใหพวกเขามีชัยเหนือกองทัพ
อื่นๆ ในเอเชียจนไปถึงทวีปยุโรป ยกเวนญี่ปุนเทานั้น
เจงกิส ขาน ผูนําคนตอมาไดเขาปกครองแมนจูเรียและดินแดนทั้งหมดทางตอน
เหนือ เขาไดโจมตีอาณาจักรชินในป ค.ศ. 1211 และยึดไดในป ค.ศ. 1215
เจงกิส ขานไดโจมตีชนเผาคีตาน (Khitan) จนพายแพและพากันอพยพหลบหนี
ไปอยูในเกาหลีโดยขามแมน้ํายาลูไปถึงเมืองเปยงยาง มองโกลขอรองใหกษัตริยโคริว
ชวยกําจัดชนเผาคีตาน (ซึ่งถือวาเปนการติดตอครั้งแรกระหวางมองโกล – โคริว) และ
มองโกลเรียกรองเครื่องบรรณาการมากมายจากโคริว เมื่อโคริวไมยอมจาย ก็ถูกขูวาจะ
โจมตี ตอมาเมื่อคณะทูตมองโกลกลับจากเกาหลีไดถูกสังหารจากชายนิรนาม มองโกล
โกรธและถือเปนขออางในการโจมตี ในป ค.ศ. 1227 ไดสงทหารเขาโจมตีเมืองทางตอน
เหนือของอาณาจักรโคริว ยึดเมืองสําคัญไดหลายเมือง กษัตริยโคริวขอทําสัญญาสงบศึก
กอนที่อาณาจักรถูกทําลาย มองโกลจึงเสนอใหเกาหลี (โคริว) สงหนังนาค 10,000 แผน
มา 20,000 ตัว ผาไหม 10,000 กระชอน และเสื้อผาทหาร 1 ลานชุด และเด็ก/ชางจํานวน
มากเปนทาส มองโกลสงเจาหนาที่และทหาร 72 นายมาประจําเมืองตางๆ ของโคริว เพื่อ
บังคับใหมีการสงมอบบรรณการ
55

ชอย อูย ผูนําชนเผาทางตอนใตพยายามตอสูเพื่อบานเมือง โดยไมทอถอย แต


กองทัพมองโกลเขมแข็งมากกวาจึงไมอาจเอาชนะได ตอมาใน ป ค.ศ. 1232 ผูดูแลของ
มองโกลเริ่มผอนคลายความเขมงวดในการปกครองลง แตก็เกิดการตอสูกันขึ้น ในที่สุด
พระชื่อ คิม ยูนฮูสามารถฆานายพลชารไต ผูบัญชาการทหารมองโกลได ทําใหมองโกล
จําตองถอยทัพออกจากคาบสมุทรในตอนปลายปนั้นเอง
มองโกลกลับมาโจมตีโคริวอีกครั้ง โดยเคลื่อนทัพรุกถึงเมืองกวางจูในป ค.ศ.
1235 และรบรุกตอในระหวางป ค.ศ. 1253 – 1257 สามารถตีพวกตอตานชาวเกาหลีจน
แตกพาย มองโกลไดยกทัพรุกตอไปยังจังหวัดโชลลาและเผาพระไตรปฎก ซึ่งเปนมรดก
ล้ําคาของเกาหลีที่เก็บไวที่วัดพูอินซา อีกทั้งผูคนถูกฆาตายมากมายตามเมืองตางๆ
นอกจากนั้น วัด ปราสาท และศิลปกรรมล้ําคาถูกทําลายอยางยอยยับ รวมทั้งชอย อุยถูก
ลอบปลงพระชนมในป ค.ศ. 1258 อันเปนการสิ้นสุดการปกครองของผูนําจากสาย
สกุลชอย และในป ค.ศ. 1259 พระยุพราชชอน ถูกสงไปเปนตัวประกันในราชสํานักมอง
โกล
เมื่อกษัตริยโคจองสวรรคตในเดือนมิถุนายน ค.ศ. 1259 เจาชายวอนจองไดสืบ
ทอดอํานาจและตองสงลูกไปเปนตัวประกันในราชสํานักมองโกลอีก จากนั้นก็มีการ
ปฏิวัตริ ัฐประหารในอาณาจักรโคริวอยางตอเนื่องอีกหลายปตอมา
ในป ค.ศ. 1271 มองโกลครอบครองจีนและตั้งชื่อวา ราชวงศหยวน โดยตั้งเมือง
ปกกิ่งเปนเมืองหลวง ในป ค.ศ. 1279 ก็สามารถครอบครองจีนไดทั้งหมด กุบไล ขานได
ตั้งตนเองเปนลูกของพระเจา
นโยบายของจี น ต อ เกาหลี ยุ ค ราชวงศ ห ยวนก็ คื อ กํ า หนดให ค นเกาหลี เ ป น
ขาราชการมียศต่ํากวาชาวมองโกล และตั้งสํานักแหงชัยชนะภาคตะวันออก (Office for
the Conquest of the East) ทําหนาที่ในการวางแผนรุกญี่ปุนตอไป แตเมื่อพายแพ มอง
โกลก็ยั งคงยึ ดครองคาบสมุทรเกาหลีตอนเหนือ รวมทั้งเกาะเชจู และเกาหลีตองส ง
บรรณาการ เชน ทอง เงิน โสม และเหยี่ยวใหราชวงศหยวนเปนจํานวนมากในแตละป
และที่รายที่สุดก็คือ เมื่อมองโกลบุกญี่ปุน โคริวตองแบกรับคาใชจายและกําลังพลทุก
อยางในการสนับสนุนการสูรบของพวกมองโกล
อํานาจของมองโกลครอบครองจีนเกือบหนึ่งรอยป ก็พายแพแกจู หยวนชาง ผู
กอตั้งราชวงศหมิงในป ค.ศ. 1368 ความเกงกลาของจีนในยุคราชวงศหมิงไดลดลงมาก
56

รวมทั้งอิทธิพลการครอบครองโดยตรงเหนือดินแดนของชนกลุมนอยอื่นก็ลดขนาดลง
ทั้งนี้เปนผลมาจากการประกาศนโยบายการอยูอยางโดดเดี่ยว และการที่ตองไลเขนฆา
ชนเผามองโกลหลายตอหลายครั้งจนแทบไมหลงเหลือ ทําใหดินแดนที่เคยถูกยึดครอง
ไดตั้งตัวเปนอิสระ หรือเขาไปรวมกับชนชาติเดิม ในยุคนี้อาณาเขตของประเทศจีนจึง
เหลือเพียงบริเวณลุมแมน้ําฮวงโห ลุมน้ําแยงซีเกียง และดินแดนแถบตะวันตกไปจนถึงที่
ราบสูงชิงไฮซึ่งเปนถิ่นที่อยูของชนชาติพันธุฮั่นเทานั้น ราชวงศหมิงครอบครองอํานาจ
เหนือจีนราว 300 ป ในที่สุดก็ถูกพวกแมนจู ซึ่งเปนชนกลุมนอยที่อาศัยอยูทางภาค
ตะวันออกเฉียงเหนือเอาชนะ และตั้งเปนราชวงศชิงขึ้นปกครองประเทศจีน
ราชวงศชิงไดแผขยายอิทธิพลไปยังดินแดนที่ตั้งอยูนอกอาณาเขตของราชวงศ
หมิง (ชาวฮั่น) ออกไปแทบทุกทิศทาง แมดินแดนทั้งหมดจะไมใหญโตเมื่อเทียบกับ
อาณาเขตในยุคราชวงศหยวนของมองโกลก็ตาม แตก็ครอบครองดินแดนกวางขวาง
ใหญโตมากกวาดินแดนของจีนในปจจุบัน ในขณะเดียวกันก็ไดแผอิทธิพลเหนือดินแดน
อื่นๆ โดยเรงรัดฟนฟูระบบรัฐบรรณาการกับรัฐอื่นๆ รอบขางใหมีประสิทธิภาพและ
ประสิทธิผลดังเชนที่เคยเปนมาแตครั้งอดีตกาล
ประเด็นสําคัญที่เกี่ยวกับความสัมพันธระหวางจีนตอเกาหลี มีดังนี้
(1) ระบบรัฐบรรณาการ
ระบบรัฐบรรณาการเปนระบบเกาแกที่จีนมีตอรัฐเล็กๆ ที่ตั้งอยูโดยรอบประเทศ
จีน ซึ่งเริ่มตน นับตั้งแตราชวงศฮั่นเปนตนมา ดังเปนที่ประจักษวา อาณาจักรโคกูริว เพ็ก
เจ ซิลลา และญี่ปุนในยุคนั้นถูกกําหนดใหเปนรัฐบรรณาการของจีน จริงอยูที่ในยุคตนนี้
ระบบรัฐบรรณาการยังไมไดพัฒนาใหเปนระบบ แตรัฐเล็กๆ เหลานี้ตางตองพึ่งพาและ
ลอกเลียนแบบแผนทางวัฒนธรรมและอารยธรรมของจีนตลอดเวลา
ตอมาในยุคราชวงศหมิง (ค.ศ. 1368 – 1643 ) มีการตั้งระบบสูงต่ําของความ
สัมพันธกับตางประเทศ โดยจีนเปนผูนําหรือรัฐพี่ ดังนั้น เกาหลี หมูเกาะริวกิว เวียตนาม
สยาม พมา และประเทศบริวารอื่นๆ ในเอเชียใต และเอเชียกลางจึงมีสถานภาพเปนรัฐใน
ระดับรองหรือรัฐนอง (the status of junior members) โดยจีนเปนศูนยกลางของสมาคม
ประชาชาติ ทั้ ง หลายในเอเชี ย นั ก วิ ช าการชาวยุ โ รปเรี ย กระบบการแบ ง ระดั บ
ความสัมพันธของจีนนี้วา ครอบครัวของกลุมประเทศ (family of nations)
57

คนเกาหลีเรียกความสัมพันธกับจีนวา Sadae หมายความวา รับใชผูยิ่งใหญ


(serving the great) ในขณะที่คนญี่ปุนเรียกความสัมพันธกับจีนวา Kyorin หมายความวา
ความสัมพันธกับประเทศเพื่อนบาน (neighborly intercourse) นั่นหมายความวา เกาหลี
จะยอมรับอิทธิพลของจีนวามีอยูเหนือประเทศของตน สวนญี่ปุนจะยึดถือวา จีนกับญี่ปุน
มีศักดิ์ศรีเทาเทียมกันโดยเฉพาะอยางยิ่งนับตั้งแตตอนปลายคริสตศตวรรษที่ 9 เปนตนมา
ความสัมพันธของจีนกับประเทศรอบขางนั้นมีลักษณะเปนสถานภาพที่ไมเทา
เทียมกัน เราจึงเรียกวา เปนระบบรัฐบรรณาการ (tributary system) หมายถึง จักรพรรดิ
จีนจะใหการยอมรับและปกปองเจาเมือง (feudal lord และ vassal) ทั้งที่ปกครองดินแดน
ที่อยูในและนอกประเทศจีน และรับของขวัญที่เปนผลิตภัณฑพื้นเมืองเปนบรรณาการ
ซึ่งเปนเสมือนการสงสวยหรือการจายภาษีใหกับจีนนั่นเอง
ในยุคราชวงศหมิงและราชวงศชิง ความสัมพันธดังกลาวจะเปนความสัมพันธ
แบบพิ ธีก รรม (ritualistic) อยา งเคร ง คั ด โดยพระเจ า กรุ ง จีน จะรั ก ษาแบบแผน
ความสัมพันธนี้อยางเปนทางการ
ของบรรณาการที่สงใหจีนนั้นจะกระทําเปนระยะๆ ที่กําหนดในปฏิทินของจีน มี
การจดบันทึกเหตุการณที่เกิดขึ้นในแตละรัฐ/ประเทศเปนรายวัน เดือน ป เพื่อใหรับรูทั้ง
ในจีนและในประเทศราช
การสงบรรณาการ ขึ้นอยูกับขนาดของรัฐ และระยะทาง เชน

เกาหลี - 4 ครั้งตอป โดยสงทั้งหมดในตอนสิ้นป


ริวกิว (Lui – ch’iu) - 2 ครั้งในทุกๆ 3 ป
เวียตนาม (Annam) - 1 ครั้งในทุกๆ 2 ป
สยาม - ทุกๆ 3 ป
พมา – ลาว - ทุกๆ 10 ป

ทุ ก ครั้ ง ที่ ค ณะทู ต นํ า ส ง บรรณาการ ก็ จ ะติ ด ตามด ว ยพ อ ค า นํ า สิ น ค า สิ่ ง ของ


มากมายเขาจีนโดยปลอดภาษี การเดินทางของคนกลุมนี้ทางรัฐบาลจีนจะจัดใหคณะทูต
พักที่เรือนรับรอง (Common Residence for Tributary Envoys) พอถึงวันฤกษงามยามดี
คณะทูตจะนําของพื้นเมืองถวายจักรพรรดิจีน โดยจะมีพิธีกรรมที่เปนทางการในการรับ
58

ของ คือ คุกเขาตอหนาจักรพรรดิ 3 ครั้ง และโขกหนาผากลงบนพื้น 9 ครั้ง เปนอันเสร็จ


สิ้นพิธี ตอจากนั้น ทูตและพอคาที่ติดตามจะเปดตลาดขายของที่บริเวณโดยรอบของ
บานพักรับรอง 2 – 5 วัน เพื่อจําหนายสินคาที่นํามา (อาจเรียกวา เปนรูปแบบหนึ่งของ
การคาระหวางประเทศของจีนในยุคนั้น) การซื้อขายจะสรางผลกําไรมากมายใหกับคณะ
ทูต/พอคาจากตางแดน
ตอมา จักรพรรดิจะมอบของที่ระลึกที่มีมูลคาจํานวนมากใหแกทูตเพื่อนํากลับไป
ยังประเทศของตน และทุกคนที่รวมคณะจะไดรับของกํานัลไปดวย
การสรางความสัมพันธที่เกี่ยวของกับการมอบบรรณาการนี้ มีคาใชจายสูงมาก
ปกกิ่งไดจัดลําดับรัฐบรรณาการเปน 3 ระดับ เกาหลี หมูเกาะริวกิว และเวียตนามเปน
เมืองบรรณาการชั้นเอก ในกรณีของเกาหลี ตองใชคนถึง 200 – 300 คนไปในกลุม
ราชทูต โดยเดินทาง 750 ไมล ไปยังนครปกกิ่ง ซึ่งใชเวลาราว 40 – 60 วัน ตัวอยางเชน
ในป ค.ศ.1808 มีเครื่องบรรณาการประกอบดวยทองแดง 1 แสนตําลึง (taels) และของมี
คาอื่นๆ มากมาย สวนการตอนรับทูตเหลานี้ ตองใชคนตอนรับราว 400 – 500 คน โดย
จีนตองเสียคาใชจายถึง 230,000 ตําลึง คณะทูตจะอาศัยอยูกรุงปกกิ่งที่บานพักรับรองราว
5 เดือน ตลอดระยะเวลาที่อยู ก็จะเขาเฝาจักรพรรดิ รับ/ใหของขวัญของกํานัลกันตลอด
แตที่ตองกระทําทุกครั้งที่เขาเฝาก็คือ โขกหนาผากคํานับลงบนพื้นในขณะที่ถวายความ
เคารพ
ระบบรัฐบรรณาการของจีนไดเริ่มเสื่อมลงเรื่อยๆ เมื่อจีนติดตอกับชาติตะวันตก
และญี่ปุนมีอิทธิพลเพิ่มสูงขึ้นในเอเชียตะวันออก จีนจึงคอยๆ สูญเสียรัฐบรรณาการไป
เชน อาณาบริเวณ East and North of Amur and Ussuri แกรัสเซียอันเปนผลมาจาก
สนธิสัญญา Treaties of Tientsin and Peking (ค.ศ. 1860) ที่บังคับใหทาเรือตะวันออก
เก็บภาษีคงที่ และเปดทาเรือใหแกชาวตางชาติมากขึ้น ตอมา รัสเซียบุกและยึดบริเวณ
อีหลีไดอีกในป ค.ศ. 1870 และสูญเสียหมูเกาะริวกิวใหญี่ปุน (ค.ศ. 1880) เวียตนาม
ใหแกฝรั่งเศส (ค.ศ. 1885) พมาใหแกอังกฤษ (ค.ศ. 1886)
ตอมาเมื่อเกิดสงครามระหวางจีนกับญี่ปุน (Sino – Japanese War ค.ศ. 1894 –
1895) จีนจึงหมดอํานาจเหนือเกาหลีตั้งแตนั้นมา
59

(2) การยึดครองเปนอาณานิคม
ภายหลังจีนไดรวมตัวเปนปกแผนในราชวงศฉินไดแลว อีกทั้งไดปองกันการ
รุ ก รานของพวกนอกด า นด ว ยการสร า งกํ า แพงใหญ ข วางกั้ น แต อ าณาจั ก รฉิ น ก็
ครอบครองอํานาจเพียงระยะเวลาอันสั้น (ป 221 – 210 กอนคริสตศักราช) และได
สู ญ เสี ย อํ า นาจให แก ร าชวงศฮั่ น ไป เมื่ อจั ก รพรรดิ ข องอาณาจัก รฮั่ น เสร็จ สิ้ น ภารกิ จ
ปราบปรามศัตรูภายในเสร็จสิ้นลง ก็เริ่มสงทหารโจมตีชนเผาอนารยชนทางตอนเหนือที่
คอยลักลอบโจมตีเมืองในดานอยางตอเนื่องตลอดมา โดยเฉพาะอยางยิ่งในยามที่รัฐใน
ดานตอสูระหวางกันและกัน การโจมตีดวยกองทหารและกําลังรบทั้งทางบกและทาง
ทะเล ทําใหรัฐเล็กๆ ที่ตั้งอยูทางภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือพายแพ รวมทั้ง
อาณาจักรโคกูริว จีนจึงยึดดินแดนสวนบนของคาบสมุทรเกาหลีเปนของจีน และเรียกวา
มณฑลโลลาง เปนเวลาราว 1 ศตวรรษกอนคริสตศักราช การยึดครองนี้เองทําใหจีนถือ
เปนหลักฐานกลาวอางวา อาณาจักรโคกูริวเปนสวนหนึ่งของประวัติศาสตรจีน
การแข็งขอของอาณาจักรโคกูริวเพื่อตอตานอํานาจของราชวงศฮั่นไดเกิดขึ้นเปน
ระยะๆ เมื่ออาณาจักรฮั่นออนแอลงอันเปนผลมาจากการแยงชิงอํานาจของกลุมตางๆ ใน
ราชสํานัก แตอาณาจักรโคกูริวก็ยังคงสงบรรณาการไปยังเมืองหลวงของจีนอยูเสมอๆ
ซึ่งก็เปนเชนเดียวกับอาณาจักรเพ็กเจ และอาณาจักรซิลลา ของเกาหลีที่ไดสวามิภักดิ์ตอ
พระเจากรุงจีนไมเสื่อมคลาย ตอมา เมื่ออาณาจักรฮั่นลมสลายในราว ป ค.ศ. 220
อาณาจักรเว ซึ่งเปนหนึ่งในสามของยุคสามอาณาจักรของจีน (อาณาจักรฉู และอาณาจักร
อู) ก็ยังคงขีดแผนที่ของตนไปเหนือมณฑลโลลางจนถึงป ค.ศ. 265 จากนั้น แผนที่ของ
จีนก็ไมปรากฏการยึดครองดินแดนบนคาบสมุทรเกาหลีจนกระทั่งถึงยุคราชวงศหยวน
และยุคราชวงศชิง
อยางไรก็ตาม การขีดแผนที่ของนักประวัติศาสตรจีนบนคาบสมุทรเกาหลีนั้นคง
เปนเพียงความเชื่อของตนวา ไดครอบครองเกาหลีในแตละชวงดังที่กลาวแลวขางตน
ในขณะที่นักประวัติศาสตรเกาหลีจะมีความคิดเห็นวา เกาหลีเปนประเทศอิสระที่ไมได
ถูกยึดครองจากจีน ยกเวนในระหวางป ค.ศ. 1910 – 1945 ที่ถูกญี่ปุนยึดครองเปนอาณา
นิคมอยางเปนทางการเทานั้น แตเกาหลีก็ยอมรับวาไดผูกพันดวยการสงบรรณาการไป
ใหราชสํานักจีนเปนประจําเสมือนเปนบานพี่เมืองนอง มากกวาที่จะอยูในสถานภาพเปน
ประเทศราช หรือรัฐบรรณาการตามแนวคิดของจีน
60

(3) ลัทธิความเชื่อ
ชวงรอยตอของคริสตศักราชนับตั้งแตยุคราชวงศโจวตะวันออก (ป 770 กอน
คริสตศักราช) มาจนถึงสิ้นสุดราชวงศฮั่นตะวันออก (ป ค.ศ. 220) นั้น สังคมจีนได
เปลี่ยนแปลงไปอยางมาก ทั้งทางดานเศรษฐกิจ สังคมวัฒนธรรม และการเมือง อาจกลาว
โดยยอดังนี้
ประการแรก โฉมหนาของสังคมทาสไดเปลี่ยนมาเปนสังคมศักดินา ระบบการ
ผลิตในสังคมทาสไดเสื่อมสลายลงเพราะมีการประดิษฐคิดคนเครื่องมือในการทําไรทํา
นา เชน ขวาน เสียม และเครื่องมือที่ทําดวยเหล็ก รวมทั้งมีการใชวัวมาชวยไถพรวนดิน
กันอยางแพรหลาย ทําใหภาวะเศรษฐกิจดีขึ้น แรงงานทาสจึงไดทําการตอสูเพื่อใหหลุด
พนจากการถูกกดขี่จากเจานายหรือเหลานายทาส การตอสูไดทวีความดุเดือดเพิ่มขึ้นเปน
ลํ า ดั บ เมื่ อ นายทาสต า งเผชิ ญ หน า กั บ กบฏทาสบ อ ยครั้ ง ความสั ม พั น ธ ท างสั ง คมจึ ง
เปลี่ยนไป โดยพวกเจาของที่ดินเขามาแทนที่ชนชั้นนายทาสเดิม สถานภาพของทาสก็ดี
ขึ้นเพราะทํางานบนที่ดินของเจาของที่ดินและไดรับสวนแบงของผลผลิตที่เปนธรรมขึ้น
เมื่อเทียบกับการที่ตองมอบผลผลิตทั้งหมดใหกับนายทาสเพื่อแลกเฉพาะอาหารและที่อยู
อาศัยเทานั้น
ประการที่สอง กฎเกณฑทางสังคมแนวใหมไดรับการกําหนดขึ้นโดยนักปรัชญา
และผูรูมากหนาหลายตา ดังเชน ขงจื้อ เมงจื้อ มอจื้อ เลาจื้อ (ลัทธิเตา) และหันเฟย (ลัทธิ
นิติธรรมนิยม) คนเหลานี้ตางตั้งสํานักของตนเพื่อการเผยแพร อนึ่ง มีการตั้งมหาวิทยาลัย
แหงชาติเพื่ออบรมสั่งสอนขุนนางเขารับราชการเปนครั้งแรกในป 84 กอนคริสตศักราช
ซึ่งมีนักศึกษาเพียง 50 คน และอีก 250 ปตอมามีนักศึกษาถึง 30,000 คน ในชวงเวลา
ดังกลาว มีการเขียนหนังสือและเอกสารในสาขาวิชาตางๆ เชน การแพทย กวีนิพนธ
โหราศาสตร ดาราศาสตร การทหาร และปรัชญา โดยเขียนบนแผนไมและผืนผา กลาว
กันวามีจํานวนรวมกันมาถึง 2,000 เลมเกวียนทีเดียว
ประการที่สาม การขยายตัวทางการคาไปยังแถบอินโดจีน อินเดียโดยทางเรือและ
ทางบกยังดินแดนตะวันตกจากเนปาล อินเดียตอนเหนือ ปากีสถาน อัฟกานิสถาน ซีเรีย
อิรั ก ไปจนถึ งอิ หร าน และยุ โ รป ทําให จีนไดรับอารยธรรมจากต างชาติเข าประเทศ
ในขณะที่ในเมืองจีนเองก็สามารถรวมเปนประเทศเดียวกันเปนครั้งแรกในสมัยราชวงศ
ฉิน
61

อนึ่ง การรับเอาพุทธศาสนาเขามาในประเทศจีน ถือไดวาเปนการรับเอาลัทธิ


ความเชื่อภายนอกเขามาประพฤติปฏิบัติตาม จึงเปนเรื่องที่นาอัศจรรยยิ่ง ทั้งนี้เพราะจีน
เปนประเทศเกาแกและมีลัทธิความเชื่อมากมายที่คิดขึ้นโดยนักปรัชญาของจีนเอง อนึ่ง
ความคิดความเชื่อเหลานี้ตางเขาผูกติดกับบริบทและสงเสริมสนับสนุนสังคมวัฒนธรรม
จีนอยางแนนแฟน ดวยเหตุนี้จึงเปนเรื่องที่นาสนใจศึกษาบทบาทและอิทธิพลของพุทธ
ศาสนาซึ่งเปนศาสนาตางดาวที่มีตอจีน รวมทั้งการแผขยายของพุทธศาสนาผานไปยัง
ประเทศเกาหลีและญี่ปุนอีกดวย
ตอไปนี้จะกลาวถึงลัทธิความเชื่อและศาสนาในจีน และการสงตอไปยังเกาหลี
และญี่ปุนอีกทอดหนึ่ง
- ลัทธิขงจื้อ
ขงจื้อ (Confucius) มีชีวิตอยูในชวงป 551-479 กอนคริสตศักราช เขามีชื่อจริง
วา ขงชู (Kong Qiu or Kong Zhongni) เกิดที่เมือง โจวอี้ (Souyi ซึ่งตั้งอยูในมณฑลชาน
ตุงปจจุบัน) แหงรัฐลู บิดาของขงจื้อเสียชีวิตตั้งแตเขายังเยาววัย จึงไดรับการเลี้ยงดูจาก
มารดาที่ยากจน ดังนั้นพื้นฐานของครอบครัวของเขาจึงยากไรและกลายเปนประสบการณ
สําคัญในวัยเด็ก
ขงจื้อไดใชเวลาในการศึกษาคนควาเพื่อหาแนวทางที่จะแกไขปญหาทางสังคม
ตลอดชวงวัยหนุมขณะที่เขามีอายุ 15-30 ป ในชวงเวลาดังกลาว กษัตริยราชวงศโจวออน
แอและมีความสําคัญลดลงเปนอันมาก อํานาจที่แทจริงตกอยูในมือของเหลาขุนนางและ
ขาราชการชั้นผูใหญ มีการทําสงครามระหวางรัฐตลอดเวลา ทําใหรัฐเล็กๆ ตกอยูใต
อิทธิพลของรัฐใหญ ในขณะเดียวกัน ภายในรัฐเดียวกันก็มีการแยงชิงอํานาจระหวางกลุม
ผูนําทางการเมืองอยางดุเดือดและเขมขน
ในรัฐลูบานเกิดของขงจื้อก็มีสภาพยุงเหยิงและวุนวายเชนเดียวกัน แมวาจะมี
ความพยายามในการยุติสงครามดวยการทําสนธิสัญญาหรือขอตกลงสันติ แตก็ไมไดผล
เพราะมีการละเมิดขอตกลงกันอยูเสมอ เหตุการณเหลานี้เปนบทเรียนแกขงจื้อมากเพราะ
เขาสนใจศึกษาเรื่องการเมืองอยูแลว ดังนั้น เขาจึงทุมเทใหกับการศึกษาเรื่องราวของอดีต
ที่ปรากฏในบทกวี ประวัติศาสตร กฎหมาย ประเพณี และพิธีกรรมเพื่อดูวา จะสามารถ
นํามาใชในการแกไขปญหาสังคมไดมากนอยเพียงใด
62

ภายหลังที่เขามุงมั่นศึกษาหาความรูอยางจริงจัง เขาก็คนพบหลักการพื้นฐานที่
จะจัดระบบชีวิตทุกขั้นตอนของคน จัดระบบการเมืองและสังคมภายใตครอบครัวและ
สําหรับแตละบุคคล อนึ่ง ตัวขงจื้อเองก็มีความประสงคที่จะดํารงตําแหนงทางราชการ
ดังนั้น การศึกษาคนควาของขงจื้อก็ เปนการตระเตรียมตนเองเพื่อที่จะกาวเขาไปรับ
ราชการ อยางไรก็ตาม เมื่อวันเวลาผานพนไป ขงจื้อก็มิไดมีโอกาสเขารับราชการใน
ตําแหน งที่สู งและมี อํานาจอย างจริ งจั ง แม วาเขาจะมั่ น ใจว า รัฐบาลที่ ดีคือ รั ฐบาลที่
บริหารตามหลักการที่เขาศึกษาและคนพบ ทั้งนี้เพราะตําแหนงดังกลาวสงวนไวสําหรับ
ขุนนางและสุภาพบุรุษตามสายเลือดเทานั้น
ต อ มา ขงจื้ อ ออกเดิ น ทางจากรั ฐ ลู ไ ปยั ง รั ฐ ต า งๆ เพื่ อ สั่ ง สมประสบการณ
ภายหลังเมื่อกลับมายังรัฐลูอีกครั้ง เขาก็เริ่มตนชีวิตดวยการเปนครูสั่งสอนศิษย ลูกศิษย
สวนใหญของขงจื้อเปนลูกหลานของตระกูลขุนนางที่มุงหวังฝกฝนหาความรูเพื่อเขารับ
ราชการ อยางไรก็ตาม เปาหมายหลักของขงจื้อมิไดหวังที่จะใหลูกศิษยเตรียมตัวเขารับ
ราชการเทานั้น แตเขาประสงคที่จะใหลูกศิษยทั้งหลายเปนสุภาพบุรุษที่เพรียบพรอมไป
ดวยคุณธรรม เพื่อจะเปนประชาชนและขาราชการที่มีคุณธรรมประจํากาย เพราะหาก
ขาราชการเปนผูกอปรดวยศีลธรรมที่ดียอมจะสงผลใหมีรัฐบาลที่ดี
ดังนั้น จะเห็นไดวา ขงจื้อได เชื่ อมโยงระบบการศึ กษาเข ากับอุ ดมการณทาง
การเมืองที่เขาคิดขึ้น ดวยเหตุนี้ เขาจึงไดขยายการรับลูกศิษยใหกวางขวางออกไป มิใช
ขีดวงแคบๆ เฉพาะลูกขุนนางเทานั้น แมแตคนที่มีฐานะยากจนที่สุดก็สามารถเปนลูกศิษย
ของขงจื้อได
ศิษยของขงจื้อจะไดรับการอบรมสั่งสอนทั้งดานความรูและคุณธรรม เพื่อให
ไดชื่อวา สุภาพบุรุษ (gentleman) คําวาสุภาพบุรุษมิไดหมายความถึงการเปนขุนนาง
ลูกขุนนาง หรือผูที่มีเชื้อสายขุนนางเทานั้น แตหมายถึงบุคคลที่ไดรับการอบรมและ
ฝกฝนใหเปนผูมีความรูควบคูกับคุณธรรมเปนอยางดี
ชื่อเสียงของขงจื้อไดขจรกระจายออกไปเรื่อยๆ และเริ่มมีอิทธิพลตอรัฐบาล
แหงรัฐลูมากขึ้น อยางไรก็ตาม ตําแหนงทางราชการที่ขงจื้อไดรับมิ ไดสูงนัก เพราะ
ตําแหนงที่สูงขึ้นมักตกเปนของลูกศิษยของขงจื้อเอง ทั้งนี้เพราะพวกเขาเปนเชื้อสายของ
ขุนนาง แมขงจื้อประสงคที่จะดํารงตําแหนงเปนที่ปรึกษากิจการสําคัญของรัฐบาลแหง
รัฐลู แตเขาก็ไมสมปรารถนาเพราะถูกมองขามไปเสมอ ตอมา ขงจื้อไดเดินทางออกจาก
63

รัฐลูอีกครั้งเพื่อสืบเสาะหาความคิดของระบบการบริหาร โดยเขาตั้งใจวา หากระบบใหม


นี้ไดรับการยอมรับ ก็ยอมจะสามารถทําใหจีนทั้งหมดรวมเปนอันหนึ่งอันเดียวกันภายใต
ผูนํ า สู งสุ ด คนเดีย ว ในที่ สุ ดเขาก็ส ามารถจั ด ระบบความคิ ด นี้ ได แ ละนํ า แนวคิ ด ออก
เผยแพรไปยังรัฐตางๆ
อย า งไรก็ ต าม ในช ว งสุ ด ท า ยของชี วิต ขงจื้ อนั้ น เขาก็ ต อ งประสบกั บ ความ
ผิดหวังอีกเชนเคย ทั้งนี้เพราะไมมีผูปกครองคนใดที่จะนําแนวความคิดของเขาไปปฏิบัติ
ไดอยางจริงจัง ขงจื้อจึงเดินทางกลับรัฐลูดวยความสิ้นหวังจนกระทั่งถึงวาระสุดทายของ
ชีวิตที่บานเกิด
ขงจื้อไดพยายามเรียนรูจากอดีตและมีความเชื่อมั่นวา หากนําคุณธรรมกลับมา
ใชอยางจริงจัง ยอมสามารถทําใหสังคมเกิดสันติสุขขึ้นมาได คุณธรรมจึงกลายเปนหลัก
พื้นฐานของปรัชญาศีลธรรมของขงจื้อ ในทัศนะของขงจื้อ คุณธรรมที่สําคัญมีดังนี้
ก. เยิ้น เยิ้นเป นคุ ณ ธรรมที่สํ าคั ญ ที่ สุด และเปน เอกลัก ษณของปรัช ญาของ
ขงจื้อ ตามรูปศัพทแลว เยิ้นอาจแปลไดหลายอยาง เชน ความรัก ความเมตตา เปนตน แต
เมื่อสรุปความหมายของคํานี้แลว เยิ้นเปนคุณธรรมทางสังคม เปนกิจกรรมทางสังคมที่
เปนธรรมชาติ หาใชถูกปรุงแตงหรือประดิษฐขึ้นมาไม ตัวอยางเชน กิจกรรมระหวาง
มารดา-ทารก เมื่อทารกตองการน้ํ านมของมารดา ซึ่งมารดาในฐานะเปนหน วยผลิ ต
อาหารของทารก ก็จะทําการปลดปลอยน้ํานมใหทารกดื่ม
ในทัศนะของขงจื้อ การรวมมือกันเปนเรื่องธรรมชาติที่ตางฝายตางชวยเหลือ
เกื้อกูลกันโดยไมมีการบังคับ ถากิจกรรมทางสังคมของมนุษยดําเนินไปในลักษณะที่
ชวยเหลือกันและกันโดยธรรมชาติ นั่นยอมแสดงวา เยิ้นเปนสิ่งที่แฝงในวิถีทางดังกลาว
เยิ้นจึงมีความหมายรวมถึงความเห็นอกเห็นใจและความเต็มใจที่จะปฏิบัติตอ
กันและเพื่อผลประโยชนรวมกัน ขงจื้อไดอธิบายขยายวงของเยิ้นวา วิถีของเยิ้นมิไดจํากัด
เฉพาะความสัมพันธระหวางมารดากับทารกเทานั้น แตเปนวิถีความสัมพันธระหวางบุคคล
5 แบบ คือ
- ความสัมพันธระหวางบิดามารดากับบุตรธิดา
- ความสัมพันธระหวางสามีกับภริยา
- ความสัมพันธระหวางพี่กับนอง
- ความสัมพันธระหวางผูปกครองกับประชาชน
64

- ความสัมพันธระหวางมิตรกับมิตร
ความปรารถนาดีตอผูอื่นตองแฝงไวดวยความจริงใจดวย หากความปรารถนาดี
อย า งเสแสร ง ก็ จ ะได รั บ ผลตอบแทนเช น เดี ย วกั น จากคนอื่ น หากลงทุ น ด ว ยความ
หลอกลวงก็ยอมจะไดรับการหลอกลวงเปนการตอบแทน ดังนั้น ตามคําสอนของขงจื้อ
เยิ้นเปนคุณธรรมที่สําคัญที่สุด แตการที่จะไดคุณธรรมเยิ้นมาตองผานการฝกฝนการทํา
ความดี รูจักเอาใจเขามาใสใจเรา และยังแฝงดวยความจริงใจอีกดวย
ปรัชญาเยิ้นนี้เปนคุณธรรมที่มนุษยทุกคนมีอยูในตัว เพราะทุกคนมีความรัก
และความปรารถนาดีตอคนอื่นโดยธรรมชาติ การเติบโตของเยิ้นเปนไปอยางอิสระ ซึ่ง
เติบโตจากบุคคลคนนั้นเอง มิไดถูกบังคับจากภายนอก ดังนั้นการอบรมสั่งสอนจะเนน
การปฏิบัติคุณธรรม คือ การลงมือปฏิบัติในชีวิตจริง มิใชเนนทฤษฎีจริยศาสตรเทานั้น
ข. อี้ อี้ หมายถึงความถูกตอง หรือความเหมาะสม หรือวิธีที่ดีที่สุดที่จะกระทํา
สิ่งตางๆ ขงจื้อมี ความเห็ นวามนุษยทุ กคนมีความสามารถในการจํ าแนกความผิ ดและ
ความถูกไดในแตละชวงของชีวิต แตเขาก็มิไดเนนถึงกฎเกณฑของความถูกตองถาวร
เพราะความถูกตองเหมาะสมในโอกาสหนึ่งอาจจะไมเหมาะสมในอีกโอกาสหนึ่งก็ได
อยางไรก็ตาม วิถีแหงความถูกตองอาจศึกษาไดจากอดีต นั่นหมายถึง การเรียนรูถึงความ
ถูกตองที่เคยปฏิบัติกันมาแลวในอดีต
ขงจื้อมีความเห็นวา สุภาพบุรุษยอมยกยองความถูกตองและความชอบธรรมไว
เหนือสิ่งอื่นใด จากสิ่งที่เขาประสบในยุคนั้นก็คือ ขาราชการสวนใหญมุงแสวงหาความ
ร่ํารวยและตําแหนงหนาที่การงานโดยไมคํานึงถึงความชอบธรรมใดๆ ขาราชการเหลานี้
พร อ มที่ จ ะใช วิ ถี ท างทุ ก อย า งเพื่ อ ให ไ ด ม าในสิ่ ง ที่ ต อ งการ ขงจื้ อ จึ ง เตื อ นให ทุ ก คน
ตระหนักกอนที่จะไดสิ่งนั้นมาวา ชอบธรรมหรือถูกตองหรือไม ขงจื้อมิไดรังเกียจใน
ตําแหนงหรือเงินตรา แตสิ่งที่เขารังเกียจคือความไมชอบธรรมหรือความไมถูกตองของ
วิถีทางที่ไดมาซึ่งสิ่งเหลานี้
ค. ความรักพอแม (filial piety) และความรักตอพี่นอง (brotherly love) ใน
ครอบครัวจีน บิดามีหนาที่รับผิดชอบตอทุกคนในครอบครัว หัวหนาครอบครัวจึงมี
ความสําคัญที่สุด สามารถออกคําสั่งใหสมาชิกในครอบครัวปฏิบัติตาม รวมทั้งตัดสินขอ
พิพาทที่เกิดขึ้นในครอบครัวได บุตรชายคนโตจะไดรับการเอาใจใสจากบิดามากที่สุด
65

เพราะเขาจะกลายเปนผูรับผิดชอบตอครอบครัวแทนบิดาตอไป อยางไรก็ตาม สมาชิกทุก


คนในครอบครัวจะตองชวยเหลือกันและกัน
ตามทัศนะของขงจื้อนั้น ครอบครัวเปนหนวยแรกที่เอื้อใหคนฝกคุณธรรมเยิ้น หรือ
ความรักไดเปนอยางดี โดยเริ่มจากการรูจักรักบิดามารดา ซึ่งเปนความรักที่บริสุทธิ์ตาม
ธรรมชาติ และรักพี่นองรวมครอบครัวเดียวกัน เมื่อบุคคลมีความรักดังกลาวแลว เขาผู
นั้นยอมสามารถรักเพื่อนมนุษยคนอื่นไดเปนลําดับตอไป
ง. ความรักตอคนอื่น การรูจักรักคนอื่นเปนสวนของความรักที่ขยายออกมา
จากความรักตอบิดามารดาและพี่นอง เพราะความรักตอบิดามารดาและพี่นองนั้นเปน
คุณธรรมสําคัญในครอบครัว สวนความรักตอผูอื่นเปนคุณธรรมสําคัญสําหรับสังคม
ดวยเหตุนี้ ขงจื้อจึงมีความเห็นวา คุณธรรมแหงความรักพอแมพี่นองจะโยงใยไปสูการมี
รัฐบาลที่ดี ทั้งนี้เพราะผูมีคุณธรรมความรักดังกลาวยอมสามารถนําความรักไปใชในการ
ปกครองประชาชนดวยการแผความรักไปยังประชาชนทุกคน หรือแมแตประชาชนทุก
คนมีคุณธรรมความรักก็ยอมจะทําใหสังคมเกิดความสงบสุขได อันเปนเสมือนการรับใช
รัฐโดยทางออม
ความรักตอคนอื่นสามารถแสดงออกได 2 ลักษณะ คือ (1) ความซื่อสัตย
(loyalty หรือ chung) และ (2) การเอาใจเขามาใสใจเรา (consideration หรือ shu) ความ
ซื่อสัตย หมายถึง ความพรอมที่จะอุทิศตนเพื่อผลประโยชนของบุคคลอื่น มิใชขีดวง
เฉพาะความจงรักภักดีตอขุนนางหรือผูปกครองเทานั้น จะตองขยายวงการชวยเหลือที่
บุคคลพึงมีตอเพื่อนมนุษยคนอื่นๆ นี่เปนคุณธรรมเยิ้นนั่นเอง
การเอาใจเขามาใสใจเรา หมายถึง ความพรอมที่จะนําตัวไปแทนที่คนอื่นและ
พิจารณาวา ถาตนเองตองตกอยูในสภาพเชนนั้นจะมีความปรารถนาในสิ่งใด จากผลการ
พิจารณาดังกลาวยอมทําใหสามารถปฏิบัติตอคนอื่นไดอยางเห็นอกเห็นใจมากยิ่งขึ้น
(จ) มารยาทและพิธีกรรม ขงจื้อมีความเห็นวา บุคคลที่สมบูรณตองมีมารยาทที่
งดงามอยูในตน ดังนั้น การศึกษากฎเกณฑของการปฏิบัติตนที่ถูกตองในโอกาสตางๆ
ทางสั ง คมจึ ง เป น เรื่ อ งจํ า เป น สํ า หรั บ สุ ภ าพชน คํ า ว า ลิ จึ ง เป น คํ า ของกริ ย ามารยาท
ภายนอกที่สุภาพชนควรมี ซึ่งจะกอใหเกิดความเปนสุภาพชนที่กอปรดวยคุณธรรมเยิ้นที่
เนนความเทาเทียมกันและคุณธรรมลิ เพราะฉะนั้น แตละบุคคลพึงกระทําตอบุคคลอื่น
อยางเคารพในความเปนมนุษยที่เทาเทียมกันดวยการปฏิบัติตอกันและกันอยางเหมาะสม
66

และเคารพซึ่งกันและกัน เมื่อมีความเคารพดังกลาว มนุษยก็ยอมสามารถอยูรวมกันอยาง


สันติสุขปราศจากความขัดแยง
ขงจื้อยังไดย้ําถึงความสําคัญของมารยาทภายในพรอมๆ กับการแสดงออกกริยา
มารยาทภายนอก เพราะกริยามารยาทภายนอกยอมเปนกระจกเงาของภายในดวย มิฉะนั้น
สิ่ ง ที่ แ สดงออกภายนอกจะเป น การหลอกลวงผู อื่ น ดั ง นั้ น ต อ งสอนให ค นเข า ใจถึ ง
คุณธรรมภายในดวย จะทําใหการเรียนรูถึงกริยามารยาทที่เหมาะสมภายนอกไดดีเปน
ธรรมชาติ มิใชเปนการเสแสรง
กลาวโดยยอ วิถีแหงสวรรค หรือวิ ถี แหงมนุษย ที่ ขงจื้ อเชื่อถือ ก็คือ วิ ถี แห ง
คุณธรรมสําคัญ ไดแก ความรัก ความชอบธรรม ความเหมาะสม และความฉลาด ซึ่งเปน
วิถีทางที่มนุษยผูมีความสมบูรณพึงแสวงหา สวรรคมิไดมอบวิถีเหลานี้ใหมนุษย แต
ประทานธรรมชาติ ใ ห ม นุ ษ ย ส ามารถฝ ก ดํ า เนิ น ตามวิ ถี ดั ง กล า ว ด ว ยเหตุ นี้ ขงจื้ อ จึ ง
เล็งเห็นความสําคัญของการพัฒนาตนเองดวยการพัฒนาคุณธรรม ขงจื้อเสียชีวิตเมื่อป
479 กอนคริสตศักราช โดยมีอายุได 73 ป
อิทธิพลของลัทธิขงจื้อตอราชสํานักจีนมีมากมาย ทั้งนี้เปนเพราะ ลัทธินี้กําหนด
แนวทางการปฏิบัติในการดํารงชีวิตของคนเพื่อใหเกิดความสงบสุข รมเย็น และมีความ
เปนปกแผน รวมทั้งมีความมั่นคงในชีวิตครอบครัวและสังคม อนึ่ง ขุนนางจีนในยุคนั้น
ลวนเปนลูกศิษย และ/หรือเปนผูนําแนวคิดของขงจื้อมาใชในชีวิตประจําวัน เมื่อคน
เกาหลีตองเกี่ยวของกับราชสํานักและสังคมจีน ไมวาจะเดินทางไปสงเครื่องบรรณาการ
ไปศึกษาหาความรูวิทยาการ ไปคาขาย และไปศึกษาขนบธรรมเนียมประเพณีและความ
เชื่อในประเทศจีน พวกเขาจึงตองเรียนรูลัทธิขงจื้อ และนํากลับไปตั้งสํานักเพื่อเผยแพร
ในสังคมเกาหลีนับตั้งแตยุคสามอาณาจักร ไดแก ซิลลา เพ็กเจ และโคกูริว ซึ่งอาณาจักร
ทั้งสามตางก็เปนรัฐบรรณาการของจีนทั้งสิ้น ตอมาในระหวางคริสตศตวรรษที่ 14 – 19
ซึ่งเปนยุคอาณาจักรโชซอน ก็ไดประกาศใหลัทธิขงจื้อเปนศาสนาประจําชาติแทนพุทธ
ศาสนา นั่นหมายความวา อิทธิพลของวัฒนธรรมความเชื่อของลัทธิขงจื้อมีตอวิถีทางการ
ดํารงชีวิตของชาวเกาหลีอยางแนบแนนและลึกซึ้ง
กลาวโดยสรุป ลัทธิขงจื้อเปนวัฒนธรรมที่คิดสรางขึ้นโดยคนจีนและในบริบท
ของจีน ไดสงผานไปยังเกาหลีทั้งทางตรงและทางออม จากนั้นไดกลายเปนความเชื่อที่
67

หยั่งรากฝงลึกในดานความคิดความเชื่อ และเปนแนวทางในการดําเนินชีวิตของคน
เกาหลีนับตั้งแตอดีตกาลมาจนถึงปจจุบัน
- พุทธศาสนา
พุทธศาสนาเฟองฟูในจีนนับตั้งแตตนคริสตกาล ตอมาไดกลายเปนศูนยกลาง
แหงภูมิภาคเอเชียตะวันออก โดยเฉพาะอยางยิ่งตอมองโกเลีย เกาหลี และญี่ปุน ในที่นี้จะ
ขอกลาวถึงพุทธศาสนาในประเทศจีนอยางละเอียด โดยจะเปนการแปลความหมายของ
ศาสนานี้จากผูรูชาวจีนและในบริบทของจีน ดังนี้
ศาสนาพุ ท ธถื อได วา เปน ศาสนาต า งดา วที่เข า ไปยั งจี น มานานนั บ ตั้ ง แต ต น
คริสตศักราช โดยมีการกลาวกันวา พุทธศาสนาไดเขาไปยังจีนครั้งแรกในป ค.ศ.65 แต
การติดตอกับชมพูทวีปมีมานานกวานั้นซึ่งความสนใจทางศาสนานี้ก็ไดเกิดขึ้นกับคนที่มี
ความสัมพันธโดยตรงบางแลว ในที่นี้ขอนําหลักการสําคัญๆ และแนวความคิดของพุทธ
ศาสนามากลาวพอสังเขปเพื่อจะใชเปนแนวทางให เกิดความเข าใจถึ งพุ ทธศาสนาที่
สามารถเขารวมกับลัทธิพื้นเมืองของจีน นั่นคือ ลัทธิขงจื้อและลัทธิเตา และกลายเปน
ศาสนาหนึ่งที่มีอิทธิพลตอคนจีนในยุคนั้น
ในสมัยที่พุทธศาสนาไดเขาไปสูประเทศจีนนั้น ประเทศจีนไดมีอารยธรรมของ
ตนเองเกาแกมากแลว มีคัมภีรเกาๆ มีประเพณีที่ปฏิบัติติดตอกันมาเปนเวลานาน และมี
ความเชื่อมั่นวา สั งคมจีนเทานั้นเปน สังคมที่ มี อารยธรรมมากที่ สุ ดแห งเดีย วในโลก
ดังนั้นเมื่อพุทธศาสนาไดเปนดุจพาหนะที่นําเอา ศาสนา ศิลปะ ตัวหนังสือ วรรณกรรม
ปรัชญา ฯลฯ เขาไปสูประเทศตางๆ นักเผยแผพุทธศาสนาไดพบวา ประเทศจีนเปน
ประเทศที่มีสิ่งเหลานี้อยูในขั้นที่พัฒนาไปอยางสูงยิ่งพรอมแลว พุทธศาสนาพอใจที่จะ
แขงขันกับระบบปรัชญาและลัทธิพื้นเมืองเพื่อเอาชนะจิตใจชาวจีน และสําหรับฝายชาว
จีนเองก็ถูกความเขาใจเดิมๆ ที่ตั้งอยูบนฐานแหงระบบปรัชญาพื้นบานพื้นเมืองปดบัง
ไมใหเขาใจในปรัชญาทางพุทธศาสนา
แมวาไมมีใครที่จะสามารถบอกจริงๆ ไดวา ชาวจีนไดมีการติดตอสัมพันธกับ
พุ ท ธศาสนาตั้ง แตเ มื่อ ใดและในแบบไหน แต จ ากการคาดเดาและจากหลั ก ฐานทาง
เอกสารที่พอมีอยูบาง ทําใหพอจะสันนิษฐานไดวา ความสัมพันธติดตอกันนี้ก็คือ การ
พบพระพุทธรูปของพระพุทธเจาที่พวกชาวเอเชียกลางนําเขามาสูประเทศจีนเพื่อเคารพ
บูชานั่นเอง ชาวจีนสมัยนั้นไดรับเอาพระพุทธเจาไวในฐานะกึ่งเทพเจาในฐานะเดียวกับฮ
68

วงตี่ผูลึกลับ และปรัชญาเมธีเลาจื้อซึ่งพวกเขาเขาใจวาเปนผูไดบรรลุถึงอมฤตภาพ แต


ประวั ติ ศ าสตร พุ ท ธศาสนาในประเทศจี น นั้ น ได มี ขึ้ น มาพร อ มกั บ การแปลคั ม ภี ร
พระไตรปฎกทางพุทธศาสนาเปนภาษาจีนนั่นเอง

ขอเนนในที่นี้วา พุทธศาสนามิไดเปนหนึ่งเดีย ว แตมีการแตกแยกออกเปน


นิกายตางๆ เมื่อครั้งยังอยูในชมพูทวีปแลว โดยมีการเขียนคัมภีร (หรือพระไตรปฎก) ที่
แตกตางกันออกไป ซึ่งมีการแปลความหมายของพุทธพจนตามความคิดความเชื่อของแต
ละสํ านักหรือวัด อยางนอยที่สุดเราก็รู วามี ก ารแบ งออกเปนนิกายหินยานและนิกาย
มหายาน การแตกแยกเป น นิ ก ายดั ง กล า วมิ ไ ด เ ป น ผลสื บ เนื่ อ งมาจากการแตกแยก
ของสังฆมณฑล การปฏิวัติคัดคาน หรือเปนการเอาเรื่องสวนตัวมาอางเพื่อจะไดสราง
ลั ท ธิ ห รื อ ศาสนาใหม ขึ้ น มา แต เ ป น ความเจริ ญ งอกงามตามธรรมชาติ ที่ มี ก ารแปล
ความหมายของคําภีรที่แตกตางกัน
ในเบื้องแรก คนจีนไมรูอะไรเกี่ยวกับการแบงนิกายออกมากมายในชมพูทวีปเลย
และไมรูวาคัมภีรที่นําเขามาในจีนเปนผลมาจากขอแตกตางระหวางนิกายซึ่งแตละวัด
(สํานัก) เลือกแปลคัมภีรตางๆ ออกมา สําหรับคนจีนทั่วไปแลวถือวาคัมภีรทางพุทธ
ศาสนาที่แปลเปนภาษาจีนนั้นเปนพุทธพจนทั้งสิ้น ตอมา เมื่อศึกษาดูอยางละเอียดก็เริ่ม
พบความขัดแยงและกลายเปนความแตกตางของนิกายตางๆ รวมทั้งมีการจัดตั้งนิกาย
ใหมๆ เพิ่มขึ้นในประเทศจีน
ตอมา พุทธศาสนาไดจําแนกออกเปน 10 สํานัก แตโดยรวมที่อาจแบงตาม
ความเชื่อ คือ สํานักที่ถือวามีภาวะกับสํานักที่ถือวามีอภาวะ ทั้งนี้ขึ้นอยูกับวาสํานักนั้นๆ
ยืนยันหรือคัดคานธรรมชาติที่เปนตัวตนของธรรมะทั้งหลาย ตัวอยางเชน นิกายเฉิงชือ นิ
กายจิ่วเช และนิกายวินัย ซึ่งเปนนิกายฝายหินยาน แตก็มีจุดเนนที่แตกตางกัน สวนนิกาย
ฝายมหายาน ไดแก นิกายซันหลุน และนิกายวิชญาณวาท เปนตน อยางไรก็ตาม เมื่อ
กาลเวลาผานไป ไดมีนิกายตางๆ เพิ่มขึ้นอีกมากมาย
เมื่อจีนรับเอาพุทธศาสนาเขามาปฏิบัติใช และเฟองฟูนับตั้งแตตนคริสตกาลเปน
ตนมา ในที่สุดไดกลายเปนศูนยกลางเผยแพรพุทธศาสนาในเอเชียตะวันออก โดยเฉพาะ
อยางยิ่งเมื่อคนเกาหลีเดินทางเขาไปยังราชสํานักและเมืองจีน ไดเล็งเห็นวา เปนลัทธิ
ทางเลือกที่แตกตางจากลัทธิขงจื้อแตก็เขากันกับลัทธิขงจื้อไดดี จึงไดนําพุทธศาสนาเขา
มาเผยแพรในอาณาจักรโคกูริว ซิลลา และเพ็กเจของเกาหลี โดยไดยกยองใหเปนศาสนา
69

ประจําชาติ และไดเฟองฟูตอมาในยุคอาณาจักรโคริว ตอมา แมวาจะไมไดเปนศาสนา


ประจําชาติในยุคอาณาจักรโชซอน แตความเชื่อในพุทธศาสนาก็ไมเสื่อมถอยลง เพราะ
ผูคนยังใหการนับถือและบูชาเรื่อยมาจนถึงสังคมยุคใหมในปจจุบัน
พุทธศาสนามิไดจํากัดเปนเฉพาะลัทธิความเชื่อขนบธรรมเนียมประเพณีและแนว
ทางการดําเนินชีวิตเทานั้น แตยังรวมไปถึงพระไตรปฎก สถาปตยกรรม และวัฒนธรรม
ทางวัตถุที่เกี่ยวของ รวมทั้งการปกครองและสังคมของพระสงฆ ฆารวาส และแนวทาง
การปฏิสัมพันธระหวางพุทธมามกะทั้งหลาย ดังนั้น เกาหลีรับเอาพุทธศาสนาจากจีนไป
วัฒนธรรมดังกลาวขางตนก็มีอิทธิพลเหนือสังคมเกาหลี
อยางไรก็ตาม มีขอมูลที่ชี้ชัดวา การเผยแพรพุทธศาสนามิใชเปนแบบทางเดียว
คือจากจี นไปสูเกาหลีเทานั้น แตมี หลัก ฐานที่พิสู จนได วา พระเกาหลีได ก ลับเขา ไป
เผยแพรพุทธศาสนาในจีนอีกดวย
นอกจากลัทธิขงจื้อและพุทธศาสนาแลว อิทธิพลของลัทธิความเชื่ออื่นๆ เชน
ลัทธิเตา ลัทธิเนติธรรม รวมทั้ง ความเชื่อเรื่องบรรพบุรุษ ตลอดจนพิธีกรรมและ
ขนบธรรมเนียมประเพณีที่เกี่ยวของกับความเชื่อที่คนจีนบางกลุมยอมรับและประพฤติ
ปฏิบัติตามนั้น ก็ไดสงผานไปยังเกาหลีเชนกัน
4. การคาขาย
การคาขายระหวางจีนกับสังคมบนคาบสมุทรเกาหลีไดกระทํากันนับตั้งแตมีการ
กอตั้งอาณาจักรกันขึ้นกอนคริสตกาล แมวาในยุคนั้นการแลกเปลี่ยนแบบสิ่งของตอ
สิ่งของ (barter system) ไดปรากฏเปนรูปแบบที่เดนชัดกวา ทั้งนี้เพราะ ดินแดน
คาบสมุทรเกาหลีนั้ น ผู คนทํามาหากิ นด วยการหาของปา ลาสั ตว และทํ าการเกษตร
ผลผลิตที่ผลิตขึ้นจะคลายคลึงกัน หากมีความจําเปนก็จะใชการแลกเปลี่ยนผลผลิตที่
แตกตางกัน
เมื่อคณะทูตชาวเกาหลีในแตละอาณาจักรนําของไปบรรณาการ ณ.เมืองหลวง
ของจีน ก็จะมีกลุมพอคาวาณิชที่รวมขบวนนําของและสินคาไปขาย สินคาที่นําไปจาก
ชนเผ าตางๆ เพื่อจํา หนายยังเมืองจี น ได แ ก ของป า (น้ําผึ้ ง งาช าง พั น ธุไม พื้นเมือง)
เนื้อสัตว เขากวาง แรธาตุ และสินคาพื้นเมืองซึ่งมีราคาต่ําเพราะเปนสินคาที่มีคุณภาพ
ไมไดมาตรฐาน แตหายาก โดยจีนไดเปดโอกาสให “คนเถื่อน” นําสินคาของตนเขาไป
ขายในเมืองหลวง สินคาเหลานั้นจะไดราคาสูง สรางผลกําไรใหแกเหลาพอคาวาณิช
70

ผูติดตาม อันเปนเสมือนการใหรางวัลแกผูแทนที่มาจากอาณาจักรคนเถื่อน (อนารยชน)


เหลานั้น อยางไรก็ตาม โอกาสที่จะกระทําไดอยางนี้มีอยูอยางจํากัด เชน ปละครั้ง หรือ
ตามวาระที่ตองนําเครื่องบรรณาการไปยังเมืองหลวงของจีน
ในหนังสือประวัติศาสตรของสามอาณาจักร (Samguk Sagi – History of the
Three Kingdoms) ไดระบุวา… ในปที่ 3 ของการปกครองของกษัตริยซองดกแหง
อาณาจักรสหพันธรัฐซิลลาไดสงเห็ดสนไปเปนบรรณาการแกพระเจากรุงจีนเพื่อใชใน
การปรุงยา เห็ดที่วานี้เปนของมีคามากเพราะอรอยและมีคุณคาทางอาหารสูง (เปนสินคา
ที่มีราคาแพงมากแมในยุคปจจุบัน ราวกิโลกรัมละ 333 – 500 เหรียญสหรัฐทีเดียว เห็ด
สนนี้ใชปรุงเปนอาหารและเปนยานับแตครั้งโบราณกาล)
ในยุคแรกของการคาขายระหวางจีน – เกาหลี มีปริมาณและมูลคานอยมากตอป
ทั้งนี้เปนเพราะการคมนาคมขนสงไมสะดวก ระยะทางจากคาบสมุทรเกาหลีไปยังกรุง
ปกกิ่งก็ยาวไกล คนเถื่อนชาวเกาหลีก็ไมมีเงินตราของจีนที่จะซื้อสินคาจากจีน สวนใหญ
จะเอาของปา สินคาพื้นเมือง และแรธาตุไปแลกกับสินคาจากจีน
ในยุคราชวงศเซี๊ยและราชวงศชาง จีนมีความเจริญรุงเรืองและเปนศูนยกลาง
การคาของโลกตะวั นออก ทั้งนี้ เพราะจี นสามารถผลิ ตสิ น คาทางการเกษตร ผ าไหม
ภาชนะ และเครื่องใชที่ทําจากโลหะสัมฤทธิ์ (ทองแดงผสมดีบุก) อาวุธ ฯลฯ และมีการ
ใชเหรียญกษาปณขึ้นในยุคราชวงศฮั่น ดวยความรุงเรืองดังกลาวทําใหพอคาบางคนหา
ซื้อของและเครื่องมือเครื่องใชเอาไปขายในอาณาจักรทั้งสามของเกาหลี
จีนสงสินคาไปขายใหแกเกาหลีโดยขนสงไปทั้งทางบกและทางทะเล การขนสง
ทางบกจะตองสงผานไปยังแหลมเหลียวตุงขามไปยังเกาหลี ซึ่งมีหนทางยาวไกลมาก
เพราะตองออมขึ้นไปทางทิศเหนือกอนที่จะขามเทือกเขาเพ็กดูเขาไปยังเกาหลี ในขณะที่
เสนทางเดินเรือผานทะเลเหลืองมีความยาวเพียง 180 กม.
การคาระหวางจีน – เกาหลีดําเนินเรื่อยมาจนถึงคริสตศตวรรษที่ 19 อยางไรก็
ตามปริมาณและมูลคานั้นไมไดเพิ่มมากนัก ทั้งนี้อาจเปนเพราะจีนมักจะตอสูกันเอง
ภายในเพื่อแยงชิงความเปนใหญ ทําใหจีนออนแอ แตหากเปนชวงที่จีนมีความเขมแข็ง
ขึ้น พอคาชาวจีนก็จะออกไปซื้อขายแลกเปลี่ยนสินคากับเกาหลีมากขึ้น
เกาหลียังคงมีความสัมพันธ กับ จีนเปนปกติแมวาจีนจะพ ายแพตออังกฤษใน
สงครามฝนเมื่อ ค.ศ. 1841 แตตอมาในป ค.ศ. 1895 ก็ไดยุติความสัมพันธในฐานะเปนรัฐ
71

บรรณาการตอกรุงปกกิ่งเมื่อจีนพายแพสงครามกับญี่ปุน โดยจีนตองเซ็นสนธิสัญญาชิโม
โนเซกิ กั บ ญี่ ปุ น ที่ ใ ห จี น รั บ รองเอกราชของเกาหลี และยกเลิ ก การเรี ย กบรรณาการ
จากนั้น ญี่ปุนก็มีอิทธิพลเหนือเกาหลีมากขึ้นจนกระทั่งเกาหลีตกเปนอาณานิคมของ
ญี่ปุนในป ค.ศ. 1910

ความสัมพันธระหวางจีนกับญี่ปุน
สั ง คมและวั ฒ นธรรมของญี่ ปุ น มี รู ป แบบและลั ก ษณะไม ส ลั บ ซั บ ซ อ นในยุ ค
แรกเริ่มกอตั้งเปนประเทศ ตอมา เมื่อไดรับอิทธิพลจากจีนโดยผานทางเกาหลี ซึ่งเปน
เสมือนการไหลบาของวัฒนธรรมที่สูงเดนไปสูดินแดนที่ดอยความเจริญ กอใหเกิดการ
รับเอาวัฒนธรรมจีนมาใชในชีวิตประจําวันอยางกวางขวางและรับเอาวัฒนธรรมจีนมา
ใช ใ นชี วิ ต ประจํ า วั น อย า งกว า งขวางจนทํ า ให นั ก วิ ช าการชาวตะวั น ตกเข า ใจไปว า
วัฒนธรรมจีนและวัฒนธรรมญี่ปุนมีคุณลักษณะเปนอันหนึ่งอันเดียวกัน (14) อยางไรก็
ตาม เมื่อเวลาผานไป สังคมญี่ปุนมีความสลับซับซอนมากขึ้น อัตลักษณของสังคมและ
วัฒนธรรมญี่ปุนก็ไดกอตัวและโดดเดนขึ้น และแตกตางไปจากของจีน ของเกาหลี และ
ของสังคมเอเชียอื่นๆ จนกลายเปน “ญี่ปุน” อยางชัดเจน ทั้งนี้อาจเปนผลมาจากการที่
ญี่ปุนเปนเกาะ แยกตัวออกจากแผนดินใหญ ทําใหกระแสของการถายเททางวัฒนธรรม
เปนไปไมสะดวกงายดายนักดังประเทศที่มีพรมแดนติดตอกันทางบก อีกทั้งในบางชวง
รัฐบาลของประเทศนี้ไดประกาศนโยบายแยกตัวออกจากสังคมโลกอยางโดดเดี่ยว ก็ยิ่ง
ทําใหเกิดความเปนญี่ปุนมากยิ่งขึ้น ในที่นี้จะขอกลาวถึงอิทธิพลของอารยธรรมจีนที่มีตอ
สังคมญี่ปุนในชวงตนคริสตกาลไปจนถึงคริสตศตวรรษที่ 19 ดังมีรายละเอียดตอไปนี้
จากหลักฐานทางประวัติศาสตรไดระบุวา ประชากรที่อาศัยอยูในญี่ปุนบางสวน
เปนผูอพยพไปจากผืนแผนดินใหญในเอเชียตะวันออก นั่นคือ พวกชนเผาที่อาศัยอยูทาง
ตอนเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือของจีนไดเรรอนออกไปคนหาดินแดนที่อุดม
สมบูรณบนคาบสมุทรเกาหลี และมีคนบางกลุมเดินทางตอไปโดยทางเรือขามชองแคบ
ไปยังหมูเกาะญี่ปุน การอพยพเปนไปอยางตอเนื่องตลอดชวงเวลา 50,000 ปที่ผานมา
นอกจากนี้ ผูอพยพอีกกลุมหนึ่งลองเรือเล็กๆ ไปยังหมูเกาะริวกิวทางตอนใต คนเหลานี้
ไดนําแบบแผนการดํารงชีวิตและวัฒนธรรมของชนเผาของตน ผสมผสานกับของจีนใน
แถบที่ราบลุมภาคกลางหรือเขตจงหยวนไปใชในบริบทของญี่ปุน
72

ในชวงตนของคริสตกาล คนจีนไดบันทึกวา ในยุคราชวงศฮั่น (ตรงกับครึ่งหลัง


ของยุคยาโยยของญี่ปุน) นั้นจีนเรียกญี่ปุนวา เปนดินแดนของพวกวา (คําวา วา แปลวา
คนแคระ) อีกทั้งไดบรรยายตอไปวา ผูคนพวกนี้อาศัยกระจัดกระจายกันกวา 300 แหง
นั่นแสดงใหเห็นวา มีการอยูรวมกันเปนกกเปนเหลาทั่วไปบนเกาะญี่ปุน อนึ่ง ในป ค.ศ.
57 มีชาวญี่ปุนกลุมหนึ่งเดินทางไปเฝาพระเจากวางวู ผูกอตั้งราชวงศฮั่นตะวันออก (ค.ศ.
25 – 220) พระองคทรงมอบตราพระราชลัญจกรทองคําใหเปนที่ระลึก (ซึ่งในป ค.ศ.
1784 ไดมีการขุดคนพบตราพระราชลัญจกรในทุงนาใกลกับเมืองฮากาตะทางตอนเหนือ
ของเกาะคิวชู ทําใหเชื่อกันวาบันทึกนี้เปนความจริง)
บันทึกของจีนไดกลาวตอไปอีกวา ในคริสตศตวรรษที่ 2 ไดเกิดการจลาจลขึ้นใน
ดินแดนแหงพวกวา จึงอาจตีความไดวา มีการตอสูเพื่อแยงชิงความเปนใหญขึ้น เพราะ
ในศตวรรษที่ 3 พวกวามีอยูเพียง 30 กกเทานั้น และตางรวมตัวกันอยางหลวมๆ ภายใต
การนําของพระนางพิมิโกะหรือฮิมิโกะ ทําใหเรารูวัฒนธรรมของพวกวานี้วา เปนพวก
ชอบกินผักสด เดินทางดวยเทา ขุดหลุมฝงศพเปนเนินดินแลวตกแตง ตบมือแสดงความ
เคารพตอคามิ (เทพเจา) ซึ่งเปนการสงขาวสาร และการหมอบหรือคุกเขาลงโดยใชสอง
มือวางอยูบนพื้นเพื่อแสดงความเคารพ จึงกลายเปนขนบประเพณีดั้งเดิมของญี่ปุน (15)
ในยุคยาโยย ชนเผาตังกัสจากที่ราบทางเหนือของแผนดินใหญไดนําเอารูปแบบ
ของหลุมฝงศพที่มีลัก ษณะเปนรูปรูกุญแจเขาในญี่ปุน ทําใหคนญี่ปุนไดนํามาใช ดั ง
ตัวอยางเชน หลุมฝงศพของนินโตกุ (tomb of Nintoku) ซึ่งปรากฏมีหลักฐานที่สามารถ
ตรวจสอบได วัฒนธรรมหลุมฝงศพรูปกุญแจมีความเกี่ยวของกันระหวางจีนและญี่ปุน
โดยชนเผาตังกัสไดนํารูปแบบหลุมฝงศพนี้เขามาในญี่ปุนโดยผานทางเกาหลีนับตั้งแต
คริสตศตวรรษที่ 3 เรื่อยมาจนถึงคริสตศตวรรษที่ 7
ลัทธิขงจื้อไดเขาไปในญี่ปุนและกลายเปนแบบแผนการดํารงชีวิตของชาวอาทิตย
อุทัยตั้งแตเริ่มตนคริสตกาล ตอมา เมื่อพุทธศาสนาเขาสูจีนโดยผานทางเอเชียกลางเมื่อ
ราวคริสตศตวรรษที่ 1 ในสมัยราชวงศฮั่นและไดแพรกระจายเขาไปยังเกาหลีในยุคสาม
อาณาจักร จนกระทั่งในป พ.ศ. 552 กษัตริยจากอาณาจักรเพ็กเจ ไดสงพระพุทธรูปและ
สิ่งของที่เกี่ยวกับพุทธศาสนาไปใหเปนของกํานัลเพื่อแลกเปลี่ยนขอเสนอขอหนึ่งวา วัน
หนึ่งญี่ปุนจะสงกองทหารไปชวยรบตอสูกับศัตรู นั่นคือ อาณาจักรซิลลา
73

ยุคนั้นเรียกวา ยุคอาสุกะ (ค.ศ. 552 – 710) ซึ่งมีตระกูล 3 ตระกูลที่รวมกัน


ครอบครองความเปนใหญ คนในตระกูลโซกะ (Soga) ไดยอมรับพุทธศาสนา แตตระกูล
โมโนโนเบะ (Mononobe) และตระกูลนากาโตมิ (Nagatomi) คัดคานเพราะยังคงยึดถือ
ศาสนาชินโตวาเปนศาสนาประจําชาติ ดังนั้นจึงมีการตกลงกันใหตระกูลโซกะทดลอง
นําพุทธศาสนาไปปฏิบัติใช ตอมาเมื่อลูกของตระกูลโซกะมีชัยในการตอสูกับตระกูลอื่น
ในการรบที่เมืองชิกิเซนเมื่อป ค.ศ. 587 พุทธศาสนาจึงไดรับการยกยองและนําไปใช
อยางกวางขวางในราชสํานัก ตอมาเจาชายโชโตกุ (Shotoku) วัย 21 ปและในเวลาตอมา
ไดรับการสถาปนาเปนกษัตริย ชื่อ พระเจาโชโตกุไทชิ (Shotoku Taishi ค.ศ. 572 – 622)
ผูซึ่งไดรับความนิยมยกยองวามีชื่อเสียงพระองคหนึ่งของประวัติศาสตรญี่ปุน ทรงเปนผู
เลื่อมใสในพุทธศาสนาและทรงศึกษาคําสอนจากพระที่มาจากเกาหลี อีกทั้งพระองคมี
ความสัมพันธอยางใกลชิดกับราชวงศสุยของจีน ทําใหพุทธศาสนาเจริญรุงเรืองในญี่ปุน
นับแตนั้นมา และพระองคไดสรางวัดโฮริวจิในป ค.ศ. 607 ซึ่งถือวาเปนการลอกแบบ
สถาปตยกรรมของจีนไปไวในญี่ปุนเปนครั้งแรก วัดนี้มีชื่อเสียงยิ่งแมในยุคปจจุบัน
ในขณะเดียวกัน พระองคทรงศึกษาคําสอนของลัทธิขงจื้อ ทําใหลัทธิขงจื้อมี
อิทธิพลตอญี่ปุนมากเชนกัน อนึ่ง พระองคทรงนําเอาระบบการเมือง ศาสนา และศิลปะ
จากจีนเขาไปเปนแมแบบ ดวยการกระทําภารกิจเสร็จสิ้น 3 อยางคือ (1) เขียน
รัฐธรรมนูญ 17 มาตรา (ตามหลักคําสอนของขงจื้อ) (2) นําระบบตําแหนง (cap ranks)
มาใชในราชสํานัก และ (3) สงคณะทูตกลุมแรกไปยังจีนในนามประเทศญี่ปุนเมื่อป ค.ศ.
607 โดยใหนายโอโนโน อิโมโกะ นําพระราชสาสนไปถวายแกจักรพรรดิแหงราชวงศ
สุย ความวา …The emperor of the sunrise country writes to the emperor of the sunset
country……..และทูตไดนําจดหมายและหนังสือของจีนกลับไปถวายจักรพรรดิญี่ปุน
นั่นหมายความวา ญี่ปุนยุคอาสุกะไดตั้งตนเปนประเทศที่เปนอิสระ มีฐานะเทียบเทากับ
กษัตริยของจีน มิใชเปนรัฐบรรณาการของจีนดังเชนอดีตตอไป
อาจสรุปไดวา ในชวงแรกญี่ปุนไดรับเอาพุทธศาสนาจากจีนผานเขามาทางเกาหลี
ตอมา เมื่อติดตอกับจีนได ก็นําความรูทางศาสนาและนิกายซึ่งมีอยูมากมายมาจากจีน
โดยตรง สวนอิทธิพลของลัทธิขงจื้อที่ไดมา แมจะไมเดนชัดเทากับพุทธศาสนา แตก็มีผล
ตอแนวความคิดทางการเมืองและสถาบันการเมืองของญี่ปุนอยางตอเนื่องมาจนตราบเทา
ทุกวันนี้
74

สําหรับการนําระบบการปกครองของจีนมาใชนั้น มีขอแตกตางระหวาง 2 สังคม


นี้คือ ระบบการสอบเขารับราชการของจีนนั้น เปดใหสิทธิ์แกทุกคนอยางเทาเทียมกันใน
การเขาสอบคัดเลือก แตของญี่ปุนและเกาหลีอนุญาตใหเฉพาะลูกหลานของขุนนาง
เทานั้นที่มีสิทธิ์สอบ
อนึ่ง ในชวงตนคริสตศักราช ความรูทางดานการแพทย ยารักษาโรค วรรณคดี
ศิลปวัฒนธรรมของจีนเขาไปสูญี่ปุนมากมาย ทําใหสมาชิกในราชสํานักญี่ปุนจําเปนตอง
มีความรูในภาษาจีนอยางแตกฉาน เพราะภาษาเปนเครื่องมือสําคัญในการเรียนรูศิลป
วิทยาการและศิลปวัฒนธรรมของจีน ดวยเหตุนี้ภาษาจีนจึงกลายเปนภาษาเขียนของคน
ญี่ปุนไป ทั้งนี้เพราะญี่ปุนในยุคนั้นยังไมมีตัวอักษรที่เปนของตนเอง
ความเฟองฟูของพุทธศาสนาในญี่ปุนยุคนารา (ค.ศ. 710 – 794) ทําใหกลายเปน
ศาสนาประจําชาติ ตอมาเมื่อวัดโฮริวจิถูกไฟไหม จึงมีการสรางขึ้นมาใหม พรอมกับ
สรางวัดอีก 2 แหง คือ วัดโทไดจิ และวัดโกฟูกูจิในป ค.ศ. 708 อนึ่ง ในสมัยจักรพรรดิ
โชมู มีพระจีนชื่อ กันจิน (Gunjin) ไดเดินทางมายังเมืองนารา และไดสรางนิกายริทสุ
(Ritsu) ขึ้น ตอมาไดเปน “นิกายนารา” ไปในที่สุด
ในสมัยเฮอัน (ค.ศ. 794 – 857) พุทธศาสนาไดรับการพัฒนาตอไป โดยเฉพาะ
อยางยิ่งเมื่อจักรพรรดิกัมมู (Kammu) ขึ้นครองราชย มีพระญี่ปุน 2 รูป ชื่อ ไซโช และกู
ไก เดินทางกลับจากจีนในป ค.ศ. 805 หลังจากไดไปศึกษาพุทธศาสนาในประเทศจีน
พระไซโชไดสรางนิกายชื่อ เทนโด (หมายถึง heavenly platform) สวนพระกูไกสราง
นิกายชื่อ ชินกอน (หมายถึง true word) ขึ้นในญี่ปุน ในขณะเดียวกันมีการสงทูตไปยังจีน
ดวย ในกลุมทูตนี้มีพระชื่อ เอนนิน (Ennin) ซึ่งเปนพระที่มีชื่อเสียงมากไดเดินทางไป
ดวย พระเอนนินไดขึ้นไปบนภูเขาทรูใตเพื่อศึกษาพุทธศาสนา และศึกษาพระธรรมจาก
พระจีนและพระอินเดียในเมืองฉางอัน เมืองหลวงของพระราชวงศถังเปนเวลานานหลาย
ป ตอมาพุทธศาสนาในจีนประสบกับปญหาในระหวางป ค.ศ. 841 – 845 ในสมัยของ
จักรพรรดิวูช อง พระเอนนินได นําเอาพระไตรปฎกและวัตถุล้ํ าคาในการบู ชาเข าไป
เผยแพรในญี่ปุน รวมทั้งไดตั้งนิกายใหมชื่อ ไดชี (Daishi หมายถึง great teacher) ขึ้น ใน
สมัยเฮอันนี้พุทธศาสนาและภาษาจีนรุงเรืองสูงสุด
เมื่อมีการประดิษฐตัวอักษรญี่ปุน หรือที่เรียกวา อักษรคานะ (kana) ขึ้นใน
ตอนกลางคริสตศตวรรษที่ 9 คนญี่ปุนก็เริ่มใชอักษรของตนเองในการเขียนรวมกับอักษร
75

จีน (kanji) นําไปสูการเขียนนิยายที่มีชื่อเสียง ชื่อ Tales of Genji ในป ค.ศ. 1008 ทําให
ญี่ปุนไดพัฒนาภาษาของตนเองขึ้นเพื่อใชในการเขียนสื่อสารในสังคมอยางกวางขวาง
จากนั้นอิทธิพลทางวัฒนธรรมของจีนตอญี่ปุนก็เริ่มลดนอยลงเปนลําดับ ทั้งนี้เปนผลมา
จากการผสมผสานวัฒนธรรมของจีนเขากับวัฒนธรรมทองถิ่น และกลายเปนวัฒนธรรม
ของญี่ปุน ในขณะเดียวกันญี่ปุนก็เริ่มติดตอกับอินเดียไดโดยตรงเมื่อประสงคที่จะเรียนรู
พุทธศาสนา
เมื่อชาวมองโกลสามารถยึดอํานาจและกอตั้งราชวงศหยวนขึ้น กษัตริยมองโกล
ไดเรียกรองใหญี่ปุนสงบรรณาการเพื่อแสดงความจงรักษภักดีในฐานะรัฐบรรณาการตอ
จีนดังเชนอดีต แตญี่ปุนปฏิเสธ จึงไดใชกําลังรุกรานญี่ปุน 2 ครั้ง เมื่อการบุกญี่ปุนไมได
รับความสําเร็จ อีกทั้งเหลานักรบมองโกลไดใหความสนใจในการรุกรบดินแดนทางทิศ
ตะวันตกจนถึงยุโรปมากกวา ทําใหสถานภาพของญี่ปุนโดดเดนขึ้น และกลายเปนชาติมี
ความเขมแข็งชาติหนึ่งในซีกโลกตะวันออก
ญี่ปุนธํารงความเปนอิสระและความยิ่งใหญเมื่อโชกุนฮิเดโยชิสามารถรวบรวม
แวนแควนตางๆ เขาเปนอาณาจักรหนึ่งเดียวกันไดในคริสตศตวรรษที่ 16 หลังจากนั้นก็
ดําเนินนโยบายแยกตัวเองออกเปนอิสระในยุคโชกุนโตกุกาวา จนกระทั่งเมื่อมีการเปด
ประเทศในยุคเมจิ ญี่ปุนก็เริ่มเสริมสรางพลังอํานาจ และเริ่มขยายดินแดนออกไปนอก
เกาะญี่ปุน ในที่สุดก็ทําสงครามกับจีนในป ค.ศ. 1895 ดังจะไดกลาวอยางละเอียดในตอน
ตอไป
สําหรับการคาขายระหวางจีนกับญี่ปุนนั้นไดกระทํากันมาชานาน โดยในยุคตน
พอคาจีนนําสินคาสงไปขายโดยทางเรือ สวนใหญจะเปนอาวุธที่ทําดวยโลหะและเหล็กที่
ไดรับการพัฒนาในจีนจนเปนอาวุธที่มีประสิทธิภาพและคุณภาพสูง ในยามสันติ สินคา
ที่นําไปขายไดแก เครื่องมือทางการเกษตร สินคาฟุมเฟอย ดังเชน เสื้อผา ผลิตภัณฑที่ทํา
ดวยแล็คเกอร หัตถกรรม ทองแดงที่ใชทําเปนเงิน-เหรียญกษาปณ เหล็ก ผา ยา หนังสือ
และรูปภาพ เปนตน สวนเงินตราที่ใชเปนสื่อกลางการซื้อขายจะใชเงินสกุลของจีน
สินคาออกของญี่ปุนไปยังจีน ไดแก ทองแดง กํามะถันเพื่อใชเปนวัตถุดิบ และ
พัด เปนตน การคาขายระหวางจีนกับญี่ปุนไดกระทํากันเปนล่ําเปนสันในยุคราชวงศซอง
และราชวงศหมิง สวนในยุคโตกุกาวาที่ญี่ปุนไดยึดถือนโยบายปดประเทศนั้น การคาขาย
76

กับ จี นในยุ คราชวงศชิ งมีเพียงเล็ก น อยที่เกาะเดจิ มาในอ าวนางาซากิ เพราะญี่ ปุ นไม
ตอนรับคนตางชาติ

มังกรสิ้นฤทธิ์

การเปลี่ยนแปลงครั้งใหญ: จุดพลิกผันทางประวัติศาสตร
ขอกลาวอีกครั้งหนึ่งวา ที่ราบลุมบนฝงแมน้ําเหลือง (แมน้ําฮวงโห) เปนที่อยู
อาศัยของผูคนมานานหลายพันปแลว จนกระทั่งป 221 กอนคริสตศักราช กษัตริยแหง
ราชวงศฉินไดรวบรวมแวนแควนเปนอาณาจักรจีนขึ้นเปนครั้งแรก แตก็ธํารงความเปน
ปกแผนไดจนถึงป 206 หรือราว 15 ป ก็ลมสลาย ตอมา ราชวงศฮั่นไดยึดอํานาจและเขา
ครอบครองดินแดนที่มีความอุดมสมบูรณแหงนี้เปนเวลายาวนานกวา 400 ป (ป 202
กอนคริสตศักราช – ค.ศ. 220) จะเห็นไดวาอาณาจักรเหลานี้ไดขีดเสนกั้นอาณาเขตเปน
ประเทศของตน อันเปนที่ยอมรับกันทั่วไปนับตั้งแตป 221 กอนคริสตศักราชมาแลว
ในขณะที่ดินแดนบนคาบสมุทรเกาหลีและญี่ปุนเพิ่งจะเริ่ม กอตัวเป น รู ปเปน รางขึ้ น
ในชวงรอยตอแหงคริสตกาลนี้เอง
เหตุการณทางประวัติศาสตรที่เริ่มตนตั้งแตยุคนี้เรื่อยมาจนถึงคริสตศตวรรษที่ 19
เปนหวงเวลาที่นาสนใจยิ่ง เพราะทั้งจีน เกาหลี และญี่ปุนตางไดสรางความเปนชาติของ
ตนเองขึ้นและสรางสรรควัฒนธรรมและอารยธรรมของแตละชาติอยางรวดเร็ว ยิ่งใน
ตอนปลายของช วงเวลาดั ง กลา ว หรื อนั บ ตั้งแต คริ ส ต ศ ตวรรษที่ 16 เปน ต น มา
สถานการณของเอเชียตะวันออกไดแปรเปลี่ยนไปแทบพลิกหนามือเปนหลังมือเมื่อโลก
ตะวันตกไดแผอิทธิพลครอบคลุมโลกตะวันออก ภาพความโดดเดนของอารยธรรมของ
ซีกโลกนี้ถูกบดบังและวัฒนธรรมบางอยางถูกลบทิ้ง ยังผลใหเกิดการตอสูระหวางคนผิว
เหลืองดวยกันเองกลายเปนการประหัตประหารกันและกันเพราะตางอิงกับอารยธรรม
ภายนอก และตองตอสูกับชนผิวขาวผูซึ่งมีอาวุธและวัฒนธรรมที่เหนือกวา กอใหเกิดการ
ลมสลายของจักรวรรดิจีน ในทางตรงขาม การปรับตัวของญี่ปุนไดพลิกฟนกลายเปนผู
ชนะโดยใชแรงผลักจากภายในผนวกกับการผูกมิตรกับชาติตะวันตกแทนการเปนเบี้ย
ลางของชนผิวขาวอยางไรศักดิ์ศรีเฉกเชนประเทศตางๆ ในเอเชีย แอฟริกา และลาติน
อเมริกา ทําใหอาณาจักรอาทิตยอุทัยกลายเปนมหาอํานาจของโลกตะวันออก ในขณะที่
77

เกาหลีซึ่งตั้งอยูทามกลางชาติมหาอํานาจจีน – ญี่ปุน – รัสเซีย ไดถูกบดบังและถูกยึด


ครองจากชาติที่แข็งแกรงกวาสลับกันไปมาอยางหลีกเลี่ยงไมพน
จุดพลิกผันทางประวัติศาสตรนี้เองที่มีความจําเปนที่จะตองศึกษาอยางใกลชิด
เพื่อจะทําใหเกิดการเชื่อมตอขององคความรูระหวางยุคคริสตศตวรรษที่ 1 – 19 และยุค
กอน-หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 อนึ่ง ในยุคนี้หนวยของการวิเคราะหจะไมขีดวงเฉพาะ
ประเทศที่ ตั้ ง อยู ใ นบริ เ วณเอเชี ย ตะวั น ออก ทั้ ง นี้ เ พราะมี ตั ว แปรสํ า คั ญ ได แ ก ชาติ
ตะวันตกที่เขามาแสวงหาประโยชนในดินแดนดอยพัฒนาในชวงเริ่มแรก และตอมาได
กลายเปนความขัดแยงในหมูชนชาวยุโรปดวยกันเอง จนนําไปสูการประหัตประหารกัน
ในสงครามโลกถึง 2 ครั้ง ตอมาในยุคใหม ไดมีการนําโลกตะวันออกไปสูความเปน
สากล

การวิพากษสังคมตนเองของชาวจีนและการรับอารยธรรมตะวันตก
ความผันผวนของสังคมการเมืองในจีนนับเปนเวลากวา 100 ป (ในชวง
คริสตศตวรรษที่ 19) กอใหเกิดการวิพากษวิจารณถึงสถานภาพของชาติจีนที่เคยยิ่งใหญมา
นานหลายพันปดวยความขมขื่น ดังเชนเฝงไกวเฝนไดเขียนบทความวา

...เมื่อถือตามภูมิศาสตรทั่วไปที่ชาวอังกฤษคนหนึ่งเปนผูรวบรวมขึ้นแลว
อาณาเขตของจีนใหญกวารัสเซียถึง 8 เทา ใหญกวาสหรัฐอเมริกา 10 เทา ใหญ
กวาฝรั่งเศส 100 เทา และใหญกวาบริเตนใหญ (สหราชอาณาจักร) 200 เทา แต
เราก็ยังถูกชาติตาง ๆ 4 ชาตินี้ลบหลูอยางนาละอาย ทั้งนี้ ไมใชเพราะวา
ภูมิอากาศ ปุย หรือแหลงทรัพยากรของเราดอยกวาของเขาเลย แตเปนเพราะคน
ของเราดอยกวาคนของเขาตางหาก... ทีนี้ความดอยของเรานี้มิใชสิ่งที่ฟาทรง
ประทานให แ ก เ ราเลย มั น เนื่ อ งมาจากตั ว เราเองมากกว า ถ า หากว า ฟ า ทรง
ประทานความดอยนี้มาใหเราละก็ นับวาเปนสิ่งที่นาละอายมาก เพราะมิใชเปน
สิ่งที่เราจะแกไขไดเลย โดยเหตุที่ความดอยนี้เราทําใหแกตัวเราเอง จึงเปนสิ่งที่
เราควรจะละอายใหมากยิ่งขึ้นไปอีก แตก็เปนสิ่งที่เราอาจจะแกไขได ถาหากวา
เรารูสึกละอาย ก็ไมมีอะไรที่จะดีไปกวาการทําตัวเราใหเขมแข็ง...
78

ทําไมชาติตางๆ ทางตะวันตกซึ่งเปนชาติเล็กๆ จึงเขมแข็งเลา? ทําไมเราซึ่ง


เปนประเทศใหญจึงออนแอเลา? เราจะตองแสวงหาวิธีที่จะทําใหเสมอภาคกับ
ชาติตางๆ ทางตะวันตกเหลานั้น และขอนั้นก็ขึ้นอยูกับความพยายามของมนุษย
นี่เอง เมื่อคํานึงถึงสถานการณปจจุบันแลว เราก็อาจตั้งขอสังเกตไดหลายอยาง:
เพราะการไมเอาความเฉียบแหลมตางๆ ของมนุษยมาใชนั่นเองจึงทําใหเราดอย
กวาพวกปาเถื่อนทั้งหลาย เพราะเราไมเอาแหลงทรัพยากรธรรมชาติของเรามาใช
ใหเปนประโยชน เราจึงดอยกวาพวกปาเถื่อนทั้งหลาย เพราะเราไมยอมใหมีเขต
กั้นระหวางกษัตริยกับประชาชน เราจึงดอยกวาพวกปาเถื่อน และเพราะการพูด
กับการกระทําของเรายังไมสมกัน เราจึงดอยกวาพวกปาเถื่อน การรักษาเยียวยาจุด
ตางๆ ทั้ง 4 เหลานี้ ก็คือการแสวงหาสาเหตุในตัวเราเอง เราอาจทําใหความดอยนี้
เปลี่ยนแปลงไดในทันทีทันใด ถาหากองคจักรพรรดิจะทรงนําเราในวิถีทางที่
ถูกตองในเรื่องเหลานี้ ไมจําเปนจะตองศึกษาจากพวกปาเถื่อนเลย...

ลุถึงตนคริสตศตวรรษที่ 20 อาณาจักรที่กวางใหญไพศาลซึ่งมีอารยธรรมสูงสง
เปนเสาหลักของโลกตะวันออกไกลที่เคยมีความเขมแข็ง มีความหยิ่งผยองในความ
ยิ่งใหญและเกียรติภูมิของชนชาติของตนไดประสบกับหายนะ เกิดวิกฤตการณและความ
สับสนไปทั่ว ดังมีรายละเอียดโดยยอตอไปนี้
การสิ้นสุดของราชวงศชิงในป ค.ศ. 1911 เปนผลมาจากความออนแอของราช
สํานัก การแยงชิงอํานาจทางการเมือง และการแทรกแซงจากชาติมหาอํานาจตะวันตก
และญี่ ปุ น ก อ ให เ กิ ด กระแสความคิ ด มากมายหลายกลุ ม และต า งฝ า ยต า งช ว งชิ ง
ผลประโยชน เ พื่ อ กลุ ม และพรรคพวกของตนเองเป น สํ า คั ญ โดยแท จ ริ ง แล ว ความ
แตกแยกทางความคิดไดเกิดขึ้นมานานนับตั้งแตจีนไดเผชิญหนากับชาวตะวันตกในตน
คริสตศตวรรษที่ 16 เมื่อปอรตุเกสเขามาโจมตีเมืองทาตางๆ ในแถบกวางตุงในป ค.ศ.
1511 แลว จากนั้น การหลั่งไหลของพวกมิชชันนารีไปยังจีนนับแตนั้นมาก็มีขึ้นอยางไม
ขาดสาย นอกจากนี้การเผยแพรลัทธิคําสอนคริสตศาสนาและการเขาไปติดตอทางการคา
ก็ เ ป น การจุ ด ชนวนที่ ทํ า ให ค นจี น บางกลุ ม เกิ ด ความคิ ด แตกแยกที่ ผิ ด แปลกไปจาก
ความคิดความเชื่อตามประเพณีของชาวตะวันออกไกล สิ่งที่ปรากฏอยางเห็นไดชัดก็คือ
ความเสื่อมสลายเกิดขึ้นจากการรุกรานจากตางชาติทั้งทางตรง (การเขาโจมตีและการยึด
79

ครองดินแดนบางสวน) และทางออม (การลักลอบนําฝนเขาไปขาย) เปนปจจัยหลัก สวน


การแตกแยกทางความคิดและผลประโยชนภายในประเทศเปนความสําคัญลําดับที่สอง
ในกรณีของจีน เมื่อเกิดความลมเหลวในการปกปองประเทศในยุคราชวงศชิง
เพราะกระแสการต อ สู แข ง ขั น ระหว า งมหาอํ า นาจตะวั น ตกในการหาประโยชน จ าก
ประเทศจีน และระหวางกลุมที่ยึดถือระบบศักดินากับมวลชนที่ยากไร ไดมีการจลาจล
ลุกฮือขึ้นหลายครั้งในชวงปลายคริสตศตวรรษที่ 19 เชน การลุกฮือของขบวนการอี้เหอต
วน หรือกบฎนักมวย (Yihetuan) ในระหวางป ค.ศ.1899-1900 การเคลื่อนไหวของ
สมาคมตงเหม็งหุยหรือสันนิบาตจีนเพื่อการปฏิวัติ (China Revolutionary League) ในป
ค.ศ.1905 และการลุกฮือของขบวนการวูชาง (Wuchang uprising) ในระหวางป
ค.ศ.1909-1911 เปนตน มีผูกลาววา มีการจลาจลลุกฮือถึง 100 ครั้ง ทําใหคลื่นแหงการ
ปฏิวตั ิพุงขึ้นสูงและระเบิดในชวงตนของคริสตศตวรรษที่ 20 ในชวงแรกนั้นการปฏิวัติที่
นําโดยชนชั้นกลางภายใตการบัญชาการของ ดร.ซุน ยัดเซน (Sun Yat-sen: 1866-1925)
ซุน ยัดเซน เกิดในครอบครัวชาวนาที่หมูบานซี่เหง อําเภอเซียงชานในจังหวัด
กวางตุง เมื่ออายุได 14 ป เขาไดไปศึกษาที่นครฮอนโนลูลูและฮองกง ทําใหเขาเรียนรู
ทฤษฎีทางการเมืองและสังคมของชนชั้นกลาง ในป ค.ศ.1892 เขาไดรับปริญญา
แพทยศาสตรจากมหาวิทยาลัยในฮองกง จากนั้น เขาเดินทางไปมาเกาและกวางโจวเพื่อ
ปลุกระดมประชาชนตอตานระบอบศักดินาและตางชาติ แตดูภายนอกนั้นคนทั่วไปจะ
รูจักเขาในฐานะเปนหมอรักษาคนไข
พอถึงตนป ค.ศ.1895 เขาไดสรางกองบัญชาการที่ฮองกงเพื่อวางแผนกอการ
จลาจลลุกฮือของมวลชนที่เมืองกวางเจา แตแผนการนี้ไดถูกคนพบในเดือนตุลาคม ทํา
ใหการลุกฮือตองลมเลิกไปและตัวเขาเองก็ตองหนีไปลี้ภัยยังตางประเทศ อยางไรก็ตาม
เขาก็ยังคงดําเนินการเพื่อใหเกิดการเดินขบวนและการกอการรายในเมืองจีนตอไปอยาง
ตอเนื่อง
ในชวงนี้ นักศึกษาจีนที่เรียนอยูในญี่ปุน ยุโรป และอเมริกา ไดรวมตัวกันปลุก
ระดมใหจีนเปลี่ยนการปกครองโดยใหจักรพรรดิอยูภายใตอํานาจรัฐธรรมนูญ แตมิใช
การปฏิวัติลมลางอํานาจกษัตริย ในขณะที่อีกกลุมหนึ่งตองการตั้งประเทศจีนใหเปน
สาธารณรัฐดวยการยกเลิกระบอบกษัตริย ทั้งนี้เพราะเห็นวา ราชวงศชิงเปนรัฐบาลหุน
เชิดของตางชาติ จึงเรียกรองใหมวลชนทําการปฏิวัติ
80

ประชาชนจีนใหการสนับสนุนเพื่อใหเกิดการเปลี่ยนแปลงและปกปองชาติ
บานเมืองของตนอยูแลว จึงไดรวมมือกันสมัครเปนสมาชิกของขบวนการที่ผูนําแตละ
กลุ ม ก อ ตั้ ง ขึ้ น เพื่ อ ลุ ก ฮื อ ทํ า การปฏิ วั ติ สั ง คม ทุ ก กลุ ม มี เ ป า หมายใกล เ คี ย งกั น แม
รายละเอียดจะแตกตางกันไปบาง แตก็ไมทําใหการรวมตัวเพื่อการปฏิวัติเกิดอุปสรรคใน
ยุคแรกเริ่มตัวอยางเชน กลุมของ ดร.ซุน ยัดเซนตั้งเปาหมายหลัก 4 ขอ คือ การขับไล
ราชวงศแมนจูออกไป กอตั้งประเทศเปนสาธารณรัฐ กอบกูและสรางประเทศใหเปน
ป ก แผ น และการแจกจ า ยที่ ดิ น อยา งเป น ธรรมแกทุ ก คน ดั ง นั้ น ทุ ก กลุ ม จึ ง พากั น นํ า
ประชาชนลุกฮือกอการจลาจลขึ้นทั่วประเทศ ในวันที่ 27 เมษายน ค.ศ.1911 และได
สถาปนารัฐบาลชั่วคราวของสาธารณรัฐจีนขึ้นที่เมืองนานกิงเมื่อวันที่ 1 มกราคม
ค.ศ.1912 โดยไดเลือก ดร.ซุน ยัดเซนขึ้นเปนผูนํา ตอมา จักรพรรดิชิงก็ทรงประกาศสละ
ราชย ส มบั ติ ใ นเดื อ นกุ ม ภาพั น ธ และในเดื อ นมี น าคม สาธารณรั ฐ จี น ได ป ระกาศใช
รัฐธรรมนูญขึ้นเปนครั้งแรกโดยไดนับปนั้นเปนปที่หนึ่งแหงสาธารณรัฐใหม
ภายหลังที่จักรพรรดิสละราชยสมบัติ อํานาจของราชสํานักและกลุมขุนศึกผู
นิยมระบอบกษัตริยไดตกอยูในมือของหยวน ชีไข (Yuan Shikai) ผูซึ่งไดนํากําลังเขา
โจมตีสาธารณรัฐจีน ทําให ดร.ซุน ยัดเซนตองลาออกจากตําแหนงประธานาธิบดีในป
ค.ศ.1912 หยวน ชีไขจึงทําหนาที่เปนประมุขของประเทศและดํารงตําแหนงเสมือนหนึ่ง
เป น จั ก รพรรดิ ดั ง นั้ น จี น จึ ง เข า สู ยุ ค ของการปกครองโดยเหล า ขุ น ศึ ก ทางเหนื อ ใน
ระหวางป ค.ศ.1912-1927 อยางก็ไรตาม กลุ มปฏิวัติโดยชนชั้ นกลางและชนชั้ น
กรรมาชีพในแถบยูนนาน กุยโจว และกวางสีก็ประกาศเอกราชและรวบรวมกําลังตอตาน
หยวน ชีไข ตอมา หยวน ชีไขไดเสียชีวิตลง เตา ฉีริ (Duan Qirui) จึงทําหนาที่สืบทอด
อํานาจ โดยไดประกาศยกเลิกรัฐธรรมนูญฉบับชั่วคราวและยุบรัฐสภาในป ค.ศ.1917
อยางไรก็ตาม ดร.ซุน ยัดเซนไดดําเนินการสานตอขบวนการแนวรวมชนชั้นกลาง และได
กอตั้งพรรคกกมินตั๋งขึ้นจนกระทั่งเขาเสียชีวิตในป ค.ศ. 1925
อนึ่ง พรรคคอมมิวนิสตจีนไดกอตั้งขึ้นในวันที่ 1 กรกฎาคม ค.ศ.1921 ภายหลัง
จากที่เกิดความคิดนี้มานานเมื่อกรรมกรจีนทําการตอสูกับการกดขี่ขมเหงและการเอารัด
เอาเปรียบจากนายทุนตางชาติ อํานาจศักดินา พอคาและชนชั้นกลางในจีน เมื่อรัสเซีย
ประสบความสําเร็จในการปฏิวัติในเดือนตุลาคม ค.ศ.1917 ภายใตการนําของเลนิน ทํา
ใหแนวความคิดการปฏิวัติโดยชนชั้นกรรมาชีพและชาวนาไดแพรหลายไปยังคนจีนหัว
81

รุนแรง จึงเกิดขบวนการสี่พฤษภาคม จนกระทั่งไดเปลี่ยนรูปเปนพรรคคอมมิวนิสต ซึ่งมี


ผูนําคือ เหมา เจอตุง ตง บืออู เฉิน ตันชิว เหอ ชูเฮง หวาง จินเมย เตง เอินหมิง และ
ผูนําคนอื่นๆ อีกมากมาย
พรรคคอมมิวนิสตกับพรรคกก มินตั๋งไดรวมมื อกันกวาดลางศัตรูทางเหนื อ
(หมายถึ ง ญี่ ปุ น ) และพยายามเอาชนะกองทั พ ขุ น ศึ ก ทางเหนื อ รวมทั้ ง ได รั บ การ
สนับสนุนจากกลุมที่อยูภาคกลางและภาคใตของจีน ทําใหสามารถไดรับชัยชนะและมี
กําลังเขมแข็งขึ้นอยางรวดเร็วไปทั่วประเทศจีน
ในชวงเวลาเดียวกันนี้ กลุมประเทศจักรวรรดินิยมตะวันตกไดสนับสนุนให
เจียง ไคเชค (Chiang Kai-shek) ผูซึ่งดํารงตําแหนงเปนผูบัญชากองทัพปฏิวัติแหงชาติ
และกําลังทําการสูรบกับขุนศึกฝายเหนืออยูนั้น ทํารัฐประหารตอตานพวกปฏิวัติและมุง
ทําลายพรรคคอมมิวนิสตจีน ทําใหกองกําลังปฏิวัติสายคอมมิวนิสตซึ่งไมมีอาวุธที่ทันสมัย
ตองพบกับความปราชัยอยางยอยยับ นับเปนการหักหลังของเหลาชนชั้นกลาง พอคาและ
เจาของที่ดินตอเหลากรรมกรชาวนา ทําใหการปฏิวัติในครั้งนั้นประสบความลมเหลว
อยางไรก็ตาม ในชวงป ค.ศ.1927-1937 กองทัพปฏิวัติของเหมา เจอตุงไดสอง
สุมและกอการจลาจลตอตานกองทหารของเจียง ไคเชค ผูซึ่งไดรับการสนับสนุนจาก
สหรัฐอเมริกาที่มอบอาวุธที่ทันสมัยให แตก็ไมอาจเอาชนะไดโดยงาย จึงเปลี่ยนยุทธวิธีตั้ง
ฐานในชนบทลอมเมืองเอาไว
วิกฤติการณทางเศรษฐกิจและการเมืองของจีนไดเปดชองใหญี่ปุนฉวยโอกาส
ขยายเขตยึดครองของตนในมณฑลทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือเพื่อยึดครองภาคเหนือ
ของจีนทั้งหมด ในขณะที่กองกําลังปฏิวัติคอมมิวนิสตไดระดมกําลังเพื่อตอสูกับกองทัพ
กกมินตั๋ง แตก็พบกับความพายแพเพราะดําเนินงานการรบผิดพลาด จําตองเคลื่อนยาย
กองบัญชาการ ทําใหเกิดการเดินทัพทางไกล (The Long March) จากมณฑลเจียงสีไป
ทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือเปนระยะทางถึง 25,000 ลี้ใน ค.ศ.1934 และไดทําลายการปด
ลอมของกองทัพเจียง ไคเชคไดในป ค.ศ.1935 จากนั้นไดตั้งฐานบัญชาการที่เมืองหยาง
อันทางตอนเหนือของมณฑลชานสีขึ้น
82

สงครามตอตานญี่ปุน (ค.ศ.1937-1945)
ญี่ปุนไดสรางสถานการณที่ชื่อ ลูโกวเชียวหรือเรียกวา เหตุการณที่สะพานมาร
โคโปโล (Lugouqiao) ขึ้นเมื่อวันที่ 7 กรกฎาคม ค.ศ.1937 โดยคนจีนที่ถูกญี่ปุนทํารายได
ทําการโตตอบ ญี่ปุนจึงใชเปนชนวนบุกเขาโจมตีจีนอยางขนานใหญ คนจีนจึงพากัน
รวบรวมพลังเขาตอสู และกองกําลังปฏิวัติไดสงคนไปเจรจาใหเจียง ไคเชครวมมือตอสู
กับญี่ปุนผูรุกราน
เมื่อญี่ปุนโจมตีเมืองเซียงไฮ ไดสังหารทุกคนไมวาเด็ก ผูหญิง หรือคนแก และ
ขูวาจะตีเมืองนานกิงเปนเมืองตอไป พรรคกกมินตั๋งกับพรรคคอมมิวนิสตไดรวมมือกัน
ตอตานผูรุกราน อยางไรก็ตาม เจียง ไคเชคกลับยกเลิกขอตกลงความรวมมือกับพรรค
คอมมิวนิสตโดยคาดการณวา ตองการใหญี่ปุนทําลายลางพรรคคอมมิวนิสตใหหมดสิ้น
ดังนั้น ญี่ปุนจึงสามารถยึดเมืองปกกิ่ง เมืองเทียนสิน เมืองเซียงไฮ เมืองนานกิงและเมืองวู
หานไดในป ค.ศ.1937-1938 โดยเฉพาะที่เมืองนานกิงเมืองเดียว ญี่ปุนไดสังหารชาวจีน
กวา 300,000 คนภายในเวลาเพียงหนึ่งเดือนและเผาบานเรือนของประชาชนเสียหายอยาง
ยอยยับ นักประวัติศาสตรไดเรียกเหตุการณนี้วา Rape of Nanjing
กองทัพคอมมิวนิสตตองตอสูกับศึกสองดาน คือ ญี่ปุนดานหนึ่งกับกองทัพกก
มินตั๋งของเจียง ไคเชคอีกดานหนึ่ง ทําใหตองพบกับความลําบากและสูญเสียกําลังพล
มากมาย ถึงกระนั้นก็ตาม กองทัพประชาชนก็มุงมั่นที่จะตอสูเพื่อชาติเพื่อแผนดิน จึงได
เรงการผลิตอาหารเพื่อเลี้ยงปากทอง และเอาชนะตอความยากลําบากดวยตัวเอง พรอม
ทั้งขยายกําลังกองทัพประชาชนทําการตอสูกับศัตรูและสามารถทําลายกองทัพญี่ปุนผู
รุกรานไดอยางมีประสิทธิภาพ จนเอาชนะญี่ปุนไดในเดือนสิงหาคม ค.ศ.1945
ในเดือนกรกฎาคม ค.ศ.1946 เจียง ไคเชคไดประกาศแนวรบโจมตีบริเวณเขต
ปลดปลอยของพรรคคอมมิวนิสต กองทัพคอมมิวนิสตไดใชเวลา 3 ปก็สามารถทําลาย
ลางกองทัพกกมินตั๋งของเจียง ไคเชคไดสําเร็จ และไดสถาปนาเปนประเทศสาธารณรัฐ
ประชาชนจีน (The People's Republic of China) ขึ้นในวันที่ 1 ตุลาคม ค.ศ.1949 โดยมี
เหมา เจ อ ตุ ง เป น ประธานของรั ฐ บาลกลางแห ง ประชาชน (Central People's
Government)
เจียง ไคเชคไดพาพรรคพวกชนชั้นกลางและสมาชิกพรรคกกมินตั๋งหนีไปตั้ง
ประเทศที่ เ กาะไต ห วั น และเกาะเล็ ก ๆ ที่ ตั้ ง เรี ย งรายล อ มรอบ อย า งไรก็ ต าม จี น
83

แผนดินใหญก็ยังคงถือวา ไตหวันเปนดินแดนสวนหนึ่งของจีน เชนเดียวกับฮองกงที่


อังกฤษไดตกลงเซ็นสัญญาเชาเปนเวลา 99 ป และเกาะมาเกาที่ปอรตุเกสไดทําสัญญาเชา
จากจีน ซึ่งจีนถือวาตนเองมีอํานาจอธิปไตยเหนือดินแดนเหลานี้ทั้งหมด และเฝารอวัน
เวลาที่จะผนวกเขาเปนดินแดนของจีนเมื่อถึงเวลาอันควร

จีนในยุคหลังมานไมไผ

ภายหลังที่พรรคคอมมิวนิสตไดยึดอํานาจและทําการปกครองประเทศจีนตั้งแต
เดือนตุลาคม ค.ศ. 1949 เปนตนมานั้น จีนไดเขาสูยุคแหงการเปลี่ยนแปลงครั้งใหญหลวง
และเปนกรณี (showcase) ที่ผูคนทั่วโลกใหความสนใจ อยางไรก็ตาม คนภายนอกไมอาจ
ลวงรูถึงความเปนไปของจีนมากนัก เพราะจีนไดปดประเทศระหวางป ค.ศ. 1949 – 1972
จึงมีการขนานนามวา ประเทศหลังมานไมไผ ที่ปดสนิท (ซึ่งแตกตางจากอดีตที่ใครๆ
สามารถเขาถึงขอมูลของจีนไดโดยงายเพราะเปนสังคมเปด) เมื่อเหตุการณเปนเชนนี้
นักวิชาการและผูสังเกตการณจากทั่วโลกจึงตองเก็บขอมูลผานทางผูหลบหนีออกนอก
ประเทศ จากคําประกาศของรัฐบาล หนังสือพิมพ รวมทั้งเอกสารที่ทางการพิมพเผยแพร
และจากเจาหนาที่ทางการทูตตางประเทศที่ประจําอยูในประเทศจีน ดังนั้น ขอมูลที่ไดรับ
จึงเปนภาพของสังคมจีนที่รัฐบาลประสงคจะใหคนทั่วโลกไดรับรูเฉพาะจากมุมมอง
นั้นๆ เปนสําคัญ อีกทั้งเปนการเสนอขอมูลเพียงดานเดียว ซึ่งอาจจะเปนจริงหรือไมเปน
จริ ง ก็ ไ ด หรื อ อาจเป น สิ่ ง ที่ ช นชั้ น ปกครองเห็ น ว า เป น สิ่ ง ดี ง ามสํ า หรั บ สั ง คม แต ค น
ภายนอกไมอาจรับรูถึงสภาพและความตองการที่แทจริงของคนสวนใหญของสังคมได
ตอมา เมื่อนักวิชาการและสื่อมวลชนสามารถตรวจสอบขอมูลจากมุมมองที่หลากหลาย
ขึ้นภายหลังที่จีนเริ่มเปดประเทศในป ค.ศ. 1972 โดยประธานาธิบดีริชารด นิกสัน แหง
สหรัฐอเมริกาเดินทางไปเยี่ยมเยือนจีนอยางเปนทางการ ซึ่งถือวาเปนครั้งแรกที่ผูนําชาติ
ตะวันตกไดเขาไปในเมืองจีนนับตั้งแตเปลี่ยนแปลงการปกครอง หรือเปนเวลานานถึง
24 ป ทีเดียว ความรูเกี่ยวกับประเทศจีนจึงแพรหลายออกไปสูสายตาของคนทั่วโลก
84

นโยบายการทําใหกลายเปนสังคมคอมมิวนิสต (Socialist transformation)


ก. ความพยายามเบื้องตน (ค.ศ. 1949 – 1966)
ในหวงเวลาเริ่มแรก มีเหตุการณที่เกิดขึ้นบนผืนแผนดินมังกรมากมายที่มีการ
ดําเนินงานใหสังคมประชาธิปไตยเปลี่ยนเปนสังคมคอมมิวนิสตตามแนวคิดของมารกซ
– เลนิน กระบวนการทําใหกลายเปนคอมมิวนิสตนี้ตองอาศัยอุดมการณทางการเมืองที่
แข็งแกรงของเหลาผูนํา อีกทั้งสังคมตองผานการสูญเสียเลือดเนื้อและน้ําตาของผูคนนับ
รอยลาน โดยตองมีการเปลี่ยนแปลงสถานภาพของคนในสังคม เปลี่ยนคานิยม และ
แนวความคิดความเชื่อ รวมทั้งแบบแผนทางเศรษฐกิจและการเมืองจากรูปแบบเกาไปสู
รูปแบบใหมอยางถอนรากถอนโคน นับเปนเหตุการณที่โหดเหี้ยม นาสะพรึงกลัว แต
เป น สิ่ ง ที่ น า สนใจยิ่ ง ที่ สั ง คมในขั้ น สุ ด ท า ยจะเป น ไปดั ง ที่ เ หล า ผู นํ า คาดหวั ง หรื อ ไม
เพียงใด หรือผูคนในประเทศจะมีชีวิตอยูในสังคมชนิดใหมนี้ไดอยางมีความสุขเพียงใด
เนื่องจากในหวงเวลาดังกลาว จีนไดใชความสามารถในการจัดระเบียบทางสังคม
ใหมในทุกระดับ และทําการติดตอกับญี่ปุนและเกาหลีอยางจํากัด ยกเวนในชวงสงคราม
เกาหลี (ค.ศ. 1950 – 1953) ที่จีนใหการสนับสนุนแกเกาหลีเหนือในการทําสงครามกับ
ชาติพันธมิตรที่นําโดยสหรัฐอเมริกา อาจกลาวไดวา ในชวงเวลานี้ จีนไดยึดนโยบาย
แยกตัวเองอยูอยางโดดเดี่ยวเพื่อ “จัดการ” กับกิจกรรมภายในประเทศใหบรรลุเปาหมาย
ของการเป น สั ง คมใหม ที่ ป ระสงค จ ะให บั ง เกิ ด ขึ้ น ในที่ นี้ จั ก กล า วถึ ง แนวทางการ
ดําเนินงาน การจัดการในกระบวนการกลายเปนคอมมิวนิสตของจีนพอสังเขป ดังนี้
(1) โครงสรางทางการเมือง มีผูกลาววา สาธารณรัฐประชาชนจีนมีโครงสราง
ทางการเมืองเปนแบบ เผด็จการของชนชั้นกรรมาชีพ (Dictatorship of the Proletariat) ที่
คลายคลึงกับของสหภาพโซเวียต แตนักวิชาการจีนชื่อ อิมานูเอล ซู (Immanuel C.Y.
Hsu) แยงวา นาจะเรียกเปน เผด็จการประชาธิปไตย (Democratic Dictatorship) เพราะมี
การเลือกตัวแทนจากประชากรกลุมตางๆ ตามกระบวนการประชาธิปไตย แตเปนเผด็จ
การในความหมายของการปฎิวัติตอตานลัทธิทุนนิยม
โครงการของกระบวนการสรางสังคมคอมมิวนิสต เริ่มตนขึ้นในป ค.ศ. 1953
ภายหลั ง ที่ จี น ให ค วามช ว ยเหลื อ เกาหลี เ หนื อ ทํ า สงครามเกาหลี ต อ สู กั บ กองทั พ
สหประชาชาติไดเสร็จสิ้นลงดวยการกําหนดโครงสรางทางการเมืองเพื่อใหสอดรับกับ
การปฏิวัติเพื่อใหบรรลุเปาหมายของการเปนคอมมิวนิสตแบบจีน ดังนี้
85

สภาประชาชนกลางสูงสุด (Central People’s Government Council) เปนองคกร


หลักที่มีอํานาจในดานนิติบัญญัติ บริหาร และตุลาการ องคกรนี้จัดการใหมีการประชุม
เดือนละสองครั้งเพื่อกําหนดนโยบายของรัฐ สมาชิกของสภาประกอบดวยประธานเหมา
เจอตุง รองประธาน 6 คน และสมาชิกอีก 56 คนที่ไดรับการเลือกตั้งโดยคณะกรรมการที่
ปรึกษาทางการเมืองประชาชน (People’s Political Consultative Council) ในกรณีที่สภา
ประชาชนกลางสูงสุดไมไดจัดใหมีการประชุมขึ้นก็จะมอบอํานาจใหสภาบริหารของรัฐ
(State Administrative Council) ประกอบดวยสมาชิกราว 20 คนทําหนาที่คลายกับ
คณะรัฐมนตรีทําหนาที่แทนโดยใหอยูภายใตการดูแลของประธานเหมา สภาบริหารของ
รัฐนี้มีนายโจว เอินไหลเปนหัวหนา โดยดํารงตําแหนงเปนนายกรัฐมนตรี และมีรอง
นายกรัฐมนตรีหลายคนทําหนาที่ในการบริหารคณะกรรมการจํานวน 4 ชุด คือ การเมือง
และกฎหมาย การเงินและเศรษฐกิจ วัฒนธรรมและการศึกษา และกิจการของประชาชน
ในขณะที่คณะกรรมการทั้ง 4 ชุดนี้จะทําหนาที่ควบคุมดูแลกระทรวงตางๆ 30 กระทรวง
และคณะผูบริหารขององคกรตางๆ
นอกเหนือจากสภาบริหารของรัฐแลว ยังมีองคกรสําคัญอีก 3 องคกร คือสภา
ทหารเพื่อการปฏิวัติประชาชน ศาลฎีกาประชาชน และสํานักอัยการสูงสุด (Procurator –
general Office)
ในระดับที่ต่ํ าลงมา มีองคก รระดับ จังหวัด และระดับ อําเภอครอบคลุมไปทั่ ว
ประเทศ ในป ค.ศ. 1954 ไดมีการจัดใหมีการเลือกตั้งตัวแทนระดับหมูบานและเมืองเพื่อ
สงไปเปนกรรมการระดับอําเภอ และเลือกตัวแทนของอําเภอไปสูการเปนกรรมการ
ระดั บ จั ง หวั ด จากนั้ น ก็ เ ลื อ กจากระดั บ จั ง หวั ด เพื่ อ เป น ตั ว แทนสภาประชาชนใน
ระดับชาติ
(2) การพัฒนาเศรษฐกิจ สภาพเศรษฐกิจของจีนปนปวนยิ่งในป ค.ศ. 1949 โดย
เงินเฟอพุงสูงขึ้นเกินกวาที่จะควบคุมได อีกทั้งไดเกิดน้ําทวมใหญทําใหเรือกสวนไรนา
เสียหายกวา 30 – 40 เปอรเซ็นต ทําใหผลผลิตอาหารลดลงกวารอยละ 70 – 75 ในขณะที่
ผลผลิตทางอุตสาหกรรมลดลงเหลือเพียงรอยละ 56 เมื่อเทียบกับระดับที่เปนอยูกอน
หนาที่จะเกิดสงครามกลางเมือง ดังนั้น เพื่อแกไขปญหาทางเศรษฐกิจใหไดผล รัฐบาลจึง
สร า งเงิ น ตราใหม ขึ้ น ในเดื อ นพฤษภาคม ค.ศ. 1949 และประกาศห า มใช เ งิ น สกุ ล
86

ตางประเทศทั้งหมด รวมทั้งสรางมาตรการตางๆ เพื่อใหภาวะตกต่ําทางเศรษฐกิจกลับสู


สภาพเดิม และในที่สุดก็ไดรับความสําเร็จระดับหนึ่งเมื่อป ค.ศ. 1950
รัฐบาลไดทําการปฏิรูปที่ดินและสรางระบบคอมมูนในการผลิตพืชผลทางการ
เกษตร อีกทั้งขยายการผลิตดานอุตสาหกรรม ตอมาในป ค.ศ. 1951 ไดสรางแผนพัฒนา
ประเทศหาปฉบับที่หนึ่งขึ้นเพื่อจะประกาศใชในป ค.ศ. 1953 แตก็ไมอาจดําเนินการได
ตามกําหนดจนกระทั่งถึงเดือนกุมภาพันธ ค.ศ. 1955 ทําใหการดําเนินงานของแผนที่หนึ่ง
ทําไดเพียงสองปครึ่ง จากนั้ นก็ประกาศใชแผนพั ฒนาหาปฉบับ ที่สอง (ค.ศ. 1958 –
1962) ตามแนวนโยบายการพัฒนาของประธานเหมา เจอตุงที่เรียกวา ธงแดงสามผืน
กลาวคือ ผืนแรกเปนแนวทางในการสรางสรรคสังคมนิยม ผืนที่สองเปนนโยบายกาว
กระโดด และผืนที่สามเปนการสรางคอมมูนประชาชนใหเปนหนวยพื้นฐานดานการ
ผลิต จากการใชแผนพัฒนาดังกลาวทําใหผลผลิตทางการเกษตรและอุตสาหกรรมเพิ่มขึ้น
มากและรายไดประชาชาติเพิ่มขึ้นถึงรอยละ 50 ในป ค.ศ. 1962
ในเดือนกุมภาพันธ ค.ศ. 1958 สภาประชาชนสูงสุดไดประกาศใช ขบวนการกาว
กระโดด (Great Leap Forward Movement) ควบคูไปกับการใชแผนพัฒนาฉบับที่สอง
ดวยการเน นการสรางคอมมูน และนําประชาชนทุ กหมูเหลาทั้ งที่ เปนขาราชการ ครู
อาจารย นักศึกษา กรรมกร และชาวนา มารวมกันทํางานโดยไมถือชั้นวรรณะ ทําให
เศรษฐกิจจีนไดรับความสําเร็จเปนที่นาพอใจ กลาวคือ ผลิตภัณฑมวลรวมประชาชาติ
เพิ่มจาก 73.8 พันลานหยวนใน ค.ศ. 1952 เปน 123.4 พันลานหยวนใน ค.ศ. 1959 และ
เปน 171.4 พันลานหยวนใน ค.ศ. 1970
ข. การปฏิวัติทางวัฒนธรรม (ค.ศ. 1966 – 1976)
ความพยายามที่จะใหจีนกลายเปนสังคมคอมมิวนิสตไมบรรลุผลสัมฤทธิ์ตาม
เปาหมายในชวงแรก ทั้งนี้เปนเพราะมีแรงตอตานทั้งจากภายในกลุมผูนําและจาก
ประชาชนทั่วไป กลาวคือ เมื่อมีการดําเนินงานตามนโยบายกําจัดระบบทุนนิยมออกไป
นโยบายขจัดคอรรัปชั่น นโยบายใหประชาชนเขามามีสวนรวมทางเศรษฐกิจ สังคมและ
การเมือง และนโยบายสรางระบบคอมมูนนั้น นโยบายเหลานี้หากจะใหไดรับผลสําเร็จก็
ตองใชมาตรการรุนแรงเพื่อยึดทรัพยสินสวนบุคคลมาเปนของรัฐ ทําใหมีผูคนจํานวน
มากไดรับความทุกขระทม บางก็ถูกสังหาร และไดรับความทรมานทั้งกายและจิตใจ อีก
ทั้งบานแตกสาแหรกขาด ในขณะเดียวกัน มีเจาหนาที่ของรัฐจํานวนหลายคนที่รับอามิส
87

สินจางจากบุคคลบางคนใหละเวนการปฏิบัติตามนโยบายตอพวกเขา ขาราชการบางคน
ไดเบียดบังของที่ริบไดไปเปนของตนเอง จึงถูกลงโทษอยางรุนแรง นอกจากนี้ การ
เรียกรองใหมีการสรางระบบคอมมูนกอใหเกิดการฝนความรูสึกของคนบางกลุมที่ไม
ประสงคจะเขารวม แตก็ตองจํายอมกระทําตาม เพราะหากไมยอมกระทําตามก็จะถูก
วิพากษวิจารณหรือถูกลงโทษดวยกระบวนการทางสังคม เปนตน สภาพเชนนี้มีปรากฏ
ใหเห็นอยางดาษดื่น สรางความหดหูใจแกผูพบเห็น โดยเฉพาะอยางยิ่งแกผูนําพรรค
คอมมิวนิสตบางคนที่มองเห็นวาสังคมเกิดความแตกแยกจนเกินขอบเขต ไรมนุษยธรรม
และขาดเสรีภาพพื้นฐานของความเปนมนุษย จึงแสดงความไมเห็นดวย และในบาง
โอกาส อาจคัดคานการกระทําบางอยางที่ฝนความรูสึก เปนตน นอกจากนี้ เหลาผูนําบาง
คนไดตั้งกลุมที่มีความคิดเห็นไมสอดคลองเพื่อขัดขวางนโยบายบางขอ อันอาจนําไปสู
การแบงพรรคแบงพวก และในที่สุดอาจทําใหกระบวนการกลายเปนสังคมคอมมิวนิสต
ลมเหลวลงได
ดังนั้น ประธานเหมา เจอตุงจึงรวมมือกับนายหลิน เปยว (Lin Piao – close
comrade – in – arms) ของโปลิสบิวโรที่เคยรวมรบเคียงบาเคียงไหลมาดวยกันจัดตั้ง
หลั ก การตามกรอบแนวคิ ด ของชาติ ค อมมิ ว นิ ส ต ต อ มาในป ค.ศ. 1965 ได จั ด ตั้ ง
ขบวนการเรดการด (Red Guards) หรือเยาวชนผูพิทักษแดงที่มีสมาชิกเปนเด็กวัยรุนใน
ระดับชั้นมัธยมศึกษา อาชีวศึกษา และมหาวิทยาลัยนับจํานวนหลายลานคนทั่วประเทศ
ใหผละจากการศึกษาเลาเรียนในสถาบันการศึกษามารวมกันสังคายนาสังคมใหเปนไป
ตามหลักการของเหมา เจอตุง หรือตามสมุดปกขาวของเขา เยาวชนเหลานี้ไดปกหลัก

รายชื่อผูดํารงตําแหนงเปนประธานและสมาชิกโปลิสบูโรของพรรคคอมมิวนิสตจีน

พฤษภาคม ประธาน Chen Tu-hsiu


1927 สมาชิก Chang Kuo-fao, Chou En–lai, Chu Chiu–pal, Li Li–san,
Li Wei-han, Su Chao-cheng,Tan Ping-shan, Tsai Ho-sen.
มกราคม ประธาน Chin Pang-hsien
88

1934 สมาชิก Chen Shao-yu, Chou En-Lai, Chu The, Hsiang Ying,
Liang Po-tai, Liu Shao-chi, Mao Tse-tung, Wang Chia-hsiang,
Wu Liang-ping.
ตุลาคม ประธาน Mao Tse-tung
1949 สมาชิก Chang Wen-tien, Chen Yun, Chou En-lai, Chu The, Jen
Pi-shih, Kang Sheng, Kao Kang, Lin Tsu-han, Liu Shao-chi,
Tung Pi-wu.
ตุลาคม ประธาน Mao Tse-tung
1956 สมาชิก Chen Yi, Chen Yun, Chou En-lai, Chu Teh, Ho Lung,
Li Fu-cheng, Liu Shao-chi, Li Hsien-nien, Lin Piao, Lin Tsu-han,
Liu Po-cheng, Lo Jung-huan, Peng Chen, Peng The-huai,
Teng Tsiao-ping, Tung Pi-wu.
สิงหาคม ประธาน Mao Tse-tung
1966 สมาชิก Chen Po-ta, Chen Yi, Chen Yun, Chou En-lai, Chu The,
Ho Lung, Hsu Hsiang-chien, Kang Sheng, Li Ching-chuan, Li Fu-chen,
Li Hsien-nien, Lin Piao, Liu Po-cheng, Liu Shao-chi, Nieh Jung-chen,
Tan Chen-lin, Teng Hsiao-ping, Tung Pi-wu, Yeh Chien-ying.

หมายเหตุ: คัดลอกมาเปนตัวอยางในบางชวงเวลา สวนชื่อที่ขีดเสนใตนั้นเปนชื่อของบุคคลที่


ไดระบุถึงในเนื้อหา เชน โจว เอินไหล หลิว เฉาฉี เหมา เจอตุง หลิน เปยว และ เติ้ง
เสี่ยวผิง เปนตน
ที่มา: Jerome Chen, Mao: Great Lives Observed. New Jersey: Prentice – Hall, Inc., 1969, pp. 58 –
60.

ดําเนินการตามแหลงสาธารณะทุกหนทุกแหงทั่วประเทศ โดยแทจริงแลว ขบวนการนี้


จัดตั้งขึ้นเพื่อทําการตอสูกับกลุมที่ตอตานเหมา เจอตุง (anti – Maoists) (2) ทั้งนี้เพราะ
เหมามีคูแขงทางการเมืองหลายคน
ดังจะเห็นไดจากรายชื่อผูดํารงตําแหนงประธานและสมาชิกโปลิสบูโรของพรรค
คอมมิวนิสตจีนที่มีการเปลี่ยนแปลงอยูเนืองๆ
89

ตัวอยางของการตอสูทางการเมืองเพื่อแยงชิงอํานาจที่เดนชัด ก็คือในกรณีที่นาย
หลิน เปยว ไดรับขอมูลในป ค.ศ. 1962 วา นายหลิว เฉาฉี (Liu Shao-chi) ผูซึ่งดํารง
ตําแหนงเปนรองประธานคณะกรรมการพรรคและพรรคพวก วางแผนการลับเพื่อยึด
อํานาจจากเหมา เจอตุง แตเหมาก็ไมอาจทําอะไรไดมากนักนอกจากพยายามควบคุม
อํานาจการเปนผูนําพรรคไว จนกระทั่งป ค.ศ. 1964 ก็มีการออกขาวโดยผานทางพรรค
คอมมิ ว นิ ส ต จี น ว า นายหลิ ว เฉาฉี จ ะเป น ทายาททางการเมื อ งต อ จากเหมา แต ก ลุ ม
ผูสนับสนุนเหมากลับย้ําวา ไมมีทางที่หลิวจะไดรับอํานาจสูงสุดได และพากันคัดคานใน
ที่ประชุมของพรรคที่จัดขึ้นในวันที่ 25 มกราคม ค.ศ. 1965 และใหสัญญาณวา หลิว
จะตองถูกปลดออกจากการเปนสมาชิกโปลิสบูโร นั่นหมายความวา หลิวจะตองหลุด
ออกจากขั้วอํานาจทางการเมืองสูงสุดของจีนไป และเหมาก็จะไดรับอํานาจสูงสุดมา
ครอบครองอยางเปนเอกภาพอีกครั้งเสมือนกับชวงตนของการกอตั้งเปนรัฐสังคมนิยม
ในป ค.ศ. 1949
ตอมา เมื่อเหมามีอายุครบ 71 ป ใน ค.ศ. 1964 และปวยเปนโรคพาคินสัน เขาได
ใหสัมภาษณสื่อมวลชนตางประเทศวา “อีกไมนานผมคงจะไปพบกับพระเจาแลวแหละ”
ขาวนี้แพรออกไปก็ยิ่งทําใหเหลาผูสนับสนุนหลิวไดใจ คิดวาอํานาจสูงสุดคงจะตกอยูใน
มือของกลุมพวกเขาในเร็วๆ นี้ จึงไดเขาควบคุมนครปกกิ่งไวอยางเหนียวแนน สวนเหมา
ไดใชนครเซี่ยงไฮดําเนินการเพื่อรักษาอํานาจรวมกับกลุมที่สนับสนุนตนเอง อยางไรก็
ตาม ยุทธการทางทหารระหวางกลุมผูนําทั้งสองฝายไมไดเกิดขึ้น ทั้งนี้เพราะกลุมของ
เหมา – หลิน เปยวไดใชวิธีการทางการเมืองจํากัดการเคลื่อนไหวของหลิวและพรรคพวก
อยางไดผลดวยการชู “บุคลิกภาพการเปนผูนําการปฏิวัติ” ของเหมาตอสาธารณชน อีก
ทั้งหลิน เปยวก็มีอํานาจควบคุมกองทัพอีกดวย หลิวจึงไมอาจกระทําการแข็งขออยางชัด
แจงในความพยายามสรางตนใหเปนใหญเหนือเหมา เจอตุงได
ดังนั้น เหมาสามารถธํารงความเปนผูนําสูงสุดเพราะอิงอํานาจทางการทหารที่
หลิน เปยวทําหนาที่ควบคุมดูแลกองทัพแหงชาติ ในขณะที่หลิวมีอิทธิพลเหนือพรรค
อนึ่ง ในชวงเวลาเดียวกันนี้ เมื่อจีนและโซเวียตไดใหความชวยเหลือแกเวียตนามเหนือใน
การทําสงครามกับสหรัฐอเมริกาและเวียตนามใต การสรางขบวนการเรดการดจึงกระทํา
ไดโดยงายดวยการชักจูงเยาวชนทั่วทั้งประเทศเทิดทูนตัวเหมาและลัทธิของเขาที่ตอตาน
การรุกรานของประเทศทุนนิยมตะวันตกที่ประสงคจะกลับเขามาครอบครองเอเชียอีก
90

ครั้งในตอนกลางคริสตศตวรรษที่ 20 ขบวนการเรดการดจึงเปนเสมือนการสรางกองทัพ
ปลดแอกประชาชน (People’s Liberation Army) ใหแกโลกคอมมิวนิสตจีนโดยเหมาได
ใชขบวนการเยาวชนนี้ทําลายฝายตรงกันขามหรือศัตรูทางการเมืองของตน
ตอมา หลิน เปยวไดรวมมือกับนางเจียง ชิง (ภรรยานอยของเหมา เจอตุง) และ
พรรคพวกจนไดรับการขนานนามวา Gang of Four (ผูรวมแกง 4 คนไดแก นางเจียง ชิง
นายเหยา เหวิน หยวน นายจาง ชุนเฉียว และนายหวาง หงเหวิน) ดําเนินกิจกรรมทาง
การเมืองดังนี้
(1) ในเดือนพฤษภาคม ค.ศ. 1966 เหลาผูนําพรรค ไดแก นายเผิง เจิน นายหลอ
ยุยชิง นายลุ ติ้งอี้ และนายหยาง ชางคุน คนเหลานี้ลวนเปนผูปฏิบัติงานที่รับผิดชอบดาน
ใดดานหนึ่งของรัฐบาลกลาง ถูกใสรายวา ทําการจัดตั้งกลุมฝายคานในพรรค หรือตั้งตน
เปนหัวหนาของกองบัญชาการชนชั้นนายทุน จึงถูกบริภาษและถอดออกจากตําแหนง
โดยถูกกลาวหาวาพวกเขาเปนปรปกษกับกองบัญชาการชนชั้นกรรมาชีพของประธาน
เหมา
ตอมา นายหลิว เฉาฉี และนายเติ้ง เสี่ยวผิงก็ถูกขับใหลงจากเวทีการเมืองดวย
เชนกัน
(2) ไดมีการกอตั้งคณะกรรมการปฏิวัติ (Revolutionary Committee) ขึ้นและ
แตงตั้งใหนางเจียง ชิงทําหนาที่เปนรองประธานหัวหนาหนวยคนที่ 1 เธอจึงกาวออกจาก
หลังฉากมาอยูหนาฉาก ทั้งๆ ที่เธอไมไดมีตําแหนงใดๆ ในคณะกรรมการกลางพรรคเลย
แตตอนนี้ไดออกมาชี้นิ้วออกคําสั่งตางๆ
(3) เนื่องจากคณะกรรมการปฏิวัติรับผิดชอบตอกรรมการบริหารของกรมการ
เมืองโดยตรง ทําใหนางเจียง ชิงกับกลุมของเธอสามารถทํางานโดยไมตองผานสํานัก
เลขาธิการของพรรคและกรมการเมือง และสามารถทําอะไรไดตามอําเภอใจ
(4) พวกเรดการดไดเขาแทรกแซงกระแสหลักแหงชีวิตทางการเมือง ทําให
กลายเปนปจจัยที่กอใหเกิดความไมสงบและมีลักษณะของการทําลาย เพราะพวกเขาไม
คํานึงถึงกฎหมายและกฎระเบียบใดๆ
สมาชิกเรดการดสวนใหญเปนเยาวชนอายุเพียงสิบกวาป ที่เต็มเปยมไปดวยพลัง
กายและพลังใจ แตบริสุทธิ์ไรเดียงสา พวกเขาซื่อสัตยตอภารกิจสังคมนิยมในจิตใจ โดย
91

นางเจียง ชิงเรียกพวกเขาวา “นายพลนอย” แตสมรรถนะในการวินิจฉัยทางการเมืองต่ํา


มาก ดวยเหตุนี้ จึงถูกใชใหกลายเปนหนวยจูโจมของหลินเปยวและเจียงชิง
การจัดตั้งเรดการด เปนการปฏิบัติตามคําเรียกรองของเหมาที่ใหเปนการ “กอ
กบฏอยางมีเหตุผล” และไดพัฒนาขยายตัวไปอยางรวดเร็วในชวงเวลาสั้นๆ เพียงไมกี่
เดือนก็มีจํานวนกวาสิบลานคน ในชวงแรกเยาวชนเหลานี้ไดกอกบฏกับโรงเรียนและครู
อาจารย จากนั้นก็ออกไปทําลายสถาบันทางสังคมและการเมืองของชาติ
เยาวชนเรดการดไดเดินทางเขามายังเขตเมืองจากทุกสวนของประเทศเพื่อจัดตั้ง
เปนกองพลที่สนับสนุนเหมา ทางการจึงตองจัดพาหนะการเดินทาง ที่อยูอาศัย อาหาร
และเสื้อผา ขอเพียงบนแขนเสื้อติดปลอกแขนสีแดงปกตัวอักษรวา เรดการด เทานั้น ก็
เทากับวาเปนเอกสารสําคัญที่จะเดินทางไปไหนมาไหนไดอยางปราศจากการขัดขวาง
คนที่ติดปลอกแขนชนิดนี้ลวนถือวาตนเองเปนแขกที่ประธานเหมาเชิญมา และทําการ
“กอกบฏตอพวกปฏิกริยาอยางมีเหตุผล” โดยจะเขาทําลายคนเหลานั้นทันที อยางไรก็
ตาม การกําหนดวาคนอยางไรหรือเหตุการณใดที่เปนพวกปฏิกิริยานั้นไมมีมาตรฐานที่
ชัดเจน การตัดสินใจวาใคร/ผูใดเปน นั้นลวนแตยึดถือความคิดเห็นสวนตัวเปนหลัก
โดยมากมักขึ้นอยูกับการตัดสินของหลินเปยว และเจียงชิงเปนผูกําหนดมากกวา
ตามรายงานการคนควาฉบับหนึ่งระบุวา นับตั้งแตชวงหลังเดือนสิงหาคม ค.ศ.
1966 จนถึงเดือนกันยายนปเดียวกัน หรือภายในเวลาเพียง 40 วัน เฉพาะในกรุงปกกิ่ง
แหงเดียวมีประชาชน 1,700 คนถูกทุบตีถึงตาย 33,600 ครอบครัวถูกรื้อคนบานอยางผิด
กฎหมาย และอีก 84,000 คนถูกจัดใหอยูในกลุมบุคคลหาประการที่ไมพึงปรารถนา นั่น
คื อ เจ า ของที่ ดิ น คนที่ ร่ํ า รวย พวกที่ เ ป น ปฏิ ป ก ษ ต อ การปฏิ วั ติ พวกฝ า ยขวา และ
นักวิชาการ คนเหลานี้ไดถูกขับออกจากกรุงปกกิ่งใหไปทํางานในสถานที่ที่ใชแรงงาน
และในไรนา
หลิ ว เฉาฉี ถู ก กล า วหาว า เป น หั ว หน า กองบั ญ ชาการชนชั้ น นายทุ น จึ ง ถู ก
กลาวโทษจากพวกเรดการดมากกวา 100 ขอหา และไดกลาวหานางหวาง กวงเหมย
ภรรยาของหลิวดวยวาใชชีวิตอยางฟุงเฟอ ดังนั้นเขาจึงถูกปลดออกจากตําแหนงและจํา
ขั ง จนถึ ง เดื อ นตุ ล าคม ค.ศ. 1968 ต อ มา คณะกรรมการกลางชุ ด ที่ 8 ของพรรค
คอมมิวนิสตจีนไดผานมติในการประณามเขาวาเปน “คนทรยศ เปนไสศึก และผูทอดทิ้ง
กรรมกร” ตองถูกขับออกจากจงหนานไห เขากับภรรยาถูกแยกกันไปคุมขัง 2 แหง ใน
92

ขณะเดียวกันก็ถูกวิพากษอยางหนักใน “ที่ประชุมการวิจารณของนักตอสูเคลื่อนไหว”
โดยเจาตัวไมมีโอกาสไดเขารวมฟงดวย ตอมา ในวันที่ 17 ตุลาคม ค.ศ. 1969 เขาถูก
ควบคุมตัวไปยังเมืองไคฟงในมณฑล เหอหนันโดยทางเครื่องบินอยางลับๆ และถูกขังอยู
ตามลําพังในบานหลังหนึ่งซึ่งตัดขาดออกจากโลกภายนอก เขาเปนโรคเบาหวานและลม
ปวยลงดวยโรคปอดอักเสบ จากนั้นวันที่ 12 พฤศจิกายน ของปเดียวกัน เขาก็เสียชีวิตใน
ตอนเช า ตรู เ วลา 6.45 น. อดี ต หนึ่ ง ในประมุ ข ของประเทศได ถึง แก ก รรมโดยมี แ ต ผู
ควบคุมเขาเทานั้นที่อยูขางกาย สวนภรรยาและบุตรสาวมิไดรับแจงขาวคราวของเขาเลย
ภายหลังที่เขาลาโลกไปแลวเปนเวลาถึง 11 ป ชื่อเสียงของหลิวไดรับการประกาศ
กองอีกครั้งและไดจัดใหมีพิธีไวอาลัยแกเขาอยางสมเกียรติและใหญโต
สวนอีกตัวอยางหนึ่ง คือ เติ้ง เสี่ยวผิง ถูกปลดออกจากตําแหนงและตองไปใช
แรงงานในมณฑลกวางสี โดยขับรถแทรกเตอร ปลูกผักปลูกหญา และเสิรฟอาหารใน
ระหวาง ค.ศ. 1966 – 1969 จนกระทั่งถึงป ค.ศ. 1974 นายโจว เอินไหลจึงแตงตั้งเขาให
กลับไปเปนรองนายกรัฐมนตรี รวมเวลาที่เขาหลุดจากวงการเมืองอันเปนผลมาจากการ
กระทําของพวกเร็ดการดนานถึง 8 ป
กลาวกันวา การขจัดอดีตสหาย โดยเฉพาะอยางยิ่งสหายที่ดํารงตําแหนงระดับสูง
เปนจํานวนมากนี้ก็เพื่อกวาดหนทางแหงการแยงยึดอํานาจของตน นั่นคือ ของนายหลิน
เปยว นางเจียง ชิง และพรรคพวก ซึ่งกลาวอ างวาไดกระทําในนามของเหมา เจอตุง
เปาหมายในชวงแรก มีผูถูกตรวจสอบมากถึง 1,040 คนโดยถูกใสรายปายสีดวยการระบุ
ชื่อโดยตรง ในจํานวนนี้เปนผูนําของพรรคและรัฐ 33 คน และผูปฏิบัติงานชั้นสูงใน
กองทัพปลดแอกประชาชน 210 คน คนเหลานี้เปนผูปฏิบัติงานรับผิดชอบในตําแหนง
สําคัญในแผนกตางๆ ของศูนยกลางระดับมณฑล นครและเขตปกครองตนเอง รวมผูนํา
ที่ถูกไตสวนและถูกประทุษรายถึงตายมีจํานวนกวา 34,000 คนในชวง 10 ปแหงการ
ปฏิวัติทางวัฒนธรรม
เหตุการณรายไดลุกลามไปทั่วประเทศอันเปนผลจากการออกอาละวาดของพวก
เร็ดการดโดยที่ประธานเหมาไมทราบเรื่องราวรายละเอียดมากนัก ทําใหสังคมจีนในชวง
นั้นเกิดความปนปวนวุนวายทางดานเศรษฐกิจ สังคมและการเมืองเปนเวลาหลายปตลอด
ชวงตอนปลายทศวรรษที่ 1960 ตอมาหลิน เปยวไดกลายเปนผูมีความทะเยอทะยานสูง
คิดจะแยงชิงอํานาจทั้งหมดไวในมือ จึงคิดแผนการใหญขึ้น แตหลังจากแผนการรายที่จะ
93

ลอบสังหารประธานเหมา เจอตุงประสบกับความลมเหลวและถูกเปดโปงเมื่อวันที่ 13
กั น ยายน ค.ศ. 1971 หลิ น จึ ง นํ า ครอบครั ว พร อ มกั บ สมุ น คนสนิ ท หลบหนี อ อกนอก
ประเทศ แตเครื่องบินที่เขาโดยสารไปนั้นตกที่เมืองอุนดูรฮาน ประเทศมองโกเลีย ทุกคน
เสี ย ชี วิ ต หมด ส ว นเหมา เจ อ ตุ ง เองก็ รู สึ ก เสี ย ใจที่ เ ป น ต น คิ ด ขบวนการปฏิ วั ติ ท าง
วัฒนธรรมที่ยังผลใหพวกพองที่เคยรวมอุดมการณและรวมรบเคียงบาเคียงไหลกันมาแต
ครั้งในอดีตกาลตองประสบชะตากรรม ทุกขระทมและหลายคนตองจบชีวิตลงไปเพราะ
ความมักใหญใฝสูงของหลิน เปยวและพรรคพวก
ในป ค.ศ. 1975 นายกรัฐมนตรีโจว เอินไหลปวยหนัก นายเติ้ง เสี่ยวผิงไดรับ
หนาที่เปนผูรักษาการแทนนายกรัฐมนตรี สวนนางเจียง ชิงและพรรคพวกก็คิดหาทางที่
จะจัดการขจัดเติ้งใหลงจากเวทีทางการเมืองอีกครั้ง แตเติ้งก็ตีโตเพื่อรักษาตําแหนงไวได
จนกระทั่งนายกรัฐมนตรีโจวเสียชีวิตจากโรคมะเร็งในตอนเชาเวลา 9.57 น. ของวันที่ 8
มกราคม ค.ศ. 1976 ทามกลางกระแสโจมตีนายกโจวจากกลุมนางเจียง ชิง ตอมาประธาน
เหมา เจอตุงไดเสียชีวิตลงในวันที่ 9 กันยายน ปเดียวกัน จากนั้นอีกเพียงหนึ่งเดือนตอมา
ไดมีการจับกุมนางเจียง ชิง และสมุนของแกง 4 คน ทําใหอิทธิพลของฝายที่อิงอยูกับ
บารมีเฉพาะตัวของเหมาหมดสิ้นลงไปดวย และจีนก็ไดเขาสูยุคใหมภายใตการนําของ
เติ้ง เสี่ยวผิง ผูพลิกจีนใหกาวไปสูความเปนประเทศทันสมัยตอไป
ในตอนปลาย ค.ศ. 1980 ไดมีการพิจารณาความผิดของแกง 4 คนและสมุนของ
หลิน เปยวอีก 6 คน รวมเปน 10 คน ซึ่งศาลประชาชนสูงสุดไดตัดสินในเดือนมกราคม
ค.ศ. 1981 วา จําเลยทั้งหมดมีความผิดตามที่ถูกกลาวหาโดยตองโทษจําคุกตั้งแต 15 ปไป
จนถึงตลอดชีวิต

จีนกับการเปดประเทศในทศวรรษ 1970
ประธานาธิบดีริชารด นิกสันแหงสหรัฐอเมริกาไดประกาศถึงการเปลี่ยนแปลง
ครั้งสําคัญในดานความสัมพันธกับจีนเมื่อวันที่ 15 กรกฎาคม ค.ศ. 1971 โดยระบุวา นาย
เฮนรี คิสซิงเจอร ที่ปรึกษากิจการตางประเทศของตนไดเจรจาอยางลับๆ ที่กรุงปกกิ่งใน
ระหวางวันที่ 9 – 11 กรกฎาคม และจีนไดเชิญตัวเขาไปเยี่ยมเยือนจีนแผนดินใหญ อยาง
เป น ทางการซึ่ ง เขาก็ ไ ด ต อบตกลงรั บ คํ า เชิ ญ นั้ น โดยจะเดิ น ทางในช ว งก อ นเดื อ น
พฤษภาคมของป ค.ศ. 1972 ขาวนี้ไดแพรสะพัดออกไปทั่วโลกและสรางความประหลาด
94

ใจใหกับทุกฝาย ซึ่งถือไดวาเปน Nixon shock ที่สหรัฐอเมริกาไดปรับเปลี่ยนนโยบาย


อย า งฉั บ พลั น จากการเป น ศั ต รู ม าเป น มิ ต ร อั น เป น ข า วที่ ส ร า งความตื่ น ตระหนก
โดยเฉพาะตอญี่ปุนที่เคยไดรับอิทธิพลจากสหรัฐอเมริกามิใหทําตัวใกลชิดกับจีนในอดีต
และตอมิตรประเทศตางๆ ของสหรัฐฯในเอเชีย
ขอมูลตามประวัติศาสตรระบุวา เมื่อจีนเปลี่ยนการปกครองเปนแบบคอมมิวนิสต
ใน ค.ศ. 1949 ประธานาธิบดีทรูแมนแหงสหรัฐอเมริกาไดเตรียมที่จะใหการรับรอง
รัฐบาลจีนที่กรุงปกกิ่ง แมวาจะไมคอยพอใจที่ฝายเจียง ไคเช็คที่อเมริกาหนุนหลังเปน
ฝายพายแพและตองหนีไปอยูที่เกาะไตหวันก็ตาม แตเมื่อเกิดสงครามเกาหลีขึ้นใน ค.ศ.
1950 จีนไดใหการสนับสนุนเกาหลีเหนือ อันมีเปาหมายที่จะทําลายระบบการปกครอง
แบบประชาธิปไตยของเกาหลีใต อันหมายถึงการทําลายระบบที่ประเทศตะวันตกยึดถือ
โดยหาใชเปนเพียงการเอาชนะในสงครามกลางเมือง ดังเชน ในจีนในชวงทศวรรษที่
1940 เทานั้น ดังนั้น เพื่อปองกันมิใหลัทธิคอมมิวนิสตเขาไปครอบงําในประเทศอื่นๆ ใน
ทวี ป เอเชี ย สหรั ฐ อเมริ ก าจึ ง ไม ไ ด รั บ รองรั ฐ บาลป ก กิ่ ง ในทางตรงกั น ข า มได ส ง
กองทัพเรือที่เจ็ดเขาขวางกั้นชองแคบไตหวันระหวางจีนแผนดินใหญกับไตหวัน เพื่อมิ
ใหจีนยึดไตหวัน จึงกลายเปนสงครามเย็นที่สหรัฐอเมริกามีตอจีน อนึ่ง สหรัฐอเมริกาได
พยายามหามิตรประเทศเพื่อจํากัดการแพรกระจายลัทธิคอมมิวนิสตดวยการไปตั้งฐาน
ทั พ ในเกาหลี ใ ต ญี่ ปุ น โอกิ น าวา ไต ห วั น เวี ย ตนามใต พม า และไทย รวมทั้ ง ทํ า
สนธิสัญญาเปนพันธมิตรกับเกาหลีใต ไทย ออสเตรเลีย และนิวซีแลนด ในป ค.ศ. 1954
และกับไตหวันซึ่งเปนสนธิสัญญาความรวมมือและปกปองทางการทหารหากถูกรุกราน
นอกจากนี้ สหรั ฐอเมริก ายังกี ด กั น มิ ใ หจี นแผน ดิ น ใหญเข าเป น สมาชิก ขององคก าร
สหประชาชาติ
ต อ มา สหรั ฐ อเมริ ก าภายใต ก ารนํ า ของประธานาธิ บ ดี ไ อเซนฮาวร แ ละของ
ประธานาธิบดีเคเนดีไดยึดนโยบายแข็งกราวตอจีน โดยพยายามใชนโยบายแยกจีนใหอยู
อยางโดดเดี่ยว อนึ่ง เมื่อเกิดปญหาการปะทะกันระหวางจีน – อินเดีย และขอขัดแยง
ระหวางจีน – รัสเซียในทศวรรษที่ 1960 โดยจีนเปนฝายไดเปรียบ สหรัฐฯ ก็ยิ่งเพิ่มความ
หวาดระแวงไปวา จีนจะสามารถขยายอิทธิพลของตนออกไปเรื่อยๆ ตอมาในยุคของ
ประธานาธิบดีจอหนสันที่สหรัฐอเมริกาเขาไปมีบทบาทสําคัญทางการทหารในเวียตนาม
ก็ยิ่งทําใหความสัมพันธกับจีนในชวงตนของสงครามเวียตนามกระทบกระทั่งกันมากขึ้น
95

เพราะจีนใหการสนับสนุนเวียตนามเหนือทําการตอสูกับกองทัพสหรัฐอเมริกา ในขณะที่
สหรัฐอเมริกาไดรับการสนับสนุนจากชาติพันธมิตร คือ เกาหลีใต ไทย และญี่ปุนสง
ทหารเขาไปรวมรบกับอเมริกันในสงครามเวียตนาม ทําใหความสัมพันธระหวางจีนกับ
เกาหลีใตและญี่ปุนตลอดชวงทศวรรษ 1960 อยูคนละขั้ว อันเปนผลมาจากนโยบาย
ตางประเทศของสหรัฐอเมริกานั่นเอง
อย า งไรก็ ต าม เมื่ อ ประธานาธิ บ ดี จ อห น สั น ได ป ระกาศปรั บ เปลี่ ย นท า ที เ ป น
“ความรวมมือและไมเปนศัตรู” กับจีนเมื่อวันที่ 12 กรกฎาคม ค.ศ. 1966 โดยประกาศให
อิสรภาพในการติดตอทางดานความคิด ประชาชนและสินคาตอกัน ทั้งนี้เพื่อปูทางไปสู
การยุติสงครามเวียตนามและสรางสันติภาพขึ้นในเอเชีย ในขณะที่สหรัฐอเมริกาไดเพิ่ม
ความไมไววางใจตอรัสเซียที่บุกยึดเช็คโกสโลวาเกียในป ค.ศ. 1968
ต อ มาในป ค.ศ. 1969 เมื่ อ นิ ก สั น ได เ ข า รั บ ตํ า แหน ง เป น ประธานาธิ บ ดี
สถานการณของโลกและเอเชียไดเปลี่ยนไปอีกกาวหนึ่ง นั่นคือ มีการยอมรับกันวาจีน
เปนหนึ่งของกลุมประเทศที่เปนมหาอํานาจทางนิวเคลียร สวนญี่ปุนกลายเปนชาติที่มี
เศรษฐกิจแข็งแกรงและกลายเปนคูแขงสําคัญของสหรัฐอเมริกา อีกทั้งความสัมพันธ
ระหวางจีน – โซเวียตรัสเซียไดแยกออกจากกันมากยิ่งขึ้น ตลอดจนไดเกิดขบวนการ
ตอตานสงครามเวียตนามขึ้นทั่วไปในสหรัฐอเมริกา ทําใหรัฐบาลนิกสันตัดสินใจที่จะ
ถอนกําลังทหารออกจากเอเชีย และประกาศนโยบายยกเลิกการตีกรอบจีนใหมีอิทธิพล
อยูในวงจํากัด อันเปนการสรางนโยบายดุลยภาพระหวางจีน โซเวียตและสหรัฐอเมริกา
พรอมๆ กับการยึดนโยบายสรางความสัมพันธอันดีกับญี่ปุนและยุโรปตะวันตก ทั้งนี้
ทั้ ง นั้ น เพื่ อ ให เ กิ ด ความสมดุ ล ของอํ า นาจของโลก แทนการเป น “ตํ า รวจโลก” ของ
สหรัฐอเมริกาดังเชนที่ผานมา
พลังศูนยอํานาจ 5 ศูนยในระบบโลกยุคนั้น คือ สหรัฐอเมริกา สหภาพโซเวียต
จีน ญี่ปุน และยุโรปตะวันตก จะมีก็เพียงแตจีนที่ยังคงอยูอยางโดดเดี่ยว ดวยเหตุนี้จึงเปน
ภาระหนาที่ของนิกสันที่จะตองไป “เปดประตู” เพื่อใหจีนกาวออกสูเวทีของโลก และ
นิกสันก็เริ่มประกาศนโยบาย “จากการเผชิญหนามาสูการเจรจา” ในป ค.ศ. 1969 โดยให
นายเฮนรี คิส ซิงเจอร ทํา หนาที่ เปน ผู ป ระสานงานในการเจรจาเพื่ อ ให น โยบายนั้ น
บรรลุ ผ ล และในที่ สุ ด ประวั ติ ศ าสตร ก็ ไ ด จ ารึ ก ถึ ง การแหวกทะลุ ท างการทู ต ที่ จี น –
สหรัฐอเมริกา หันกลับมาเปนมิตรประเทศตอกันภายหลังการใชนโยบายเปนศัตรูตอกัน
96

ยาวนานถึ ง 22 ป เมื่ อ ประธานาธิ บ ดี นิ ก สั น เดิ น ทางมาถึ ง นครป ก กิ่ ง ในวั น ที่ 22


กุมภาพันธ ค.ศ. 1972 ไดรับการตอนรับอยางอบอุนยิ่งจากนายกรัฐมนตรีโจว เอินไหล
และคณะที่สนามบิน
ในการเจรจาระหว า งตั ว แทนของสหรั ฐ อเมริ ก าและจี น ที่ เ กี่ ย วข อ งกั บ ญี่ ปุ น
เกาหลีและเวียตนามนั้น จีนคัดคานการฟนฟูและการขยายกองกําลังทหารของญี่ปุน แต
สนับสนุนใหคนญี่ปุนบรรลุเปาหมายในการสรางชาติที่เปนอิสระ ประชาธิปไตย สันติ
สุขและเปนกลาง ในขณะที่สหรัฐอเมริกายึดมั่นความสัมพันธอันดีกับญี่ปุนวาเปนมิตรที่
มีความสําคัญสูงสุดและจะรวมกันใหความรวมมือมีอยูอยางมั่นคงและยาวนาน สําหรับ
กรณีของเกาหลีนั้น จีนใหการสนับสนุนแผนสันติภาพและการรวมชาติ 8 ขอที่เกาหลี
เหนือไดประกาศไวเมื่อวันที่ 12 เมษายน ค.ศ. 1971 ในขณะที่สหรัฐอเมริกาจะรักษา
ความสัมพันธอยางใกลชิดและสนับสนุนเกาหลีใต (สวนกรณีของเวียตนามนั้น จะละไว
ไมกลาวในที่นี้)
คําประกาศของจีนดังที่เพิ่งกลาวถึงนี้สรางความไมพอใจใหกับญี่ปุนที่กลาวหาวา
จีนแทรกแซงกิจการภายในของตน โดยแทจริงแลว สื่อมวลชนญี่ปุนไดเรียกรองให
รัฐบาลสรางความสัมพันธกับจีนใหใกลชิดขึ้นในชวง 2 – 3 ปกอนที่นิกสันจะเดินทางไป
ยังจีนเสียอีก โดยแนะนําวาไมควรใหความสนใจวาสหรัฐอเมริกาจะมีจุดยืนอยางไร ทั้งนี้
สื่อมวลชนชาวอาทิตยอุทัยไดประเมินสถานการณของโลกในชวงนั้นแลววา นาจะสราง
ความรวมมือทางเศรษฐกิจตอจีนใหใกลชิดมากขึ้น จากนั้น รัฐบาลก็อนุญาตใหธนาคาร
สงออก – นําเขาของญี่ปุนขยายเครดิตใหแกนักลงทุนที่จะไปลงทุนในจีน ตอมานักธุรกิจ
ญี่ปุนจํานวนมากไดยอมรับเงื่อนไขทางการคา 4 ขอหลักที่รัฐบาลปกกิ่งประกาศเมื่อวันที่
19 สิงหาคม ค.ศ. 1971 คือ (1) บริษัทที่ทําการคากับจีนจะตองไมทําการคากับไตหวัน
และเกาหลีใต (2) บริษัทเหลานั้นจะตองไมลงทุนในสองประเทศนั้น (3) จะตองไมขาย
อาวุธใหทหารอเมริกันเพื่อใชทําสงครามในอินโดจีน และ (4) จะตองไมเปนบริษัทที่รวม
ทุนกับชาวอเมริกันในญี่ปุน เมื่อเวลาผานไปที่สหรัฐอเมริกากับจีนมีความสัมพันธกันดี
ขึ้น ความสัมพันธระหวางจีน – ญี่ปุนก็ย่งิ กระชับมากยิ่งขึ้นเปนลําดับเชนกัน
ชาวญี่ปุนที่นิยมคอมมิวนิสตและพรรคสังคมนิยมของชาวบูชิโดไดเรียกรองให
สรางความสัมพันธทางการทูตกับจีนอยางเรงดวน รวมทั้งเรียกรองใหรัฐบาลกลาวคําขอ
โทษตอการกระทําในอดีตของกองทัพญี่ปุนตอจีน จากนั้นตอมา นายทาเกโอ ฟูกูดะ
97

รัฐมนตรีวาการกระทรวงตางประเทศไดประกาศเมื่อตนเดือนมีนาคม ค.ศ. 1972 วา “เรา


จะทําการวิพากษตนเองและขอโทษตอจีน” ในขอผิดพลาดที่ไดกระทําขึ้นในเหตุการณที่
แมนจูเรียเมื่อ ค.ศ. 1931 และในสงครามจีน – ญี่ปุนในระหวาง ค.ศ. 1937 – 1945 แต
ไดรับการคัดคานจากนายกรัฐมนตรีซาโตะ ผูซึ่งเคยเปนนักเรียนรวมรุนกับเจียง ไคเช็ค
เมื่ อ นายซาโตะลาออก นายคากู อิ ทานากะได รั บ เลื อ กให เ ป น ผู นํ า ญี่ ปุ น แทน จึ ง ได
เดิ น ทางไปเยื อ นจี น อย า งเป น ทางการในวั น ที่ 25 กั น ยายน ค.ศ. 1972 และได เ ซ็ น
สนธิ สั ญ ญาความร ว มมื อ กั บ จี น โดยตั ด ความสั ม พั น ธ กั บ ไต ห วั น ให ค งเหลื อ ไว แ ต
ตัวแทนการคาทําหนาที่ในดานเศรษฐกิจเพียงอยางเดียว

มรดกของความขัดแยง: กรณีหมูเกาะตี้ยวยวี๋
หมู เ กาะเตี้ ย วยวี๋ (Diaoyu) หรื อ ที่ เ รี ย กในภาษาญี่ ปุ น ว า หมู เ กาะเซนกากุ
(Senkaku) ประกอบดวยเกาะขนาดเล็กจํานวน 8 เกาะ มีพื้นที่รวมกันราว 6.3 ตาราง
กิโลเมตร ไมมีผูคนอาศัยอยู ตั้งอยูในบริเวณทะเลจีนตะวันออก หางจากทิศตะวันตก
เฉียงใตของเกาะโอกินาวาประมาณ 300 กิโลเมตร และหางจากทิศตะวันออกเฉียงเหนือ
ของไตหวันราว 200 กิโลเมตร ในอดีต ไมเปนที่สนใจทั้งของจีน ไตหวัน และญี่ปุน
เพราะเปนเกาะราง ตอมา เมื่อคณะกรรมการสํารวจทรัพยากรแรธาตุในบริเวณชายฝง
เอเชีย ที่ตั้งขึ้นโดยคณะกรรมการทางเศรษฐกิจสําหรั บภู มิ ภาคเอเชี ยตะวั นออกไกล
(ECAFE หรือปจจุบันเรียกวา ESCAP – Economic and Social Commission for Asia and
Pacific) ไดประกาศเมี่อป ค.ศ. 1969 วา บริเวณนี้เปนแหลงที่มีสัตวน้ําชุกชุม และมี
ปริมาณน้ํามันอยูราวหลักแสนถึงหนึ่งลานบาเรล อนึ่ง ประมาณกันวาชาวประมงไตหวัน
สามารถจับสัตวน้ําในบริเวณนี้คิดเปนเงินราวปละ 65 ลานดอลลารสหรัฐ ทําใหทั้ง 3
ประเทศตางอางสิทธิเปนเจาของหมูเกาะเตี้ยวยวี๋
จีนไดอางกรรมสิทธิ์อยางเปนทางการเหนือหมูเกาะเมื่อตนทศวรรษ 1970 โดยยก
ประวัติศาสตรวา ไดครอบครองและควบคุมหมูเกาะแหงนี้นับตั้งแตสมัยราชวงศหมิง ใน
ราว ค.ศ. 1403 แต ถู ก บั ง คั บ จํ า ต อ งยกหมู เ กาะนี้ พ ร อ มทั้ ง ไต ห วั น ให แ ก ญี่ ปุ น ตาม
สนธิสัญญาชิโมโนเซกิในเดือนพฤษภาคม ค.ศ. 1895 ภายหลังที่จีนแพสงครามกับญี่ปุน
ต อ มาเมื่ อ ญี่ ปุ น ยอมจํ า นนต อ กองทั พ สั ม พั น ธมิ ต รในสงครามโลกครั้ ง ที่ ส อง จึ ง
จํ าเป น ตอ งกระทําตามปฏิญ ญาปอตสดั ม และปฏิญ ญาไคโรที่ บังคับ ใหญี่ ปุ น ตองคื น
98

ดินแดนที่ยึดมาไดจากการรุกราน ไตหวันจึงกลับคืนเปนของจีน และหมูเกาะเตี้ยวยวี๋ซึ่ง


เปนสวนหนึ่งของไตหวันก็ตองตกเปนของจีนดวยสนธิสัญญาสันติภาพที่ลงนาม ณ.กรุง
ซานฟรานซิสโก (San Francisco Peace Treaty) เมื่อป ค.ศ. 1951 ที่ใหญี่ปุนคืนสิทธิใน
การครอบครองไตหวัน เกาหลี เกาะสักกาลินตอนใต และหมูเกาะสแปรตลี่ และพารา
เซลใหแกเจาของเดิม
อยางไรก็ตาม ญี่ปุนอางวา ชาวญี่ปุนไดคนพบหมูเกาะเตี้ยวยวี๋มานานแลว และใน
ตอนนั้นก็ไมพบวามีผูใดอาศัยอยู อีกทั้งไมพบรองรอยวาจีนเขาครอบครองหมูเกาะนี้มา
กอน รัฐบาลญี่ปุนจึงไดผนวกเขาเปนดินแดนของญี่ปุนในฐานะที่เปนสวนหนึ่งของหมู
เกาะริวกิวเมื่อเดือนมกราคม ค.ศ. 1895 กอนที่ญี่ปุนจะไดยึดไตหวันมาครอบครองตาม
สนธิสัญญาชิโมโนเซกิดวยการปกเสาธงวามีอํานาจอธิปไตยเหนือดินแดนเกาะเหลานี้
อนึ่ง มีชาวญี่ปุนชื่อทสึซิโร โคกะไดเดินทางไปยังเกาะเหลานี้เปนประจําเปนเวลาหลายป
ตอมา ภายหลังที่สหรัฐอเมริกาถอนตัวจากการยึดครองญี่ปุนในป ค.ศ. 1952 แตก็
ยังคงปกครองหมูเกาะริวกิว (ซึ่งเปนจังหวัดโอกินาวาในปจจุบัน) จนกระทั่งป ค.ศ. 1971
จากนั้ นจึ งไดคืนใหแกญี่ปุนพรอมกับมอบหมูเกาะเซนกากุใ หอยู ในการควบคุ มการ
บริหารของญี่ปุน ทําใหไตหวันและจีนประทวง แตสหรัฐอเมริกากลาววา การโอนการ
ควบคุมการบริหารไมเกี่ยวกับเรื่องการมีอธิปไตยเหนือหมูเกาะ (5) อยางไรก็ตาม การอาง
สิทธิ์ของจีนเหนือดินแดนเกาะเหลานี้ยังไมรุนแรงในชวงตนทั้งนี้เพราะจีนมีปญหาการ
ชวงชิงอํานาจกันเองภายในประเทศ อีกทั้งจีนก็ยังตองพึ่งพาทุนและเทคโนโลยีจากญี่ปุน
เพื่อนําไปใชในการพัฒนาประเทศ ดังเชน เมื่อจีนและญี่ปุนลงนามสนธิสัญญาสันติภาพ
ตอกันในป ค.ศ. 1978 เติ้ง เสี่ยวผิง ผูนําจีนไดใหคํามั่นวา จะไมใหกรณีพิพาทเรื่องหมู
เกาะเหลานี้เปนอุปสรรคตอความสัมพันธระหวางประเทศทั้งสอง ทําใหปญหานี้ไดรับ
การปลอยไวไมใหลุกลามเปนเรื่องใหญโตในชวงทศวรรษ 1970 และ 1980 ขอขัดแยงใน
การอางกรรมสิทธิ์เหนือหมูเกาะดังกลาวไดทวีความรุนแรงขึ้นเรื่อยมาและกลายเปน
ประเด็นเผ็ดรอนขึ้นนับตั้งแตตอนตนทศวรรษที่ 1990 เมื่อประธานาธิบดีเจียง เจอหมิน
ของจีนไดย้ําถึงสิทธิในการครอบครองในคําปราศรัยหลายครั้งในขณะที่เขาเดินทางไป
เยือนญี่ปุนอยางเปนทางการในเดือนเมษายน ค.ศ. 1992 อยางไรก็ตาม ญี่ปุนไดย้ําเสมอ
วา หมูเกาะดังกลาวไดรวมเขาอยูในราชอาณาจักรญี่ปุนมาตั้งแต ค.ศ. 1895 และไดรับ
การยืนยันสิทธิการครอบครองอีกครั้งในสนธิสัญญาซานฟรานซิสโก ค.ศ. 1951 มาตรา
99

3 (ที่ระบุวา Diaoyu islands, another uninhabited island to the south of the Daito islands
was added to the Daito group as Okino Daitojima in 1900) แตจีนไมยอมรับ ดวยเหตุนี้
ขอขัดแยงในการมีสิทธิ์เหนือหมูเกาะเตี้ยวยวี๋จึงยังไมไดรับการแกไข และยังคงเปน
ปญหาระหวางประเทศทั้งสองมาจนกระทั่งทุกวันนี้

เศรษฐกิจและการเมืองในยุคเติ้ง เสี่ยวผิง
นายเติ้ง เสี่ยวผิงเปนผูนําของจีนในชวงป ค.ศ. 1977 – 1992 แมเขาจะไมไดดํารง
ตําแหนงเปนเลขาธิการพรรคคอมมิวนิสต หรือเปนนายกรัฐมนตรี แตชายรางเล็กที่มี
ความสูงเพียง 150 เซนติเมตรไดยึดอํานาจในพรรคเมื่อนายฮวา กวอเฟงถูกกดดันให
ลาออกจากตํา แหน ง นายกรั ฐ มนตรี นายจ า ว จื่ อ หยาง คนสนิ ท ของเติ้ ง ก็ ไ ดขึ้ น เป น
นายกรัฐมนตรีแทน ทําใหเติ้งไดครอบครองอํานาจเปนผูนําประเทศโดยพฤตินัยอยาง
แทจริง
เติ้งไดลดบทบาทของอุดมการณและแนวความคิดของเหมา เจอตุง โดยวิจารณวา
ประธานเหมาดําเนินนโยบายถูกตองเพียงรอยละ 70 แตผิดพลาดถึงรอยละ 30 อีกทั้งเขา
ตองการสรางผูนํารุนใหมใหมีลักษณะเปนผูนํารวม (collective leadership) ขึ้นมาดําเนิน
นโยบายสี่ ทั น สมั ย นั่ นคื อ การพั ฒ นาจี น ให เป น ประเทศสั ง คมทั น สมัย สี่ ด าน ได แ ก
เกษตรกรรม อุตสาหกรรม การทหาร และวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี อีกทั้งไดเปด
ประเทศติดตอกับตางประเทศมากขึ้น มีการซื้อเครื่องจักร และเทคโนโลยีใหมๆ จาก
ประเทศตะวันตกและจัดตั้งเขตเศรษฐกิจพิเศษ ขึ้นที่ เซินเจิ้น ซัวเถา จูไห และเซียะเหมิน
เพื่อดึงดูดการลงทุนจากตางประเทศ เพื่อการถายทอดเทคโนโลยี ขยายการสงออก และ
ลดการว า งงาน เมื่ อ เป ด โอกาสเช น นี้ นั ก ลงทุ น จากญี่ ปุ น และจากประเทศต า งๆ
โดยเฉพาะอยางยิ่งจากฮองกงและไตหวันยอมไมละโอกาสทอง ตางพากันเขาไปลงทุน
ในเขตพิเศษเหลานี้เปนจํานวนมาก
เติ้งมีปรัชญาที่จะสรางสรรคจีนใหเปน “สังคมนิยมที่เจริญรุงเรืองและทันสมัย”
เขาย้ําวา ความยากจนมิใชเปาหมายของการเปนสังคมคอมมิวนิสต ดังนั้น จึงตองพัฒนา
พลังการผลิตของทั้งสังคม นั่นคือ การกลับคืนไปสูเศรษฐกิจของเอกชน และย้ําวาทะ
ที่วา “ไมวาแมวจะสีดําหรือสีขาว ขอใหจับหนูไดเปนพอ”
100

ต อ มา ผู นํ า จี น ได เ ป ด เมื อ งท า 14 เมื อ งตลอดชายฝ ง ตะวั น ออกให เ ป น เขต


อุตสาหกรรมพิเศษสําหรับการลงทุนของตางชาติ และไดพัฒนาพื้นที่บริเวณปากแมน้ํา
แยงซีเกียงและบริเวณปากแมน้ําจูเจียงใหเปนเขตอุตสาหกรรมเพื่อการสงออก
ในดานการเกษตรนั้น มีก ารลงทุนดานเครื่ องจักรกลทางการเกษตร เพื่ อเพิ่ ม
ผลผลิต ประกาศยุบคอมมูนหรื อนารวม โดยให ชาวนาเชาทําและสร างแรงจูงใจต อ
เกษตรกรดวยการใหรางวัลหรือยกที่ดินบางสวนใหแตละครอบครัวรับผิดชอบ โดยมี
เงื่อนไขวาจะตองผลิตพืชผลขายใหกับทางการในจํานวนที่แนนอนจํานวนหนึ่ง หาก
ผลผลิตไดเกินจํานวนนั้นก็ถือวาเปนของสวนตัวสามารถนําไปขายในตลาดนัดในชนบท
หรือขายใหกับทางการในราคาที่ตอรองกันได ระบบนี้เรียกวา ระบบความรับผิดชอบ
(responsibility system) ในป ค.ศ. 1984 พรรคคอมมิวนิสตไดมีมติขยายระยะเวลาการเชา
ที่ดินจาก 3.5 ปเปน 15 ป เพื่อสรางความมั่นใจวาการเชาที่ดินสามารถทําไดตอไปแมจะมี
การเปลี่ยนตัวผูนํา
พรรคคอมมิวนิสตไดเรงปฏิรูปภาคเกษตรกรรม โดยเปลี่ยนจากระบบการผลิต
เพื่ อยั งชี พ มาเป น การผลิ ต เพื่อ ขาย ส ง เสริ ม การปลู ก พืช เศรษฐกิ จ และสนั บ สนุ น ให
ครัวเรือนเกษตรกรประกอบธุรกิจอยางอื่นดวย ทั้งที่เปนหัตถกรรม อุตสาหกรรมใน
ครัวเรือน และการบริการ อีกทั้งสงเสริมใหหมูบานเปดโรงงานตามคําขวัญที่วา “หนึ่ง
โรงงานหนึ่งหมูบาน” ใน ค.ศ. 1985 อุตสาหกรรมในชนบทวาจางแรงงานราว 60 ลาน
คน และเพิ่มเปน 136 ลานคนใน ค.ศ. 1996 อยางไรก็ตาม ก็มีปญหาตางๆ ตามมาเชนกัน
ไดแก เกิดความตึงเครียดในชนบท มีความเหลื่อมล้ําทางดานรายได ความสามัคคีใน
ชุมชนลดลง และมีการชุมนุมประทวงเจาหนาที่ของรัฐในการกําหนดภาษีอากรที่เพิ่มขึ้น
อยางตอเนื่อง เปนตน
ในด า นการปฏิ รู ป อุ ต สาหกรรมนั้น ได มี ก ารลดอํ า นาจของสว นกลางในการ
ตัดสินใจและการบริหารไปยังผูจัดการวิสาหกิจของรัฐมากขึ้นแทนการวางแผนและ
ควบคุมจากพรรคคอมมิวนิสต สวนอุตสาหกรรมที่มวลชนเปนเจาของ เชน ตําบลหรือ
หมูบาน ก็ใหดําเนินการเปนรูปของบริษัท วิสาหกิจทั้งหมดที่ตองรับผิดชอบตอกําไรและ
ขาดทุนเองหากมีกําไรก็อาจนําผลกําไรสวนหนึ่งมาลงทุนตอ หรือจายเปนโบนัสอันเปน
การเพิ่มแรงจูงใจแกคนงาน แตหากขาดทุนติตตอกันหลายป ก็อาจจะปด อนึ่ง มีการ
101

สนับสนุนใหเอกชนเปนเจาของอุตสาหกรรมในการปฏิรูปในกลางทศวรรษ 1980 ทําให


ภาคเอกชนตางริเริ่มประกอบธุรกิจอุตสาหกรรม
ในยุ ค เติ้ ง นี้ การเมื อ งของจี น ก็ เ ปลี่ ย นแปลงไปเช น กั น กล า วคื อ ตํ า แหน ง
ประธานาธิบดีหรือประธานของสาธารณรัฐประชาชนจีน ซึ่งเปนประมุขของประเทศนั้น
ในชวงแรก ไดแก เหมา เจอตุง ดํารงตําแหนงในระหวาง ค.ศ. 1949 – 1959 หลิว เฉาฉี
เปนคนตอมาโดยดํารงอยูในตําแหนงระหวางป ค.ศ. 1959 – 1966 จากนั้น ก็ยุบตําแหนง
นี้ไป จนกระทั่งเดือนพฤศจิกายน ค.ศ. 1982 สภาประชาชนแหงชาติไดลงมติรับรอง
รัฐธรรมนูญฉบับใหม ซึ่งรื้อฟนตําแหนงประธานหรือประธานาธิบดีขึ้นมาใหม โดย
นายหลี่ เซียนเนี่ยมไดรับเลือกใหดํารงตําแหนง (ระหวางป ค.ศ. 1983 – 1988) นายหยาง
ซางคุนไดเปนประธานาธิบดีคนที่ 4 (ระหวาง ป ค.ศ. 1988 – 1992) และนายเจียง เจอ
หมินเปนคนที่ 5 (ระหวางป ค.ศ. 1992 – 2002) ปจจุบัน นายหู จินเทาไดดํารงตําแหนงนี้
นับตั้งแต ค.ศ. 2002 เปนตนมา ทั้งนี้ทั้งนั้น ผูนําประเทศดังกลาวมาขางตนตางเปนบุคคล
ที่เติ้ง เสี่ยวผิงใหการหนุนหลังใหไดรับตําแหนงแทบทั้งสิ้น ยกเวนนายหู จินเทา ผูซึ่งมี
บทบาทโดดเดนทางการเมืองในยุคหลังการเสียชีวิตของเติ้งในป ค.ศ. 1997
อยางไรก็ตาม จุดดางในชวงการเปนผูนําในยุคเติ้งก็คือ เหตุการณนองเลือดที่เกิด
จากการปราบปรามนักศึกษาจีนโดยกองทัพปลดแอกประชาชนที่จตุรัสเทียนอันเหมิน
ระหวางวันที่ 3 – 8 มิถุนายน ค.ศ. 1989 โดยประธานาธิบดีหยาง ซางคุนไดสั่งทหารเขา
จับกุมนักศึกษาที่ชุมนุมประทวง เกิดการปะทะกันขึ้น ทําใหนักศึกษาและประชาชน
เสียชีวิตหลายพันคน สวนทหารเสียชีวิตหลายรอยคน มีการจับกุมผูนํานักศึกษามากมาย
และที่เหลือก็หนีหัวซุกหัวซุน เหตุการณดังกลาวเกิดขึ้นเปนผลมาจากการที่เลขาธิการ
พรรคคอมมิวนิสต คือนายหู เยาปง มีความเห็นวา จีนไดพัฒนาใหทันสมัยอยางรวดเร็ว
และต อเนื่อง จึงตองเปดโอกาสให มีเสรีภาพในการแสดงความคิดเห็ น อีก ทั้งเขาได
สนับสนุนใหปญญาชนและอาจารยมหาวิทยาลัยจัดสัมมนาแลกเปลี่ยนความคิดเห็นอยาง
เสรี ใ น ค.ศ. 1986 แต ก ารแสดงความคิ ด เห็ น อย า งเสรี นํ า ไปสู ก ารเรี ย กร อ งเสรี ภ าพ
ทางการเมืองและประชาธิปไตย ทางการไดเขาจับกุม แตก็ปลอยตัวออกมาหลายตอหลาย
ครั้ง จนกระทั่งถึง ค.ศ. 1989 นักศึกษาไดทําการเดินขบวนเรียกรองประชาธิปไตย และ
เสรี ภ าพมากขึ้ น ภายหลั ง การอาสั ญ กรรมของนายหยาง ซ า งคุ น ในตอนต น ป แ ละมี
นักศึกษาจากเมืองใหญหลายเมืองไดรวมเดินขบวนเรียกรองเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ และในที่สุดก็
102

มารวมพลป ก หลั ก อยูที่ จั ตุ รั ส เทีย นอั น เหมิน ในนครปก กิ่ ง รวมทั้ ง ปฏิ เ สธคํ า สั่ ง ของ
ทางการใหสลายตัวในที่สุดการนองเลือดก็มาถึง ซึ่งเหตุการณดังกลาวไดสรางความตก
ตะลึงใหแกชาวโลก ดังนั้น สหรัฐอเมริกาและประเทศตะวันตกไดลงมติคว่ําบาตร และ
ระงั บ การติ ด ต อ อย า งเป น ทางการในระดั บ สู ง กั บ รั ฐ บาลจี น รวมทั้ ง ประณามจี น ใน
รูปแบบตางๆ
ความเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและสังคมที่เกิดขึ้นในชวงทศวรรษที่ 1980 –
1990 สงผลใหเกิดขอขัดแยงในดานทัศนคติ ความเชื่อ คานิยม และจริยธรรม ทั้งนี้ การ
พัฒนาประเทศตามนโยบายสี่ทันสมัย ทําใหเศรษฐกิจของจีนเจริญเติบโตและขยายตัวไป
กว าเดิมมาก มี ความก าวหน าทางวัตถุ เพิ่มขึ้ นอยางรวดเร็ว ผูคนมี วิถี ก ารดํ าเนิ น ชี วิต
เปลี่ยนไป และสังคมเปดกวางขึ้นตอวัฒนธรรมตางชาติ โดยเฉพาะอยางยิ่งวัฒนธรรม
ตะวันตก รวมทั้งการแพรเขามาของคานิยมทางวัตถุและเงินตรา นอกจากนี้ กลุมพอคา
และผูประกอบการรายยอยมีลูทางและโอกาสในการแสวงหาเงินและความมั่งคั่ง ผูที่
ทํางานในบริษัททั้งของรัฐและเอกชน รวมทั้งในบริษัทที่รวมทุนกับตางชาติ ชางฝมือ
ผูใชแรงงาน และผูประกอบอาชีพอิสระต างมีรายไดเพิ่มมากขึ้น ในทางตรงกันขาม
ขาราชการ อาจารยมหาวิทยาลัย และนักวิชาการ ซึ่งเคยมีสถานภาพสูงทางเศรษฐกิจและ
สังคมกลับมีสถานภาพต่ําลง และมีรายไดไมพอเลี้ยงชีพ ในขณะที่ราคาขาวของก็แพงขึ้น
อันเปนผลมาจากการขยายตัวทางเศรษฐกิจ
สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีไดทรงแปลนวนิยายชื่อ เมฆ
เหินน้ําไหล ซึ่งเปนผลงานการเขียนของฟงฟง ที่สะทอนใหเห็นถึงความขัดแยงดังกลาว
และการปรับตัวของชาวจีนรุนเกาใหเขากับกระแสความเปลี่ยนแปลง ซึ่งมีทั้งผูที่ปรับตัว
ไดและผูที่ลมเหลว จุดเนนของนวนิยายเรื่องนี้อยูที่สังคมปญญาชน โดยปญญาชนรุนเกา
กับรุนใหมมีอุดมคติและระบบคุณคา (คานิยม) ที่แตกตางกัน คุณคาเดิมเนนความรูและ
คุณธรรม อันเปนคุณสมบัติของนักปราชญ คุณคานี้ถูกทาทายจากวัฒนธรรมใหมที่มี
ความพึงพอใจทางวัตถุเปนอุดมคติสูงสุด
กลาวโดยสรุป ภายหลังที่จีนเปลี่ยนการปกครองเปนแบบคอมมิวนิสตในป ค.ศ.
1949 จีนไดกาวไปสูการเปลี่ยนผานครั้งสําคัญ โดยไดประกาศใชนโยบายโดดเดี่ยว
กลาวคือตัดขาดการติดตอกับโลกตะวันตกที่เนนการปกครองในระบอบประชาธิปไตย
แบบทุนนิยมอยางสิ้นเชิง เพื่อทําการฟนฟูการผลิตใหเขาสูระบบสังคมนิยม อันไดแก
103

การออกกฎหมายการปฏิรูปที่ดิน และเปลี่ยนกรรมสิทธิ์ปจจัยการผลิตที่เปนของธุรกิจ
เอกชนมาเปนของรัฐ จากนั้น ไดประกาศใชแผนพัฒนาหาปฉบับแรก (ค.ศ. 1953 –
1957) ซึ่งไดเลียนแบบของสหภาพโซเวียต แตการดําเนินงานตามแผนพัฒนาไมคอย
บรรลุผล ตอมาประธานเหมา เจอตุงจึงไดเสนอนโยบายเศรษฐกิจที่เรียกวา ธงแดง 3 ผืน
ทํ า ให ภ าวะเศรษฐกิ จ กระเตื้ อ งขึ้ น บ า ง แต เ หล า ผู นํ า บางคนก็ ก ล า วว า นโยบายก า ว
กระโดดประสบความลมเหลว กอใหเกิดความทุกขยากและขาดอาหารในระหวางป ค.ศ.
1960 – 1962 ดังนั้น หลิว เสาฉีและเติ้ง เสี่ยวผิงจึงไดเขามาแกไขดวยการกระตุนใหมีการ
ผลิตมากขึ้น กลาวคือ ไดคืนที่ดินขนาดเล็กบางสวนใหแกเอกชน เปดตลาดนัดในชนบท
ฯลฯ รวมทั้งวิพากษวิจารณเหมา เจอตุง ทําใหประธานเหมาไมพอใจเพราะเปนการรื้อ
ฟ น “ทุ น นิ ย ม” และ ลั ท ธิ แ ก (Revisionism) ขึ้ น มาอี ก จึ ง ได ร ว มมื อ กั บ หลิ น เป ย ว
รัฐมนตรี วาการกระทรวงกลาโหมจัดตั้งนั กศึกษาและเยาวชนเปน ผูพิทักษแดงหรื อ
ขบวนการเร็ดการด นําชาติไปสูการปฏิวัติทางวัฒนธรรมดวยการวิพากษวิจารณกลุมผูนํา
และกลุมคนที่เปน “เศษเสี้ยวของทุนนิยม” ทุกระดับ รวมทั้งไดปลดหลิว เสาฉี และเติ้ง
เสี่ยวผิงออกจากตําแหนง
ตอมา มีการจัดตั้งคณะกรรมการปฏิวัติ ที่เปนตัวแทนของพรรคคอมมิวนิสตจีน
ผูแทนจากกองทัพและผูแทนจากมวลชน ตอมา ในเดือนเมษายน ค.ศ. 1969 ไดมีการตั้ง
นายพลหลิน เปยวเปนทายาททางการเมืองของประธานเหมาในที่ประชุมสมัชชาพรรค
คอมมิวนิสตจีนครั้งที่ 9 สวนสมาชิกที่สนับสนุนเหมาที่เรียกวา “แกง 4 คน” ก็ไดรับ
แตงตั้งเปนสมาชิกของคณะกรรมการการเมืองของพรรคอีกดวย
ความขัดแยงระหวางผูนําไดเกิดขึ้นอีกครั้งเมื่อฝายทหารภายใตการนําของหลิน
เปยวพยายามเขาครอบงําอํานาจทางการเมือง ในขณะที่ผูนําฝายพลเรือน โดยเฉพาะอยาง
ยิ่งเหมา เจอตุงและนายกรัฐมนตรีโจว เอินไหลตองการลดบทบาททางการเมืองของ
ทหารตามหลักการ “พรรคตองควบคุมปากกระบอกปน” ทําใหหลิน เปยวและพวก
วางแผนยึดอํานาจดวยการเตรียมการลอบสังหารเหมา เจอตุง เมื่อไมสําเร็จก็หนีไปทาง
เครื่องบิน แตเครื่องบินไปตกในมองโกเลียและเสียชีวิตทั้งหมดในเดือนกันยายน ค.ศ.
1971
โจว เอิ น ไหลได ดึ ง เติ้ ง เสี่ ย วผิ ง กลั บ มาช ว ยบริ ห ารประเทศในตํ า แหน ง รอง
นายกรัฐมนตรี ตอมาโจว เอินไหลถึงแกกรรมในตนป ค.ศ. 1976 ความขัดแยงระหวาง
104

เหลาผูนําก็ปะทุขึ้นอีกครั้ง โดยประชาชนไดนําพวงหรีดไปไวอาลัยอดีตนายกรัฐมนตรีที่
อนุสาวรียวีรชนในกลางจัตุรัสเทียนอันเหมิน แตพวงหรีดเหลานั้นถูกเก็บ ประชาชนได
ทํ า การประท ว ง จึ ง มี ก ารจั บ กุ ม ประชาชนขึ้ น และมี ก ารกล า วหาว า เติ้ ง เสี่ ย วผิ ง อยู
เบื้องหลังเหตุการณเหลานี้ เขาจึงถูกปลดออกจากทุกตําแหนง นายฮวา กวอเฟงจึงเขาทํา
หนาที่ในการประนีประนอมและไดรับตําแหนงเปนนายกรัฐมนตรีสืบแทนตอจากโจว
เอินไหล
เมื่อประธานเหมาถึงแกกรรมในเดือนกันยายน ค.ศ. 1976 นายกรัฐมนตรีไดสั่ง
จั บ กุ ม แกง 4 คนไดทั้ ง หมดในเดือ นตุ ล าคม และในที่สุ ด ฮวา กวอ เฟ งก็ ได เข าดํ ารง
ตําแหนงประธานพรรคคอมมิวนิสตจีนอีกตําแหนงหนึ่ง เขาจึงไดนําเติ้ง เสี่ยวผิงกลับมา
เปนรองนายกรัฐมนตรีอีกครั้ง
ในด า นกิ จ การต า งประเทศนั้ น ได เ กิ ด การเปลี่ ย นแปลงครั้ ง ใหญ เ มื่ อ
ประธานาธิบดีริชารด นิกสันไดเดินทางมาเยือนจีนในเดือนกรกฎาคม ค.ศ. 1971 ติดตาม
ดวยการเยี่ยมเยือนของนายกรัฐมนตรีญี่ปุนชื่อนายทานากะในปลายป ค.ศ. 1972 ซึ่งเปน
จุดเปลี่ยนผานครั้งสําคัญที่จีนไดเปดประเทศตอนรับผูนําชาติตะวันตกและญี่ปุน และใน
ที่สุดจีนก็ปรับใชนโยบายสังคมนิยมแบบจีนเมื่อเติ้ง เสี่ยวผิงไดประกาศใชนโยบาย 4
ทันสมัย ดังที่กลาวอยางละเอียดแลวขางตน

ความสัมพันธระหวางจีนกับญี่ปุนในยุคเติ้ง เสี่ยวผิงและยุคเจียง เจอหมิน


นายกรัฐมนตรีทานากะของญี่ปุนไดเดินทางไปเยือนจีนอยางเปนทางการใน ป
ค.ศ. 1972 และไดตัดความสัมพันธทางการทูตกับไตหวัน แตยังคงรักษาความสัมพันธ
ทางเศรษฐกิจกับไตหวัน โดยไดเปลี่ยนสถานทูตและสถานกงสุลญี่ปุนในไตหวันใหมี
สถานภาพเปนกึ่งเอกชนภายใตชื่อวา Japanese Interchange Association ทําหนาที่
ประสานงานในเรื่องความสัมพันธทางเศรษฐกิจและการคา สวนสถานทูตไตหวันใน
ญี่ปุนไดเปลี่ยนสถานะเปน East Asia Relations Association ทําหนาที่ดูแลเรื่อง
ความสัมพันธทางการคางระหวางกัน จากนั้น จีนและญี่ปุนก็สถาปนาทางการทูตโดย
ทันที
ภายหลังการสถาปนาความสัมพันธทางการทูตแลว มูลคาทางการคาระหวางสอง
ประเทศเพิ่มขึ้นจาก 1.2 พันลานเหรียญใน ค.ศ. 1972 เปน 3.8 พันลานเหรียญใน ค.ศ.
105

1975 ญี่ปุนเปนประเทศคูคารายใหญกับจีนเปนอันดับสองรองจากฮองกง อยางไรก็ตาม


กิจกรรมทางดานการคาและการลงทุนของญี่ปุนในจีนชะลอตัวลงเนื่องมาจากความไร
เสถียรภาพทางดานการเมืองเพราะเหลาผูนําของจีนตางชวงชิงแยงอํานาจกันตลอดเวลา
และการขาดเงินทุนที่จะตองใชในโครงการพัฒนาขนาดใหญ รวมทั้งความสามารถอัน
จํ า กั ด ที่ จ ะดึ ง ดู ด การลงทุ น จากต า งประเทศของจี น ในขณะนั้ น จนกระทั่ ง ถึ ง เดื อ น
สิงหาคม ค.ศ. 1978 จีนและญี่ปุนก็บรรลุขอตกลงและลงนามสนธิสัญญาสันติภาพ ดังมี
สาระสรุปได คือ (1) การอยูรวมกันอยางสันติดวยหลักหาประการ คือ เคารพอธิปไตย
บูรณาการแหงดินแดน การไมรุกราน การไมแทรกแซงกิจการภายใน ความเสมอภาค
และผลประโยชนของกันและกัน และการเคารพซึ่งกันและกัน (2) ไมแสวงหาความเปน
เจ า (hegemony) ในภู มิ ภ าคเอเชี ย แปซิ ฟ ค (3) ส ง เสริ ม ความสั ม พั น ธ ท างเศรษฐกิ จ
วั ฒ นธรรม และการแลกเปลี่ ย นประชากรระหว า งกั น (การไปมาหาสู กั น ) ใน
ขณะเดียวกัน ทั้งสองประเทศลงนามขอตกลงทางการคาระยะยาว หรือเปนเวลา 8 ป โดย
ไดกําหนดเปาหมายใหมูลคาทางการคาในชวงป ค.ศ. 1978 – 1985 บรรลุถึงสองหมื่น
ลานเหรียญสหรัฐฯ อีกทั้งระบุดวยวา ญี่ปุนจะตั้งโรงงานและสงเทคโนโลยีไปยังจีนดวย
มูลคาราว 7 – 8 พันลานเหรียญสหรัฐฯ และวัสดุกอสรางและเครื่องจักรอีกราว 2 – 3
พันลานเหรียญ สวนจีนจะสงถานหิน 8 – 9 พันลานตัน และน้ํามันดิบราว 47.1 ลานตัน
ไปยังญี่ปุน ขอตกลงนี้เปนผลใหแนวความคิดเกี่ยวกับการมีผลประโยชนรวมกันเปนที่
ยอมรับอยางเปนทางการเปนครั้งแรก
ขอตกลงทั้งสองฉบับดังกลาวชวยใหเกิดการขยายความสัมพันธระหวางกันในยุค
ที่จีนดําเนินการตามนโยบายสี่ทันสมัยและไดกระตุนใหมีการทําขอตกลงทางเศรษฐกิจ
ในดานตางๆ ทั้งในดานเงินทุน ความชวยเหลือทางดานเทคนิค และการเปนหุนสวนรวม
ลงทุนสงผลใหปริมาณการคาระหวางกันเพิ่มขึ้น 10 เทาตัว มีมูลคากวาหนึ่งหมื่นลาน
เหรียญ และจํานวนคนจีนและญี่ปุนเดินทางไปมาหาสูกันเพิ่มขึ้นเปน 20 เทาในรอบ 10
ป นับไดวา ความสัมพันธทางเศรษฐกิจในชวงนี้ไดรับผลสําเร็จตรงตามเปาหมายที่ทั้ง
สองประเทศไดตั้งไว
อย า งไรก็ ต าม ความสั ม พั น ธ ท างการเมื อ งกลั บ เสื่ อ มทรามลงในตอนกลาง
ทศวรรษ 1980 ทั้ ง นี้ เ ป น เพราะกระทรวงศึ ก ษาธิ ก ารญี่ ปุ น ได เ ตรี ย มการแก ไ ขตํ า รา
ประวัติศาสตรระดับชั้นมัธยม โดยเปลี่ยนคําวา “การรุกราน” เปน “การเขาไป” ของ
106

ทหารญี่ปุนในยุคที่ทําสงครามกับจีนเพื่อลดพฤติกรรมที่รุกรานและโหดรายใหเบาบาง
ลงไป อันจะทําใหเด็กญี่ปุนรุนใหมเห็นวา การกระทําของจักรวรรดินิยมญี่ปุนไมไดสราง
ความเจ็บปวดใหชาติเพื่อนบาน เมื่อขาวเรื่องนี้เผยแพรในป ค.ศ. 1982 ตอมา ในป ค.ศ.
1986 สื่อมวลชนของจีนไดประโคมขาว รวมทั้งทําการรณรงคตอตาน ในขณะที่ผูนําจีนก็
ไดวิพากษวิจารณวาญี่ปุนกําลังบิดเบือนขอมูลประวัติศาสตรความโหดรายของตนเอง
สถานการณไดเลวรายลงไปอีกเมื่อนายกรัฐมนตรีญี่ปุน นายยาสุฮิโร นากาโซเน
ไดเดินทางไปคารวะที่ศาลเจายาสุคุนิ (Yasukuni shrine) อยางเปนทางการในวันที่ 15
สิงหาคม ค.ศ. 1985 ทําใหคนจีนโกรธแคนยิ่งขึ้น เพราะเชื่อวาญี่ปุนอาจรื้อฟนลัทธิทหาร
นิยมขึ้นมาอีกครั้ง สวนทางดานเศรษฐกิจในชวงกลางทศวรรษที่ 1980 ก็ไมราบรื่นเพราะ
จีนประสบกับการขาดดุลการคากับญี่ปุนจํานวนมหาศาล กลาวคือ ในป ค.ศ. 1984 ขาด
ดุลคิดเปนมูลคา 12,500 ลานเหรียญสหรัฐอเมริกา และเพิ่มเปน 28,400 ลานเหรียญ
ในชวงหกเดือนแรกของป ค.ศ. 1985 เหตุการณเหลานี้ไดสงผลใหนักศึกษาจีนออกมา
เดินขบวนประทวงญี่ปุนตามเมืองใหญๆ ทั่วประเทศ แมสถานการณไมบานปลายแต
ความรูสึกเปนปฏิปกษตอญี่ปุนยังคงคุกรุนเรื่อยมา จนกระทั่งนายกรัฐมนตรีโนโบรุ ทา
เกะชิ ต ะเดิ น ทางไปเยื อ นจี น ในเดื อ นสิ ง หาคม ค.ศ. 1988 เพื่ อ ร ว มงานเฉลิ ม ฉลอง
ครบรอบ 10 ปของการลงนามในสนธิสัญญาสันติภาพ อีกทั้งรัฐบาลญี่ปุนไดเสนอให
เงินกูราว 6,000 ลานเหรียญสหรัฐ (ราว 8.1 ลานลานเยน) ในชวง ค.ศ. 1990 – 1995 ซึ่ง
เปนเงินกูกอนใหญครั้งที่ 3 (ครั้งแรกเปนเงินกูในชวงป ค.ศ. 1979 – 1983 และครั้งที่สอง
ในชวง ค.ศ. 1984 – 1990 จํานวนเงิน 3.3 และ 4.7 ลานลานเยน) ทําใหผูนําจีน นายเติ้ง
เสี่ยวผิงไดกลาวตอนายกรัฐมนตรีญี่ปุนวา “ความรวมมือทางเศรษฐกิจที่ญี่ปุนนํามาครั้ง
นี้มิใชสิ่งเล็กนอยเลยและเราขอแสดงการตอนรับและขอบคุณจากใจ” ในขณะที่เสียง
วิพากษวิจารณญี่ปุนวา ญี่ปุนเนนแตขายสินคาบริโภคใหแกจีนมากเกินไป แตซื้อสินคา
และลงทุนในจีนนอยเกินไปนั้นเริ่มแผวลงไปเรื่อยๆ
ปฏิกริยาของญี่ปุนตอเหตุการณเทียนอันเหมินเมื่อป ค.ศ. 1989 ไมรุนแรงเทากับ
ของประเทศตะวันตก โดยญี่ปุนไดดําเนินการบางสวนตามขอตกลง G-7 เชน ระงับ
โครงการเงินกูครั้งที่ 3 แตไมไดคว่ําบาตรการติดตอทางการคาและการลงทุนในจีน เมื่อ
เหตุการณผานไป นักธุรกิจญี่ปุนก็เขาไปลงทุนในจีนมากยิ่งขึ้นและนายกรัฐมนตรีไคฟูก็
เดิ น ทางไปเยื อ นจี น ใน ค.ศ. 1991 ทํ า ให จี น พอใจในท า ที แ ละการจั ด การเกี่ ย วกั บ
107

เหตุการณเทียนอันเหมินของญี่ปุน อนึ่ง จีนยิ่งใกลชิดกับญี่ปุนมากขึ้นเมื่อจักรพรรดิและ


จั ก รพรรดิ นี เ สด็ จ เยื อ นจี น อย า งเป น ทางการ ในการเยื อ นครั้ ง นี้ พระองค ไ ด ตํ า หนิ
พฤติกรรมทารุณโหดรายของทหารญี่ปุนตอจีนในชวงกอนและระหวางสงครามโลกครั้ง
ที่สอง ดวยการระบุวา พระองคเสียใจอยางลึกซึ้งตอเหตุการณที่เกิดขึ้นกับชาวจีน และ
มุงหวังจะสถาปนาความสัมพันธใกลชิดเพื่อสันติภาพและความรุงเรืองของประเทศทั้ง
สอง
ตอมา นายกรัฐมนตรีโฮโซคาวาไดเดินทางไปเยือนจีนในเดือนมีนาคม ค.ศ. 1994
และได ก ล า วคํ า ขอโทษอย า งเป น ทางการสํ า หรั บ การรุ ก รานของญี่ ปุ น ที่ ก ระทํ า ต อ
ประเทศจีนในอดีต แตเขาก็ไดแสดงความกังวลในเรื่องที่จีนสรางแสนยานุภาพทาง
การทหารใหทันสมัย และนายกรัฐมนตรีญี่ปุนคนถัดๆ มาตางก็กลาวกันไปในทิศทาง
เดียวกัน ในขณะที่จีนไดตอบโตวา ญี่ปุนรวมมือกั บสหรัฐอเมริกาสงเสริมทฤษฎีภัย
คุกคามจากจีน (Chinese Threat) ที่มุงเปาในการวิพากษวิจารณจีน
ความตึ ง เครี ย ดทางการเมื อ งระหว า งจี น - ญี่ ปุ น ได เ พิ่ ม มากขึ้ น อี ก ครั้ ง เมื่ อ
หนังสือพิมพจีนตีพิมพขอมูลทางประวัติศาสตรเกี่ยวกับพฤติกรรมอันปาเถื่อนในเรื่อง
หองทดลองสงครามทางชีวภาพของญี่ปุนเมื่อป ค.ศ. 1994 โดยระบุวา หนวยบีโอ 8609
(Unit BO 8609) และหนวยลับ 731 ในแมนจูเรียของญี่ปุนไดทําใหเหยื่อชาวจีนหลายพัน
คนตองเสียชีวิตหลังจากถูกฉีดยาดวยเชื้อจุลินทรียชนิดตางๆ และเชื้อโรคที่ติดตอไดจาก
จากทดลองอยางลับๆ ในชวงสงครามโลกครั้งที่สอง ทําใหคนจีนกวารอยละ 56 มอง
ญี่ปุนวามีบุคลิกที่โหดราย แตนักการเมืองฝายขวาจัดของญี่ปุนที่เปนฝายขวาจัดก็ตอบโต
วา ความโหดรายตางๆ ที่ปรากฏในสื่อมวลชน รวมทั้งกรณี Rape of Nanging เปนเรื่องที่
กุ ขึ้น มาทั้งสิ้น อีก ทั้ ง บางคนยั งกล า ววา การทํ าสงครามของญี่ ปุ น นั้น ไมได เ ป น การ
รุกราน แตเปนการชวยปลดปลอยประเทศในเอเชียใหหลุดพนจากการเปนอาณานิคม
ของชาติตะวันตกและยังชวยใหประเทศเหลานั้นสามารถพัฒนาประเทศไดในภายหลัง
คํากลาวดังกลาวเปนการเพิ่มความไมพอใจใหกับจีนและเกาหลีเปนอยางยิ่ง
ความบาดหมางใจระหวางประเทศทั้งสองเกิดขึ้นอีกเรื่องหนึ่งก็คือ ในวันที่ 14
กรกฎาคม ค.ศ. 1996 มีชาวญี่ปุนชาตินิยมกลุมหนึ่งไดไปสรางประภาคารและอนุสาวรีย
ขึ้นที่เกาะเตี้ยวยวี๋ จีนและไตหวันจึงทําการประทวง โดยจีนไดเตือนญี่ปุนวาจะกอใหเกิด
ผลเสียหายอันรายแรงตอความสัมพันธระหวางกัน แตรัฐมนตรีวาการกระทรวงการ
108

ตางประเทศ ญี่ปุนอางวา รัฐบาลไมมีสวนรูเห็นกับการกระทําของคนกลุมดังกลาว ซึ่ง


เปนเยาวชนที่เดินทางไปยังหมูเกาะนั้น ตอมาป ค.ศ. 1978 ทั้งสองประเทศไดลงนามใน
สนธิสัญญาสันติภาพ โดยเติ้ง เสี่ยวผิงไดใหคํามั่นวา จะมิใหกรณีพิพาทเรื่องหมูเกาะเปน
อุปสรรคตอความสัมพันธระหวางกัน อยางไรก็ตาม ในวันที่ 25 กุมภาพันธ ค.ศ. 1992
สภานิติบัญญัติของจีนไดระบุวา หมูเกาะเหลานี้เปนของจีนตามกฎหมายเกี่ยวกับอาณา
เขตนานน้ําของจีน ญี่ปุนไดยื่นประทวงทันที อีกทั้งไดประกาศเขตเศรษฐกิจจําเพาะซึ่ง
กินอาณาเขตรวมถึงหมูเกาะดังกลาวเชนกัน
ตอมา ในเดือนกันยายน ค.ศ. 1997 จีนและญี่ปุนสามารถทําขอตกลงโดยใหเก็บ
เรื่องที่วาประเทศใดควรเปนเจาของเกาะเอาไวกอน และใหสถาปนาเขตจัดการรวมกัน
(Joint management zone) ที่กินพื้นที่กวาง 200 ไมล ซึ่งอนุญาตใหทั้งสองประเทศ
สามารถทําการประมงไดและรวมมือกันในการใชทรัพยากรในบริเวณดังกลาว
ประการสุดทายเกี่ยวกับเรื่องไตหวัน โดยญี่ปุนยังคงติดตอและใหการยกยองผูนํา
ไตหวันแมวาจะตัดความสัมพันธทางการทูตกับไตหวันมานานแลวก็ตาม ทั้งนี้เพราะ
ไตหวันเคยตกเปนอาณานิคมของญี่ปุนในระหวาง ค.ศ. 1895 – 1945 คนไตหวันรุนเกา
จํ า นวนมากที่ ไ ด รั บ การศึ ก ษาจากญี่ ปุ น สามารถพู ด ภาษาญี่ ปุ น ได ดั ง เช น อดี ต
ประธานาธิบดีไตหวัน นายลี เต็งฮุย อีกทั้งวัฒนธรรมญี่ปุนไดรับความนิยมในไตหวัน
มาก เชน หนังสือ นิตยสาร ฯลฯ อยางไรก็ตาม ปญหาที่เกิดขึ้นก็คือ จีนพยายามเตือน
ญี่ปุน มิใ หใ กลชิ ด กับ นัก การเมื องของไตหวั น ที่ มั ก ใชป ระโยชนจากความสัม พั น ธ ที่
ใกล ชิ ด กั บ ญี่ ปุ น สร า งลั ท ธิ ช าติ นิ ย มและการแยกตั ว ออกเป น ประเทศอิ ส ระจากจี น
ในขณะที่ ค วามสั ม พั น ธ กั บ ไต ห วั น เกี่ ย วพั น กั บ สหรั ฐ อเมริ ก า สหภาพยุ โ รป และ
ออสเตรเลีย อีกดวย ทําใหจีนไมคอยไววางใจญี่ปุนวาจะสนับสนุนนโยบายจีนเดียวของ
ตนหรือไมเพียงใด

ความสัมพันธระหวางจีนกับเกาหลี
จีนและเกาหลีในยุคนี้มีความสัมพันธตอกันแตกตางจากอดีตกาล ทั้งนี้เพราะมี
สถานการณและตัวแปรที่มาเกี่ยวของมากมาย โดยเฉพาะอยางยิ่งการแยกคาบสมุทร
ออกเปนเกาหลีเหนือและเกาหลีใตภายหลังการไดรับเอกราชจากญี่ปุนอันเปนผลมาจาก
ความแตกตางกันทางดานอุดมการณทางการเมือง การใหความชวยเหลือเกาหลีเหนือจาก
109

จีนและสหภาพโซเวียต และเกาหลีใตจากสหรัฐอเมริกาและญี่ปุนซึ่งกอใหเกิดการแบง
ขั้วการเมืองระหวางประเทศออกเปนสองขั้วในยุคสงครามเย็น และการเกิดสงคราม
เกาหลีในชวงป ค.ศ. 1950 – 1953 อันเปนการประลองยุทธกันระหวางประเทศโลกเสรี
กับโลกคอมมิวนิสต ดวยเหตุนี้จึงจําเปนที่จะตองอธิบายความสัมพันธระหวางจีนกับ
เกาหลีเหนือ และจีนกับเกาหลีใตพอสังเขป ดังตอไปนี้
ก. จีนกับเกาหลีเหนือ
(1) ความผูกพันทางประวัติศาสตร ทัศนคติของจีนตอเกาหลีเหนือเปนผลมาจาก
ความสัมพันธของจีน – เกาหลีนับตั้งแตครั้งโบราณกาลที่เกาหลีเปนรัฐบรรณาการของ
จีน กลาวโดยยอ รัฐบรรณาการเปนความสัมพันธที่เต็มไปดวยสิทธิและหนาที่โดยจีนจะ
เปนผูคุมครองดูแลและใหคําปรึกษาเสมือนหนึ่งพอแมหรือพี่ชายใหแกนอง ในขณะที่
เกาหลี จ ะให ก ารยอมรั บ ความเคารพและเชื่ อ ฟ ง เสมื อ นเป น พ อ แม ห รื อ พี่ เนื่ อ งจาก
ความสัมพันธเปนไปในลักษณะนี้ จีนจึงเรียกเกาหลีวา shupang ซึ่งหมายถึงรัฐพึ่งพาหรือ
รัฐใตอาณัติหรือเมืองนอง สวนเกาหลีจะเรียกจีนวา daeguk หมายถึงรัฐพี่หรือเมืองพี่
โดยกระทรวงการตางประเทศของราชวงศชิงไดอธิบายถึงสถานภาพของเกาหลีวา
Korea, though a dependency of China, is completely autonomous in her politics,
religions, and orders, China has never interfered it. ในอดีต จีนเปนชาติที่เกาหลีพึ่งพา
ไดตลอดเวลา ดังตัวอยางเชน ในตอนที่โชกุนฮิเดโยชิ ของญี่ปุนยกกองทัพบุกเกาหลี
เกาหลีไดขอรองใหจีนชวยเหลือ ซึ่งก็ไดรับการตอบรับเปนอยางดี จนมีการกลาวขวัญ
กันวา จีนและเกาหลีเปนครอบครัวเดียวกัน (China and Korea actually belong to the
same family)
ความรูสึกของการเปนบานพี่เมืองนองระหวางจีน - เกาหลียังคงมีปรากฏอยาง
เดนชัดในยุคตนของคริสตศตวรรษที่ 20 หรือในชวงที่คาบสมุทรเกาหลีตกอยูภายใตการ
เปนอาณานิคมของญี่ปุน และความสัมพันธไดกระชับมากยิ่งขึ้นในยุคสงครามเย็นเมื่อ
จีนและเกาหลีเหนือตางยึดมั่นในระบบการปกครองแบบเดียวกัน ซึ่งเปนคนละพวกกับ
เกาหลีใต ญี่ปุน สหรัฐฯ และประเทศตะวันตกที่ยึดถือระบบประชาธิปไตยแบบทุนนิยม
ตอมา ในยุคหลังสงครามเย็น เกาหลีเหนือก็ยิ่งมีความใกลชิดกับจีนมากขึ้น ทั้งนี้เพราะ
จีนยังคงทําหนาที่เปนเสมือนพี่ใหญที่คอยปกปองเกาหลีเหนือเรื่อยมาจนถึงปจจุบัน
110

ในทางตรงกันขาม แมเกาหลีใตซึ่งรวมประวัติศาสตรเดียวกันกับเกาหลีเหนือ
และมีทัศนคติเปนบานพี่ – เมืองนองกับจีนในอดีต แตพอถึงตอนกลางคริสตศตวรรษที่
20 เมื่อเกาหลี ใ ตไดปรั บ ใชระบบการปกครองในระบอบประชาธิ ปไตย ทํ าให
ความสัมพันธกับจีนเหินหางกันขึ้นในชวงแรกของการกอตั้งประเทศตั้งแตป ค.ศ. 1948
ตอมา ความสัมพันธไดเลวรายลงเมื่อจีนใหการสนับสนุนเกาหลีเหนือในการทําสงคราม
กับเกาหลีใตในสงครามเกาหลีระหวาง ค.ศ. 1950 – 1953 เมื่อสงครามสิ้นสุดลง จีน –
เกาหลีใตตางเปนศัตรูกัน ทั้งนี้เพราะรัฐบาลเกาหลีใตสั่งหามพลเมืองของตน “เปนมิตร”
กับประเทศในกลุมคอมมิวนิสตทั้งหมด ทั้งสองประเทศจึงไมมีความสัมพันธทางการทูต
ตอกันจนกระทั่งถึงตนทศวรรษที่ 1990 เมื่อสถานการณทางการเมืองระหวางประเทศได
แปรเปลี่ยนไป ดังรายละเอียดที่จะไดกลาวในบทตอไป
(2) การรวมมือกันตอสูกับญี่ปุนผูรุกราน ในชวงตนของคริสตศตวรรษที่ 20 ที่
ญี่ปุนยึดครองคาบสมุทรเกาหลีเปนอาณานิคม ชาวเกาหลีชาตินิยมกลุมตางๆ ทั้งที่เปน
ฝายอนุรักษนิยมและฝายเสรีนิยมหัวกาวหนาตางอพยพหนีไปสองสุมกําลังรอคอยการ
แกแคนญี่ปุนภายหลังที่ถูกกองทหารองคจักรพรรดิปราบปรามในกรณีการเดินขบวน
เรียกรองเอกราชครั้งใหญเมื่อวันที่ 1 มีนาคม ค.ศ. 1919 คนเกาหลีบางสวนไดหนีตายเขา
ไปในจีน โดยเฉพาะอยางยิ่งในบริเวณแถบแมนจูเรียของจีนและไซบีเรียในดินแดนของ
รัสเซีย เพื่อสมทบกับคนเกาหลีอพยพที่หนีภัยจากการยึดครองเปนอาณานิคมกอนหนา
นั้นแลว คนเกาหลีไดใชดินแดนจีนเปนฐานในการตอตานจักรวรรดินิยมญี่ปุน ดังเชน
ดร.ซิงมัน รีและนายปก ยองนําที่ไดหลบหนีไปยังสหรัฐอเมริกา และไดจัดตั้งองคการกู
ชาติชื่อ ตองจีโฮ อีกทั้งสามารถประสานความรวมมือกับกลุมกูชาติเกาหลีอื่นๆ โดย
รวมมือกับกลุมนิยมคอมมิวนิสตเกาหลีจัดตั้งรัฐบาลเกาหลีพลัดถิ่นขึ้นในกรุงเซี่ยงไฮ มี
การจัดตั้งโรงเรียนฝกหัดทหารกูชาติ และพิมพหนังสือพิมพปลุกพลังรักชาติ เปนตน อีก
สองป ต อ มาแม ว า รั ฐ บาลพลั ด ถิ่ น ล ม สลายเพราะอนุ รั ก ษ นิ ย มแตกแยกกั บ กลุ ม
คอมมิวนิสต แตการตอสูเพื่อเอกราชก็คงดําเนินตอไป และไดยายตามรัฐบาลจีนคณะ
ชาติที่ถูกญี่ปุนรุกรานไปยังเมืองนานกิงและเมืองจุงกิง เปนตน
ความเคลื่อนไหวเพื่อเรียกรองเอกราชจากญี่ปุนไดกระทํากันอยางตอเนื่องทั้งบน
เวทีการเมืองระหวางประเทศและแนวรบกูชาติใตดิน โดยไมมีชาติมหาอํานาจใดกลาให
ความช ว ยเหลื อ เกาหลี อ ย า งจริ ง จั ง ยกเว น จี น และโซเวี ย ตซึ่ ง มี ญี่ ปุ น เป น ศั ต รู ร ว ม
111

เชนเดียวกับชาวเกาหลี ดังนั้น การตอสูและแหลงสองสุมกําลังของฝายศัตรูจึงไดมีการ


กระทํากันในดินแดนของจีนและไซบีเรียของโซเวียตเปนสวนใหญ จนกระทั่งสิ้นสุด
สงครามโลกครั้งที่สอง
อนึ่ ง มี ห ลั ก ฐานทางประวั ติ ศ าสตร ที่ ชี้ ใ ห เ ห็ น ถึ ง ความสั ม พั น ธ อ ย า งใกล ชิ ด
ระหวางจีนกับเกาหลีเหนือก็คือ เอกสารของทางการเกาหลีเหนือที่เลาถึงประวัติของ
ตระกูลคิมที่ใชจีนเปนฐานในการตอสูกับญี่ปุนนับตั้งแตนายคิม เฮียงจิก ผูซึ่งเปนบิดา
ของนายคิ ม อิล ซุ ง ที่ ไ ด ห ลบหนี เ ข า ไปอาศั ย อยู ใ นแมนจู เ รี ย ทํ า การต อ ต า นญี่ ปุ น ใน
ระหวางตอนปลายทศวรรษที่ 1910 จนถึงตอนกลางของทศวรรษ 1920 ตอมาเมื่อเขา
เสียชีวิต บุตรชายคือนายคิม อิลซุงก็ไดยึดมั่นปณิธานของบิดาทําการกูชาติจนกระทั่ง
ได รั บความสําเร็จ คนและผูนําเกาหลี เหนื อจึงติ ดหนี้บุ ญคุ ณจีนมากมาย และยึดสาย
สัมพันธอยางใกลชิดเปนบานพี่เมืองนองกันตลอดมา
(3) สงครามเกาหลี สงครามเกาหลีเปนอีกสถานการณหนึ่งที่จีน – เกาหลีเหนือ
ไดส รางความผูก พันตอกั นอย างเหนียวแนน โดยมี การรวมเลือดเนื้อของคนทั้งสอง
ประเทศให ห ล อ หลอมกั น เป น หนึ่ ง เดี ย วทํ า การต อ สู กั บ “ศั ต รู ผู รุ ก ราน” นั่ น คื อ
สหรัฐอเมริกา ประเทศพันธมิตร และรัฐบาลหุนเกาหลีใต
สงครามเกิดขึ้นในวันที่ 25 มิถุนายน ค.ศ. 1950 โดยกองทหารเกาหลีเหนือไดรุก
ขามเสนขนานที่ 38 องศาเหนือลงมาและยึดกรุงโซลได ตอมากองทัพสัมพันธมิตรของ
องคการสหประชาชาติไดรุกกลับ สามารถยึดกรุงโซลคืนและยึดกรุงเปยงยางเมืองหลวง
ของเกาหลีเหนือไวได รัฐบาลคอมมิวนิสตของคิม อิลซุงตองอพยพไปอยูที่เมืองซินอุยจู
ตอมาก็ถูกตีแตกพาย ตองอพยพหนีเขาไปในแมนจูเรียของจีนและเทือกเขาที่กันดารใน
เขตของประเทศโซเวียต ฝายทหารสัมพันธมิตรไดรุกตอขามแมน้ํายาลูเขาไปในดินแดน
ของจีน รัฐบาลจีนซึ่งเพิ่งสถาปนาประเทศขึ้นใหมในระบอบคอมมิวนิสตไดเพียงปเดียว
ได ถือเปนการจงใจรุก รานดินแดนของจีนจากกองกํ าลังตางชาติ จึ งไดสงกองทหาร
อาสาสมัครประชาชนจีนที่มีนายพลเผิง เตอะหวยนับแสนคนเขาชวยกองทหารเกาหลี
เหนือเพื่อยึดดินแดนคืน และรุกรบตอจนสามารถยึดกรุงโซลไดอีกครั้ง หลังจากนั้นก็
สามารถยึดเมืองสําคัญทางตอนกลางของเกาหลีไดอีกหลายเมือง ในการรุกรบระหวาง
กองทัพคอมมิวนิสตของจีนและเกาหลีเหนือ กับกองทัพขององคการสหประชาชาติและ
112

เกาหลีใตเปนไปอยางดุเดือด ทําใหทั้งสองฝายสูญเสียกําลังไปมากมาย จนอาจกลาวไดวา


เลือดของทหารและประชาชนไดรินไหลนองทวมทั่วทั้งคาบสมุทรเกาหลีทีเดียว
ในการรบเพื่ อ ยึ ด ดิ น แดนทางตอนเหนื อ คื น มาจากกองทั พ อเมริ กั น และ
สัมพันธมิตรนั้น เกาหลีเหนือไดระดมกองกําลังราว 15 กองพล มีทหารประจําการราว
150,000 คน สวนกองกําลังของจีนที่เขารวมรบมี 28 กองพล มีกําลังพลกวา 280,000 คน
นั่นหมายความวา จีนไดใหการชวยเหลือเกาหลีเหนืออยางเต็มที่เพื่อมิใหฝายโลกเสรีเขา
ไปรุกล้ําเขตแดนของฝายคอมมิวนิสตได ตอมากองทัพสหประชาชาติสามารถยึดกรุง
โซลกลับคืนมาไดอีกครั้ง และขับไลกองทหารคอมมิวนิสตใหถอยรนขึ้นไปเหนือเสน
ขนานที่ 38 จากนั้นจึงมีการเจรจาสงบศึกที่หมูบานปนมุมจอมในวันที่ 27 กรกฎาคม ค.ศ.
1953 โดยมีผูลงนาม 3 คน คือ นายพลเผิง เตอะหวย ผูบัญชาการกองกําลังอาสาสมัคร
ประชาชนจีน คิม อิลซุง ผูบัญชาการทหารสูงสุดกองทัพประชาชนเกาหลี และนายพล
มารค ดับบลิว คลารค ผูบัญชาการทหารสูงสุดกองทัพสหประชาชาติ สงครามเกาหลีจึง
สงบลงภายหลั งที่ก ารตอสู อย างดุ เดื อดกิ น เวลานานราว 3 ป สงครามได ส รา งความ
สูญเสียอยางมากมายมหาศาลแกทั้งสองฝาย โดยมีผูเสียชีวิตราวสองลานคน ชาวเกาหลี
นับลานตองพลัดพรากจากกันโดยคนเกาหลีเหนือบางคนหนีไปเกาหลีใตในขณะที่คน
เกาหลีใตบางสวนหนีตายไปยังเกาหลีเหนือ ทรัพยสินที่เปนที่อยูอาศัยและสิ่งปลูกสราง
ถูกทําลายอยางสิ้นเชิง และคาใชจายที่ใชในการทําสงครามคิดเปนมูลคาราว 2 – 3 แสน
ลานเหรียญสหรัฐฯ
ภายหลังสงคราม เกาหลีเหนือตองเผชิญกับปญหามากมายที่เปนผลกระทบจาก
สงคราม จึงตองรีบเรงในการฟนฟูบูรณะประเทศขึ้น มิตรประเทศของเกาหลีเหนือ คือ
จีน โซเวียตและประเทศในยุโรปตะวันออกในยุคนั้นไดใหความชวยเหลือทางเศรษฐกิจ
และทางเทคนิคจํานวนมหาศาล โดยในป ค.ศ. 1953 จีนใหความชวยเหลือราว 325.5
ลานเหรียญและยกเลิกหนี้สินเดิมที่เกาหลีเหนือกอขึ้นในระหวางสงครามอีก 72 ลาน
เหรียญ ในขณะที่โซเวียตใหความชวยเหลือคิดเปนมูลคา 250 ลานเหรียญ ตอมาจีนไดให
ความชวยเหลือเพิ่มขึ้นอีก 517 ลานเหรียญ หรือคิดเปนรอยละ 38 ของเงินชวยเหลือจาก
ตางประเทศทั้งหมด สวนที่เหลือเปนการชวยเหลือจากมิตรประเทศคอมมิวนิสตอื่นๆ
การชวยเหลือของจีนตอเกาหลีเหนือดังที่กลาวมาขางตนนี้ เปนความชวยเหลือที่
ยิ่งใหญที่สรางความผูกพันและมัดใจใหผูนําและประชากรเกาหลีเหนือสํานึกถึงบุญคุณ
113

ของจีนอยางมิรูลืม ทั้งนี้เพราะจีนไดทุมเททั้งเลือดเนื้อและทรัพยสินชวยเหลือแบบสุดตัว
ดวยเหตุนี้ ความสัมพันธระหวางประเทศทั้งสองจึงมีมากกวาความเปนเพื่อนและสูงเดน
กวาการรวมมือทางเศรษฐกิจและการเมืองเทานั้น
ข. จีนกับเกาหลีใต
ความสัมพันธระหวางจีนกับเกาหลีใตเปนไปอยางจํากัดในชวงตอนกลางของ
คริสตศตวรรษที่ 20 เพราะประเทศทั้งสองตั้งตัวเปนปรปกษตอกันในยุคสงครามเย็น
ดังนั้นจะขอนําเรื่องราวความสัมพันธของทั้งสองประเทศไปกลาวในตอนทายของบทที่
เกี่ยวกับเกาหลี

จีน: มังกรผงาด

ในหวง 15 – 20 ปที่ผานมา (ค.ศ. 1985 – 2006) ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงเหนือได


มีการเปลี่ยนแปลงอยางใหญหลวง โดยที่ผลการพัฒนาทางเศรษฐกิจของประเทศสมาชิก
ในภูมิภาคนี้ไดบรรลุความสําเร็จเกินเปาหมายที่ไดตั้งไว ไดแก เกาหลีใตที่เริ่มการพัฒนา
ประเทศอยางจริงจังตั้งแต ค.ศ. 1962 นับแตนั้นมา อัตราความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ
ไดพุงพรวดเปนรอยละ 8 – 11 ตอป ทําใหกลายเปนสังคมอุตสาหกรรมใหมในตอนกลาง
ทศวรรษที่ 1980 สามารถจัดการแขงขันกีฬาเอเชียนเกมส (ค.ศ. 1986) และกีฬาโอลิมปก
ฤดูรอน (ค.ศ. 1988) เปนประเทศที่มีขนาดเศรษฐกิจใหญเปนอันดับที่ 11 ของโลก (ค.ศ.
1996) และก า วล้ํ า นํ า หน า ในอุ ต สาหกรรมต อ เรื อ รถยนต และไอที ตลอดจน
อุตสาหกรรมบันเทิงจนเปนที่รูกันทั่วไปในเรื่อง กระแสเกาหลี (Korean wave) ที่ลือลั่น
ไปทั่วเอเชียในตอนตนของสหัสวรรษที่ 21
สวนจีนไดรับความสําเร็จในการพัฒนาสูงสุดภายหลังที่เปดเขตเศรษฐกิจเสรีในตอน
ปลายทศวรรษ 1970 ทําใหกลายเปนประเทศที่มีอัตราความเจริญเติบโตสูงที่สุดในโลก
ในตอนปลายทศวรรษ 1990 มาจนถึงปจจุบัน (ค.ศ. 2006) จีนประสงคที่จะกลับมาเปน
ชาติที่ยิ่งใหญหรือมหาอํานาจของโลกอีกครั้ง จึงพยายามใชกลยุทธทุกทางเพื่อใหบรรลุ
เปาหมาย
ในทางตรงกั น ข า ม ญี่ ปุ น เป น ประเทศชั้ น แนวหน า ของภู มิ ภ าคนี้ นั บ แต ป ลาย
คริสตศตวรรษที่ 19 และเจริญรุงเรืองสูงสุดในคริสตศตวรรษที่ 20 ไดประสบกับปญหา
114

ความชะงักงันทางเศรษฐกิจในชวงทศวรรษที่ 1990 และยังคงเปนปญหาเรื้อรังมาจนถึง


ทุกวันนี้ การเปลี่ยนแปลงดังกลาวกอใหเกิดความสึกกรอนของโครงสรางทางสังคม
วัฒนธรรมที่เคยเปนเสาหลักผลักดันใหความเจริญรุงเรืองทางเศรษฐกิจในอดีต เชน การ
ลมสลายของการจางงานตลอดชีพ เปนตน
ควมผันผวนของภาคเศรษฐกิจญี่ปุนเกิดขึ้นทามกลางการปะทุที่เรารอนของเศรษฐกิจ
เกาหลีใตและจีน รวมไปถึงไตหวัน กอใหเกิดการทาทายจากสังคมที่เคยตกอยูภายใต
อิทธิพลของญี่ปุนดวยการเพิ่มกระแสขอเรียกรอง “ความรับผิดชอบ” ที่ญี่ปุนเคยกระทํา
ตอพวกเขาในอดีต รวมทั้งการเรียกรองสิทธิ์ความเปนเจาของเหนือเกาะที่ไรผูอยูอาศัย
ลักษณะของการเรียกรองบงบอกถึงการแสดงออกถึงความสําคัญของแตละรัฐที่มีอํานาจ
ทางเศรษฐกิจและการเมืองเทาเทียมกัน และบ งบอกถึงระบบความสัม พัน ธร ะหวาง
ประเทศที่เปลี่ยนแปลงไปทั้งในระดับภูมิภาคและระดับโลก
สถานการณดังกลาวยังกอใหเกิดมิติใหมทางการเมืองระหวางประเทศที่เกิดการเกาะ
กลุมของขั้วการเมืองที่เหนียวแนนมากขึ้น ไดแก จีน – เกาหลีเหนือ – รัสเซีย และ
สหรัฐฯ – เกาหลีใต –ญี่ปุน ในขณะเดียวกัน ผลประโยชนทางเศรษฐกิจกอใหเกิดการ
แยงชิงพวกพองกับประเทศในภูมิภาคอื่น โดยเฉพาะอยางยิ่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต
ดังเชน การกําเนิดกลุมที่เรียกวา ASEAN Plus Three และกอใหเกิดเปนรูปแบบ “การ
รวมมือในเชิงแขงขัน” (competitive cooperation) ในกลุมเศรษฐกิจตะเกียบ (Chopstick
economics) ขึ้น อนึ่ง มีความเกี่ยวพันระหวางประเทศทั่วทุกภาคของโลกอยางเหนียว
แน น ในยุ ค ป จ จุ บั น ที่ ตั ว แสดงจากซี ก โลกอื่ น ดั ง เช น สหรั ฐ อเมริ ก า สหภาพยุ โ รป
ออสเตรเลีย ฯลฯ เขามามีสวนรวม และมีอิทธิพลในความสัมพันธระหวางรัฐตางๆ ใน
เอเชียตะวันออกอยางใกลชิดกวาชวงเวลาใดๆ ในประวัติศาสตร ทั้งนี้ทั้งนั้นสวนหนึ่ง
เปนผลมาจากการพัฒนาโลกไซเบอรของยุคโลกาภิวัฒน และอีกสวนหนึ่งเปนผลมาจาก
สถานภาพการครองความเปนหนึ่ง (monolithic) ของสหรัฐฯ ถูกทาทายจากพลังสวนอื่น
อยางตอเนื่อง เชน จากโลกมุสลิม จีน เปนตน
จะเห็นไดวา นับตั้งแตตอนกลางของทศวรรษ 1980 เปนตนมาจนถึงปจจุบัน
สถานการณของโลกไดเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็วในทุกแงทั้งในระดับประเทศ ภูมิภาค
และโลก มีตัวแปรมากมายเขามาเกี่ยวของทั้งทางตรงและทางออม ทําใหบางสถานการณ
ที่เกิดขึ้นเปนเสมือนปรากฏการณที่เกิดขึ้นใหม ไรซึ่งความตอเนื่องทางประวัติศาสตร
115

ดังเชนสนธิสัญญาทวิภาคี และพหุภาคีทางดานเศรษฐกิจและการเมือง ในขณะที่บาง


สถานการณกลับเกี่ยวพันกับอดีตอยางแนนแฟน ดังเชนกรณีการอางสิทธิ์เหนือเกาะโดก
โด Dokdo หนังสือเรียนชั้นมัธยมของญี่ปุน และการอางสิทธิ์เหนือหลุมฝงศพในยุค
อาณาจักรโคกูริว อีกทั้งทุกอยางมีการเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็วและตลอดเวลา ทําใหมี
ความลําบากยากยิ่งในการอธิบายถึงแบบแผนความสัมพันธของประเทศทั้งสามไดอยาง
เห็นไดอยางชัดเจน
ดังนั้น ในตอนนี้จะเนนการอธิบายโดยยึดหลักที่ทั้งสามประเทศเปาหมายคลายคลึง
กัน นั่นคือ ความเปนเจาทางเศรษฐกิจ (economic hegemony) ที่ตัวแสดงทั้งสามประสงค
ที่ จะใหบ รรลุผล สวนตัว แปรอื่นจะใช อธิ บายในส วนที่ เกี่ ยวข องของกรอบดั งกล า ว
วิธีการนี้จะนําไปสูการวิเคราะหที่จะใหเกิดผลลัพธจากมุมมองหนึ่ง ซึ่งอาจจะไดรับ
ผลลัพธที่คลายคลึงหรือแตกตางกันหากใชวิธีการอื่น
นับตั้งแตจีนเปดประเทศในตอนปลายยุคของกลุมผูนํารุนที่หนึ่ง คือ เหมา เจอตุง
และโจว เอินไหล ประเทศนี้ไดมีการประกาศแผนพัฒนาเศรษฐกิจ ฉบับที่ 4 (ค.ศ. 1971
– 1975) ที่เนนการพัฒนาอุตสาหกรรมเพื่อสงเสริมการเกษตร อุตสาหกรรมขนาดกลาง
และขนาดเล็ก และการคาระหวางประเทศทางดานการเกษตร ตอมาไดเนนย้ําการทําให
เกิดความทันสมัยทางดานการเกษตร อุตสาหกรรม การปองกันประเทศ วิทยาศาสตร
และเทคโนโลยีในแผนพัฒนาฉบับที่ 5 (ค.ศ. 1976 – 1980) อยางไรก็ตาม เมื่อผูนําทั้ง
สองไดถึงแกอสัญกรรมใน ค.ศ. 1976 ผูนํารุนที่สอง นั่นคือ เติ้ง เสี่ยวผิง (ค.ศ. 1977 –
1992) ก็ไดสานงานตอ แตไดมองเห็นจุดออนของการวางแผนเศรษฐกิจแบบศูนยรวม
และยุทธศาสตรการพัฒนาที่เนนแตความเทาเทียมกัน กอใหเกิดการผูกขาดการตัดสินใจ
จากหนวยงานสวนกลาง และการยึดเปาหมายความเทาเทียมกันมากเกินไปนั้นกอใหเกิด
การเปลี่ยนแปลงและการพัฒนาที่ชาเกินไป ดังนั้น “การพัฒนา 4 ทันสมัย” ใน
แผนพัฒนาฉบับที่ 6 (ค.ศ. 1981 – 1985) จึงเนนการปฏิรูปเศรษฐกิจจีนใหเปนสังคมนิยม
ที่ทันสมัยโดยใชกลไกลตลาดของระบบทุนนิยม รวมทั้งเปดประเทศเพื่อรับการลงทุน
จากตางชาติ เศรษฐกิจของจีนจึงพุงพรวด โดยมีอัตราความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจอยู
ในระดับสูงยิ่ง นั่นคือ เฉลี่ยในระดับรอยละ 9.38 ตอปตลอดชวงทศวรรษ 1980 และเปน
รอยละ 9.86 ตอปในทศวรรษ 1990
116

กลุมผูนํารุนที่สาม ภายใตการนําของนายเจียง เจอหมิน (ค.ศ. 1992 – 2002) ได


ดําเนินการผลักดันประเทศใหกาวไปสูการเปนชาติสังคมนิยมที่มีความรุงโรจนทาง
เศรษฐกิจตอไปตามแนวคิดของนายเติ้ง เสี่ยวผิง โดยไดลดคาเงินหยวนลงรอยละ 10 ใน
ค.ศ. 1994 ทําใหจีนสามารถสงสินคาออกไดมากขึ้น อีกทั้งไดดึงดูดนักลงทุนตางชาติเขา
มาลงทุนในประเทศไดมากจากทุกสารทิศในแผนพัฒนาฉบับที่ 8 และ 9 (ค.ศ. 1991 –
2000) รวมทั้งลดการควบคุมอยางเขมงวดจากสวนกลางลง
วิกฤตการณทางการเงินในเอเชียในป ค.ศ. 1997 ไดสงผลกระทบตอจีนนอยมาก โดย
ทําใหอัตราความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจลดลงเหลือเพียงรอยละ 8.8 7.8 และ 7.1 ในป
ค.ศ.1997 1998 และ 1999 ตามลําดับ ซึ่งก็ยังถือวาอยูในระดับสูงมากเมื่อเทียบกับ
ประเทศในเอเชียอื่นๆ ที่มีอัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจติดลบติดตอกันหลายป อนึ่ง
จีนไดเขาเปนสมาชิกขององคการการคาโลก (World Trade Organization – WTO) เมื่อ
เดือนธันวาคม ค.ศ. 2001 ทําใหจีนสามารถสงสินคาออกไปยังประเทศสมาชิกของ
องคการคาโลกไดมากขึ้นโดยไมถูกกีดกันดานภาษีศุลกากร ในขณะเดียวกัน การลงทุน
จากตางประเทศไดหลั่งไหลเขามาในจีนอยางมหาศาลเพื่อผลิตสินคาปอนตลาดที่ใหญ
ที่สุดในโลกราว 1,300 ลานคน และใชคาแรงราคาถูกของจีนที่มีอยูอยางเหลือเฟอ
เจียง เจอหมิน เคยเปนนักการเมืองระดับทองถิ่นจากนครเซี่ยงไฮ ไดเลือกบุคคล
เดนๆ จาก “เซี่ยงไฮแกง” คือ นายจู หลงจี้ ผูที่ไดรับฉายาวา “ซารแหงเศรษฐกิจ” แหง
สาธารณรัฐประชาชนจีนมาเปนรองนายกรัฐมนตรี และเปนนายกรัฐมนตรีในเวลาตอมา
ผูนํากลุมนี้ไดสานตองานปฏิรูปเศรษฐกิจของเติ้ง เสี่ยวผิงใหเปนรูปแบบที่เสรีและเปด
กวางมากขึ้น อนึ่ง นายเจียงไดเสนอแนวคิด “สามตัวแทน” (Three Representatives)
หมายความว า พรรคคอมมิ ว นิ ส ต จี น ต อ งเป น ตั ว แทนของพลั ง การผลิ ต ที่ ก า วหน า
(advanced productive forces) เปนตัวแทนของวัฒนธรรมที่กาวหนา (advanced culture)
และเปนตัวแทนของผลประโยชนของมวลชนจีน (interests of the majority of the
people) แนวคิ ด สามตั ว แทนนี้ เ ป ด โอกาสให พ รรคคอมมิ ว นิ ส ต จี น รั บ นั ก ธุ ร กิ จ
ภาคเอกชน ผูประกอบการ และพนักงานระดับสูงของบริษัทเขามาเปนสมาชิกพรรค ทํา
ใหฐานของพรรคกวางขึ้น
ในการประชุมสมัชชาพรรคคอมมิวนิสตจีนครั้งที่ 16 ในเดือนพฤศจิกายน ค.ศ. 2002
ไดเลือกผูนํารุนที่สี่ขึ้นเปนผูนําพรรค ตอมาในเดือนมีนาคมของปถัดมา สภาประชาชน
117

แหงชาติเลือกนายหู จินเทาเปนประธานาธิบดี และนายเหวิน เจียเปาเปนนายกรัฐมนตรี


นายหูไดควบตําแหนงในพรรค (เปนเลขาธิการพรรค) รัฐบาล (เปนประธานาธิบดี) และ
กองทัพ (เปนประธานคณะกรรมมาธิการทหาร) ผูนํากลุมนี้ไดดําเนินการใชแผนพัฒนา
เศรษฐกิจ ฉบับที่ 10 และ 11 (ค.ศ. 2001 – 2010) โดยกระจายการลงทุนและรายไดไป
ทางภาคตะวันตกใหเจริญทัดเทียมกับภาคตะวันออก โดยมีพื้นที่เปาหมาย 5 มณฑล คือ
ซิงไฮ กานสู ซือฉวน หูหนัน กุยโจว และ 3 เขตปกครองตนเอง ไดแก ซินเจียง ธิเบต
หนิงเซี้ยฮุย และ 1 เมืองใหญ คือ ฉงชิ่ง การพัฒนาจะเนนโครงสรางพื้นฐาน ไดแก ทาง
รถไฟ ถนนเชื่อมมณฑล และเขื่อนชลประทาน

อัตราความเจริญเติบโตของผลผลิตรวมภายในของจีน

ป รอยละ
ทศวรรษ 1980 (เฉลี่ยตอป) 9.8
ทศวรรษ 1990 (เฉลี่ยตอป) 9.7
2000 8.0
2001 8.3
2002 9.1
2003 10.0
2004 10.1
2005 9.9

ที่มา Chinability. www.chinability.com/GDP.htm. May 21, 2006.

ในชวงตนของทศวรรษแรกของสหัสวรรษที่ 21 นี้ การขยายตัวทางเศรษฐกิจ


อยางรวดเร็วไดทําใหจีนกลายเปนชาติที่มีศักยภาพทะยานขึ้นเปนมหาอํานาจในทาง
เศรษฐกิจของเอเชีย และเปนที่จับตามองของประเทศชั้นนําของโลก อีกทั้งจีนไดเปด
เจรจาการคาเสรีกับกลุมประเทศ ASEAN สงผลใหจีนมีอิทธิพลและสภาพเศรษฐกิจ
เชื่อมโยงกับภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต
118

ต อ ไปนี้ จะกล า วรายละเอี ย ดเกี่ ย วกั บ ผู นํ า รุ น ที่ สี่ แ ละการเปลี่ ย นแปลงทาง
เศรษฐกิจและสังคมที่เกิดขึ้น ดังนี้

ผูนําทางการเมืองและนโยบาย
1. นายหู จินเทา
ปจจุบัน นายหู จินเทาดํารงตําแหนงเปนเลขาธิการใหญพรรคคอมมิวนิสต และ
เปนประธานาธิบดีของสาธารณรัฐประชาชนจีน อนึ่ง เขาเปนผูนําประเทศที่มีอายุนอย
ที่สุด คือ มีอายุเพียง 59 ปเมื่อตอนเขารับตําแหนงเปนผูนําประเทศ
ตามประวัติ นายหูเกิดที่เมืองไตโจว มณฑลเจียงสู เมื่อป ค.ศ. 1942 เขาเรียน
หนังสือชั้นประถมศึกษาและมัธยมศึกษา ณ. เมืองแหงนี้ ตอมาสําเร็จการศึกษาระดับ
ปริญญาตรี สาขาวิศวกรรมพลังน้ํา จากมหาวิทยาลัยชิงหัวในป ค.ศ.1965 พรอมกับ
ภรรยา ซึ่งเปนนักเรียนรวมรุน ชื่อ นางหลิว ยองชิง ปจจุบัน มีบุตรและธิดา 2 คน
นายหูเริ่มตนทํางานในระดับรากหญาในมณฑลกานสู ซึ่งตั้งอยูทางภาคตะวันตก
ตั้งแตป ค.ศ.1968 และไดพํานักอาศัยอยู ณ.ที่แหงนั้นเปนเวลานานถึง 14 ป ในป ค.ศ.
1985 เขาไดรับเลือกใหเปนเลขาธิการพรรคคอมมิวนิสตของมณฑลกุยโจวและมลฑลธิ
เบต โดยไดดํารงตําแหนงนั้นเปนเวลา 8 ป ในชวงเวลานั้นเองที่เขาไดออกตระเวณเยี่ยม
เยือนชาวบานที่อาศัยอยูในทองที่หางไกล ไดติดตอกับชนกลุมนอยกลุมตางๆ มากมาย
หลายกลุม ไดทําการศึกษาคนควาในเชิงลึก และไดสรางยุทธศาสตรการพัฒนาเศรษฐกิจ
และสังคมที่สอดคลองกับสภาวะแวดลอมหรือบริบทของแตละทองถิ่นดวย นอกจากนี้
เขาไดทําคุณประโยชนดวยการสรางเครือขายระหวางผูนําชุมชน สมาชิกพรรค และชน
กลุ ม น อ ยเพื่ อ ร ว มกั น พั ฒ นาดิ น แดนด อ ยพั ฒ นาของมณฑลทั้ ง สองให ส อดคล อ งกั บ
แผนพัฒนาของประเทศ
นายหูมีความรอบรูทั้งแนวลึกและแนวกวางในการนําพลังทองถิ่นที่อยูหางไกล
มาทําการปฏิรูปและเรงรัดใหเกิดการพัฒนาเพื่อเปดชนบทไปสูโลกกวาง ดวยอัจฉริยะ
ดังกลาว จึงยังผลใหเขายืนหยัดรวมทุกขรวมสุขและสรางสรรคงานการพัฒนาที่เปน
รูปธรรมมากมายใหแกประชาชนในระดับรากหญาไดโดยแท
ใน ค.ศ.1994 เขาไดรับเลือกใหเปนกรรมการในคณะกรรมการกรมการเมืองจาก
ที่ประชุมใหญพรรคคอมมิวนิสตแหงชาติ ครั้งที่ 14 ซึ่งถือเปนครั้งแรกที่เขาไดแสดง
119

บทบาทในพรรคระดับประเทศ ตอมา ก็ไดรับเลือกอีกเปนครั้งที่สองในป ค.ศ. 1997 จาก


ที่ประชุมพรรคใหญ ครั้งที่ 15 ในเดือนมีนาคม ค.ศ.1998 เขาไดรับเลือกใหดํารงตําแหนง
เปนรองประธานาธิบดี และรองประธานคณะกรรมาธิการทหาร ในชวงเวลานั้น เขาไดมี
สวนรวมในการกําหนดนโยบายและแนวทางการปฏิบัติใหแกพรรคและประเทศ โดยเขา
มีบทบาทสําคัญยิ่งในการประสานงานระหวางพรรค-รัฐบาลกลาง-กองทัพ-การทูตและ
กิจการตางประเทศ
นายหูไดศึกษางานเขียนของคารล มารกซ เลนิน เหมา เจอตุง และทฤษฎีของเติ้ง
เสี่ยวผิง รวมทั้งแนวคิดตัวแทนสามกลุมของเจียง เจอหมิน แนวคิดทฤษฎีเหลานี้ไดรับ
การสังเคราะหและจัดวางใหเปนพื้นฐานสําคัญของแนวคิดทางการเมืองของเขา และเขา
ไดนําไปเปนคําบรรยายใหแกตัวแทนผูนําของพรรคที่เขารับการอบรมในโรงเรียนของ
พรรคคอมมิวนิสตในระหวาง ค.ศ. 1993-2002 เสมอมา ในขณะเดียวกันนั้น เขาไดรับ
เลือกใหเปนเลขาธิการยุวชนพรรคคอมมิวนิสตแหงชาติ และในตําแหนงสําคัญๆ อีกมาก
ดวย
ในป ค.ศ. 2001 นายหูเดินทางเยี่ยมเยือนประเทศแถบยุโรป 5 ประเทศ และไป
เยือนสหรัฐอเมริกาในป ค.ศ. 2002 การเดินทางดังกลาวเปนการเปดตัวผูนําคนใหมตอ
โลกตะวันตก อีกทั้งเปนการเพิ่มพูนประสบการณในงานดานตางประเทศของเขามาก
จากผลงานมากมายที่ น ายหูไดเก็ บเกี่ย วประสบการณแ ละทํ างานในหน าที่ ต างๆ มา
ยังผลใหเขาไดรับการเลือกใหเปนผูนําประเทศในที่สุด
2. นโยบายของนายหู จินเทา
ประวัติศาสตรจีนไดชี้ชัดวา ในยุคของเหมา เจอตุง เขาไดทําการปฏิวัติสังคมจีน
ให ก ลายเป น สั ง คมคอมมิ ว นิ ส ต แม จ ะได ร ว มปรึ ก ษาหารื อ กั บ นั ก วิ ช าการและคณะ
ผูบริหาร แตในที่สุด แนวคิดทฤษฎีการพัฒนาสังคมกลับกลายเปนสิ่งที่เขาคิดขึ้นเอง
และกลายเปนอุดมการณที่เปนแนวทางหลักตอเปาหมายและการดําเนินการใหบรรลุ
วัตถุประสงคตามวิสัยทัศนของเขา
ต อ มา เมื่ อ เติ้ ง เสี่ ย วผิ ง ทํ า การปฏิ รู ป สั ง คมจี น เขาได นํ า หลั ก เศรษฐศาสตร
การตลาดเขามาใช เติ้งไดปรึกษาหารือกับผูเชี่ยวชาญดานการผลิตและเทคโนโลยีเปน
ประจํา ซึ่งก็เปนเชนเดียวกับนายเจียง เจอหมินที่เคยทํางานรวมกับนักวิชาการและคณะที่
120

ปรึกษาหลายกลุม อยางไรก็ตาม การพบกันระหวางผูนํากับนักวิชาการและผูเชี่ยวชาญมี


ลักษณะเปนการปดบังเปนความลับ ไมเปดเผยสูสาธารณชนทั่วไป
สําหรับนายหู จินเทานั้น เขาไดเปดประชุมรวมกับเหลาผูรูเปนเวลาครั้งละ 60-90
นาที รวมกับเหลาคณะรัฐมนตรีและคณะกรรมการประจํากรมการเมืองอยางเปดเผยเพื่อ
ถาม-ตอบปญหาที่ประเทศจีนกําลังเผชิญอยู และไดกระทํามาอยางตอเนื่อง โดยจัดใหมี
ขึ้นเปนประจําทุกเดือน ปญหาที่ไดนํามาพิจารณารวมกัน ไดแก การเกิดและการลมสลาย
ของชาติมหาอํานาจ เศรษฐกิจโลก กฎหมายรัฐธรรมนูญ วิกฤติการณดานการจัดการ การ
เปลี่ยนแปลงกองกําลังทหารของโลก และความมั่นคงในภูมิภาค เปนตน
อนึ่ง นายหูยังไดรับฟงขอถกเถียงและการอภิปรายจากกลุมตางๆ ดวย เชน เขาไดเขา
รวมประชุมกับกลุมชาวนา กลุมกรรมกรเหมืองแร กลุมผูติดเชื้อเอชไอวี กลุมผูที่ประสบ
กับปญหาเฉพาะเรื่อง กลุมผูยากไร เปนอาทิ เพื่อใหกลุมเหลานี้มีสวนรวมในการจัดการ
เกี่ยวกับประเทศชาติ ลักษณะดังนี้เปนการเปดสังคมใหกวางขึ้นเพื่อใหเกิดการผสาน
ความคิดจากกลุมหลากหลายในสังคม แทนที่จะเปนเพียงแนวความคิดเฉพาะกลุมผูนํา
ของพรรคดังเชนในอดีต
ในวันที่ 24 กรกฎาคม ค.ศ. 2004 นายหูไดประกาศที่กรุงปกกิ่งวา “จีนจะตองสราง
แผนพัฒนาที่เนนการปองกันประเทศควบคูไปกับการพัฒนาทางเศรษฐกิจ เพื่อนําชาติ
ไปสูความทันสมัย”
3. การครองความเปนเจา
นายเหวิน เจียเปา นายกรัฐมนตรี ไดกลาวเมื่อวันที่ 28 มิถุนายน ค.ศ.2004 วา

“จีนจะไมคุกคามประเทศใด จะไมขยายอาณาเขตและจะไมแสวงหาความเปน
เอก (hegemony) หรือแสวงหาความเปนผูนําในการครอบครองโลก แตรัฐบาล
จี น เน น การพั ฒ นาเป น งานหลั ก ที่ จ ะต อ งกระทํ า ให บ รรลุ ผ ล ทั้ ง นี้ เ ป น เพราะ
ความสํ า เร็ จ ในการพั ฒ นาและการปกครองในประเทศจี น จะเป น การสร า ง
คุณประโยชนตอสันติภาพและการพัฒนาของมวลมนุษยชาติทั้งมวล อนึ่ง จีนจะ
ดําเนินนโยบายตางประเทศอยางเปนอิสระที่เนนใหเกิดสันติภาพ และจะอุทิศตน
ในการสรางมิตรภาพและความรวมมือกับทุกประเทศ….
121

จีนจะยึดมั่นในอธิปไตยและศักดิ์ศรีในดินแดนของประเทศของตน โดยจะไม
ยินยอมใหประเทศใดเข าไปแทรกแซงกิ จการภายใน ในขณะเดียวกัน จีนจะ
เคารพในอธิปไตยและศักดิ์ศรีของประเทศอื่นๆ เชนกัน…”

นายกรัฐมนตรีจีนยังไดกลาวตอไปอีกวา จีนจะยังคงเปดกวางและสรางสรรคบน
พื้นฐานของความเสมอภาคและผลประโยชนรวมกันดวยการรวมมือกับประเทศตาง ๆ
ทางดานเศรษฐกิจและเทคโนโลยีทั้งแนวกวางและแนวลึก อีกทั้งจีนจะปรับปรุงและ
เพิ่มพูนความสัมพันธกับประเทศกําลังพัฒนาเพื่อผนึกกําลังกันสรางสรรคสังคม โดยเนน
ใหเกิดกลุมความรวมมือที่รวมตัวกันอยางเหนียวแนนและมีประสิทธิภาพระหวางชาติ
ดอยพัฒนาดวยกัน (South-South Cooperation) สวนกับประเทศที่พัฒนาแลวนั้น จีนจะ
ปรับปรุ งและใหความรวมมือกับประเทศเหลานี้เพื่อ ผลประโยชนที่เปนธรรมและมี
ผลประโยชนรวมกัน อีกทั้งจะขยายขอบเขตของความสนใจที่คลายคลึงกัน และลดความ
แตกตางระหวางกันและกันใหมาก
คํากลาวของนายเหวิน เจียเปาเปนการประกาศนโยบายตางประเทศตอที่ประชุม
นานาชาติ ที่จัดขึ้นในเรื่อง Five Principles of Peaceful Coexistence เปนปที่ 50 โดย
องคการสหประชาชาติ ที่นครปกกิ่ง จากคําปราศรัยดังกลาว เราอาจจะตั้งคําถามขึ้นในใจ
วา นโยบายที่วานี้ไดนํามาปรับใชในสภาพที่เปนจริงหรือไมเพียงใด หรือเปนเพียงการ
สรางภาพของจีนตอเวทีการเมืองระหวางประเทศเทานั้น ทั้งนี้ทั้งนั้น เปนคํากลาวที่
แตกตางไปจากคําพูดของนายหู จินเทา ประธานาธิบดีที่ย้ําใหจีนกาวไปสูการเปนชาติ
มหาอํานาจบนเวทีการเมืองระหวางประเทศ อนึ่ง มีหลักฐานชี้ชัดวา รัฐบาลจีนไดสงคน
ระดับผูชวยรัฐมนตรีไปยังประเทศตางๆ เพื่อเรียกรองใหประเทศกําลังพัฒนาปฏิเสธ
ความเปนผูนําเพียงชาติเดียวของสหรัฐอเมริกา ในขณะเดียวกัน จีนก็พยายามสรางความ
เป น หนึ่ ง ด ว ยการสร า งความเจริ ญ เติ บ โตทางเศรษฐกิ จ ในช ว งยี่ สิ บ ป ที่ ผ า นมา และ
คาดการณกันวา ในป ค.ศ. 2020 ขนาดของเศรษฐกิจจะล้ําหนาญี่ปุน และอาจจะกาวไปสู
ชาติที่มีขนาดเศรษฐกิจที่ใหญที่สุดในโลกในป ค.ศ. 2050 ดังนั้น จึงเปนเรื่องที่นาจับตา
มองอย า งใกล ชิ ด ถึ ง ความเปลี่ ย นแปลงที่ จ ะเกิ ด ขึ้ น ในอนาคต และที่ สํ า คั ญ คนไทย
จําเปนตองรวมกันวางแผนเพื่อรุกและรับกับนโยบายของจีนใหเกิดประโยชนแกประเทศ
ของเราใหมากที่สุดเชนกัน
122

จีน: บทบาทในเอเชียและในโลก
ดวยความที่จีนเปนประเทศที่ใหญและเคยเปนประเทศผูนําในเอเชีย รวมทั้งเปน
แหลงอารยธรรมที่เปนหลักของโลกตะวันออก ในขณะเดียวกัน จีนในยุคปจจุบันไดเปด
ประเทศและพัฒนาตามแนวเศรษฐกิจการตลาด หรือที่เรียกวาเปนคอมมิวนิสตแบบจีน
ดวยการสงเสริมการลงทุนทั้งจากภายในและตางประเทศ มุงมั่นในการผลิตและการขาย
สินคาไปยังตลาดทั่วโลก อีกทั้งมีแผนในการนําจีนกาวไปสูความเปนผูนําทั้งทาง
เศรษฐกิจและการเมืองระหวางประเทศตามแนวคิดของนายหู จินเทา ดังนั้น จีนจึงเปนที่
จับตามองทั้งจากนักวิชาการ และผูนําของประเทศตางๆ ทั่วโลกเสมอมา
ในบทความเรื่อง “อิทธิพลของจีนเพิ่มสูงขึ้นในเอเชีย” ที่เขียนโดยแบรด โกลส
เซอรแมน ผูอํานวยการสํานักงานการวิจัย Pacific Forum CSIS ซึ่งตั้งอยูที่นครฮอน
โนลูลู มลรัฐฮาวาย สหรัฐอเมริกา ไดกลาววา จีนกําลังกาวขึ้นสูการเปนผูนําในเอเชีย
โดยเฉพาะอยางยิ่งในทางเศรษฐกิจที่มีขอมูลตัวเลขปรากฏใหเห็นอยางเดนชัด คือ จีน
เปนประเทศที่นําเขาสินคาจากประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใตคิดเปนมูลคามากกวา
413 พันลานเหรียญสหรัฐฯ จีนมีบทบาทสําคัญที่เปนผูนําเขาสินคาจากเกาหลีใต และจีน
มีสวนแบงในมูลคาทางการคาของญี่ปุนถึงรอยละ 80 ในป ค.ศ. 2003 มูลคาทางการคา
ของจีนตอประเทศเหลานี้ มีแนวโนมจะเพิ่มสูงยิ่งขึ้นในป ค.ศ.2004 และในอนาคต
ผูเขียนบทความไดกลาวตอไปอีกวา คนเอเชียในปจจุบันจะไมรูสึกเหมือนกับใน
อดีตที่เคยมองวา จีนเปนภัยคุกคามหรือเปนศัตรู หรือตัวกอปญหา ในทางตรงกันขาม
คนทั่วไปจะมองจีนเปนโอกาส ทั้งที่เปนโอกาสทางดานการคา การลงทุน ความรวมมือ
ทางดานเทคนิค และการพัฒนาในการแกปญหาความยากจน สิ่งแวดลอม พลังงาน และ
โรคเอดส อนึ่ง ในชวงสองสามปที่ผานมา จีนไดมีบทบาทในกลุมอาเซี่ยนดวยการเขา
รวมประชุม ASEAN-Plus-Three ที่เกาะบาหลี ประเทศอินโดนีเซีย จีนไดสรางบทบาท
สําคัญในการประชุม APEC ที่กรุงเทพฯ และเปนเจาภาพการปะชุม 6 ฝาย (จีน รัสเซีย
ญี่ปุน เกาหลีเหนือ เกาหลีใต และสหรัฐฯ) ในเรื่องวิกฤตนิวเคลียรของเกาหลีเหนือ ใน
ขณะเดียวกัน จีนไดดําเนินกิจกรรมในการสรางความสัมพันธพหุภาคีกับประเทศที่ตั้งอยู
ในภูมิภาคอื่นของโลก และไดรวมกอตั้ง Shianghai Cooperation Organization กับรัสเซีย
โดยมีสํานักงานใหญขึ้นที่กรุงปกกิ่ง
123

การเปลี่ยนแปลงทางดานเศรษฐกิจและสังคม
1. สภาพสังคมและเศรษฐกิจ
เปนที่ประจักษแลววา นับตั้งแตจีนไดทําการปฏิรูปเขาสูระบบเศรษฐกิจแบบตลาด
นับตั้งแตป ค.ศ. 1979 เปนตนมานั้นไดมีการเชื้อเชิญนักธุรกิจอุตสาหกรรมตางชาติเขา
ไปลงทุนในภาคอุตสาหกรรม และไดเปดประตูสรางความรวมมือกับประเทศตางๆ ทั่ว
โลก ปจจุบัน จีนมีโรงงานอุตสาหกรรมเกิดขึ้นมากมาย โดยเฉพาะตามแถบบริเวณฝง
ตะวันออก ซึ่งเปนจุดเริ่มแรกในการเปดการลงทุนเปนเขตเศรษฐกิจเสรี ยังผลใหรายได
ของประชากรเพิ่มสูงขึ้น มีอํานาจในการซื้อสูง และผูคนตางมีชีวิตความเปนอยูดีขึ้น
สวนเมืองในภูมิภาคอื่นๆ ก็มีความทันสมัยเชนเดียวกัน กลาวโดยสรุป ภาพของเมือง
ใหญในจีนของยุคนี้มีความเจริญทันสมัยทัดเทียมกับเมืองใหญๆ ในเอเชีย อีกทั้งบาง
เมืองมีความเจริญกาวล้ํานําหนาไปไกล เชน เมืองเซี่ยงไฮ ปกกิ่ง เปนตน
ในขณะเดียวกัน รัฐบาลไดปรับปรุงระบบเกษตรกรรมของประเทศ ในโครงการ
ปฏิรูปชนบทที่ไดลดบทบาทของระบบนารวมลงมาเปนการใหครอบครัวชาวนาแตละ
ครอบครัวเชาที่ดินทํากิน ลักษณะดังนี้ ทําใหการรวมตัวกันเปนคอมมูนไดเปลี่ยนไป
กลายเปนการเนนการผลิตของแตละครัวเรือน ระบบดังกลาวยังผลใหผลผลิตเพิ่มสูงขึ้น
อยางรวดเร็ว ทําใหรายไดตอครัวเรือนเพิ่มขึ้น ดังนั้น รัฐบาลจีนจึงไดแสดงความพอใจ
และมักประกาศวา โครงการปฏิรูปไดรับความสําเร็จอยางสูง
ใน ค.ศ. 2004 รัฐบาลไดประกาศนโยบายปฏิรูปทางการเกษตรดวยมาตรการลด
การเก็บภาษีอากรชนบทลง และยกเลิกการกําหนดสถานภาพของถิ่นที่อยูอาศัย โดยคาด
วาจะเปนการแกปญหาชนบทใหถูกจุด ทําให ป ค.ศ. 2004 เปนป Second Spring
สําหรับชนบทของจีน
ในการลดการเก็บภาษีนั้น เปนโครงการพัฒนาชนบทที่เปนรูปธรรม กลาวคือ
เปนการลดการเก็บภาษีทางการเกษตรลงไปเรื่อยๆ เปนเวลา 3 ป จากนั้นก็จะยกเลิกการ
เก็บภาษีประเภทนี้ทั้งหมดภายใน 5 ป ในขณะเดียวกัน ก็ไดจัดสรรเงินชวยเหลือเพื่อ
ฟนฟูชนบทไมต่ํากวา 2,000 พันลานหยวน และใหเงินอุดหนุนการเกษตรอีกหลาย
พันลานหยวน เพื่อใหประชากรราว 900 ลานคนมีรายไดเพิ่มขึ้นเฉลี่ยไมต่ํากวา 300
หยวนตอคนตอป
124

อนึ่ง มีส ถิติที่นาสนใจเกี่ยวกั บชนบทของจีน คื อ ประชากรในชนบทได เพิ่ ม


จํานวนสูงขึ้นอยางรวดเร็ว กลาวคือ ในชวง 50 ปที่ผานมา มีอัตราการเพิ่มถึง 250
เปอรเซ็นต ในป ค.ศ. 2004 มีประชากรอยูในวัยทํางาน 600 ลานคน แตมีงานรองรับใน
ชนบทเพียง 270 ลานคน แยกเปนงานในภาคเกษตรกรรม 150 ลานคน และธุรกิจใน
ชนบทอีก 120 ลานคน ทําใหแรงงานในชนบทที่เหลือตองออกไปหางานทํานอกพื้นที่
และในเมือง นอกจากนี้ ขนาดที่ดินเฉลี่ยตอครัวเรือนก็ลดลงเปน 9.2 มู (1 มู เทากับ 1/15
เฮกเตอร) ปญหาเหลานี้เปนสิ่งที่ตองไดรับการแกไขอยางรวดเร็ว ดวยเหตุนี้ โครงการ
ปฏิรูปทางการเกษตรจึงเปนโครงการที่จะชวยลดและแกปญหาในชนบทไดเปนอยางดี
ในชวงปลายเดือนกรกฎาคม ค.ศ. 2004 กระทรวงพาณิชยของจีนไดประกาศวา
ไดอนุญาตใหบริษัทตางชาติเขาไปดําเนินธุรกิจดานสินคาทางการเกษตร ทั้งที่เปนการ
ขายสงและการขายปลีกโดยไมจํากัดเขตบริเวณ นั่นหมายความวา เปนอีกกาวหนึ่งที่
รัฐบาลจีนไดปฏิบัติตามขอตกลงที่ไดทําไวกับองคการการคาโลก (WTO) ซึ่งมีผลบังคับ
ใชตั้งแตวันที่ 1 มิถุนายน ที่ใหจีนขยายการเปดเสรีการลงทุนของตางชาติโดยไมจํากัด
บริเวณ และในกิจการของธุรกิจ ทั้งนี้ จีนไดทําสัญญาวา ไดยกเลิกขอบังคับในเรื่อง
กิจการรวมทุน การจํากัดการลงทุนในบางทองที่ และจํานวนรานขายสงและขายปลีก
อยางสิ้นเชิงภายในวันที่ 11 ธันวาคม ค.ศ. 2004
ในอดีต รัฐบาลไดกําหนดใหบริษัทตางชาติสามารถเขารวมลงทุนไดในสัดสวน
ไมเกิน รอยละ 65 ของเงินลงทุนทั้งหมด และไดจํากัดเขตการคาในการดําเนินกิจการคา
สงและคาปลีกไดเพียงบางแหงบางบริเวณเทานั้น แตเมื่อประกาศการคาเสรีกับองคการ
การคาโลกแลว ก็ตองยกเลิกขอบังคับดังกลาวขางตน อันจะเปนผลดีแกชาวนา ทั้งนี้
รัฐบาลจีนสามารถสนับสนุนใหมีการเพิ่มการขายผลผลิตทางการเกษตรใหมากขึ้นได
เพราะสภาพทางการคาผลผลิตทางการเกษตรของประเทศนี้ยังอยูในขั้นดอยพัฒนา ทําให
ชาวนาในอดีตขายผลผลิตไดนอย เมื่อเพิ่มจํานวนรานซุปเปอรมารเก็ตและรานสะดวก
ซื้อในเมืองและตามที่ตางๆ มากขึ้น ก็จะสงผลดีตอการกระจายผลผลิตจากชนบทเขาสู
เมืองไดรวดเร็วและมีประสิทธิภาพมากขึ้น
อนึ่ง รัฐบาลไดตั้งเปาหมายวา ปริมาณการบริโภคของคนชนบทจะเพิ่มสูงขึ้นเมื่อ
พวกเขามีร ายได จากการขายผลผลิ ต และจะสามารถใชเ งิ น จั บ จา ยซื้อ สิ น ค าอุป โภค
บริโภค เชน ตูเย็น เครื่องซักผา โทรทัศน ไดมากขึ้น อันจะทําใหกระแสเงินหมุนเวียน
125

โดยรวมของประเทศมีความคลองตัว และนําไปสูการขยายตัวของเศรษฐกิจในระดับมห
ภาคเพิ่มขึ้น
อยางไรก็ตาม มีการวิพากษวิจารณกันทั่วไปวา แนวนโยบายการพัฒนาเขตเมือง
และเขตชนบทที่ไดกระทํามามักจะเนนคนละสวนกัน และไมคอยไดรับความสําเร็จ
ตามที่คาดหวังเสมอไป ทั้งนี้สิ่งที่เกิดขึ้นจริงก็คือ มีชาวนานับลานๆ คนเดินทางเขาออก
เมืองตางๆ เพื่อแสวงหางานในโรงงานอุตสาหกรรมและหาโอกาสของชีวิตที่ “กาวหนา”
ในเมือง นอกจากนี้ คนรุนหนุมสาวที่อยูในระบบโรงเรียนก็อพยพเขามาศึกษาตอใน
ระดับวิทยาลัยและมหาวิทยาลัยในเมือง อันเปนการเพิ่มพูนความรูเพื่อใชเปนฐานในการ
กาวกระโดดไปสูอาชีพที่ดีกวาและมีชีวิตที่สุขสบายกวา ดังนั้น จะเห็นไดวา ในเมือง
ใหญๆ ของจีนมี “ประชากรลองลอย” (floating population) ไมนอยกวารอยละ 20 ของ
ประชากรในเมืองนั้นๆ จากสถิติของกระทรวงเกษตรระบุวา ในป ค.ศ. 2004 จํานวน
ชาวนาที่ทํางานในเมืองมีราว 100 ลานคน มีอัตราเพิ่มขึ้นรอยละ 8.5 ตอป คาดกันวาใน
อีก 15 ปขางหนา จะมีชาวนาหลั่งไหลเขาไปทํางานในเมืองไมนอยกวา 150 ลานคน
ทีเดียว
คนเหลานี้มักพบกับความยากลําบากในการดํารงชีวิตในเมือง ทั้งในดานความ
มั่นคงในอาชีพ ที่อยูอาศัย การศึกษา และความมั่นคงทางสังคม โดยพวกเขามักไดงาน
ชั่วคราว ไดรับคาจางแรงงานต่ํา มีสภาพชีวิตที่ต่ํากวามาตรฐาน ขาดสุขลักษณะอนามัยที่
ดี และไมมีโอกาสในการฝกทักษะในการทํางาน
ความยากจนของประชากรลองลอยเปนผลมาจากการที่พวกเขามีชื่อในทะเบียน
ของคนที่ทํางานดานการเกษตร แตเมื่อตองเขามาอาศัยอยูในเมือง ก็ไมมีใบทะเบียนของ
คนทํางานภาคนอกเกษตรกรรม จึงไมมีสิทธิ์และโอกาสในการทํางานถาวรในเมืองได
เทียบเทากับคนในเมือง พวกเขาจะตองทํางานในงานเทาที่จะหาไดเพื่อหาเงินเลี้ยงชีพไป
วั น ๆ หนึ่ ง แต ถึ ง กระนั้ น ก็ ต าม ก็ ต อ งพยายามหาทางเก็ บ สะสมเงิ น อั น มี อ ยู น อ ยนิ ด
สงกลับไปเลี้ยงดูครอบครัวในชนบท ดังนั้น หากมีการยกเลิกสถานภาพถิ่นที่อยูอาศัย ก็
อาจจะเปนหนทางหนึ่งที่ชาวชนบทจะไดรับความเปนธรรมในสังคมมากขึ้น
ตัวอยางตอไปนี้แสดงใหเห็นถึงภาพชีวิตจริงของคนจีนในยุคสหัสวรรษใหม ซึ่ง
เปนตัวอยางที่ไดรับความสําเร็จในชีวิตระดับหนึ่ง (อยางไรก็ตาม มีกรณีอีกจํานวนไม
นอยที่ไมไดเปนไปอยางที่หวังตั้งใจเอาไว) ตัวอยางนี้เปนครอบครัวของคนหนุมสาวที่
126

เดิ น ทางออกจากชนบทเข า ไปศึ ก ษาต อ ระดั บ มหาวิ ท ยาลั ย ในเมื อ ง ภายหลั ง ที่ จ บ
การศึกษาแลว ก็แตงงานกัน ในชวงแรกของการกอตั้งครอบครัว ทั้งคูไมมีทรัพยสมบัติ
อันใดเลย บานตองเชาขาวตองซื้อ จนกระทั่งภรรยาคลอดบุตรชาย ก็ยิ่งเพิ่มคาใชจายมาก
ขึ้น ในขณะเดียวกัน ครอบครัวพอแมของสามีก็มีหนี้สินมากมายที่สามีตองรับภาระสง
เงินกูคืนที่ทางบานของเขากอขึ้น
ทั้งคูตองทํางานอยางหนักเปนเวลานานหลายป ในขณะที่หนาที่การงานก็ไดรับ
การเลื่อนใหสูงขึ้นเรื่อยๆ จนสามารถซื้ออพารทเมนทเล็กๆ ไดหองหนึ่ง และอาศัยอยูกัน
ตามอัตภาพ พวกเขามักจะเดินทางไป-กลับชนบทเพื่อเยี่ยมเยือนครอบครัวของพอแม แต
ความใฝฝนที่จะเดินทางทองเที่ยวตามมณฑลตางๆ ของจีนยังไมอาจจะทําไดเพราะฐานะ
ทางการเงินไมเอื้ออํานวย
ฝ า ยภรรยากล า วว า บิ ด าของเธอเป น บุ ค คลที่ น า ยกย อ งมาก เพราะให ก าร
สนับสนุนเธอทุกอยางตลอดมา เมื่อเธอมีการงานทําแลวก็ตองการจะซื้อเสื้อผาดีๆ ให
ทานสวมใส แตบิดากลับปฏิเสธและบอกวา เขาคงไมมีโอกาสที่จะแตงตัวดวยเสื้อผา
ราคาแพง และยังกลาวตอเธออีกวา ควรเก็บเงินทองไวใชจายในครอบครัวจะดีกวา
ภรรยาไดเคยบอกกับสามีวา เธอใฝฝนที่จะเปนเจาของบานสองชั้นหลังใหญ
ทํางานสี่วันตออาทิตย มีวันหยุดประจําป และมีรถยนตขับไปตามชนบทกับครอบครัว
ในชวงฤดูใบไมผลิเพื่อเฝามองพระอาทิตยอัศดงทามกลางกลิ่นไอของพงหญา สามีมอง
หนาพรอมกับเขามากอดและกระซิบเบาๆ วา เมื่อเราเปนเด็ก ไมเคยคิดฝนเลยวาจะเขา
เรียนในมหาวิทยาลัย แตเราก็ทําได เมื่อเราเรียนหนังสืออยูในมหาวิทยาลัยก็ไมเคยนึกฝน
วาจะเขาทํางานในสวนราชการในเมืองใหญ ซึ่งถือกันวาเปนที่ดีมีเกียรติในสายตาของ
คนทั่วไป แตเราก็ทําไดและสามารถเลื่อนตําแหนงขึ้นสูระดับสูงอยางรวดเร็ว ทั้งนี้ก็เปน
เพราะความพยายามของเราทั้งคูที่สรางสมกันมาโดยปราศจากการอุมชูชวยเหลือจาก
ครอบครัวเลย สิ่งที่เราควรทําก็คือ การทํางานใหหนักและทําความฝนใหเปนจริง เขาเชื่อ
วา สิ่งที่ฝนจะตองปรากฏขึ้นแมอาจตองใชเวลานานหนอยก็ตาม จงเชื่อเถอะวาตองทํา
ได
2. เศรษฐกิจระดับมหภาค
นับตั้งแตทศวรรษที่ 1990 แหงคริสตศักราชเปนตนมา เศรษฐกิจของจีนได
127

ขยายตัวอยางรวดเร็วและกลายเปนประเทศที่มีอิทธิพลตอการคาของเอเชียและของโลก
โดยเฉพาะอยางยิ่งในเอเชียดวยกันเองนั้น ปริมาณการคาระหวางจีนกับประเทศตางๆ ใน
ภูมิภาคนี้ไดขยายตัวกวารอยละ 15 ตอปตลอดชวงสิบปที่ผานมา และมีแนวโนมที่จะ
ขยายตัวมากยิ่งขึ้นเรื่อยๆ ดังมีขอมูลสนับสนุนคํากลาวดังนี้
ในเอเชียตะวันออก (จีน เกาหลีใต ญี่ปุน และไตหวัน) จีนมีบทบาทเดนในดาน
การคาและการลงทุน กลาวคือ ภายหลังที่เกาหลีใตและจีนไดสถาปนาความสัมพันธ
ระหวางกัน ขนาดและมูลคาทางการคาระหวางกันไดเพิ่มสูงขึ้นอยางรวดเร็ว โดยจีน
กลายเปนตลาดใหญอันดับที่สองของสินคาสงออกของเกาหลีใตในชวงตอนปลายของ
คริสตศตวรรษ 1990 และจีนเปนคูคาอันดับที่หนึ่งของเกาหลีใตในตอนตนสหัสวรรษ
ใหมแทนประเทศสหรัฐอเมริกาที่เคยครองความเปนคูคาอันดับที่หนึ่งของเกาหลีใต
ในชวงสามทศวรรษที่ผานมา สวนกรณีกับประเทศญี่ปุนนั้น จีนเปนประเทศที่ซื้อสินคา
มากเปนอันดับที่สอง หรือเปนตลาดใหญที่นําเขาสินคาจากญี่ปุนแทนที่ตลาดสหรัฐฯ
ไตหวันก็เปนอีกประเทศหนึ่งที่สงสินคาไปขายยังตลาดจีน โดยจีนเปนตลาดที่
ใหญที่สุดของสินคาจากไตหวัน
ในกรณีของประเทศในกลุมอาเซียน 10 ประเทศ ปริมาณการคากับจีนไดเพิ่มขึ้น
รอยละ 20 จริงอยูที่มูลคาทางการคากับกลุมอาเซียนจะมีไมมากเทากับประเทศในเอเชีย
ตะวั น ออก แต อั ตราการขยายตั วก็เพิ่ ม ขึ้ น เรื่ อ ยๆ ทั้ ง นี้ เป นผลมาจากการทํ าข อ ตกลง
ทางการคาในกรอบ ASEAN Plus Three, APEC และการทําขอตกลงเปนเขตการคาเสรี
(Free Trade Area - FTA) ซึ่งไดกระทําขึ้นในตอนตนของคริสตศตวรรษที่ 21 อันจะทํา
ใหจีนกลายเปนประเทศคูคาสําคัญของอาเซียนตอไป
ในแงของการลงทุน จีนเปนประเทศกําลังพัฒนาที่มีบริษัทตางชาติจากทั่วโลกเขา
ไปลงทุนมากที่สุดในชวงทศวรรษ 1990 บริษัทเหลานี้สวนใหญไปจากไตหวัน ฮองกง
ญี่ปุน เกาหลีใต สหรัฐฯ และยุโรป มีขอมูลชี้ชัดวา การลงทุนจากตางประเทศในจีนมีราว
300 ลานเหรียญสหรัฐฯ ในป ค.ศ. 1985 เพิ่มเปน 133 พันลานเหรียญในป 2001 ทําให
สิ น ค า ที่ ผ ลิ ต ในจี น ได ส ง ออกไปขายยั ง ตลาดในสหรั ฐ ฯ และประเทศต า งๆ ทั่ ว โลก
จํานวนมาก สินคาจากจีน เชน รองเทา ตุกตา เกมส อุปกรณกีฬา และสินคาประเภทไอที
(information technology) ไดแก คอมพิวเตอรสวนบุคคล คอมพิวเตอรกระเปาหิ้ว
จอภาพ สแกนเนอร ไดตีคูแขงในสินคาประเภทเดียวกันที่เคยครองตลาดในสหรัฐฯ จาก
128

ประเทศเกาหลีใต ฮองกง ไตหวัน ไทย และมาเลเซีย การขยายตัวสินคาประเภทไอทีของ


จีนไดปรากฏขึ้นอยางเห็นไดชัดนับตั้งแตปลายทศวรรษที่ 1990 เปนตนมา โดย
คณะกรรมาธิการการวางแผนเพื่อการพัฒนาประเทศของจีน (State Development
Planning Commission) ไดประกาศในงานแสดงสินคาไฮเทคเมื่อป ค.ศ. 2002 ที่นครเซิน
เจิ้นวา “รัฐบาลไดสงเสริมและเขารวมโครงการในธุรกิจผลิตสินคาไฮเทคกวา 1,000
โครงการกับบริษัทตาง ๆ ในชวง 4-5 ปที่ผานมา ปจจุบัน บริษัทเหลานี้ทําการผลิตสินคา
ประเภท telecommunication, electronics, communication, medicine, environment
protection, new materials and biotechnology โดยหวังวา จะสามารถผลิตสินคาคิดเปน
มูลคามากกวา 200 พันลานหยวน (24 พันลานเหรียญ) ซึ่งจะกอใหเกิดผลกําไรราว 38
พันลานหยวน (4.6 พันลานเหรียญ)”
อนึ่ง บริษัทกวา 15 แหงของจีนลงทุนผลิตโทรทัศนและโทรศัพทมือถือใหแก
ลูกคาตางประเทศคิดเปนมูลคา 9.2 พันลานหยวน (1.1 พันลานเหรียญ) และบริษัทโซยี
เทคโนโลยีของจีนไดเซ็นสัญญาผลิตโทรทัศนกับลูกคาในฮองกง เปนมูลคา 120 ลาน
หยวนในป ค.ศ. 2002 นี่เปนเพียงบางตัวอยางที่บริษัทในจีนกําลังสรางอิทธิพลในการ
ผลิ ตสิ นค าไฮเทคเพื่อการสงออกไปยั งตลาดตางประเทศ อี ก ทั้ งคาดการณกั น ว า ใน
อนาคตอันใกลนี้ สินคาประเภทนี้จะมีฐานการผลิตขนาดใหญในประเทศแถบเอเชีย หรือ
กล า วอี ก นั ย หนึ่ ง คื อ แหล ง ผลิ ต ทางซี ก โลกตะวั น ออกจะแทนที่ แ หล ง ผลิ ต จากโลก
ตะวันตก
ความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจของจีนที่มีตอเอเชียและตอโลก สวนหนึ่งไดสราง
ความยินดีใหแกประเทศตางๆ ทั่วโลกที่มองเห็นวา จีนจะไมเปนภัยคุกคามทางดาน
การทหาร เพราะจีนไดมุงเนนการขยายตัวทางเศรษฐกิจและสังคมมากกวา ตลอดจนตอง
แก ไขป ญ หาที่เกิด ขึ้ นอันเปน ผลขางเคี ยงของการขยายตั วของเศรษฐกิ จ ระบบตลาด
อยางไรก็ตาม ประเทศบางกลุม เชน ญี่ปุน สหรัฐฯ และประเทศอื่นๆ อีกหลายประเทศ
ตางมองจีนดวยความสะพึงกลัว ทั้งนี้ เพราะศักยภาพของจีนในการกาวเปนหนึ่งในทาง
เศรษฐกิ จ ของโลก จะมีก ารเพิ่ม การใชพลั งงานของโลกในการผลิ ต การสรางความ
ทันสมัย การแยงชิงตลาดที่สําคัญๆ ของโลก เพราะการมีแรงงานราคาถูกและมีแรงงาน
เหลื อ เฝ อ ของจี น ตลอดจนนโยบายที่ ต อ งการเป น หนึ่ ง ของจี น ในเวที ก ารเมื อ งและ
เศรษฐกิจของโลก อันเปนการทาทายสถานภาพของการเปนเจาของประเทศเหลานั้น
129

ทั้งนี้ทั้งนั้น เปนเพราะผูนําของจีนไดประกาศย้ําเตือนอยางตอเนื่องและเปดเผย
ถึงการพัฒนาประเทศไปสูความทันสมัย ดังตัวอยางเชน เมื่อนายหู จินเทาเดินทางไป
นครเซี่ยงไฮในระหวางวันที่ 26-29 กรกฎาคม ค.ศ.2004 เขาไดประกาศตอประชาชนของ
เมื อ งนี้ ว า “ขอให ทุ ก คนทํ า งานอย า งหนั ก และมุ ง มั่ น นํ า พาเมื อ งเซี่ ย งไฮ ใ ห มี ค วาม
เจริญรุงเรืองและเปนเสาหลักในการพัฒนาของประเทศ” นั่นหมายความวา จีนพยายาม
เดินหนาไปสูความเปนประเทศที่มั่งคั่งและมั่นคงทางเศรษฐกิจ ในขณะเดียวกัน ก็ทาทาย
ประเทศชั้นแนวหนาที่ครอบครองความเปนหนึ่งของโลกในปจจุบันนั่นเอง
3. พัฒนาการทางสังคมของจีน: บททาทาย
ในป ค.ศ. 2002 นายหลี่ ลุยหวน อดีตผูนําคนสําคัญหมายเลข 4 กลาวในที่ประชุม
ประจําปของคณะที่ปรึกษาทางการเมืองประชาชน (Chinese People’s Political
Consultation Conference) วา “ระบบเศรษฐกิจแบบตลาดของจีนไดสงผลใหอาชีพและ
สถานภาพทางสังคมของประเทศเรายุคปจจุบันเปลี่ยนแปลงไป และกอใหเกิดความ
แตกตางและความขัดแยงระหวางชุมชน ระหวางชนิดของอุตสาหกรรม และระหวาง
ภูมิภาคตางๆ ขึ้น” จากคํากลาวนี้ อาจถือไดวา เปนเรื่องปกติและไมนาจะเปนอันตราย
ใดๆ แต ก็ เป นการสะทอ นให เห็นถึงผลพวงที่ เกิดขึ้ นจากหนทางอัน ยาวไกลที่พ รรค
คอมมิวนิสตจีนไดเดินมาถึง ณ. จุดนี้
นายหลี่ไดอธิบายตอไปอีกวา สิ่งที่เรามองเห็นถึงขอขัดแยงทางสังคมในชวงนี้ ก็คือ
ประเภทของขอขัดแยงในหมูประชาชนที่ตั้งอยูบนพื้นฐานของความในใจของแตละกลุม
หนทางในการแกไขขอขัดแยงนี้ ไดแก การรวมมือกันในการทํางาน และการมีความรัก
ใครกลมเกลียวกันในหมูประชาชน
ตามทฤษฎีนั้น ขอขัดแยงที่นําไปสูการประหัตประหารกัน คือ ขอขัดแยงระหวาง
ตัวตน (oneself) กับ “ศัตรู” (enemy) ซึ่งจําเปนตองขจัด “ศัตรู”ใหออกไป จึงจะแกปญหา
ขอขัดแยงได ดังตัวอยางที่เกิดขึ้นในสังคมจีนในยุคประธานเหมา เจอตุง ก็คือ การตอสู
กับ “ชนชั้นศัตรู” (class enemy) นั่นคือ ชนชั้นที่เปนเจาของที่ดินและชนชั้นที่ร่ํารวย
สวนยุคการปฏิวัติวัฒนธรรม (Cultural Revolution) นั้น รัฐธรรมนูญของพรรคไดระบุวา
เปน “พรรคของชนชั้นกรรมาชีพ” โดยเหมา เจอตุงย้ําถึงความจําเปนที่จะตองตอสูกับ
ศัตรูอยางไมมีวันสิ้นสุด เพราะชนชั้นสูงจะตองถูกขจัดออกไปเพื่อไมใหเอารัดเอาเปรียบ
ชนชั้นกรรมาชีพ
130

สวนในยุคของนายเจียง เจอหมิน ไดเสนอ “ทฤษฎีสามตัวแทน” นายเจียงไดยึด


มั่นวา พรรคคอมมิวนิสตเปนพรรคของมวลชนทั้งมวล โดยเขาไมไดใหความสนใจตอ
การตอสูทางชนชั้นอีก ทั้งนี้เพราะชนชั้นศัตรูไดถูกลบออกไปจากสังคมจีนจนหมดสิ้น
แลวในยุคกอนหนา ดังนั้น การเปลี่ยนรูปจากการเปนตัวแทนของชนชั้นกรรมาชีพมา
เปนพลังการผลิตที่กาวหนาเพื่อเขาสู “วัฒนธรรมที่กาวหนา” หมายถึง การนําสังคมเขาสู
สังคมที่ร่ํารวยและมีพลัง มิใชเปนสังคมของคนยากจนและไรศักดิ์ศรี
ปจจุบัน สมาคมสังคมศาสตรแหงประเทศจีนไดจําแนกชนชั้นออกเปน 10 ชน
ชั้น โดยมีกลุมหัวหนาพรรคอยูในชนชั้นสูงสุด คนไรงานทําอยูในชั้นต่ําสุด อนึ่ง สมาชิก
พรรคส ว นใหญ ใ นยุ ค นี้ ได แ ก กลุ ม ผู จั ด การ ผู ป ระกอบการอิ ส ระ และนั ก วิ ช าชี พ
ในขณะที่ชาวนาและกรรมกร ผูซึ่งเคยเปนผูสนั บสนุนหลักของพรรคในอดีตกลับ มี
จํานวนสมาชิกลดลงมาก ดังตัวอยางของการศึกษาที่เมืองเซินเจิ้นที่เปนเขตติดตอกับ
ฮองกง พบวา สมาชิกพรรคที่เปนผูจัดการมีจํานวนรอยละ 35.7 ผูประกอบวิชาชีพอิสระ
รอยละ 22.2 นักวิชาชีพ รอยละ 27.3 ในขณะที่กรรมกรในโรงงานอุตสาหกรรมมีเพียง
รอยละ 10.4 ขอมูลดังกลาวมีลักษณะคลายคลึงกับการศึกษาในบริเวณอื่นๆ ของประเทศ
จะเห็นไดวา คนกลุมแรกไดเขามาเปนสมาชิกพรรคและมีบทบาทในพรรคมากขึ้น สวน
ชาวนาและกรรมกรมีจํานวนลดนอยลงไป ทําใหโครงสรางของพรรคเปลี่ยนแปลงไป
ตอมา ในเดือนกรกฎาคม ค.ศ. 2004 สมาคมดังกลาวไดเสนอรายงานอีกชิ้นหนึ่ง
ชื่อ Flow in Contemporary Chinese Society โดยไดย้ําวา ในอีก 8-10 ปตอไป จีนจะกาว
ไปสูสังคมที่นักวิชาชีพมีความสําคัญขึ้น ชนชั้นกลางจะเพิ่มขึ้นเปนจํานวนมาก ในขณะ
ที่ชาวนาจะมีจํานวนลดลงอยางเห็นไดชัด ลักษณะดังนี้จะทําใหโครงสรางของชนชั้นยิ่ง
เปลี่ยนแปลงอยางมีนัยสําคัญ
ในปจจุบัน ชาวนามีจํานวนรอยละ 44 ชนชั้นกลางมีรอยละ 15 อุปสรรคสําคัญที่
ขัดขวางมิใหมีการขยับสถานภาพของชาวนาก็คือ มีขอบังคับของรัฐที่กําหนดในเรื่องถิ่น
ที่อยูอาศัย อาชีพ บุคลากร และความมั่นคงทางสังคมที่มีอยูอยางเครงครัดนับแตอดีตและ
ยังคงมีผลบังคับใช ทําใหการเลื่อนสถานภาพทางสังคมใหสูงขึ้น ความยุติธรรม และ
แบบแผนของการเขาสูความทันสมัยและเปดโอกาสใหเกิดการเคลื่อนไหวทางสังคมขึ้น
จึ ง เป น ไปได ย าก ดั ง นั้ น จํ า เป น ต อ งยกเลิ ก ข อ กํ า หนดเหล า นี้ อ อกไปให ห มด เพื่ อ
131

ประชากรจะสามารถเลื่อนชั้น (moving up) ทางสังคมไดตามความสามารถของพวก


เขา
อยางไรก็ตาม เมื่อไดเปดตัวสูโลกกวางในยุคปจจุบัน จึงสงผลใหเกิดการ
เปลี่ยนแปลงอยางใหญหลวงขึ้น กลาวคือ ประชากรจีนไดกาวไปสูโลกกวางโดยผาน
ทางอินเตอรเนต ปจจุบันมีผูใชอินเตอรเนตในจีนราว 75.5 ลานคนจากจํานวนประชากร
ทั้งสิ้น 1,300 ลานคน หรือคิดเปนรอยละ 6 ของประชากรทั้งหมด ในขณะที่ญี่ปุนมีผูใช
จํานวน 56 ลานคน จากจํานวนประชากรทั้งสิ้น 127 ลานคน สวนสหรัฐฯ มีผูใช
อินเตอรเนต 165.5 ลานคน หรือคิดเปนรอยละ 57 ของประชากรทั้งหมด 290.3 ลานคน
จึงมีการพยากรณวา ในอนาคตจํานวนผูใชอินเตอรเนตในจีนจะเพิ่มปริมาณขึ้นอีก
หลายเทาตัว อันจะทําใหคนสวนใหญกาวขึ้นไปสูชนชั้นกลางและผูใชวิชาชีพขยับฐานะ
ของตนใหสูงขึ้นอยางรวดเร็ว
ในแงปญหาทางดานสังคมในยุคปจจุบันนั้น ไดเกิดขึ้นมากมาย ซึ่งก็คลายคลึงกับ
ของประเทศอื่นๆ ที่อยูในระบบเศรษฐกิจแบบตลาดทั่วโลก เชน ปญหาการวางงาน
สิ่งแวดลอมเปนพิษ อาชญากรรม โสเภณี ความแตกตางกันทางดานรายได ฯลฯ ตัวอยาง
เรื่องการวางงานเปนหัวขอที่ไดรับความสนใจยิ่ง เพราะมีผูเชี่ยวชาญของจีนไดแนะนํา
วา รัฐบาลจีนควรสรางอุตสาหกรรมที่ใชแรงงานมากและควรสนับสนุนใหเกิดกลุม
อุตสาหกรรมขนาดกลางและขนาดเล็กเพราะเปนหนทางที่จะจางแรงงานคนไดเปน
จํานวนมาก รัฐบาลไมควรเนนเปาหมายดานการเพิ่มมูลคาของความเจริญเติบโตทาง
เศรษฐกิจ เชน ผลิตภัณฑมวลรวมประชาชาติแตเพียงอยางเดียว ทั้งนี้ มิใชเปาหมาย
สูงสุด แตควรสรางความสมดุลระหวางการพัฒนาเศรษฐกิจและการจางงานควบคูกันไป
ผูเชี่ยวชาญยังไดอางถึงตัวเลขของการวางงานในป ค.ศ. 2001 วา อัตราการ
วางงานอยูในระดับรอยละ 3.6 หรือมีจํานวนผูวางงานทั้งสิ้น 6.81 ลานคน ในป ค.ศ.
2004 มีคนวางงานราว 10 ลานคน ดังนั้น แมวาอัตราความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจจะ
สูงมากกวารอยละ 7 ตอปในชวงสิบกวาปที่ผานมาก็ตาม แตในที่สุด การวางงานก็จะ
ทําลายแนวโนมของอัตราความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจเสียสิ้น
132

ความสัมพันธระหวางจีน – เกาหลี
ในที่นี้จะแยกกลาวถึงความสัมพันธระหวางจีนกับเกาหลี ออกเปน 2 หัวขอ คือ จีน
กับเกาหลีเหนือ และจีนกับเกาหลีใต การอธิบายความสัมพันธดังกลาวจะไมขีดวงถึง
จุดยืนของจีน (Chinese position) ที่มีตอแตละประเทศเทานั้น แตจะกลาวถึงจุดยืนของ
อีกฝายหนึ่ง และจุดยืนของประเทศที่สามที่มีตอสถานการณแตละสถานการณเพื่อผูอาน
จะไดเปรียบเทียบขอมูลและสามารถมองเห็นภาพไดอยางชัดเจนถึงการกําหนดนโยบาย
ยุทธศาสตรและพฤติกรรมของแตละรัฐ
1. จีนกับเกาหลีเหนือ: ความสัมพันธแบบพี่ใหญ (Big brother)
ภายหลังการลมสลายของสหภาพโซเวียตและการยุติสงครามเย็นในตอนปลาย
คริสตศตวรรษที่ 20 อิทธิพลของรัสเซียตอเกาหลีเหนือไดลดระดับลงต่ําสุด ทั้งนี้เพราะ
รัฐตางๆ ภายใตการปกครองของอดีตสหภาพโซเวียตไดแยกตัวตั้งตนเปนประเทศอิสระ
จึงเหลือแตสวนที่เปนรัสเซียที่ยังคงรวมตัวเปนประเทศหนึ่ง อยางไรก็ตาม แมวารัสเซีย
จะมีอาณาเขตกวางใหญและมีประชากรเปนจํานวนมาก แตเนื่ องจากยังคงยึดมั่นใน
ระบอบการปกครองแบบคอมมิ ว นิ ส ต ในขณะที่ ร ะบบการผลิ ต แบบทุ น นิ ย มได
แพรกระจายเขาไปในทุกสวนของประเทศ ทําใหเกิดการปะทะกันระหวางระบบการ
ผลิตแบบสังคมนิยมกับระบบทุนนิยม กอใหเกิดความสับสนในหมูประชาชนและความ
ไร ป ระสิ ท ธิ ภ าพในด า นการผลิ ต ทํ า ให เ ศรษฐกิ จ ของรั ส เซี ย ตกอยู ใ นภาวะวิ ก ฤต
กลายเปนประเทศที่ประชากรมีรายไดต่ําอยูในระดับประเทศกําลังพัฒนา ขารัฐการและ
พนักงานบริษัทมีรายไดเดือนละไมกี่พันบาท และความยากจนมีปรากฏไปทั่วทุกสวน
ของประเทศ จากปรากฏการณดังกลาว ทําใหเกาหลีเหนือไมอาจพึ่งพาไดดังเชนในอดีต
ดังนั้น จึงตองยึดจีนเปนพันธมิตรที่เนนแฟนที่สุด
จีนเปนประเทศที่มีพรมแดนติดตอกับเกาหลีเหนือนับพันกิโลเมตร และตางยึด
มั่นระบบเศรษฐกิจแบบเดียวกัน จีนแตกตางจากรัสเซี ยที่แมจะมีพรมแดนติ ดตอกั บ
เกาหลีเหนือราว 16 กิโลเมตร แตเนื่องจากจีนไดรับความสําเร็จในการพัฒนาประเทศ
ชวง 30 ปที่ผานมาดังที่กลาวแลวในตอนตน ทําใหจีนเปนแหลงที่สามารถเจือจุนเกาหลี
เหนือทางดานเศรษฐกิจ และปกปองเกาหลีเหนือในทางการเมืองระหวางประเทศ เพราะ
มี “ประเทศผูพี่” (big brother) ใหการดูแลหากถูกขู หรือรุกรานจากประเทศเสรีนิยมใดๆ
ดวยเหตุนี้ เมืองโสมแดงจึงทําตัวเปนเสมือน “รัฐบรรณาการ” ของจีนเฉกเชนในอดีต จน
133

มีการกลาวขานกันวา เกาหลีเหนือเปนเสมือนมณฑลที่สี่ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของ
จี น (จี น มี ม ณฑลเฮอหลุ ง เจี ย ง มลฑลจี้ ห ลิ น และมณฑลเหลี ย วหนิ ง ) เพราะมี
ความสัมพันธพิเศษ (special relationship) ระหวางกัน ดังนี้
ก. การรวมมือทางเศรษฐกิจ
(1) ความรวมมือทางเศรษฐกิจ ในทศวรรษที่ 1990 การคาระหวางสองประเทศมี
มูลคาเพียง 3 – 6 รอยลานเหรียญตอป หรือคิดเปนอัตราสวนเพียงรอยละไมถึง 30 ของ
มูลคาการคารวมกับตางประเทศทั้งหมดของเกาหลีเหนือ ตอมาในตอนตนสหัสวรรษ
ใหมที่ 21 มูลคาทางการคาพุงสูงขึ้นเรื่อยๆ จนถึง 1,580 ลานเหรียญสหรัฐฯ หรือมากกวา
รอยละ 50 ในป ค.ศ. 2005 ทีเดียว
(2) การลงทุนของจีนในเกาหลีเหนือ ชวงป ค.ศ. 2002 จีนไดเขาไปลงทุนใน
เมืองโสมแดงเพียง 1 – 2 โครงการเทานั้น ตอมา เมื่อรัฐบาลของเกาหลีเหนือไดปรับแตง
การจั ด การด า นเศรษฐกิ จ บรรยากาศการลงทุ น จึ ง เริ่ ม เฟ อ งฟู จี น จึ ง ได ท ะยอยเซ็ น
ขอตกลงความรวมมือทางเศรษฐกิจหลายฉบับในชวงที่นายคิม จองอิลเดินทางไปเยือน
จีนในป ค.ศ. 2004 การลงทุนของจีนไดเพิ่มจาก 1 ลานเหรียญสหรัฐฯ ในป ค.ศ. 2003
พุงขึ้นเปน 50 ลานเหรียญในป ค.ศ. 2004 และเพิ่มปริมาณและมูลคาาการลงทุนมากขึ้น
ภายหลังการเซ็นสัญญา Investment Promotion and Protection Agreement ในเดือน
มีนาคม ค.ศ. 2005

การคาระหวางเกาหลีเหนือกับจีน

1992 1995 1999 2000 2001 2002 2003 2004 2005

มูลคา 69 54 3.7 4.8 7.4 7.4 10.1 13.9 15.8


(100 ลานเหรียญ)
อัตราสวนตอการคา 27 26 25 25 33 33 43 48 50+
กับตางประเทศทั้งหมด
134

จีนเนนการลงทุนในการขุดแรและประมงในระยะเริ่มแรก เพราะสามารถเก็บ
เกี่ยวผลประโยชนได อย างเต็มเม็ดเต็มหนวยไดอยางชัดเจน ส วนการลงทุ นด าน
ปจจัยพื้นฐานและอุตสาหกรรมยังอยูในระดับต่ํา
ตอมา ประธานาธิบดีหู จินเทาเดินทางไปเยือนเกาหลีเหนือในเดือนตุลาคม ค.ศ.
2005 และไดมองหาการขยายการลงทุนมากยิ่งขึ้น อนึ่ง จีนไดประกาศใชแผนพัฒนา
เศรษฐกิจและสังคมฉบับที่ 11 ในป ค.ศ. 2006 โดยเนนการพัฒนาการลงทุนใน
มณฑลทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือใหมากขึ้น อาจสงผลใหเพิ่มการลงทุนดานการ
พัฒนาแหลง

ขอตกลงความรวมมือทางเศรษฐกิจระหวางเกาหลีเหนือกับจีน

สิงหาคม 2002 ความรวมมือในดานมาตรฐานของสินคาและคุณภาพ


มีนาคม 2005 ขอตกลงเกี่ยวกับการสงเสริมการลงทุนและ คณะกรรมการรวม
ความรวมมือทางเศรษฐกิจ
กรกฎาคม 2005 ขอตกลงดานการตอรองเกี่ยวกับความรวมมือทางศุลกากร
ตุลาคม 2005 ขอตกลง 4 ขอในดานความรวมมือทางเศรษฐกิจและการพัฒนา
แบบทวิภาคี
ตุลาคม 2005 การลงนามขอตกลงความรวมมือทางเศรษฐกิจในแผนพัฒนา
ฉบับที่ 11 (ค.ศ. 2006 – 2010)

วัตถุดิบในเกาหลีเหนือมากยิ่งขึ้นในขณะเดียวกัน จีนมองเห็นลูทางที่จะสงผานสินคา
จากภาคตะวันออกเฉียงเหนือของจีนไปยังเมืองราจิน – ซองบอน ซึ่งเปนเขตเศรษฐกิจ
การลงทุนระหวางประเทศของเกาหลีเหนือเพื่อออกทะเล จะทําใหการลงทุนจากจีนเพิ่ม
มากขึ้นตอไป
(3) ความชวยเหลือจากจีน จีนไดสงความชวยเหลือทางดานมนุษยชนใหแก
เกาหลีเหนือนับตั้งแตป ค.ศ. 2000 เปนตนมามีมูลคาราวปละ 200 ลานเหรียญ สวนเงินกู
ที่ใหแกเมืองโสมแดงนั้นมักออกมาในรูปน้ํามันดิบ อาหาร และโรงงานอุตสาหกรรม ซึ่ง
ความชวยเหลือทางดานอาหารนั้น จีนเปนแหลงปอนอาหารแกเกาหลีเหนือถึงรอยละ 30
135

– 40 ของความตองการทั้งประเทศในแตละป อนึ่ง เกาหลีเหนือพึ่งพาวัสดุทาง


ยุทธศาสตรจากจีนถึง 100 เปอรเซ็นต นอกจากนี้ จีนยังใหเงินชวยเหลือแบบใหเปลาราว
ครั้งละ 50 ถึง 100 ลานเหรียญเมื่อมีการเยี่ยมเยือนของเจาหนาที่ระดับสูงจากเกาหลีเหนือ
ข. มูลเหตุเบื้องตนหลังความรวมมือทางเศรษฐกิจแบบทวิภาคี
จุดเปลี่ยนผานครั้งสําคัญของความรวมมือทางเศรษฐกิจระหวางสองประเทศนี้
เกิดขึ้นเมื่อป ค.ศ. 2000 ที่ขนาดการคาการลงทุนเพิ่มขึ้นอยางมีนัยสําคัญ อีกทั้งไดมีการ
สรางองคกรเพื่อทําหนาที่นี้ขึ้น ทําใหเกิดความผูกพันอยางแนนแฟนตอกันและกัน ทั้งนี้
ทั้งนั้น มูลเหตุสําคัญมาจากผลประโยชนที่แตละฝายมีรวมกันภายใตสถานการณการ
เปลี่ยนแปลงทางการเมืองในเอเชียตะวันออกเฉียงเหนือ
(1) จุดยืนของจีน จีนมีเหตุผลหลายประการที่จําเปนตองสรางควมสัมพันธกับ
เกาหลีเหนือ กลาวคือ ประการแรก จีนตองผูกมิตรกับเกาหลีเหนือ เพราะมีความรูสึกวา
สหรัฐฯประสงคที่จะแยกจีนใหอยูโดดเดี่ยว โดยสหรัฐฯไดเพิ่มระดับความเปนพันธมิตร
กับญี่ปุนใหสูงขึ้น อีกทั้งยังไดตั้งกองกําลังทหารประจําในเอเชียกลาง ทําใหจีนตองขยาย
มิ ต รภาพที่ ดี ต อ เวีย ตนามเพื่ อ ครอบครองภู มิ ภ าคเอเชี ย ตะวั น ออกเฉี ย งใต ใ ห มี ค วาม
แข็งแกรงยิ่งขึ้น ประการที่สอง จีนตองการรักษาความมั่นคงตามชายแดนไว จึงไดให
ความชวยเหลือแกเกาหลีเหนือ อนึ่ง การผูกมิตรกับเมืองโสมแดงยังทําใหจีนมีแหลง
ทรัพยากรใชปอนอุตสาหกรรมทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือของตน นอกจากนี้ จีน
คาดหวังวาจะใชทาเรือที่เมืองราจินระบายสินคาที่ผลิตจากภาคตะวันออกเฉียงเหนือให
ออกสูทะเลไดสะดวก อันจะทําใหเปนการลดคาใชจายในการสงออกสินคาไปสูญี่ปุน
และเมืองอื่นๆ ไดมาก
ประการที่สาม จีนสามารถใชอิทธิพลเรียกรองใหเกาหลีเหนือยุติการผลิตอาวุธ
นิวเคลียรได อันจักทําใหจีนไดรับความนิยมจากประชาคมโลก โดยเฉพาะอยางยิ่งจาก
สหรัฐฯ เกาหลีใต และญี่ปุนที่มองเห็นวาจีนไดแสดงบทบาทเปนกลางและใชเวทีใน
ประเทศของตนจัดการประชุมหกฝายในเรื่องวิกฤตนิวเคลียร นอกจากนี้ มีการกลาววา
จีนใชเกาหลีเหนือเปนรัฐกันชนกับเกาหลีใตและกองกําลังทหารสหรัฐฯ ที่ตั้งฐานทัพอยู
ในเกาหลีใตและญี่ปุน ดังนั้น เกาหลีเหนือจึงเปนจุดยุทธศาสตรที่จีนมองเห็นประโยชน
เพื่อใชเปนปราการหากไดรับการโจมตีจากพันธมิตรโลกเสรีดวยกําลัง
136

หากเกิดการลมสลายของรัฐบาลเกาหลีเหนือจะเปนภาระอันใหญหลวงตอจีน
ด ว ยเหตุ นี้ จึ ง เป น ภาระหน า ที่ ที่ จ ะต อ งส ง เสริ ม ให สั ง คมโสมแดงมี สั น ติ ภ าพและ
เจริ ญ รุ งเรื อง ในทัศนะของจี นนั้น อิท ธิ พลของจีน ตอเกาหลี เหนื อจะลดถอยลงไปก็
ตอเมื่อเกาหลีเหนือสามารถปรับปรุงความสัมพันธกับเกาหลีใตและสหรัฐฯ จากจุดนี้เอง
จึงเปนเหตุผลที่ชัดเจนประการหนึ่งที่จีนเรงรัดในการแผอิทธิพลไปยังเกาหลีเหนือดวย
การขยายความสัมพันธทางเศรษฐกิจใหมากยิ่งขึ้น
(2) จุดยืนของเกาเหลีเหนือ เกาหลีเหนือก็มีเหตุผลสําคัญดังนี้ ประการที่หนึ่ง
เมื่อเกาหลีเหนือไดสูญเสียมิตรประเทศที่ใหการสนับสนุนหลักไป คือ รัสเซีย (สหภาพ
โซเวี ยตเดิ ม )ไป จีนจึงหลายเป นประเทศหนึ่ งเดียวที่ เมืองโสมขาวสามารถพึ่ งพาได
โดยเฉพาะอยางยิ่ง ในชวงที่ราคาสินคาในประเทศไดพุงสูงขึ้นภายหลังที่รัฐบาลไดปลอย
ใหมีการปรับราคาสินคาใหเปนไปตามราคาที่แทจริงในวันที่ 1 กรกฎาคม ค.ศ. 2002 เปน
ตนมา ทําใหเกาหลีเหนือตองพึ่งพาจีนในการตอสูกับภาวะเงินเฟอที่รุนแรง จากความ
ชวยเหลือทางดานอาหารและเครื่องอุปโภคบริโภคจํานวนมหาศาลจากจีน ทําใหรัฐบาล
เกาหลีเหนือรอดพนจากหายนะทางเศรษฐกิจ อันเปนเสมือนการตออายุการปกครองของ
ประธานคิม จองอิลตอไปอีกระยะหนึ่ง จะเห็นไดวา เกาหลีเหนือจําเปนตองพึ่งพาจีนใน
แงเศรษฐกิจและการลงทุน รวมทั้งความรวมมื อแบบทวิ ภาคีอยางแน นแฟ น เพื่อ ให
ประเทศรอดพนจากปญหาทางเศรษฐกิจที่รุมเรา
ประการที่ สอง รั ฐ บาลเกาหลีเหนือ แสวงหาการปกปอ งคุ มครองจากจี น ผา น
ทางการชวยเหลือทางเศรษฐกิจและการอุมชูทางการเมือง โดยใชประเด็นดานนิวเคลียร
เปนเครื่องตอรองกับสหรัฐฯ และเกาหลีใต ในขณะเดียวกันก็พยายามหาทางเปดสัมพันธ
ทางการทูตกับสหรัฐฯ ดวยการปรับแตงขอตกลงเพื่อสันติภาพทางดานอาวุธ จะเห็นได
วา เกาหลีเหนือมีความตองการใชจีนเปนหนทางในการสรางดุลยภาพกับสหรัฐฯ ญี่ปุน
และเกาหลีใต อันเปนการเพิ่มความสมดุลในโครงสรางภายหลังยุคสงครามเย็น
จุดยืนของเกาหลีเหนือที่เพิ่งกลาวถึงเปนการวิเคราะหของนักวิชาการของเกาหลี
ใต แ ละสหรั ฐ ฯ ที่ มั ก จะมองเห็ น ว า เกาหลี เ หนื อ ใช ยุ ท ธวิ ธี ท างการทู ต แยบยลสร า ง
สถานการณขึ้น ทําใหไดรับการตอบสนอง คือ ความชวยเหลืออยางมากมาย ทั้งจากจีน
และเกาหลีใต สหรัฐฯ และญี่ปุนเสมอมา
137

โดยแทจริงแลวสหรัฐฯ ญี่ปุนและเกาหลีใตก็มีบทบาทตอนโยบายตางประเทศของ
จีนไมนอย เพราะเปนประเทศที่เขาไปลงทุนในจีน และเปนตลาดสินคาสงออกของจีน
ทั้งปริมาณและมูลคามหาศาลในแตละป ทําใหจีนตองประคับประคองความสัมพันธที่ดี
กับประเทศเหลานี้ดวยเชนกัน ดังนั้น จีนจึงตองตระหนักมิใหเกาหลีเหนือใชประโยชน
จากตนมากจนเกินไป ในขณะเดียวกัน จีนก็มีปญหากับเกาหลีเหนือเชนกัน โดยเฉพาะ
คนเกาหลีเหนือลักลอบขามเขตแดนเขาไปในจีนเพิ่มมากขึ้นในชวงเศรษฐกิจเกาหลีเกิด
วิกฤตและขาดอาหารในการเลี้ยงดูประชาชน คนเหลานี้ไดสรางปญหาเพราะเขาไปแยง
งานทําในจีนและลักลอบขนสินคาหนีภาษีไปยังประเทศของตน รวมทั้งไดหลบหนีเขา
ไปยังสถานทูตประเทศที่สามในจีนเพื่อขอลี้ภัยไปยังเกาหลีใต และประเทศที่สาม ทําให
จี น ได รั บ การติ เ ตี ย นจากประชาคมโลกที่ ใ ห ค วามปลอดภั ย แก ส ถานทู ต ต า งชาติ ไ ม
เพียงพอ
ในดานเศรษฐกิจนั้น จีนไดพยายามเกลี้ยกลอมใหเกาหลีเหนือหันไปใชระบบ
ตลาดเสรีที่ทําใหจีนเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็ว แตก็ไดรับการปฏิเสธจากเกาหลีเหนือที่
เนนการปกครองแบบสังคมนิยมสุดขั้ว ในขณะที่ใชโครงการนิวเคลียรเพื่อการตอรอง
ทางการเมือ งระหวางประเทศ ทํ าใหนั ก วิ ช าการจี น หลายคนไม ค อยพอใจและเขี ย น
บทความวิพากษวิจารณเกาหลีเหนืออยางรุนแรงเรื่อยมา จนมีผูสังเกตการณหลายคน
วิเคราะหวา ขอเขียนเหลานี้นาจะเปนหลักการในนโยบายของรัฐบาลจีนที่มีตอเกาหลี
เหนือตอไปในอนาคต

2. จีนกับเกาหลีใต
นั บ ตั้ ง แต ห ลั ง สงครามเย็ น เป น ต น มา ความสั ม พั น ธ ร ะหว า งจี น กั บ เกาหลี ใ ต
เปลี่ยนแปลงไปอยางรวดเร็ว แตเปนที่นาสังเกตวา การพัฒนาความสัมพันธของทั้งสอง
ประเทศนี้มิไดเปนไปในทิศทางใดทิศทางหนึ่ง หรือเปนเสนตรงดังเชนความสัมพันธ
แบบทวิภาคีของประเทศอื่นๆ ทั้งนี้อาจเปนผลมาจากเกาหลีใตมีลักษณะที่เปนเอกลักษณ
ที่นโยบายตางประเทศมักจะรวมเปนหนึ่งเดียวกับกระแสสังคมภายในประเทศ ยังผลให
ตางประเทศกลับไปกลับมาตามกระแสสังคมภายในที่มีความออนไหวยิ่ง โดยเฉพาะ
อยางยิ่งตอจีน เกาหลีเหนือ และญี่ปุน รวมไปถึงสหรัฐฯ ในที่นี้ จะกลาวถึงจุดยืนของจีน
138

ที่มีตอเมืองโสมขาวเปนหลักเพื่อใหเห็นภาพของบทบาทของจีนในการจัดการในดาน
ความสัมพันธกับมิตรประเทศที่ใกลชิดประเทศนี้
(1) สถานการณทางการเมืองระหวางประเทศ จีนไดกาวขึ้นเปนชาติที่มีอิทธิพล
ในเอเชียและมีศักยภาพทางดานเศรษฐกิจนับตั้งแตทศวรรษที่ 1990 เปนตนมา ในขณะที่
เกาหลีใตมีความสัมพันธที่เหินหางกับสหรัฐฯ ทําใหเกาหลีใตมีความเปนอิสระในการ
ดําเนินการดานความสัมพันธกับประเทศอื่นมากกวาในอดีตที่เคยตองพึ่งพาสหรัฐฯ ใน
แทบทุกดาน ทําใหความสัมพันธระหวางจีน – เกาหลีใต เปนไปในทิศทางที่ดีขึ้นเรื่อยมา
จนถึงปจจุบัน สาเหตุที่เปนเชนนี้เพราะเกาหลีใตมีการเปลี่ยนแปลง ดังนี้
- คนเกาหลีไมพอใจตอความสัมพันธที่ไมเทาเทียมกันกับสหรัฐฯ และตอการ
ตั้งฐานทัพในประเทศ
- คนเกาหลีไมพอใจตอการตัดสินใจของรัฐบาลสหรัฐฯ ในประเด็นสําคัญๆ
หลายเรื่อง
- มีความไมลงรอยกันในนโยบายตอเกาหลีเหนือ โดยสหรัฐฯ ใชนโยบายแข็ง
กราว ในขณะที่เกาหลีใตตองการใชนโยบายผอนปรนเพื่อใหเกาหลีเหนือ
รวมสรางสันติภาพบนคาบสมุทร
การหันเหดวยการลดการพึ่งพาสหรัฐฯ มาดําเนินนโยบายที่เปนอิสระมากขึ้นนั้น
ทําใหเกาหลีใตเปดกวางกรอบความสัมพันธกับตางประเทศของตน เมื่อจีนกาวขึ้นมา
เปนมหาอํานาจและเกาหลีใตเล็งเห็นผลประโยชนของตน โดยเฉพาะอยางยิ่ง เปนแหลง
การคา การลงทุน การทองเที่ยว และรวมมือกับจีนในการติดตอในเรื่องการขจัดอาวุธ
นิวเคลียรใหหมดไปจากคาบสมุทรเกาหลีดวยการเจรจา ทําใหเกาหลีใตมีความโนมเอียง
ในการสรางความผูกพันที่ดีกับจีน โดยยุติการมองวา จีนเปนภัยคุกคามดังเชนในอดีต
ในทางตรงกันขาม คนเกาหลีใตตางมองถึงโอกาสเพราะจํานวนประชากรกวา 1,300 ลาน
คนนั้นเปนความหวานหอมที่ตางคาดฝน วา จะยึ ดครองตลาดนี้มาเปนของตน จึงได
กระทําทุกทางที่จะไดมาซึ่งผลประโยชนทางเศรษฐกิจ ดังนั้น ภาษาจีนจึงเปนที่นิยมเรียน
ในหมูนักศึกษาเกาหลีในยุคปจจุบัน เพื่อใชภาษาเปนเครื่องมือในการทําใหเปาหมายทาง
เศรษฐกิจบรรลุผล
ในขณะเดียวกัน ผูนําจีนย้ําเสมอถึงทาทีของประเทศของตนตอสังคมเพื่อนบาน
วา จะพยายามสรางสรรคใหเกิดสันติภาพและความรวมมือ ดังที่นายกรัฐมนตรีเหวิน เจีย
139

เปาไดเนนย้ําถึงการสรางสันติภาพ (peaceful rise) ขึ้นในคําปราศรัยที่นครนิวยอร


คเมื่อวันที่ 9 ธันวาคม ค.ศ. 2003 วาจีนจะไดเขามามีสวนรวมในการเสริมสรางความสงบ
สุขในหมูประชาคมของเอเชียตะวันออกและของโลก และเปนตัวแสดงหลักในทาง
เศรษฐกิจ การเมือง และความมั่นคงของภูมิภาค ดังนั้น จีนจึงสามารถลบภาพ “อันตราย
จากจีน” (Chinese threat) ใหหายไปจากความทรงจําที่แตละประเทศเคยมองจีนวาเปน
ภัยคุกคาม มาเปนประเทศที่เปดเผย รับการเขา – ออกของทุกชนชาติไดอยางเสรี และให
การสนับสนุน รวมทั้งความรวมมืออยางเปนมิตรภายใตของกฎกติกาสากล ผสมกับการ
ใชมารยาททางสังคมของชาวเอเชียปฏิบัติตอประเทศเพื่อนบาน ในสหัสวรรษใหมนี้ จีน
จึงมีความใกลชิดกับเกาหลีเหนือ เกาหลีใต ฮองกง เวียตนาม และเอเชียตะวันออกเฉียง
ใตเมื่อเทียบกับชวงทศวรรษ 1950 – 1970 เพราะในยุคนั้น ทุกประเทศที่กลาวถึงตางพูด
เปนเสียงเดียวกันวา จีนเปนศัตรูตัวรายที่สุด
การสรางพันธมิตรของจีนเปนการทาทายความเปนเจาของสหรัฐฯ ที่กลายเปน
มหาอํานาจหนึ่งเดียวภายหลังการลมสลายของสหภาพโซเวียต โดยจีนไมตองการให
สหรัฐฯ – ญี่ปุนมีอํานาจเด็ดขาดในภูมิภาคเอเชียตะวันออก ดังนั้น ความสัมพันธระหวาง
จีน – เกาหลีใต จึงเปนไปในแนวถอยทีถอยอาศัยกัน กลาวคือ จีนไมไดเรงรัดหรือบังคับ
ให เ กาหลี ใ ต ตั ด ขาดจากสหรั ฐ ฯ และญี่ ปุ น ในขณะที่ เ กาหลี ใ ต ก็ ยั ง คงยึ ด มั่ น ใน
สัมพันธภาพที่ดีกับทั้งสองประเทศ และกับจีนอยางสมดุล
ศาสตราจารยโรเบิรท ซัทเตอร (Robert Sutter – School of Foreign Service,
Georgetown University) ไดกลาววา รัฐบาลจีนไดปรับความสัมพันธโดยเนนการหา
ประโยชนทางเศรษฐกิจและโอกาสอื่นๆ จากเกาหลีใตในขณะที่ยึดมั่นในมิตรภาพกับ
เกาหลีเหนืออยางเหนียวแนน เมื่อโลกเผชิญหนากันเพราะปญหาทางดานนิวเคลียรและ
การถือครองขีปนาวุธของเกาหลีเหนือ รวมถึงปญหาการกระถดถอยทางเศรษฐกิจอยาง
รุนแรงในเมืองโสมแดงภายหลังการอาสัญกรรมของนายคิม อิลซุง (อดีตประธานาธิบดี)
ใน ค.ศ. 1994 จีนจึงเตรียมพรอมรับกับอนาคตที่ไมแนนอนบนคาบสมุทรเกาหลี โดย
รัฐบาลจีนไดใหความชวยเหลือทางเศรษฐกิจและการแลกเปลี่ยนทางการทหารและ
การเมืองอยางตอเนื่องเพื่อสานตอความสัมพันธและสรางความมั่นคงกับเกาหลีเหนือ ใน
ขณะเดียวกันก็ทํางานรวมกันกับเกาหลีใตและในบางครั้งกับสหรัฐฯ ในการแสวงหา
หนทางลดความตึงเครียดบนคาบสมุทร ดังนั้น จีนไดตอบสนองวิกฤตินิวเคลียรที่เกาหลี
140

เหนืออางวาไดดําเนินการคนควาและผลิตขึ้นในชวงป ค.ศ. 2002 – ปจจุบัน (2006) ดวย


การแสดงบทบาทไกลเกลี่ยโดยรับเปนเจาภาพจัดประชุม 6 ฝาย (เกาหลีเหนือ เกาหลีใต
สหรัฐฯ ญี่ปุน รัสเซีย และจีน) หลายครั้งเพื่อสงวนรักษาอิทธิพลและผลประโยชนของ
จีนบนคาบสมุทรเกาหลี
(2) เศรษฐกิจและสังคม ศาสตราจารยซัทเตอรยังไดกลาวตอไปอีกวา ภายหลังที่
สงครามเย็ น สิ้ น สุ ด ลง จี น มี ค วามสนใจอย า งจริ ง จั ง ในการสร า งความสั ม พั น ธ ท าง
เศรษฐกิจกับเกาหลีใตที่นับวันจะเจริญเติบโตทั้งปริมาณและมูลคา ความรวมมือแบบทวิ
ภาคีในทุกแขนงของทั้งสองประเทศไดรับการแสวงหาและดําเนินการเพื่อปรับปรุงใน
ดานการคาและการลงทุน ผูนํารัฐบาลไดเดินทางเยี่ยมเยือนกันและกันอยางเปนทางการ
เสมอมาและตางแสดงถึงมิตรภาพที่มีตอกัน กอใหเกิดแรงผลักดันตอการติดตอและสราง
สัมพันธดวยเหตุผลทางเศรษฐกิจและสรางผลประโยชนรวมกันบนคาบสมุทร ในกรณีที่
เกิดวิกฤตนิวเคลียรเกาหลีเหนือในป ค.ศ. 2002 จีนและเกาหลีใตก็มีจุดยืนรวมที่จะใชการ
เจรจาทางการทูตกับเกาหลีเหนือมากกวาการใชมาตรการที่กาวราวและการทหาร
ในชวงเวลาที่ผานมา การแลกเปลี่ยนระหวางจีน – เกาหลีใตบรรลุถึงจุดที่มี
นัยสําคัญยิ่ง กลาวคือ นักทองเที่ยวชาวเกาหลีเดินทางไปเยือนจีนถึง 1.7 ลานคนในป
ค.ศ. 2002 และมีจํานวนเพิ่มขึ้นในปถัดมา สวนนักทองเที่ยวชาวจีนกวา 500,000 คน
เดินทางไปเยือนเกาหลีใตในปเดียวกัน ใน ค.ศ. 2001 มีนักศึกษาเกาหลีใตกวา 16,000
คนมาศึกษาในสถาบันการศึกษาของจีน เพิ่มเปน 24,000 คนใน ค.ศ. 2002 และเปน
40,000 กวาคนใน ค.ศ. 2003 – 2004 อนึ่ง จํานวนเที่ยวบินที่บินระหวางจีนกับเกาหลีใตมี
มากกวาจํานวนเที่ยวบินระหวางเกาหลีใตกับญี่ปุน โดยในป ค.ศ. 2004 มีกวา 200 เที่ยว
ตออาทิตยและมีแนวโนมเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ
การติ ด ต อ ทางด า นธุ ร กิ จ อุ ต สาหกรรมได เ กิ ด มี ขึ้ น พร อ มกั บ การสร า ง
ความสัมพันธทางการเมืองกับจีนในระหวางการประชุมเอเปค (Asia – Pacific Economic
Cooperation) ครั้งที่ 3 ที่จัดขึ้นที่กรุงโซลในป ค.ศ. 1991 ตอมาเมื่อมีการเปด
ความสัมพันธทางการทูตระหวางสองประเทศอยางเปนทางการในปถัดมา ทําใหความ
รวมมือเพิ่มสูงขึ้นอยางรวดเร็ว แมวาจะไดรับการคัดคานจากเกาหลีเหนือก็ตาม อนึ่ง
ประธานาธิบดีคิม เดจุงแหงเกาหลีใตไดมีบทบาทสําคัญในการริเริ่มความรวมมือแบบ
141

พหุภาคีของ ASEAN Plus Three โดยเขาไดเรียกรองใหจีนเขารวมในกลุม ซึ่งจีนก็ได


ตอบสนองในตอนปลายทศวรรษ 1990
ในการเยี่ ย มเยื อ นระหว า งกั น นั้ น นายกรั ฐ มนตรี จู หลงจี้ ข องจี น พร อ มด ว ย
เจาหนาที่ระดับสูงของพรรคจํานวน 7 คนไดเดินทางไปเยือนกรุงโซลในเดือนตุลาคม
ค.ศ. 2000 ตอมา มีการเดินทางเยือนตอกันระหวางผูนํา และระหวางรัฐมนตรีวาการ
กระทรวงกลาโหมหลายครั้ง
จะเห็ น ได ว า ในห ว งเวลาที่ ผ า นมา การพั ฒ นาความสั ม พั น ธ ร ะหว า งกั น ได
กอใหเกิดการมองภาพจีนในสายตาของคนเกาหลีที่เปลี่ยนแปลงไป จากการสํารวจของ
รัฐบาลเกาหลีใตในป ค.ศ. 1996 พบวา คนเกาหลีรอยละ 47 บอกวา จะเลือกจีนเปนมิตร
ประเทศที่ใกลชิดที่สุด ในขณะที่รอยละ 24 เลือกสหรัฐอเมริกา สวนการสํารวจในป ค.ศ.
2000 จํานวนคนที่คาดวา จีนจะเปนชาติที่มีอิทธิพลในเอเชียมีรอยละ 52 ในขณะที่มี
จํานวนไมมากนักที่คาดวาสหรัฐฯ จะมีบทบาทสําคัญในเอเชีย
ประธานาธิบดีโรห มูเฮียนไดเดินทางไปเยือนจีนเปนทางการในป ค.ศ. 2003 อัน
เปนการประกาศวา 10 ปของการสถาปนาทางการทูตขึ้นนั้น ประเทศทั้งสองไดบรรลุ
ความรวมมือระหวางกันเปนอยางดี โดยในป ค.ศ. 2002 มูลคาทางการคาตอกันมีมูลคา
ถึง 110 พันลานเหรียญสหรัฐฯ และในป ค.ศ. 2004 จีนเปนประเทศที่บริษัทเกาหลีใตไป
ลงทุนมากที่สุด โดยมีมูลคาการลงทุนถึง 4 พันลานเหรียญฯ ตอมาประธานาธิบดีหู จิน
เทาเดินทางไปรวมประชุมเอเปคที่เมืองปูซานของเกาหลีใตที่จัดขึ้นในระหวางวันที่ 18 –
19 พฤศจิกายน ค.ศ. 2005 และประชุมสุดยอดกับผูนําเกาหลี กอใหเกิดความรวมมือแบบ
ทวิภาคีในดานการทูต ความมั่นคง เศรษฐกิจและการคาแบบกาวกระโดดขึ้น โดยจีน
กลายเปนตลาดสงออกที่ใหญที่สุดของเกาหลีใตแทนตลาดสหรัฐอเมริกา
(3) อุปสรรคและการแกปญหา แมวาในภาพรวมความสัมพันธระหวางจีน –
เกาหลีใตจะเปนไปดวยดีและพัฒนาไปในทิศทางที่เพิ่มขึ้นดังที่กลาวมาแลวก็ตาม แต
ปญหาการกระทบกระทั่งระหวางกันก็เกิดขึ้นเปนระยะๆ เชนเดียวกัน จนบางครั้งแทบ
จะมีการคาดหมายกันวา ความสัมพันธอาจสะดุดหยุดลงเพราะปญหาความบาดหมางได
หยั่งรากฝงลึกไปในกลุมคนทั่วประเทศเกาหลีใต ดังตัวอยางเชน ในตอนปลายทศวรรษ
1990 เกษตรกรจีนไดสงกระเทียมไปขายยังตลาดเกาหลี ผูคนนิยมบริโภคเพราะราคาถูก
กว า ของเกาหลี ทํ า ให ช าวนาเกาหลี ใ ต ป ระท ว งเพราะขายผลผลิ ต ไม ไ ด โดยมี ก าร
142

เดิ น ขบวนให รั ฐ บาลยุ ติ ก ารนํ า เข า การประท ว งในครั้ ง นั้ น เป น เสมื อ นนํ า ชาติ เ ข า สู
สงครามกับจีน ทําใหจีนเตือนเกาหลีถึงพฤติกรรมที่กาวราวของผูเดินขบวน ซึ่งอาจจะ
กอใหเกิดผลกระทบตอความสัมพันธระหวางประเทศ
กรณีตอมาก็คือ สื่อมวลชนเกาหลีตีพิมพบทความกลาวหาวา ไดพบไขพยาธิใน
กิมจิหรือผักดอง 10 ตัวอยางที่สงจากจีนไปขายในเกาหลี และสมาชิกรัฐสภาคนหนึ่งอาง
วา ได พ บสารตะกั่ว ในกิม จิจากจี น ด วย การประโคมข าวก อ ให เกิ ด การประท วงจาก
รัฐบาลจีนที่เห็นวา เกาหลีพยายามสรางภาพทําลายความนาเชื่อถือในสินคาจากจีน ทั้งๆ
ที่มีการพบไขพยาธิในกิมจิที่ผลิตขึ้นในเกาหลีเชนกัน
กรณีที่สาม ไดแก การที่จีนประกาศวา สุสานหรือหลุมฝงศพที่ตั้งอยูในบริเวณ
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือของจีนซึ่งเกาหลีอางวาเปนของอาณาจักรโคกูริวนั้น นาจะเปน
ดิน แดนส ว นหนึ่ ง ของจี น ในอดี ต ตามหลั ก ฐานที่ ค น พบในการวิ จั ย ในโครงการภาค
ตะวันออกเฉียงเหนือเมื่อป ค.ศ. 2002 และจีนขอใหยูเนสโกประกาศเปนมรดกโลกในป
ค.ศ. 2003 เหตุการณนี้ไดสรางความไมพอใจแกเกาหลีใตยิ่งเพราะถือวา เปนการ
บิ ด เบื อ นทางประวั ติ ศ าสตร ที่ จี น ทึ ก ทั ก เอาว า อาณาจั ก รโคกู ริ ว เป น ส ว นหนึ่ ง ของ
อาณาจักรจีนในอดีต ในขณะที่เกาหลีถือวา เปนหนึ่งในอาณาจักรโบราณในยุคสาม
อาณาจักร (โคกูริว เพ็กเจ และซิลลาของเกาหลี) ทําใหเกิดการประทวงจีนไปทั่ว
ประเทศ
จากการสํารวจความคิดเห็นของคนเกาหลีที่มีตอจีนในป ค.ศ. 2004 โดย
สถานีโทรทัศน KBS พบวา

คนเกาหลีคิดวาจีนเปนคูแขงขัน 79.8 เปอรเซ็นต


เทคโนโลยีของจีนจะตามเกาหลีกันในทศวรรษหนา 87.1 เปอรเซ็นต
จีนไมไดแสดงบทบาททางสรางสรรคในการรวมชาติเกาหลี 74.1 เปอรเซ็นต
จีนไมไดเปนมิตรกับเกาหลีเทาใดนัก 58.2 เปอรเซ็นต

แมวาจีน – เกาหลีใตเปดความสัมพันธทางการทูตระหวางกันมาแลว 12 ป และมีการ


แลกเปลี่ยนตอกันในทุกสาขา ทั้งดานการเมือง เศรษฐกิจ และวัฒนธรรม ซึ่งมีทั้งปริมาณ
และคุณภาพเพิ่มขึ้นอยางเห็นไดชัด อันนําไปสูความรวมมืออยางแนนแฟน อยางไรก็
ตาม คนเกาหลีเริ่มมีขอสงสัยและมีการมองเปนลบตอจีน ทั้งนี้อาจเปนผลมาจากการอาง
143

สิทธิ์ทางประวัติศาสตรวา อาณาจักรโคกูริวเปนของจีน และสงผลใหคนเกาหลีตระหนัก


วา จีนกําลังดําเนินยุทธศาสตรของการกาวไปสูการเปนเจา (hegemony) และมุงใหจีน
เปนศูนยกลาง (Sino-centrism) ของเอเชีย อันเปนแผนมุงรายตอเกาหลีตามทฤษฎี
อันตรายจากจีน (Chinese Threat Theory)
นอกจากนี้ เกาหลีใตมีความไมแนใจที่จะยกยองจีนใหเปนพันธมิตรแทเพราะมี
ความแคลงใจที่ประธานคิม จองอิลแหงเกาหลีเหนือไดไปเยือนจีนอยางลับๆ ในระหวาง
วันที่ 10 – 18 มกราคม ค.ศ. 2006 โดยรัฐบาลจีนไมไดเปดเผยใหสถานทูตเกาหลีใตที่
ประจําอยูในประเทศจีนไดรับรูอะไรเลย ที่รายไปกวานั้นก็คือ กระทรวงการตางประเทศ
ของจีนไดย้ําตอเกาหลีใตตลอดมาวา “เรื่องราวของการเยือนของประธานคิมไมมีมูล
ความจริงแตประการใด” การเยือนครั้งนี้จึงเปนเหตุการณที่เกาหลีใตประจักษชัดวา จีนมี
ลับลมคมในในกิจการที่เกี่ยวกับเกาหลีเหนือตอประเทศของเขา ทําใหเกิดความไมมั่นใจ
วา จีนจะเปนเพื่อนแทจริงดังคําสัญญาของที่ประชุมสูงสุดของผูนําทั้งสองประเทศที่มีขึ้น
หลายครั้งหลายคราหรือไมเพียงใด

ความสัมพันธระหวางจีน - ญี่ปุน
จีนมีความหวาดระแวงญี่ปุนมาโดยตลอด ทั้งนี้เปนผลมาจากประวัติศาสตรอัน
ขมขื่นที่ญี่ปุนกอสงครามกับจีนใน ค.ศ. 1895 และรุกรานจีนนับตั้งแต ค.ศ. 1931 ไป
จนกระทั่งเขายึดครองภาคตะวันออกเฉียงเหนือของจีนโดยทําหนาที่จัดตั้งและใหความ
คุมครองรัฐใหมแมนจูกัวบนแผนดินของจีนในระหวางปลายทศวรรษ 1930 ถึงกลาง
ทศวรรษ 1940 ทําใหการขยับตัวทางการทหารของญี่ปุนในแตละครั้งในคริสตศตวรรษที่
21 เชน การเพิ่มจํานวนกองกําลังปองกันตนเอง การแกไขรัฐธรรมนูญมาตราที่ 9 เปน
“นโยบายการปองกันประเทศของญี่ปุนในยุคหลังสงคราม: เพื่อใหเปนที่รับรูกันวา ญี่ปุน
มีกองทัพเพื่อการปกปองตนเอง” เปนอาทิ ไดสรางความกังวลใจใหกับจีน(และเกาหลี)
เปนอยางยิ่ง เพราะเกรงวาญี่ปุนกําลังจะกาวไปสูรัฐทหารอีกครั้ง ในทางกลับกัน จีนได
ลงทุนสรางแสนยานุภาพทางทหารขึ้นเมื่อภาวะเศรษฐกิจของดินแดนมังกรไดขยาย
ตัวอยางรวดเร็วในตอนปลายคริสตศตวรรษที่ 20 ทําใหญี่ปุนและสหรัฐฯ ตางแสดง
ความไม ส บายใจและเกรงว า สถานการณ จ ะเป น ไปตามทฤษฎี ภั ย คุ ก คามจากจี น
144

(Chinese Threat Theory) ที่จีนจะมีบทบาทสําคัญทางการทหารมากขึ้นในภาคพื้น


แปซิฟก
ในขณะเดียวกัน มรดกแหงความขัดแยงระหวางจีน-ญี่ปุนในเรื่องการอางสิทธิ
เหนือหมูเกาะเตี้ยวยวี๋ อีกทั้งเนื้อความในหนังสือเรียนประวัติศาสตรของชั้นมัธยมศึกษา
ของญี่ปุนที่ถูกจีนและเกาหลีกลาวหาวาบิดเบือนขอเท็จจริงนั้น กอใหเกิดความสั่นคลอน
ในดานความสัมพันธ และสงผลใหเกิดความตึงเครียดระหวางประเทศทั้งสองเปนระยะๆ
มาจนกระทั่งทุกวันนี้
อยางไรก็ตาม ทามกลางขอขัดแยงที่มีมากมายดังที่เพิ่งกลาวถึง ก็ไมทําใหจีนและ
ญี่ปุนตองเผชิญหนากันและกันแตเพียงอยางเดียว ทั้งนี้เปนเพราะจีนตองพึ่งพาญี่ปุนใน
ดานเงินทุน การลงทุน เทคโนโลยี และตลาดรองรับสินคาจากจีน ปจจุบัน ญี่ปุนยังคง
เปนประเทศที่ทรงพลังอํานาจทางเศรษฐกิจเปนอันดับที่ 2 ของโลก เปนแหลงเงินทุน
และมีเทคโนโลยีเปนเลิศในแทบทุกสาขา รวมทั้งเปนประเทศแรกที่เปดความสัมพันธ
ทางการคาและเศรษฐกิจกับจีนภายหลังการปฏิวัติทางวัฒนธรรมสิ้นสุดลง ดังนั้น ญี่ปุน
จึงมีบทบาทสําคัญตอจีนในหลายดานนับตั้งแตตนทศวรรษที่ 1970 เปนตนมา แตถึง
กระนั้นก็ตาม จีนก็ถือวาญี่ปุนเปนคูแขงสําคัญทั้งทางดานการทหารและเศรษฐกิจ อีกทั้ง
ยังฝงใจกับเหตุการณในอดีตที่ญี่ปุนกระทําการอยางโหดรายทารุณกับประเทศจีนในชวง
กอนสงครามโลกครั้งที่สอง ทําใหความสัมพันธระหวางจีนกับญี่ปุนมีความซับซอน มี
ทั้งรุกและรับสลับกันไป นอกจากนี้ เราไมอาจอธิบายไดอยางชัดเจนถึงความสัมพันธ
แบบทวิภาคีระหวางประเทศทั้งสอง เนื่องจากมีตัวแปรอื่น เชน สหรัฐอเมริกา ไตหวัน
เกาหลีเหนือ เกาหลีใต และประเทศอื่นๆ ทั่วยุโรป ตะวันออกกลาง และเอเชียตะวันออก
เฉียงใตเปนตัวละครที่สําคัญในการแสดงบทบาทเกี่ยวของกับความสัมพันธของจีน-
ญี่ปุ นในยุคปจจุบัน อย างไรก็ตาม ขอเขียนนี้ ไมอาจกล าวครอบคลุมเนื้อหาสาระได
ทั้งหมด เพราะมีเหตุการณมากมายเกิดขึ้นในหวง 10 ปที่ผานมา ดังนั้น จึงจะขอกลาว
เฉพาะประเด็ น หลั ก ๆ ที่ จี น มี เ ป า หมายในการมองและสร า งความสั ม พั น ธ กั บ ญี่ ปุ น
อยางไร หรือกลาวอีกนัยหนึ่งก็คือ จีนมีจุดยืนอยางไรตอญี่ปุน
ดังที่กลาวแลวในตอนตนวา ภาวะเศรษฐกิจของจีนไดเจริญเติบโตอยางรวดเร็ว
ในชวง 25 ปที่ผานมา และคาดการณตอไปภายหนาวา จะมีขนาดเศรษฐกิจใหญกวาญี่ปุน
ภายในป ค.ศ. 2050 และอาจจะก า วล้ํ า นํ า หน า สหรั ฐ อเมริ ก าในตอนปลายของ
145

คริสตศตวรรษที่ 21 นี้ อีกทั้งจํานวนประชากรที่มีมากกวา 1,300 ลานคนก็เปนอีกปจจัย


หนึ่งที่เปนพื้นฐานที่ทําใหจีนมีความมั่นใจและแสดงออกถึงความเปนชาติมหาอํานาจ
ใหญที่สุดประเทศหนึ่งที่มีบทบาทสําคัญตอเอเชียและตอโลก
1. ดานการเมือง
จีนอยูเคียงขางเกาหลีเหนือ และไดรับการสนับสนุนจากรัสเซียในการตอตานการ
ครอบครองความเปนเจา (hegemony) ของสหรัฐฯ ซึ่งเปนประเทศพันธมิตรสําคัญของ
ญี่ปุน ในขณะที่เกาหลีใตใ ชนโยบายโอนออนต อเกาหลีเหนือตามแนวทางของอดี ต
ประธานาธิบดีคิม เดจุง ที่เรียกวา Sunshine policy อีกทั้งประธานาธิบดีโรห มูเฮียนไดยึด
และปฏิบัติตอเกาหลีเหนือฉันทบานพี่เมืองนอง ในขณะเดียวกันก็ปฏิเสธนโยบายแข็ง
กราวตอเกาหลีเหนือเพราะเกรงวา หากเกาหลีเหนือถูกตอนใหจนตรอกแลว อาจใชกําลัง
ทหารและอาวุธที่มีอานุภาพการทําลายลางสูง (weapons of mass destruction - WMD)
โจมตีแ ละรุก รานเกาหลีใ ต ไ ด ดังนั้ น จะเห็นได ว า ขั้วทางการเมือ งในภูมิภาคเอเชี ย
ตะวันออกเฉียงเหนือ แบงออกเปน 2 ฝาย คือ ฝายหนึ่งไดแก จีน เกาหลีเหนือ และรัสเซีย
สวนอีกฝายหนึ่งไดแก ญี่ปุนและสหรัฐอเมริกา (รวมทั้งไตหวัน) สวนเกาหลีใตมีความ
โนมเอียงไปทางฝายญี่ปุนและสหรัฐฯ ในบางกรณี และโนมเอียงไปทางจีนในบางกรณี
จีนกับเกาหลีเหนือไดรวมรบตอสูกับกองทัพพันธมิตรในสงครามเกาหลี (ค.ศ.
1950 – 1953) และจีนเปนประเทศหลักในการใหความชวยเหลือเกาหลีเหนือที่ทําการ
ปกครองในระบบคอมมิวนิสตเดียวกันในการบูรณะฟนฟูประเทศหลังสงคราม และใน
การพัฒนาประเทศนับแตนั้นมาจนถึงปจจุบัน สวนจีนเองนั้นเมื่อเริ่มฟนฟูเศรษฐกิจและ
กาวหนาทัดเทียมประเทศอุตสาหกรรมไดบางแลว ก็ตองการกาวขึ้นเปนผูนําในทาง
การเมืองระหวางประเทศ ดังนั้น จีนจึงใชเกาหลีเหนือซึ่งเปนประเทศเล็กๆ ทําการทาทาย
สหรัฐฯ และญี่ปุนดวยการอางวา สามารถพัฒนาอาวุธนิวเคลียรขึ้นมาได ซึ่งก็เปนที่
ประจักษแลววา เกาหลีเหนือสามารถผลิตระเบิดนิวเคลียรขึ้นมาไดจริงๆ โดยทําการ
ทดลองเมื่อวันที่ 9 ตุลาคม ค.ศ. 2006 อีกทั้งไดทดลองยิงขีปนาวุธไดในป ค.ศ. 1998 และ
ค.ศ. 2006 ไปตกในทะเลญี่ปุน อาวุธที่มีอานุภาพการทําลายลางสูงนี้ไดรับการชวยเหลือ
ทางเทคโนโลยีสวนหนึ่งมาจากจีนและรัสเซีย
ญี่ปุนไดทําการคัดคานอยางแข็งขันที่เกาหลีเหนือครอบครองอาวุธ WMD เพราะ
ญี่ปุนถือวาเปนภัยคุกคามตอญี่ปุนโดยตรง และญี่ปุนก็ไมเชื่อใจวาเกาหลีเหนือจะกระทํา
146

ตามสิ่ ง ที่ บ อกแก ป ระชาคมโลกภายหลั ง ได รั บ การประณามจากประเทศต า งๆ และ


องคการสหประชาชาติเมื่อทําการทดลองอาวุธ WMD ในแตละครั้ง ดังตัวอยางเชน

31 สิงหาคม 1998: ทดลองยิงขีปนาวุธเตโปดอง 1 ขามเกาะญี่ปุนไปตกใน


มหาสมุทรแปซิฟก
13 กันยายน 1999: เกาหลีเหนือประกาศหยุดการทดลองยิงขีปนาวุธพิสัยไกล
กันยายน 2002: เกาหลีเหนือเจรจาตกลงขยายการเลิกทดลองยิงขีปนาวุธ
ต อ ไปจากป ค.ศ. 2003 ในการประชุ ม สุ ด ยอดกั บ ผู นํ า
ญี่ปุน
พฤษภาคม 2004: เกาหลีเหนือยิงขีปนาวุธพิสัยใกลไปตกลงในทะเลญี่ปุน
มีนาคม 2006: เกาหลีเหนือยิงขีปนาวุธพิสัยใกลสองลูก
18 พฤษภาคม 2006: ญี่ปุนรายงานวาเกาหลีเหนือเคลื่อนยายขีปนาวุธไปยังฐาน
ยิง สื่อมวลชนระบุวาเปนขีปนาวุธเตโปดอง 2
5 กรกฎาคม 2006: เกาหลีเหนือยิงขีปนาวุธ 7 ลูก ไดแก สกั๊ด โรดอง และเต
โปดอง 2

อาณุภาพของขีปนาวุธของเกาหลีเหนือ

ชื่อ พิสัย (กม.) เปาหมายยิงถึง

KN – 2 100 – 200 เกาหลีใต


Hwasong – 5 300 เกาหลีใต
Hwasong – 6 500 เกาหลีใต
Scud – D 700 เกาหลีใต
Rodong 1,300 เกาหลีใต
Taepodong 2,500 – 4,000 ญี่ปุน โอกินาวา กวม
Taepodong – 2 3,500 – 6,000 (ขั้นที่ 2) สหรัฐอเมริกา
3,500 – 15,000 (ขั้นที่ 3) สหรัฐอเมริกา

ที่มา Yonhap News.


147

ปฎิทินการพัฒนาอาวุธนิวเคลียรของเกาหลีเหนือ

1989 _ U.S. satellite pictures reveal a nuclear reprocessing plant at North Korea’s Yongbyon complex.
Oct. 21, 1994 _ North Korea and the United States sign an agreement in Geneva, ending a nuclear row that lasted 18 months. The
“Agreed Framework” requires Pyongyang to freeze and eventually dismantle its nuclear facilities in return for two light-water
nuclear reactors. It also states the two countries should move toward the normalization of political and economic relations.

2002

Oct. 3 _ James Kelly, assistant U.S. secretary of state for East Asian and Pacific affairs, visits North Korea.

Oct. 17 _ The United States claims Pyongyang has admitted to running a clandestine nuclear weapons program.

Nov. 15 _ The executive board of the Korea Peninsula Energy Development Organization (KEDO) decides to suspend its heavy
oil supplies to North Korea from December unless the North abandons its nuclear weapons program.

Dec. 12 _ North Korea declares the lifting of nuclear freeze measures in a statement released by its Foreign Ministry.

Dec. 13 _ North Korea asks the United Nations' International Atomic Energy Agency (IAEA) to remove seals and surveillance
equipment from its Yongbyon nuclear power plant.

Dec. 21 _ North Korea says it began removing IAEA seals and surveillance equipment from its nuclear facilities.

Dec. 27 _ North Korea says it is expelling two IAEA nuclear inspectors from the country.

2003

Jan. 10 _ North Korea announces its withdrawal from the Nuclear Nonproliferation Treaty (NPT).

Aug. 1 _ South Korea confirms that North Korea agrees to holding dialogue on its nuclear program with the United States, Japan,
China, Russia and South Korea.

Aug. 27-29 _ The first round of six-party talks is held in Beijing to resolve the nuclear showdown. Washington and Pyongyang
fail to iron out differences, but delegates agree to meet again.

Dec. 9 _ North Korea offers to "freeze" its nuclear program in exchange for concessions from the United States, saying it will
boycott further talks unless Washington agrees.

Dec. 27 _ North Korea says it will attend a new round of six-party talks on its nuclear program in early 2004.

2004

Jan. 10 _ An unofficial U.S. team of experts visits North Korea's Yongbyon nuclear complex.

Feb. 3 _ North Korea says the next round of six-party talks on the nuclear crisis will be held on Feb. 25.

Feb. 25-28 _ The second round of six-way talks is held in Beijing, but ends without a major breakthrough.
148

June 23 _ The third round of six-party talks is held in Beijing, with the United States offering North Korea fuel aid if it drops its
nuclear program.

Aug. 16 _ North Korea says it will boycott a working-level meeting ahead of the next round of six-way talks, citing the
Washington's lack of a "sincere attitude."

Sept. 28 _ North Korea announces it has completed processing 8,000 spent nuclear fuel rods.

2005

Jan. 14 _ North Korea expresses its willingness to restart the stalled talks on its nuclear ambitions.

Jan. 19 _ Condoleezza Rice, U.S. President George W. Bush's nominee for secretary of state, defines North Korea as one of six
"outposts of tyranny."

Feb. 10 _ North Korea's Foreign Ministry announces the country possesses a nuclear arsenal and that it will indefinitely boycott
six-way talks until Washington drops its "hostile" policy toward North Korea.

April 18 _ South Korea says the North has suspended its nuclear reactor in Yongbyon, enabling the country to extract fuel rods for
more nuclear weapons.

May 11 _ North Korea claims it has completed extraction of spent fuel rods from the Yongbyon reactor.

June 17 _ Returning from a trip to Pyongyang, South Korean Unification Minister Chung Dong-young announces that North
Korean leader Kim Jong-il said Pyongyang could rejoin six-way talks if it can reach an agreement with Washington.

July 26 _ The talks resume in Beijing.

Sept. 13 _ Delegates from the six countries resume the fourth round of the nuclear talks.

Sept. 19 _ The six nations issue a joint statement, the first of its kind at the talks, and agree to hold the fifth round in early
November. In the six-point statement, North Korea agreed to dismantle its nuclear program. The five other countries involved in
the talks agreed to provide a security guarantee and energy to the North and promote trade and economic exchanges.

Nov. 8 _ Nuclear envoys from six nations meet in Beijing. North Korea's chief nuclear envoy Kim Gye-kwan demands that
financial sanctions on the North be lifted.

2006

Jan. 18 _ Chief nuclear envoys from North Korea, China and the United States meet in Beijing as part of efforts to revive the
stalled nuclear talks, but the meeting ends without a breakthrough.

March. 7 _ The United States and North Korea hold a working-level meeting in Beijing to resolve the communist state's alleged
counterfeiting of U.S. dollars. The two sides fail to find any breakthrough.

June 1 _ North Korea invites the chief U.S. nuclear envoy to Pyongyang, but Washington refuses to accept the invitation.

July 5 _ North Korea test-fires at least three missiles, including possibly one long-range missile, the "Taepodong-2."
149

July 16 _ The U.N. Security Council unanimously adopts a resolution adopting limited sanctions on North Korea. The resolution
also calls on the North to return to the nuclear talks, but Pyongyang condemns it.

Aug. 18 _ U.S.-based ABC News reports that North Koreans were spotted unloading large reels of cable near the suspected
nuclear test site.

Sept. 14 _ South Korean President Roh Moo-hyun and U.S. President George W. Bush reaffirm the goal of finding a peaceful and
diplomatic resolution to North Korea's nuclear issue. They agree to pursue a "new joint comprehensive approach" to resume the
six-party talks.

Oct. 3 _ North Korea says it will conduct a nuclear test to prop up its self-defense against "growing U.S. hostility against the
communist regime."

Oct. 6 _ The United Nations Security Council adopts a statement warning North Korea to refrain from conducting a nuclear test.

Oct. 9 _ North Korea says it has safely and successfully conducted its first-ever test of a nuclear bomb. South Korea says it
detected a 3.58-3.7 magnitude tremor in the North's northeastern Hamkyong Province.

ที่มา: Korea times. October 9, 2006

ภายหลังการทดลองยิงขีปนาวุธของเกาหลีเหนือในเดือนกรกฎาคม ค.ศ. 2006


ญี่ปุนไดประกาศมาตรการโตตอบการกระทําของเกาหลีเหนือ คือ การคว่ําบาตรทาง
เศรษฐกิจ ดวยการหามนําเขาสินคาทุกประเภทจากเกาหลีเหนือ หามเรือของเกาหลีเหนือ
เขาจอดที่เมืองทาใดๆ ของญี่ปุน หามคนเกาหลีเหนือเขาประเทศ หามการโอนเงินจาก
ญี่ปุนไปยังเกาหลีเหนือ และหามทําการคาสินคา 15 ชนิดที่เกี่ยวกับอาวุธ WMD คํา
ประกาศของญี่ปุนนี้ทําใหเกาหลีเหนือเตือนญี่ปุนวาจะไดรับการโตตอบอยางรุนแรงตอ
มาตรการเหลานี้ อยางไรก็ตาม นายโจเซฟ โคลแมนแหงสํานักขาวเอพี กลาววา เกาหลี
เหนือยังคงสามารถลักลอบจําหนายอุปกรณและอาวุธนิวเคลียรไปยังกลุมผูซื้อในตลาด
มืดได ในขณะที่ Andrei Lankov อาจารยชาวรัสเซีย คาดคะเนวา จีนอาจคาดหวังที่จะ
รวมดินแดนสวนหนึ่งของเกาหลีเหนือเขาเปนของจีนหากรัฐบาลประเทศนั้นลมสลาย
ดินแดนสวนนี้หมายถึงบริเวณที่ต้งั อาณาจักรโคกูริว (37 BC. – 668) และอาณาจักรเพลเฮ
(ค.ศ. 698 – 926) ที่อยูในจีนและเกาหลีเหนือในปจจุบัน
ตามปกติ แลว เกาหลีเหนือทํ าการค าขายกับ จีนเปนหลัก โดยในป ค.ศ. 2000
มูลคาการคาระหวางกันเทากับ 488 ลานเหรียญและเพิ่มเปน 1,581 ลานเหรียญในป ค.ศ.
2005 หรือรอยละ 39 ของมูลคาการคากับตางประเทศทั้งหมด ตอมาภายหลังการทดลอง
ระเบิดนิวเคลียร เกาหลีเหนือไดเรียกรองขอเงินชวยเหลือจากจีนเพิ่มขึ้นจาก 1.3 พันลาน
150

เหรียญตอปเปน 3.5 พันลานเหรียญ ซึ่งจีนก็มิไดปฏิเสธ แตเกาหลีเหนือตองอยูในอํานาจ


การบงการของจีน
จากหลักฐานที่กลาวมานี้ ทําใหเชื่อไดวา จีนมีบทบาทสําคัญที่อยูเบื้องหลังการ
กระทําของเกาหลีเหนือ และพรอมที่จะปกปองเกาหลีเหนือหากถูกขมขู ดังเชนกรณี
กระทรวงตางประเทศของจีนออกมาประกาศทันทีภายหลังที่เกาหลีเหนือทดลองระเบิด
นิวเคลียรเมื่อวันที่ 9 ตุลาคม ค.ศ. 2006 วา จีนจะไมเปลี่ยนนโยบายความสัมพันธที่ดีตอ
เกาหลีเหนือ ไมวาอะไรจะเกิดขึ้น ดังนั้น ญี่ปุนจึงถือวา นี่เปนจุดยืนของจีนที่มีตอญี่ปุน
กับสหรัฐอเมริกา
ทั้งจีนและญี่ปุนตางถือวา อีกฝายหนึ่งเปนภัยคุกคามตอประเทศของตน โดยจีน
รูสึกหวั่นวิตกตอแสนยานุภาพของกําลังทหารของญี่ปุน ดังที่ สํานักขาวซินหัวของจีน
อางวา ตั้งแตกลางทศวรรษ 1990 ญี่ปุนมีเรือรบหลักประจําการ 160 ลํา มีรถถัง 1,200 คัน
มีกําลังทหาร 13 กองพล ซึ่งเปนกองกําลังที่ไมมีลักษณะเปนเพียงเพื่อปองกันตนเอง
เทานั้น จีนจึงตระหนักวา นี่คงเปนการรื้อฟนลัทธิทหารนิยมของญี่ปุน และยิ่งมีปฏิญญา
รวมวาดวยความมั่นคงระหวางญี่ปุน – สหรัฐอเมริกา ในป ค.ศ. 1996 และในตอนตน
สหัสวรรษใหมนี้แลว จีนก็มั่นใจวาเปนแนวทางในเชิงรุกและอาจนําไปสูการสกัดกั้นจีน
อันจักสงผลกระทบตอเสถียรภาพและการพัฒนาในภูมิภาคเอเชียตะวันออก
2. หมูเกาะเตี้ยวยวี๋
ขอพิพาทเรื่องดินแดนที่จีนและญี่ปุนตางอางวามีกรรมสิทธิ์เหนือหมูเกาะเตี้ยวยวี๋
หรือที่ญี่ปุนเรียกวา เซนกากุ ซึ่งเปนหมูเกาะเล็กๆ จํานวน 8 เกาะ ไมมีผูอยูอาศัย มีพื้นที่
รวมกั น ราว 6.3 ตารางกิ โ ลเมตร ตั้ ง อยู ใ นบริ เ วณทะเลจี น ตะวั น ออก ห า งจากทิ ศ
ตะวั น ออกเฉี ย งเหนื อ ของไต ห วั น ราว 200 กม. และห า งจากเกาะโอกิ น าวาทางทิ ศ
ตะวันตกเฉียงใตราว 300 กม. โดยจีนไดอางกรรมสิทธิ์เหนือเกาะวา ไดครอบครองมา
ตั้งแตป ค.ศ. 1403 ในสมัยราชวงศชิง ในขณะที่ญี่ปุนอางวา ตอนที่ชาวญี่ปุนคนพบหมู
เกาะเหลานี้นั้น นอกจากจะไมมีผูคนอาศัยอยูแลว ยังไมพบรองรอยของการควบคุมของ
จีน ดังนั้นรัฐบาลญี่ปุนจึงไดผนวกเขาเปนดินแดนของญี่ปุนในฐานะเปนสวนหนึ่งของ
หมูเกาะริวกิวหรือโอกินาวาในเดือนมกราคม ค.ศ. 1895 กอนที่ญี่ปุนจะไดไตหวันมา
ครอบครองตามสนธิสัญญาชิโมะโนะเซกิ
151

ในเดือนกันยายน ค.ศ. 1997 รัฐบาลญี่ปุนไดทําขอตกลงกับจีนวา ใหเก็บเรื่องใคร


ควรเปนเจาของหมูเกาะนี้ไวกอน และไดสถาปนาเขตจัดการรวมกัน (joint management
zone) ที่กินพื้นที่กวาง 200 ไมลโดยอนุญาตใหทําการประมงไดทั้งสองประเทศและ
รวมมือกันในการใชทรัพยากรในบริเวณดังกลาว
ตอมา ในป ค.ศ. 2005 ขอพิพาทหมูเกาะเตี้ยวยวี๋ไมไดเปนประเด็นขัดแยงมากไป
กวากรณีความขัดแยงในบริเวณทะเลจีนตะวันออก (East China sea) เพราะบริเวณ
ดังกลาวเปนเสนแบงเขตแดนทางทะเลของทั้งสองประเทศ ซึ่งตางถือเปนเขตเศรษฐกิจ
เฉพาะของตน และเปนบริเวณที่เชื่อกันวา ใตกนทะเลนี้เปนแหลงแกสธรรมชาติและ
น้ํามัน ที่แตละฝายตางแขงขันกันเพื่อคนหาทรัพยากรธรรมชาติเหลานี้ โดยทั้งจีนและ
ญี่ปุนตางกลาวหากันวา อีกฝายหนึ่งเขามาขุดเจาะน้ํามันและแกสในเขตนานน้ําของตน
จึงเรียกรองใหฝายตรงขามหยุดการทํากิจกรรมนั้นเสีย
ตอมา นายกรัฐมนตรีโคอิซูมิไดเสนอใหจีนและญี่ปุนแกไขขอพิพาทนี้เมื่อเดือน
เมษายน ค.ศ. 2005 โดยหันหนามาเจรจากันเพื่อทําให “ทะเลแหงความขัดแยง” มาเปน
“ทะเลแหงความรวมมือ” ทําใหสถานการณความตึงเครียดทุเลาเบาบางลงบาง อยางไรก็
ตาม การโจมตีระหวางกันในเรื่องดังกลาวไดปรากฏผานสื่อสารมวลชนของทั้งสอง
ประเทศอยางตอเนื่อง จึงสรางความไมพอใจให แกสาธรณชนชาวจี นและชาวญี่ปุ น
เรื่อยมา
3. ความสัมพันธทางเศรษฐกิจและสังคม
อัตราสวนของการลงทุนโดยตรงของญี่ปุนในจีนมีจํานวนไมมากนักเมื่อเทียบกับ
ของฮองกง เกาหลีใต ไตหวัน และสหรัฐฯ แตมูลคาการลงทุนมีมากกวาของเกาหลีใต
ไตหวัน และสหรัฐฯ ยกเวนในป ค.ศ. 2004 ที่มูลคาการลงทุนของเกาหลีใตมีมากกวา
ของญี่ปุน กลาวคือ ญี่ปุนลงทุนโดยตรงในจีนราวปละ 5-6 พันลานเหรียญ
สวนการคาระหวางจีน-ญี่ปุนกลับมีปริมาณและมูลคาเพิ่มขึ้นอยางรวดเร็ว เชน
ค.ศ. 2003 เพิ่มขึ้นรอยละ 30.4 จากปกอน และเพิ่มอยางตอเนื่องเปนรอยละ 26.7 และ
12.9 ในป 2004 และ 2005 ตามลําดับ มูลคาทางการคาในป ค.ศ. 2005 มีดังนี้ ญี่ปุน
สง ออกไปยังจี น 80.3 พั น ลานเหรีย ญ นํ าเข าจากจีน 109 พัน ลานเหรี ย ญ รวมมู ล ค า
ทางการคาทั้งสิ้น 189.3 พันลานเหรียญ ทําใหจีนกลายเปนประเทศคูคารายใหญที่สุดของ
ญี่ปุน โดยญี่ปุนเปนฝายเสียเปรียบดุลการคา
152

ในดานสังคมนั้น ความสัมพันธระหวางจีนกับญี่ปุนไดเสื่อมถอยลงไปนับตั้งแต
นายโคอิซูมิไดรับเลือกเปนผูนําญี่ปุน ทั้งนี้เพราะขอขัดแยงที่จีนยังจําฝงใจก็คือ หนี้ทาง
ประวัติศาสตรที่ถูกญี่ปุนย่ํายีตั้งแตป ค.ศ. 1895 เปนตนมา ตอมาในตอนตนป ค.ศ. 2005
เมื่อกระทรวงศึกษาธิการญี่ปุนอนุมัติหนังสือแบบเรียนประวัติศาสตรระดับชั้นมัธยมตน
ที่มีเนื้อหาปกปดความโหดรายทารุณของทหารญี่ปุนในระหวางสงครามโลกครั้งที่สอง
ทางการจีนจึงเรียกทูตญี่ปุนในกรุงปกกิ่งเขาพบเพื่อประทวง อยางไรก็ตาม ผูนํารัฐบาล
ญี่ปุนคนดังกลาวยังคงเดินทางไปคารวะศาลเจายาสุคูมิเปนประจําทุกปโดยไมรับฟงการ
ทัดทานจากจีนและเกาหลีใตเลย ทําใหความสัมพันธระหวางกันเสื่อมทรามลงอยาง
ตอเนื่องในชวงตนคริสตศตวรรษที่ 21
ความตึงเครียดไดปะทุถึงขั้นสูงสุดเมื่อชาวจีนนับหมื่นเดินขบวนในกลางกรุง
ปกกิ่งเมื่อวันที่ 9 เมษายน ค.ศ. 2005 จากยานไหเตียน ผานมหาวิทยาลัยปกกิ่งทางทิศ
ตะวันตกเฉียงเหนือ มุงตรงไปยังหนาสถานทูตญี่ปุน หลายคนถือธงชาติจีนและแผนปาย
ขอความตอตานญี่ปุน และรองตะโกนกอง “ญี่ปุนจงพินาศ” “ตอตานสินคาญี่ปุน” และ
“ชวยกันขัดขวางที่นั่งสมาชิกถาวรในคณะมนตรีความมั่นคง” (ญี่ปุนพยายามขอสมัคร
เขาเปนสมาชิกถาวรในคณะมนตรีความมั่นคงขององคการสหประชาชาติ) นับเปนการ
ชุ ม นุ ม ครั้ ง ใหญ ที่ สุ ด ของชาวจี น นั บ ตั้ ง แต ค รั้ ง การป ด ล อ มทู ต สหรั ฐ ฯ ในกรุ ง ป ก กิ่ ง
หลังจากเกิดเหตุการณเครื่องบินรบขององคการนาโตทิ้งระเบิดถูกสถานทูตจีนในกรุง
เบลเกรดในระหวางสงครามโคโซโว ตอมา การประทวงไดลุกลามไปยังเมืองตางๆ ของ
จีน เชน เซนหยาง เซี่ยงไฮ ซูไฮ และเฉินตู นับเปนเวลากวา 3 สัปดาห โดยผูประทวงได
บุกทําลายขาวของ อาคารสถานทูต และสินคาญี่ปุนเสียหายเปนจํานวนมาก
ปญหาความสัมพันธที่เลวรายระหวางประเทศทั้งสอง ทําใหประชากรชาวจีน
จํานวนถึงรอยละ 62.9 รูสึกไมดีตอญี่ปุน (feel very bad) ในขณะที่คนจีนกวารอยละ 50
บอกวา ไมตองการเงินชวยเหลือ (ODA) จากญี่ปุน เพื่อมิใหญี่ปุนใชเปนเครื่องตอรองกับ
จีน สวนเจาหนาที่ระดับสูงของจีน ชื่อนายลี จาวชิงไดกลาววา ความสัมพันธของจีน-
ญี่ปุนถึงจุดต่ําสุดในรอบ 30 ปหลังจากที่ทั้งสองประเทศเปดความสัมพันธอยางเปน
ทางการเมื่อป ค.ศ. 1972 เปนตนมา โดยตางฝายตางกลาวหากันวา มีการปลุกระดมให
เกิดความเกลียดชังในหมูประชาชนระหวางกันขึ้น อีกทั้งจีนยังกลาวหาวา ญี่ปุนกําลังจะ
153

มุงกลับไปสูลัทธิขวาจัดหรือลัทธิทหารนิยม ดังนั้น การที่จะหยุดยั้งการกระทําของญี่ปุน


จึงตองมีการประทวงมิใหญี่ปุนกาวล้ําเสนเขาไปสูการเปนชาติจักรวรรดินิยมดังเชนอดีต
ความสั ม พั น ธ อั น ร า วฉานที่ ก ล า วถึ ง ข า งต น ได ล ดระดั บ ความรุ น แรงลงเมื่ อ
นายโคอิซูมิไดหมดวาระการดํารงตําแหนงเปนนายกรัฐมนตรีลง
-----------------------------------------------------------
หมายเหตุ

คัดลอกมาจาก เอกสารทางวิชาการของศูนยเกาหลีศึกษา ดังนี้


อันดับที่ 21 ดํารงค ฐานดี, ความสัมพันธระหวาง จีน-เกาหลีใต-ญี่ปุน: ตั้งแตตนคริสตศตวรรษที่ 20 - ปจจุบัน. รายงานการวิจัย
ศูนยเกาหลีศึกษา มหาวิทยาลัยรามคําแหง. 2550.
อันดับที่ 22 ดํารงค ฐานดี, เอเชียตะวันออกเฉียงเหนือ: ความสัมพันธระหวางจีน เกาหลี และ ญี่ปุน - ตั้งแตยุคโบราณจนถึงตอน
ปลายคริสตศตวรรษที่ 19. เอกสารทางวิชาการ ศูนยเกาหลีศึกษา มหาวิทยาลัยรามคําแหง. 2551.

You might also like