You are on page 1of 37

เทคโนโลยี

สารสนเทศเพื่ อ
การศึกษา
เทคโนโลยีสารสนเทศเพือ

การศกึ ษา

เทคโนโลยีสารสนเทศมีบทบาทโดยตรงกับการสร้ างความรู้ (Knowledge


Constructor) เทคโนโลยีเป็ นเครื่องมือช่ วยรวบรวมข้ อมูลข่ าวสาร ความ
รอบรู้ การจัดระบบ การประเมินผล การส่ งผ่ านและสื่ อสารด้ วยความเร็วสู ง
และมีปริมาณมาก การนำเสนอและแสดงผลด้ วยระบบสื่ อต่ างๆทั้งในด้ าน
ข้ อมูล รู ปภาพ เสี ยง และวีดที ศั น์ อีกทั้งยังสามารถสร้ างระบบปฏิสัมพันธ์
แบบโต้ ตอบ ทำให้ การเรียนรู้ ยุคใหม่ ประสบความสำเร็จด้ วยดี การเรียนยุค
ใหม่ ใช้ แหล่ งความรู้ ทเี่ รียกว่ า World Knowledge ซึ่งมีแหล่ งความรู้ ที่
มากมายกระจายอยู่ทวั่ โลก ช่ วยให้ ผู้เรียนเรียนรู้ ได้ มาก และรวดเร็ว อีกทั้ง
สามารถแยกแยะค้ นหาข่ าวสาร ตลอดจนการแสวงหาสิ่ งต่ างๆได้ ตรงตาม
ความต้ องการอีกด้ วย
เมนู หลั ก
บทบาท
ความหมาย
เทคโนฯ

การใชใ้ น
บทบาทครู สถานศกึ ษา

การประยุกต์
ใช้
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศเพือ่ การศึกษา
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษา หมายถึง การนำเอาเทคโนโลยี
สารสนเทศ ซึ่ งประกอบด้วยเทคโนโลยีทางคอมพิวเตอร์ และเครื อ
ข่ายโทรคมนาคมที่เชื่อมต่อกันสำหรับใช้ในการส่ งและรับข้อมูล และ
สื่ อประสมเกี่ยวกับความรู้ โดยผ่านกระบวนการประมวลผลหรื อจัด
ให้อยูใ่ นรู ปแบบทีมีความหมายและความสะดวกมาใช้ประโยชน์
สำหรับการศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบ และการศึกษาตาม
อัธยาศัย เพื่อให้ผเู ้ รี ยนสามารถเรี ยนรู้และพัฒนาตนเองได้อย่างต่อ
เนื่องตลอดชีวติ
บทบาทของเทคโนโลยี
ึ ษา
สารสนเทศต่อการศก

เทคโนโลยีสารสนเทศได้เข้ามามีบทบาทต่อการศึกษาอย่างมาก
โดยเฉพาะเทคโนโลยีทางด้านคอมพิวเตอร์และการสื่ อสาร
โทรคมนาคมมีบทบาทที่สำคัญต่อการพัฒนาการศึกษา ดังนี้
1. เทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามามีส่วนช่วยเรื่ องการเรี ยนรู ้
2. เทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาสนับสนุนการจัดการศึกษา
3. เทคโนโลยีสารสนเทศถูกนำมาใช้เป็ นเครื่ องมือสำหรับการ
สื่ อสารระหว่างบุคคล
เทคโนโลยีสารสนเทศเพือ
่ การ
สอน
ในยุคสังคมข้อมูลข่าวสารในปัจจุบนั ครู จำเป็ นต้องปรับบทบาทให้เป็ น
นักจัดและออกแบบระบบการเรี ยนการสอน ข้อมูลสารสนเทศ ออกแบบและ
จัดแหล่งสื่ อการศึกษา ออกแบบสภาพแวดล้อมทางการศึกษา และเป็ นนัก
แนะแนวและอำนวยความสะดวกในการเรี ยน บทบาทดังกล่าวมีรายละเอียด
ดังนี้
1. ครู ในฐานะนักจัดระบบและออกแบบระบบการเรี ยนการสอน
2. ครู ในฐานะนักจัดการสารสนเทศ
3. ครู ในฐานะนักออกแบบและจัดการแหล่งสื่ อการศึกษา
4. ครู ในฐานะนักออกแบบและจัดสภาพแวดล้อมทางการศึกษา
5. ครู ในฐานะนักแนะแนวและอำนวยความสะดวกการเรี ยน
การนำเทคโนโลยีสารสนเทศมา
ใชใ้ นหน่วยงานการศก
ึ ษา
การนำระบบเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในหน่วยงานการศึกษา
หรื อหน่วยงานใดๆจะประสบผลสำเร็ จได้ จะต้องพิจารณาแนวทาง
ที่เหมาะสมในการนำเทคโนโลยีมาติดตั้ง และความสัมพันธ์
ระหว่างองค์กร การจัดการ และเทคโนโลยีสารสนเทศนั้นๆซึ่ งมี
รายละเอียดต่างๆที่ตอ้ งพิจารณา
การนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาติดตงั้
• แนวทางด้านเทคนิค(Technical Approach) แนวทางนี้จะให้ความสำคัญด้าน
เทคนิคเป็ นหลักมุ่งความสำคัญที่การใช้เทคโนโลยีเป็ นตัวผลักดันการดำเนิน
งานต่างๆ เน้นเทคโนโลยีที่ทนั สมัย
• แนวทางด้านพฤติกรรม(Behavioral Approach) แนวทางนี้จะเน้นที่
พฤติกรรมของคนในองค์การเป็ นหลักการจะนำเทคโนโลยีใดๆมาใช้จะต้อง
พิจารณาถึงความพร้อมของบุคลากรและความสอดคล้องกับวัฒนธรรม
องค์การ
• แนวทางการผสมผสานด้านเทคนิคและสังคม(Sociotechnical System)
แนวทางนี้เป็ นการผสมผสานทั้งด้านเทคนิคและพฤติกรรมของบุคลากร โดย
การนำเทคโนโลยีมาติดตั้งจะให้ความสำคัญกับสิ่ งแวดล้อมต่างๆประกอบ
และเลือกใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม
ความสมพั ันธ์ระหว่างองค์การ การ
จ ัดการ และเทคโนโลยี
ความสำเร็ จของการนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาติดตั้งนอกจากขึ้นอยูก่ บั การ
เลือกแนวทางที่เหมาะสมดังได้กล่าวข้างต้นแล้ว การออกแบบให้สอดคล้อง
กับลักษณะขององค์การหรื อมีการพิจารณาปัจจัยด้านองค์การประกอบด้วย
และหากมีการจัดการที่ดีในการนำระบบเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ใน
องค์การก็จะเป็ นปัจจัยสำคัญอย่างยิง่ ต่อประสิ ทธิภาพและประสิ ทธิผลของ
ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ และขณะเดียวกันหากองค์การมีลกั ษณะเปิ ด
กว้างในการยอมรับการนำระบบเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ประสบผลสำเร็ จ
ได้เช่นกัน ปฏิสมั พันธ์ระหว่างเทคโนโลยีสารสนเทศกับองค์การ และการ
จัดการค่อนข้างจะมีความสลับซับซ้อน
การประยุกต์ใชเ้ ทคโนโลยี
สารสนเทศเพือ่ การศก ึ ษา
การนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้กบั การศึกษานั้น ปั จจุบนั ได้
มีการนำเทคโนโลยีสมัยใหม่หลายอย่างมาใช้ในการเรี ยนการสอน
ทำให้เกิดการเรี ยนการสอนด้วยอุปกรณ์ที่ทนั สมัย ห้องเรี ยนสมัย
ใหม่มีการติดตั้งเครื่ องฉายภาพวีดีทศั น์ เครื่ องคอมพิวเตอร์ รู ป
แบบของสื่ อที่นำมาใช้ในการเรี ยนการสอนก็มีให้เลือกหลากหลาย
ขึ้นอยูก่ บั ความเหมาะสมในการนำมาใช้
ใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศเพือ
การประยุกต์
การสอน ่ อิ
การศ
น ึ เษา

เทอร ์ น็ ต
ส ่ ื ประสม

ทางไกล กับการศก ึ ษา

การสอนบน ื
หนังสอ การประชุมทาง
เว็บ อิเล็กทรอนิ กส ์ ไกลผา่ นจอภาพ

วีดิทัศน์
ตามคำขอ
เทคโนโลยีสารสนเทศก ับระบบ
การเรียนการสอนทางไกล

ความหมายของการเรี ยนการสอนทางไกล

องค์ประกอบของระบบการเรี ยนการ
สอนทางไกล

กระบวนการเรี ยนการสอน
ความหมายของการเรียนการสอน
ทางไกล
การเรี ยนการสอนทางไกล หมายถึง การเรี ยนการสอนที่ผเู ้ รี ยนและ
ผูส้ อนอยูไ่ กลกันใช้วธิ ีการถ่ายทอดเนื้อหาสาระ และประสบการณ์
โดยอาศัยสื่ อประสมในหลายรู ปแบบ ได้แก่ สื่ อที่เป็ นหนังสื อ สื่ อ
ทางไปรษณี ย ์ ไปรษณี ยอ์ ีเล็คทรอนิคส์ วิทยุกระจายเสี ยง
โทรทัศน์ การประชุมทางวีดีทศั น์ (Vedeoconference)
อินเทอร์เน็ต เป็ นต้น ช่วยให้ผเู้ รี ยนที่อยูต่ ่างถิ่นต่างที่กนั สามารถ
ศึกษาความรู ้ได้
องค์ประกอบของระบบการเรียนการสอน
ทางไกล
 ผูเ้ รี ยน เน้นผูเ้ รี ยนเป็ นศูนย์กลางที่มีอิสระในการกำหนดเวลา สถานที่และ
วิธีเรี ยน
 ผูส
้ อน เน้นการสอนโดยใช้การสื่ อสารทางไกลแบบสองทาง และอาศัยสื่ อ
หลากหลายชนิด
 ระบบบริ หารและการจัดการ จัดโครงสร้างอื่นๆเพื่อเสริ มการ

 การควบคุมคุณภาพจัดทำอย่างเป็ นระบบ และดำเนิ นการต่อเนื่ องสม่ำเสมอ


โดยเน้นการควบคุมคุณภาพในด้านขององค์ประกอบของการสอน
 การติดต่อระหว่างผูเ้ รี ยน ผูส ้ อน และสถาบันการศึกษาเป็ นการติดต่อแบบ
สองทาง
กระบวนการเรียนการสอน
 การเรี ยนการสอน การเรี ยนทางไกลอาศัยครู และอุปกรณ์การสอน
สามารถใช้สอนผูเ้ รี ยนได้มากกว่า 1 ห้องเรี ยน และได้หลายสถานที่ ซึ่งจะ
เหมาะกับวิชาที่มีผเู ้ รี ยนหลายๆแห่งต้องเรี ยนเหมือนๆกัน
 ปฏิสมั พันธ์ ขั้นตอนที่สำคัญอย่างหนึ่ง คือการใช้คำถามเพื่อให้เกิด
การโต้ตอบ หรื อปฏิสมั พันธ์ สื่ อที่ใช้อาจเป็ นโทรศัพท์ หรื อกล้องวีดีทศั น์
ในแบบการประชุมทางไกล
 การประเมินผล รู ปแบบการประเมินผลการเรี ยนการสอนทางไกล
นั้น ผูเ้ รี ยนสามารถส่ งการบ้าน และทำแบบทดสอบโดยใช้ไปรษณี ยอ์ ิเล็ค
ทรอนิกส์
ื่ ประสม
สอ
สื่ อประสม(Multimedia) คือ การใช้คอมพิวเตอร์ร่วมกับโปรแกรม
ซอฟต์แวร์ในการสื่ อความหมายโดยการผสมผสานสื่ อหลายชนิด
และผูใ้ ช้สามารถควบคุมสื่ อให้เสนอเนื้ อหาตามต้องการได้ระบบนี้
จะเรี ยกว่า สื่ อประสมปฏิสมั พันธ์ การปฏิสมั พันธ์ของผูใ้ ช้สามารถ
กระทำได้โดยผ่านทางคียบ์ อร์ด เมาส์ หรื อตัวชี้ เป็ นต้น

้ ่อ
การใชส ื ์ ระกอบของส่อ
องคป ื
ประสม ประสม
การใชส้ อ
ื่ ประสมเพือ
่ การเรียนการสอน

การใช้สื่อประสม ก็เพื่อเพิม่ ทางเลือกในการเรี ยนและสนองต่อรู ป


แบบของการเรี ยนของผูเ้ รี ยนที่แตกต่างกัน การจำลองสภาพการณ์
ของวิชาต่างๆเป็ นวิธีการเรี ยนรู้ที่ทำให้ผเู้ รี ยนได้รับประสบการณ์
ตรงก่อนการลงมือปฏิบตั ิจริ ง โดยสามารถที่จะทบทวนขั้นตอน
และกระบวนการได้เป็ นอย่างดี ผูเ้ รี ยนอาจเรี ยนหรื อฝึ กซ้ำได้ และ
ใช้สื่อประสมในการฝึ กภาษาต่างประเทศ โดยเน้นเรื่ องการออก
เสี ยงและฝึ กพูด
ื่ ประสม
องค์ประกอบของสอ
ระบบสื่ อประสมที่ใช้กบั คอมพิวเตอร์เป็ นระบบที่เน้นการโต้ตอบ
กับผูเ้ รี ยนกล่าวคือ เมื่อคอมพิวเตอร์ นำเสนอข้อมูลข่าวสาร ผูใ้ ช้
สามารถโต้ตอบในลักษณะเวลาจริ ง (Real Time) การโต้ตอบจึง
ทำให้รูปแบบของการใช้งานมีความเหมาะสมและตรงกับความ
ต้องการของผูใ้ ช้ได้ มากขึ้นดังระบบสื่ อประสมจึงเป็ นระบบการนำ
ข้อมูลข่าวสารที่มีขนาดใหญ่มาใช้กบั คอมพิวเตอร์ ซึ่ งเน้นการใช้
สื่ อประสมหลายรู ปแบบ ได้แก่ เสี ยง ภาพถ่าย ภาพกราฟิ ก ภาพ
เคลื่อนไหว และวีดีทศั น์ เป็ นต้น
ึ ษา
อินเทอร์เน็ ตกับการศก
ปัจจุบนั มหาวิทยาลัยต่างๆ มีการนำอินเทอร์เน็ตมาใช้ประโยชน์กบั การศึกษา
เพราะว่าในระบบเครื อข่ายอินเทอร์เน็ตมีขอ้ มูลข่าวสารที่ตอ้ งการมากมายและ
ครอบคลุมทุกแห่งทัว่ โลก ซึ่งอินเทอร์เน็ตมีบทบาทต่อการศึกษาดังนี้

การใช้ระบบสื่ อสาร
เหมือนกระดานข่าว
ส่ วนบุคคล

การใช้เพื่อสื บค้น ฐานข้อมูลเครื อข่ายใย การพูดคุยแบบโต้ตอบ


ข้อมูลข่าวสารต่างๆ แมงมุม หรื อคุยเป็ นกลุ่ม

การส่ งถ่ายข้อมูล การใช้ทรัพยากรที่ห่าง


ระหว่างกันแบบ FTP ไกลกัน

การใชระบบส ื่ สารสว่ นบุคคล

การใช้ระบบสื่ อสารส่ วนบุคคล บนอินเทอร์เน็ตมีไปรษณี ยอ์ ิเล็ค
ทรอนิกส์ หรื อเรี ยกย่อๆว่า อีเมล์(e-Mail) เป็ นระบบที่ทำให้การ
สื่ อสารระหว่างกันเกิดขึ้นได้ง่าย แต่ละบุคคลจะมีตจู้ ดหมายเป็ น
ของตัวเอง สามารถส่ งข้อความถึงกันผ่านระบบนี้ โดยส่ งไปยัง
ตูจ้ ดหมายของกันและกัน นอกจากนี้ ยงั สามารถประยุกต์ใช้ในการ
ศึกษาได้ เช่น การแจ้งผลสอบผ่านทางอีเมล์ การส่ งการบ้าน การ
โต้ตอบในกิจกรรมการเรี ยนการสอนระหว่างผูส้ อนกับนักศึกษา
ระบบข่าวสารบนอินเทอร์เน็ ตมีลก
ั ษณะ
เหมือนกระดานข่าว
ระบบข่าวสารบนอินเทอร์เน็ตมีลกั ษณะเหมือนกระดานข่าว ที่
เชื่อมโยงถึงกันทัว่ โลก ทุกคนสามารถเปิ ดกระดานข่าวที่ตนเอง
สนใจ หรื อสามารถส่ งข่าวสารผ่านกลุ่มข่าวบนกระดานนี้ เพื่อ
โต้ตอบข่าวสารกันได้ เช่น กลุ่มสนใจงานเกษตรก็สามารถมี
กระดานข่าวของตนเองไว้สำหรับอภิปรายปัญหากันได้
้ อ
การใชเพื ื ค ้นข ้อมูลข่าวสารต่างๆบน
่ สบ
อินเทอร์เน็ ต
การใช้เพื่อสื บค้นข้อมูลข่าวสารต่างๆบนอินเทอร์เน็ตมีแหล่งข้อมูล
ขนาดใหญ่ที่เชื่อมโยงกัน และติดต่อกับห้องสมุดทัว่ โลก ทำให้การ
ค้นหาข้อมูลข่าวสารต่างๆทำได้อย่างรวดเร็ วและมีประสิ ทธิภาพ
หมายถึง สามารถค้นหาและได้มาซึ่ งข้อมูลโดยใช้เวลาอันสั้น โดย
เฉพาะบนอินเทอร์เน็ตจะมีคำสำคัญ(Keyword) ไว้ให้สำหรับการ
สื บค้นที่รวดเร็ ว
ฐานข ้อมูลเครือข่ายใยแมงมุม(WORLD
WIDE WEB)
ฐานข้อมูลเครื อข่ายใยแมงมุม(World Wide Web) เป็ นฐานข้อมูล
แบบเอกสาร(Hypertext) และแบบสื่ อหลายมิติ(Hypermedia) จน
มาถึงปัจจุบนั ฐานข้อมูลเหล่านี้ได้พฒั นาขึ้นจนเป็ นแบบสื่ อประสม
ซึ่ งมีขอ้ ความ รู ปภาพ วีดีทศั น์ และเสี ยง ผูใ้ ช้เครื อข่ายนี้สามารถ
สื บค้นกันได้จากที่ต่างๆทัว่ โลก
การพูดคุยแบบโต ้ตอบหรือคุยเป็ นกลุม

การพูดคุยแบบโต้ตอบหรื อคุยเป็ นกลุ่ม บนเครื อข่ายอินเทอร์เน็ต
สามารถเชื่อมต่อกันและพูดคุยกันได้ดว้ ยเวลาจริ ง ผูพ้ ดู สามารถ
พิมพ์ขอ้ ความโต้ตอบกันได้ไม่วา่ จะอยูท่ ี่ใดบนเครื อข่าย เช่น ฝ่ าย
หนึ่งอาจอยูต่ ่างประเทศ อีกฝ่ ายหนึ่งอยูใ่ นที่ห่างไกลก็พดู คุยกันได้
และยังสามารถพูดคุยกันเป็ นกลุ่มได้
การสง่ ถ่ายข ้อมูลระหว่างกันแบบ FTP
การส่ งถ่ายข้อมูลระหว่างกันแบบ FTP(Files Transfer Protocol) คือ
สามารถที่จะโอนย้ายถ่ายเทข้อมูลระหว่างกันเป็ นจำนวนมากๆได้ โดยส่ งผ่าน
ระบบเครื อข่ายอินเทอร์เน็ตซึ่งทำให้สะดวกต่อการรับส่ งข้อมูลข่าวสารซึ่งกัน
และกันโดยไม่ตอ้ งเดินทาง และข่าวสารถึงผูร้ ับได้อย่างรวดเร็ วยิง่ ขึ้น
้ พยากรทีห
การใชทรั ่ า่ งไกลกัน
การใช้ทรัพยากรที่ห่างไกลกัน ผูเ้ รี ยนอาจเรี ยนอยูท่ ี่บา้ นและเรี ยก
ใช้ขอ้ มูลที่เป็ นทรัพยากรการเรี ยนรู้ของมหาวิทยาลัยได้และยัง
สามารถขอใช้ทรัพยากรคอมพิวเตอร์ในต่างมหาวิทยาลัยได้ เช่น
มหาวิทยาลัยหนึ่งมีเครื่ องคอมพิวเตอร์แบบซูเปอร์คอมพิวเตอร์
และผูอ้ ยูอ่ ีกมหาวิทยาลัยหนึ่งก็ขอใช้ได้ ทำให้มีการใช้ทรัพยากรที่
เป็ นซอฟต์แวร์และฮาร์ดแวร์ได้อย่างมีประโยชน์และคุม้ ค่ายิง่
การสอนบนเว็บ
ความหมายของ องคป
์ ระกอบของ
การสอนบนเว็บ การเรี ยนการสอน

ส่อ
ื ที่ใชบ
้ น ขอ
้ ดีของการ
เว็บ สอนบนเว็บ

ขอ
้ จำกัดของการ
สอนบนเว็บ
ความหมายของการสอนบนเว็บ
การสอนบนเว็บ เป็ นการประยุกต์ใช้ยทุ ธวิธีการสอนด้านพุทธ
พิสยั (Cognitive) ภายใต้สภาพแวดล้อมทางการเรี ยนรู้ที่ผเู ้ รี ยนเป็ นผู ้
สร้างองค์ความรู ้ และการเรี ยนแบบร่ วมมือกัน(Collaborative
Learning) การเรี ยนแบบนี้ ผเู้ รี ยนเป็ นผูค้ วบคุมการเรี ยนด้วยตัวเอง
เน้นผูเ้ รี ยนเป็ นสำคัญ(Child Center) และเรี ยนด้วยการมี
ปฏิสมั พันธ์กบั ผูอ้ ื่น(Learner Interaction)
องค์ประกอบของการเรียนการสอน
 ระบบการเรี ยนการสอน มีการจัดการและออกแบบภายใต้วธิ ีการของระบบ
คือ จะต้องมีปัจจัยนำเข้า(Input) กระบวนการ(Process) และ
ผลลัพธ์(Output)
 ความเป็ นเงื่อนไข เงื่อนไขถือว่าเป็ นสิ่ งสำคัญอย่างยิง่ สำหรับการสอนบน
เว็บ
 การสื่ อสารและกิจกรรม การสื่ อสารเป็ นส่ วนของการสร้างปฏิสม ั พันธ์ส่วน
กิจกรรมจะเป็ นตัวกระตุน้ ให้ปฏิสมั พันธ์เกิดขึ้นเพื่อไม่ให้ต่างไปจาก
ห้องเรี ยนปกติ
 สิ่ งนำทางค้นคว้า เป็ นการกำหนดแหล่งความรู ้ภายนอกที่เกี่ยวข้องกับบท
เรี ยน โดยกำหนดด้วยสิ่ งนำทางการค้นคว้า
ื่ ทีใ่ ชบนเว็
สอ ้ บ
 เวิลด
์ ไวด์ เว็บ(World Wide Web) ใช้สำหรับเป็ นแหล่งความรู้พ้ืนฐาน
 ไปรษณี ยอ ์ ีเล็คทรอนิกส์(e-Mail) ใช้ติต่อสื่ อสารระหว่างกับผูส้ อนหรื อเพื่อนร่ วมชั้น
ด้วยกันใช้ส่งการบ้านหรื องานที่ได้รับมอบหมาย
 กระดานข่าว(Webboard) ใช้ติดต่อสื่ อสารระหว่างผูเ้ รี ยน ผูส ้ อน และผูเ้ รี ยนเป็ นกลุ่ม
ใช้กำหนดประเด็นหรื อกระทูต้ ามที่ผสู ้ อนกำหนด
 กระดานพูดคุย(Chat) ใช้ติดต่อสื่ อสารระหว่างผูเ้ รี ยน โดยการสนทนาแบบเวลาจริ ง

 ไดซี คิว(ICQ) ใช้ติดต่อสื่ อสารระหว่างผูส ้ อนและผูเ้ รี ยนโดยการสนทนาแบบเวลาจริ ง


โดยเก็บข้อความไว้
 การประชุม(Conference) ผูเ้ รี ยนและผูส ้ อนสามารถเห็นหน้ากันได้โดยผ่านทางกล้อง
โทรทัศน์ที่ติดอยูก่ บั เครื่ องคอมพิวเตอร์
 การบ้านอิเล็คทรอนิ กส์ ใช้สำหรับติดต่อสื่ อสารระหว่างผูเ้ รี ยน ผูส้ อนโดยที่ผเู ้ รี ยนไม่
ต้องถือสมุดการบ้านจริ งๆ
ข ้อดีของการสอนบนเว็บ
 ช่วยเพิ่มปฏิสม
ั พันธ์ระหว่างผูเ้ รี ยนกับผูเ้ รี ยน ผูเ้ รี ยนกับผูส้ อน และผูเ้ รี ยน
กับแหล่งการเรี ยนรู้อื่นๆ
 ช่วยลดรายจ่ายในสภาพการเรี ยนการสอนจริ ง ที่มีอาคารพร้อมสิ่ งอำนวย
ความสะดวกอื่นๆซึ่งเสี ยค่าใช้จ่ายมาก
 ทำข้อมูลให้ทน ั สมัยและเป็ นปัจจุบนั ได้ง่ายและรวดเร็ ว จึงทำให้เนื้อหาวิชา
ที่ผเู ้ รี ยนได้รับถูกต้องอยูเ่ สมอ
 ข้อมูลต่างๆที่ใช้ในการเรี ยนการสอนสามารถอ้างอิงผ่านระบบการสื บค้นได้
ทันที
ข ้อจำกัดของการสอนบนเว็บ
 ค่าใช้จ่ายในเรื่ องเครื่ องคอมพิวเตอร์
 ขาดผูเ้ ชี่ยวชาญในการออกแบบระบบการเรี ยนการสอน

 ประสิ ทธิ ภาพการเรี ยนทั้งหมดอยูท ่ ี่ผเู ้ รี ยนเป็ นสำคัญ


 ความเร็ วในการเข้าถึงข้อมูลและสื บค้นยังช้า

 ผูใ้ ช้ยงั ขาดทักษะการใช้คอมพิวเตอร์

 ไม่สอดคล้องกับวัฒนธรรมการเรี ยนการสอนของสังคม

 ขาดการสนับสนุนและปฏิรูปการจัดการศึกษา
ื อิเล็คทรอนิกส ์
หนังสอ
หนังสื ออิเล็คทรอนิกส์(e-book) นับเป็ นพัฒนาการอีกด้านหนึ่ง ของการ
เก็บข้อมูลจำนวนมากด้วยซีดีรอม ซีดีรอมหนึ่งแผ่นสามารถเก็บข้อมูลตัว
อักษรได้มากถึง 600 ล้านตัวอักษร ดังนั้น ซีดีรอมหนึ่งแผ่นสามารถเก็บ
ข้อมูลหนังสื อ หรื อเอกสาร ได้มากกว่าหนังสื อหนึ่งเล่ม และที่สำคัญคือการ
ใช้กบั คอมพิวเตอร์ ทำให้สามารถเรี ยกค้นหาข้อมูลภายในซีดีรอมได้อย่าง
รวดเร็ ว โดยใช้ดชั นีสืบค้น หรื อสารบัญเรื่ อง ซีดีรอมจึงเป็ นสื่ อที่มีบทบาท
ต่อการศึกษาอย่างยิง่ เพราะในอนาคตหนังสื อต่างๆจะจัดเก็บอยูใ่ นรู ปซีดีรอม
และเรี ยกอ่านด้วยเครื่ องคอมพิวเตอร์ที่เรี ยกว่าหนังสื ออิเล็คทรอนิกส์ ซีดี
รอมมีขอ้ ดีคือ สามารถจัดเก็บข้อมูลในรู ปของสื่ อประสม และเมื่อนำซีดีรอม
หลายแผ่นใส่ ไว้ในเครื่ องอ่านชุดเดียวกัน ทำให้ซีดีรอมสามารถขยายการเก็บ
ข้อมูลจำนวนมากยิง่ ขึ้น
การประชุมทางไกลผ่านจอภาพ
การประชุมทางไกลผ่านจอภาพ(Videoteleconference) เป็ นระบบการประชุมทาง
ไกลผ่านจอวีดีทศั น์ โดยใช้เทคโนโลยีการสื่ อสารที่ทนั สมัย เป็ นการประชุมร่ วม
กันระหว่างบุคคล หรื อคณะบุคคลที่อยูต่ ่างสถานที่ และห่างไกลกันคนละซีก
โลก ด้วยสื่ อประสมที่ให้ท้ งั ภาพเคลื่อนไหว ภาพนิ่ง เสี ยง และข้อมูลตัวอักษร
ในการประชุมเวลาเดียวกัน และเป็ นการสื่ อสาร 2 ทาง จึงทำให้ดูเหมือนว่าได้
เข้าร่ วมประชุมกันตามปกติ การนำมาใช้กบั การศึกษานั้นจะช่วยให้ผเู้ รี ยนและผู้
สอนสามารถติดต่อสื่ อสารกันได้ผา่ นทางจอภาพ โทรทัศน์ และเสี ยง ผูเ้ รี ยนใน
ห้องเรี ยนที่อยูห่ ่างไกลสามารถเห็นภาพและเสี ยงของครู สามารถเห็นอากัปกิริยา
ของผูส้ อน เห็นการเคลื่อนไหวและสี หน้าของครู ในขณะเรี ยน
ในระบบของการประชุมทางไกลผ่านจอภาพ มีองค์ประกอบพื้นฐานประกอบ
ด้วย 2 ส่ วน คือ เครื อข่ายโทรคมนาคม และ อุปกรณ์เชื่อมต่อ
วีดท
ี ศ
ั น์ตามคำขอ
วีดีทศั น์ตามคำขอ(Video on Demand) เป็ นระบบใหม่ที่กำลังได้รับความนิยม
มาใช้ในหลายประเทศ เช่น ญี่ปุ่นและสหรัฐอเมริ กา โดยอาศัยเครื อข่าย
คอมพิวเตอร์ความเร็ วสูงทำให้ผชู ้ มตามบ้านเรื อนต่างๆ สามารถเลือกรายการ
วีดีทศั น์ที่ตนเองต้องการชมได้ โดยเลือกตามรายการและเลือกชมได้ตลอด
เวลา

องค์ประกอบของระบบวีดีทศั น์ การให้บริ การของระบบวีดีทศั น์


ตามคำขอ ตามคำขอ
องค์ประกอบของระบบวีดท
ิ ศ
ั น์ตาม
คำขอ
 เครื่ องแม่ข่ายวีดิทศ
ั น์(VideoServer) เป็ นเครื่ องคอมพิวเตอร์ที่มี
ประสิ ทธิภาพสูง มีที่เก็บข้อมูลที่มีความจุสูงมาก และมีความเร็ วในการอ่าน
ข้อมูลสูง เพื่อที่จะเก็บข้อมูลวีดิทศั น์สนองต่อความต้องการโดยผ่านทางเครื อ
ข่ายเอทีเอ็ม
 เครื่ อข่ายการสื่ อสารแบบเอทีเอ็ม(ATM) เป็ นการส่ งข้อมูลด้วยความเร็ วสู ง
โดยข้อมูลรายการต่างๆจะสร้างขึ้นมาในเครื่ องคอมพิวเตอร์แม่ข่ายแล้วแปลง
ให้เป็ นเอทีเอ็มโหมด จากนั้นก็จะส่ งข้อมูลผ่านทางเครื อข่าย
 เครื่ องคอมพิวเตอร์ ลูกข่าย(Video Client) เป็ นเครื่ องคอมพิวเตอร์ หรื ออุปก
รณ์อิเล็คทรอนิกส์ที่สามารถแปลงข้อมูลที่ได้รับจากเครื่ องคอมพิวเตอร์แม่
ข่ายให้เป็ นสัญญาณและแสดงผลขึ้นบนจอคอมพิวเตอร์ หรื อจอโทรทัศน์ได้
ิ ในกลุม
สมาชก ่
 นายชัยรัตน์ พิมมี คบ.2 คณิ ตศาสตร์ 524143002
 นายพีระพงศ์ อุ่นภักดิ์ คบ.2 คณิ ตศาสตร์ 524143004
 นางสาวเกศริ น มาดลย์ คบ.2 คณิ ตศาสตร์ 524143010
 นางสาวพรรนิ ภา กิจสมุทร คบ.2 คณิ ตศาสตร์ 524143018

 นางสาวรุ่ งนภา ช่างสอน คบ.2 คณิ ตศาสตร์ 524143020


 นางสาวกนกวรรณ แคล่วคล่อง คบ.2 คณิ ตศาสตร์ 524143022

 นางสาวสุ ภาวดี จันทร์ แดง คบ.2 คณิ ตศาสตร์ 524143028

You might also like