You are on page 1of 28

คนทางาน (Workazine) วารสารออนไลน์ของคนทางานเพื่อคนทางาน (ฉบับที่ 14 ประจาเดือนกุมภาพันธ์ 2554)

ความเคลื่อนไหวแรงงานโลก [หน้า 2] รายงานพิเศษ >> แรงงานไทยหนีตาย … ลิเบีย!


[หน้า 5] รายงานพิเศษ >> ทีดีอาร์ไอเผยประกันแรงงานนอก ระบบการจัดการยังน่าห่วง
[หน้า 10] บทความ >> เรื่องของอ้อม : เธอผิดหรือ? ที่คิดอยากเป็นแม่คน [หน้า 13] จับตา
ประเด็นร้อน [หน้า 18] ความเคลื่อนไหวแรงงานไทย [หน้า 21] คนทำงำน กุมภำพันธ์ 2554 >> 1
ความเคลื่อนไหวแรงงานโลก >>

ท่าเรือหลักของอาร์เจนติ นาเริ่ มเปิ ดให้บริ การอีกครัง้ หลังพนักงาน เขากล่าวว่า เขาได้เป็ นคนงานประจําของบริษทั ผุผ้ ลิตรถยนต์แห่งนี้ในปี
ผละงานประท้วง 2004 และเขาได้สู้คดีถึงสามชัน้ ศาล ซึ่งในที่สุดศาลสูงได้กลับคําตัดสิน
3 ก.พ. 54 - แหล่ง ข่าวจากสหภาพแรงงานอาร์เจนตินา เปิ ดเผยว่า ของศาลชัน้ ต้ น โดยให้ บ ริ ษ ัท ยอมรับ เขาเป็ นคนงานประจํ า ทัง้ นี้
ท่าเรือหลักของอาร์เจนตินาเริม่ กลับมาให้บริการอีกครัง้ แล้วตัง้ แต่เมื่อวาน บริษทั ฮุนไดจ้างคนงานชั ่วคราวประมาณ 8,200 คน คิดเป็ นร้อยละ 22
นี้ ภายหลังจากพนักงานการท่าเรือดังกล่าวร่วมกันผละงานประท้วงนาน ของจํานวนคนงานทัง้ หมด ในการสํารวจเมื่อปี 2009 โดยกระทรวงการ
8 วัน เพื่อเรียกร้องขอค่าแรงเพิม่ อย่างไรก็ดี การเปิ ดให้บริการท่าเรืออีก จ้า งงานและแรงงานของเกาหลี ใ ต้ พบว่ า ร้ อ ยละ 21.9 ของคนงาน
ครัง้ ดังกล่าวมีขน้ึ ภายหลังจากรัฐบาลเปิ ดเจรจา พิจารณาข้อเรียกร้องของ ทัง้ หมดเป็ นคนงานชั ่วคราว (สํารวจบริษทั จํานวน 939 แห่ง แต่ละแห่งมี
พนักงานการท่าเรือ โฆษกกระทรวงแรงงาน ยืนยันว่า กําลังมีการเจรจา การจ้างแรงงานมากกว่า 300 คน) บริษทั ในอุตสาหกรรมต่อเรือจ้างงาน
พิจารณาข้อเรียกร้องขึน้ ค่าแรงจริง รายงานระบุว่า การผละงานประท้วง คนงานชั ว่ คราวมากที่ สุ ด คื อ ประมาณร้ อ ยละ 55 ส่ ว นคนงานใน
ของพนักงานการท่าเรือ ส่งผลให้ถ ั ่วเหลืองและเมล็ดธัญพืชราว 1 ล้านตัน อุตสาหกรรมเหล็กและโลหะมีคนงานชั ่วคราวมากกว่าร้อยละ 41 และใน
ติดค้างอยู่ท่ที ่าเรือไม่สามารถส่งออกนอกประเทศได้ สร้างความเสียหาย บริษทั ผุผ้ ลิตรถยนต์มคี นงานชั ่วคราวประมาณร้อยละ 14.5
กว่า 8 ล้านดอลลาร์สหรัฐ.
ภายในปี 2554 นี้ หนิ งเซียะปรับขึน้ มาตรฐานผลตอบแทนขัน้ ตา่
ศาลสูงเกาหลีใต้ ตดั สิ นให้ บริ ษทั ฮุนไดยอมรับคนงานชั ่วคราวเป็ น 17 ก.พ. 54 - จากสถานการณ์ทางเศรษฐกิจที่อตั ราเงินเฟ้อเพิม่ ขึน้ ทําให้
คนงานประจา ค่า ครองชีพ ปรับ ตัว สูง ขึ้น เขตปกครองตนเองหนิ ง เซีย ะเตรีย มปรับ
10 ก.พ.54 - อดีตคนงานชั ่วคราวที่รจู้ กั ในนาม “ชอย” ผูท้ ่ที ํางานให้กบั มาตรฐานผลตอบแทนขัน้ ตํ่าขึน้ อีกรอบ หลังจากการปรับขึน้ ครัง้ ล่าสุดเมื่อ
ปริษทั ฮุนได ในโรงงานอัลซัน มาเป็ นระยะเวลามากกว่า 2 ปี ให้ถือ ว่า เดือนพฤษภาคม 2553 รายงานข่าวจากสํานักงานทรัพยากรมนุ ษย์และ
เป็ นพนักงานประจําของบริษทั ฮุนได การตัดสินครัง้ นี้อาจจะนํ าไปสู่การ สวัสดิการสังคม เขตปกครองตนเองหนิงเซียะ ทราบว่า ขณะนี้สํานักงาน
ลุกขึน้ ทวงถามของคนงานชั ่วคราวคนอื่นๆ รวมถึงคนงานกลุ่มใหญ่ของ ดังกล่าวกําลังดําเนินการคํานวณในขัน้ ต้น ซึ่งพิจารณาจากปจั จัยต่าง ๆ
บริษทั ฯ ที่ได้เคยนัดหยุดงานประท้วงเป็ นเวลา 25 วันซึ่งจบลงเมื่อ ต้น เช่น การใช้จา่ ยของประชาชน ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับสวัสดิการสังคม กองทุน
เดือนธันวาคมปี ท่แี ล้ว การตัดสินครัง้ นี้จะกระตุ้นให้คนงานที่ไม่ใช่คนงาน สํารองเลี้ย งชีพเพื่อ การซื้อ หรือ เช่า ที่พ กั อาศัย ค่า จ้า งเฉลี่ย อัต ราการ
ประจํา ของบริษ ัท ฮุ น ไดรวมตัว กัน เพื่อ เรีย กร้อ งให้บ ริษ ัท ยอมรับ ให้ ว่างงาน การเติบโตของเศรษฐกิจ โดยการปรับปรุงผลตอบแทนขัน้ ตํ่าสุด
คนงานชั ่วคราวเป็ นคนงานประจํา ในขณะเดียว กัน บริษทั ฮุนได กล่าวว่า ในครัง้ นี้ จะปรับ ขึ้ น ฐานเงิ น เดื อ นตํ่ าสุ ด สํ า หรับ แรงงานที่ ร ับ เงิ น
“ คําพิพากษานี้จํากัดอยู่กบั เฉพาะคนงานผูท้ ่ฟี ้ องร้องเท่านัน้ ไม่สามารถ ค่า ตอบแทนเป็ น แบบราย เดือ นและฐานเงิน ค่า จ้า งรายชั ่วโมงตํ่ า สุ ด
นําไปใช้กบั คนงานคนอื่นๆ ทีม่ สี ภาพการทํางานและประเภทของงานต่าง สําหรับแรงงานรับจ้างแบบไม่ประจํา คาดว่าอัตราที่จะปรับขึน้ มีแนวโน้ ม
จากคนงานผูท้ ฟ่ี ้ องร้องได้” และบริษทั ก็จะอุทธรณ์ไปคําตัดสินของศาลสู ง อยู่ใ นช่ ว งตัว เลขสองหลัก การปรับ ผลตอบแทนขัน้ ตํ่ า แรงงานในเขต
และจะร้องไปยังศาลรัฐธรรมนู ญ นอกจากนี้ บริษทั ยังยืนยันว่า “ชอย” ไม่ ปกครองตนเองหนิงเซียะครัง้ ล่าสุดในปี 2553 เป็ นดังนี้ เมืองหลักที่สําคัญ
ถือ เป็ นคนงานประจําของบริษทั เพราะเขาถูกจ้างงานผ่านบริษทั เหมา เช่น นครหยินชวน เมืองสือจุ่ยซาน ปรับเงินเดือนขัน้ ตํ่าเป็ น 710 หยวน,
ค่าแรง หรือเอเจนซี่ “ชอย” เริม่ ทํางานในโรงงานของบริษทั ฮุนไดในปี เมือ งระดับรอง เช่น อําเภอหย่งหนิ ง เมือ งหลิงอู่ เมือ งชิงถงเสีย ปรับ
2002 และถูกเลิกจ้างในปี 2005 เนื่อง จาก เขาเข้าร่วมกิจกรรมสหภาพ เงินเดือ นขัน้ ตํ่า เป็ น 660 หยวน, เมืองระดับสาม เช่น อําเภอไห่หยวน
แรงงาน เขาฟ้องร้องบริษทั ฮุนได แต่ไม่ได้ฟ้องบริษทั ซับคอนแทรก โดย อํ า เภอหลงเต๋ อ ปรับ เงิน เดือ นขัน้ ตํ่ า เป็ น 605 หยวน ทัง้ นี้ มาตรฐาน
2 << คนทำงำน กุมภำพันธ์ 2554
ผลตอบแทนขัน้ ตํ่าสูงสุดของแรงงานในเขตปกครองตนเองหนิงเซียะ ถูก ดัลลัส ซึ่งนับเป็ นการหันหน้ ามาเจรจาต่อ รองร่วมกันอย่างเป็ นทางการ
จัด อยู่ใ นอัน ดับ ที่ 5 ของมณฑลในภาคตะวัน ตกของจีน รองจากเขต ครัง้ แรก นับตัง้ แต่เดือนพฤศจิกายนปี ท่ีแล้วเป็ นต้นมา โดยสัญญาที่จะ
ปกครองตนเองซินเจียงที่ 960 หยวน มณฑลชิงไห่ท่ี 770 หยวน และ หมดลงในต้นเดือ นมีนาคมนัน้ เป็ นสัญ ญาที่ทํ ากันไว้ตงั ้ แต่ปี 2008 อนึ่ ง
มณฑลส่านซีกบั มณฑลกานซูท่ี 760 หยวน NFLPA เคยสไตรค์ถึง 57 วันในปี 1982 และครัง้ สุด ท้า ยในปี 1987
สืบเนื่องจากการเจรจาต่อรองเรื่องรายได้กบั NFL ไม่บรรลุผล
ม็อบรถบรรทุกโคลัมเบีย ปิ ดถนนกดดันรัฐขึน้ ค่าแรง
เมดิ ส ัน -สภาวิ ส คอนซิ น ป่ วน 14 ส.ว.หนี ออกนอกเมื อ ง หวัง ล้ ม
18 ก.พ. 54 - ประธานาธิบดีฮวน มานู เอล ซานโต๊ส แห่งโคลัมเบีย ได้
ประชุมสภา ขวางแผนยุบสหภาพแรงงาน
ประกาศกําหนดเส้นตายให้กลุ่มขนขับรถบรรทุกรถที่รวมตัวกันปิ ดถนน
ในหลาย เมือ งสําคัญ ของประเทศเพื่อ กดดันรัฐบาลให้ข้ึนค่าแรงให้ก ับ 19 ก.พ. 54 - สมาชิกวุฒสิ ภารัฐวิสคอนซินจากพรรคเดโมแครต 14 คน
คนขับรถบรรทุก จะ ต้องสลายตัวภายในวันนี้ มิเช่นนัน้ รัฐบาลจะจัดการ หลบหนีออกนอกเมืองเมดิสนั เมืองหลวงของรัฐ ไปซ่อนตัวในสถานที่ไม่
ขัน้ เด็ดขาดกับกลุ่มผูช้ ุมนุ มทัง้ นี้สหภาพแรงงานรถบรรทุกแห่งโคลัมเบีย เปิ ดเผย เพื่อขัดขวางไม่ให้สภาจัดการประชุมเพื่อพิจารณาร่า งกฎหมาย
ที่ ม ี ส มาชิ ก กว่ า 120,000 คน ได้ ร วมตัว กัน เผายางรถยนต์ แ ละใช้ ยุบสหภาพแรงงานข้าราชการที่พรรครีพบั ลิกนั สนับสนุ นพร้อมขู่จะซ่อน
รถบรรทุกจอดขวางปิ ดกัน้ ถนนหลายเส้นในเมืองอู บาเต กรุงโบโกต้าและ ตัว อีกหลายสัป ดาห์เ พื่อ ทํ า ให้ร ฐั บาลของรัฐ เป็ น อัม พาต ขณะที่น ายส
อีก หลายเมือ งจนทํ า ให้ก ารจราจรทางถนนต้อ งถู ก ปิ ด ตายมาร่ ว ม 2 ก็อตต์ วอล์คเกอร์ผวู้ ่าการรัฐคนใหม่จากพรรครีพบั ลิกนั มีคําสั ่งให้ตํารวจ
สัป ดาห์ สร้า งความเดือ ดร้อ นในการสัญ จรของผู้ค นและสร้ า งความ ออกตามหาตัวคนเหล่านี้เข้าร่วมการประชุมแล้ว ประชาชนราว 3.5 หมื่น
เสียหายทางเศรษฐกิจให้กบั ประเทศเป็ นมูลค่าหลายล้านดอลลาร์สหรัฐฯ คนชุมนุ มเป็ นวันที่ส่ี เมื่อวันศุกร์ (18 ก.พ.) เพื่อประท้วงแผนล้มสหภาพ
แรงงานข้า ราชการ ในช่ วงที่ร ฐั บาลมีป ญ ั หาเรื่อ งงบประมาณ และมุ่ง
เริ่มไกล่เกลี่ยข้อพิพาท สหภาพผู้เล่นกับเจ้าของที มอเมริ กนั ฟุตบอล
แก้ปญั หานี้ผ่านการปลด ตัดลดเงินเดือนและผลประโยชน์ขา้ ราชการ รัฐ
NFL อีกครัง้
วิสคอนซิน โอไฮโอ อินเดียนา และมิชิแกน มีแผนยุบสหภาพแรงงาน
18 ก.พ. 54 - หน่ วยงานด้านแรงงานสหรัฐยื่นมือมาช่วยไกล่เกลี่ยปญั หา
ข้าราชการ แต่วสิ คอนซิลเป็ นรัฐแรกทีจ่ ะพิจารณาร่างกฎหมายฉบับนี้โดย
ของตกลงสัญญาใหม่ระหว่างสหภาพแรงงานผู้เล่น NFL กับเจ้าของทีม
ยืนยันว่า วิธเี ดียวทีจ่ ะทําให้แผนการลดบํานาญประสบความสําเร็จคือการ
ก่อนสัญญาเดิมจะหมดลงต้นเดือนหน้านี้ จอร์จ โคเฮน (George Cohen)
กําจัดสหภาพแรงงานข้าราชการเพื่อไม่ให้ขา้ ราชการสามารถต่อสูก้ บั เรื่อง
ผู้อํ า นวยการสํ า นัก งานไกล่ เ กลี่ย และประนี ป ระนอมแห่ง รัฐ (Federal
การปรับลดผลประโยชน์ได้ ขณะที่แกนนํ าสหภาพแรงงานบอกว่าพร้อม
Mediation and Conciliation Service: FMCS) ทําหน้าที่เป็ นคนกลางใน
จะเจรจาเรื่องเงินเดือนและผลประโยชน์ แต่รบั ไม่ได้กบั เรื่องการสูญเสีย
การเชื้อ เชิญ โรเจอร์ กูเดลล์ (Roger Goodell) ประธานลีกอเมริกนั
สิทธิในการจัดตัง้ สหภาพ ด้านผู้ว่าการรัฐบอกว่า ตอนนี้รฐั บาลกําลังถัง
ฟุตบอล (National Football League: NFL) และ ดีมวั ริซ สมิธ
แตก และทางเดีย วที่จ ะทํ าให้ไม่ม ีก ารปลดข้า ราชการขนานใหญ่ ก็คือ
(DeMaurice Smith) ผูอ้ ํานวยการสหภาพแรงงานผูเ้ ล่นอเมริกนั ฟุ ตบอล
รัฐบาลต้องมีอํานาจในการกําหนดบํานาญและผลประโยชน์ในระดับที่พอ
(National Football League Players Association: NFLPA) เจรจา
รับได้
ร่วมกันเพื่อหาทางออกก่อนหน้ าสัญญาระหว่างทัง้ สองฝ่ายฉบับปจั จุบนั
จะหมดลงวันพฤหัสบดีท่ี 3 มีนาคมนี้ ทัง้ สองฝ่ายกลับมาสู่โต๊ ะเจราจา ฟิ ลิ ปปิ นส์หยุดส่งแรงงานไปตะวันออกกลาง
เมื่อ วัน ที่ 18 ก.พ. 54 ที่ผ่า นมา หลังจากมีความพยายามจะเจรจากัน 22 ก.พ. 54 - นายเอ็ดวิน ลาเซียร์ดา้ โฆษกของประธานาธิบดีเบนินโญ
ตัง้ แต่ต้นเดือนกุมพาพันธ์และการเจรจาในครัง้ ที่ 2 (10 ก.พ.) ถูกยกเลิก อาคิโ น แห่ ง ฟิ ลิป ปิ น ส์ป ระกาศว่ า ฟิ ลิป ปิ น ส์จ ะหยุ ด ส่ง แรงงานไปยัง
ไป ทัง้ นี้ทงั ้ สองฝา่ ยได้ออกแถลงการณ์ร่วมกันโดยระบุว่าทัง้ สองฝา่ ยต่าง ประเทศบาห์เรน ลิเบีย และเยเมน ที่กําลังเกิดเหตุการณ์ประท้วงอย่าง
เห็นชอบกับการที่ NFLPA และ NFL จะงดการแสดงความเห็นต่อ รุน แรง เนื่ อ งจากกัง วลด้า นความปลอดภัย คํ า สั ่งระงับ การรับ สมัค ร
สาธารณชน ในขณะทีก่ ระบวนการไกล่เกลีย่ ข้อพิพาทดําเนินไป ก่อนหน้า แรงงานฟิลปิ ปิ นส์ไปทํางานในประเทศตะวันออกกลาง มีขน้ึ หลังจากออก
นี้เจ้าของทีมกับนักกีฬาไม่สามารถหาข้อตกลงกันได้ในการแบ่งส่วนของ ประกาศเตือ นประชาชนเมื่อ วานนี้ ใ ห้ห ลีก เลี่ย งการเดิน ทางไป ยัง 3
เงินรายได้ประมาณ 9 พันล้านดอลลาร์ โดยบรรดาเจ้าของทีมต้องการให้ ประเทศนี้ ห ากไม่ ม ีภ ารกิจ จํ า เป็ น เนื่ อ งจากสถานการณ์ ไ ม่ ป ลอดภัย
มีก ารเพิ่ม เกมระหว่า งฤดู ก าลปกติจ าก 16 เกมเป็ น 18 เกม และลด ป จั จุบ ัน มีช าวฟิ ลิป ปิ น ส์ทํ า งานอยู่ใ นลิเ บีย บาห์เ รน และเยเมนเกือ บ
เปอร์เซ็นต์เงินทีใ่ ห้กบั นักกีฬาลง ส่วนนักกีฬาต้องการส่วนแบ่งของตัวเอง 60,000 คน.
เอาไว้คงเดิม และไม่อยากเพิม่ เกมการแข่งขันเพราะกังวลว่าจะสืบเนื่อง
ถึงเรื่องอาการบาดเจ็บโดยทัง้ สองฝา่ ยเริม่ เจรจากันอย่างเป็ นทางการครัง้ มาเลเซียจะให้ธรุ กิ จอิ นเดียนาเข้าแรงงานได้ 45,000 คน
แรก เมื่อ วันเสาร์ท่ี 5 ก.พ. ก่อนหน้ าศึกซูเปอร์โบว์ล ครัง้ ที่ 45 ที่เมือ ง
คนทำงำน กุมภำพันธ์ 2554 >> 3
28 ก.พ. 54 - มาเลเซียจะอนุญาตให้รา้ นอาหารและบริษทั ของชาวอินเดีย เผยว่ า แรงงานเหล่ า นี้ จ ะทํ า งานในธุ ร กิจ รายย่อ ยของชาวอิน เดีย ใน
นํ าเข้าแรงงานต่างชาติ ได้ 45,000 คน ส่วนใหญ่ จะมาจากอินเดีย เพื่อ มาเลเซีย 13 แห่ง เช่ น ร้า นอาหาร ร้า นตัด ผม ร้า นขายหนัง สือ พิม พ์
แก้ปญั หาธุรกิจชะงักเนื่องจากขาดแคลนแรงงาน นายเอส สุบรามาเนียม เนื่องจากเป็ นงานที่ชาวมาเลเซีย ไม่ยอมทําเจ้าหน้าที่แรงงานในมาเลเซีย
รัฐ มนตรีท รัพ ยากรมนุ ษ ย์ม าเลเซีย กล่ า วว่ า การขาดแคลนแรงงาน เผยว่า มีแรงงานอินเดียในมาเลเซียมากกว่า 100,000 คน เป็ นแรงงาน
ต่ า งชาติทํ า ให้ร้า นอาหารอิน เดีย บางแห่ง แทบต้ อ งปิ ด กิจ การ เพราะ ต่างชาติกลุ่มใหญ่เป็ นอันดับ 3 ของประเทศ มาเลเซียเป็ น 1 ในประเทศ
แรงงานในประเทศเองไม่ย อมทํ า ธุร กิจชาวอิน เดีย ขอนํ า เข้า แรงงาน นําเข้าแรงงานรายใหญ่ของเอเชียโดยพึง่ ชาวต่างชาติทํางานระดับล่างใน
90,000 คน แต่หลังจากที่ได้หารือกันแล้วรัฐบาลตกลงอนุ ญาตให้นําเข้า ภาคเกษตร ภาคอุตสาหกรรม และงานรายได้ น้อย อย่างไรก็ดี รัฐบาล
ได้ครึง่ หนึ่งของ จํานวนทีข่ อด้านนายเค เค เอสวาราน ประธานหอการค้า กํ า ลัง ถู ก กดดัน ให้ ล ดจํ า นวนแรงงานต่ า งชาติท่ีถู ก โทษว่ า ทํ า ให้ช าว
และอุตสาหกรรมอินเดียในมาเลเซียซึ่งเป็ นกลุ่มวิง่ เต้นให้แรง งานอินเดีย มาเลเซีย ถูกกดค่าแรง.

4 << คนทำงำน กุมภำพันธ์ 2554


รายงานพิเศษ >>

แรงงานไทยหนีตาย … ลิเบีย!

“ประมาณการกันว่ามีแรงงานไทยในลิเบียถึง 23,000 คน หลังเกิด


เหตุ ก ารณ์ รุ น แรงทางการเมื อ งที่ ลิ เ บี ย แรงงานไทยบางส่ ว นหนี
ออกมาบ้ างแล้ว และการช่ว ยเหลือของภาครัฐก็ดาเนินการอย่าง
เร่ ง ด่ ว น เพื่ อ เอาใจ นั ก รบแรงงาน ก าลั ง หลั ก ที่ น ารายได้ เ ข้ า
ประเทศ”

คนทำงำน กุมภำพันธ์ 2554 >> 5


สําหรับประเทศทางแถบแอฟริกาตอนเหนือนัน้ ประเทศลิเบีย ั หาที่ พ บตั ง้ แต่ ปี พ.ศ. 2550
สํ า หรับ ป ญ เป็ นต้ น มา
เป็ น ประเทศที่ใ นระยะหลัง มีคนไทยเดิน ทางไปทํา งานเป็ น นอกเหนือจากการถูกหลอกลวงว่าจะมีงานให้ทําทีล่ เิ บีย แล้ว
จํานวนมาก โดยในปี พ.ศ. 2553 ทีผ่ ่านมา มีคนไทยเดินทาง ไม่ได้เดินทางไปทํางานแล้ว ยังพบกับปญั หาเรือ่ งการ
ไปทํางานประมาณ 4,905 คน โดยคาดการณ์ว่าแรงงานไทยที่
โดยในช่วงเดือนกันยายน พ.ศ. 2553 แรงงานไทยไปทํางาน
ทํางานอยูใ่ นประเทศลิเบียน่ าจะมีจํานวนประมาณ 23,000 คน
ก่อสร้างในประเทศลิเบียกลุ่มที่บริษัทจัดหางานเงินและทอง
ซึ่ ง นั บ เป็ นจํ า นวน ที่ ค่ อ นข้ า งสู ง ทั ้ง นี้ ภายหลั ง จากที่
พัฒนา จํากัด จํานวน 216 เดินทางกลับมายังประเทศไทย
สหประชาชาติได้ยกเลิกมติควํ่าบาตรการค้านํ้ามันเมื่อปี พ.ศ.
และได้รอ้ งเรียนต่อกระทรวงแรงงาน เนื่องจากแรงงานทีเ่ ดือน
2546 ทําให้ลเิ บียมีรายได้จากการค้านํ้ ามันเพิม่ ขึ้น กิจกรรม
ทางไปทํางานยังลิเบียมีปญั หากับนายจ้าง อาทิ ไม่จ่ายค่าจ้าง
ทางเศรษฐกิจเริม่ ขยายตัว และมีการเข้ามาลงทุนของต่างชาติ
จ่ายค่าจ้างล่าช้า สภาพการทํางานเลวร้าย รวมถึงพบว่าตนเอง
เป็ นจํานวนมาก อาทิ การลงทุนในธุรกิจทีเ่ กีย่ วเนื่องกับการขุด
เสียค่าหัวคิวแก่บริษทั จัดหางานสูงเกินไป คนงานเหล่านี้ได้ย่ืน
เจาะนํ้ ามัน โครงการก่อสร้างต่างๆ เนื่องจากในช่วงทีผ่ ่านมา
ข้อ เรีย กร้อ งขอช่ ว ยเหลือ จากทางรัฐ บาลและหน่ ว ยงานที่
รัฐบาลลิเบียมีนโยบายทีจ่ ะพัฒนาโครงสร้างพืน้ ฐานขนาดใหญ่
เกีย่ วข้องเยียวยาผลกระทบทีเ่ กิดขึน้ ทัง้ ในปจั จุบนั และอนาคต
ทัวประเทศ
่ อาทิ การก่อสร้างถนน สนามบิน รถไฟ เป็ นต้น
ดังนี้
อี ก ทั ้ง รั ฐ บ า ล ลิ เ บี ย ยั ง มี น โ ย บ า ย กา ร ก่ อ ส ร้ า ง ร ะ บ บ
1.เรีย กร้อ งค่ า หัว คิว คืน ตามสัด ส่ ว น กรณี ท่ีบ ริษัท
สาธารณูปโภค เช่น ระบบการขนส่งทางนํ้า โครงการสร้างอ่าง
จัดหางานเรียกเงินค่าหัวเกินกว่าทีก่ ฎหมายกําหนด
เก็บนํ้ า เป็ นต้น ในขณะทีก่ ารพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ประเภท
คือเกิน 4 เท่าของอัตราเงินเดือนสัญญาจ้าง 1 ปี
ต่างๆ มีการขยายตัวอย่างต่อเนื่อง โดยรัฐบาลมีโ ครงการทีจ่ ะ
ลงทุ น ก่ อ สร้ า งศู น ย์ ร าชการ บ้ า นพัก อาศัย โรงพยาบาล 2.เรียกร้องเงินเดือนค้างจ่ าย เงิน ล่วงเวลา เงินโอที
โรงแรม มหาวิท ยาลัย และอีก หลายๆ โครงการ ที่กํา ลัง จะ วันหยุด เงินหักต่อเดือน เงินโอทีบงั คับและเงินโบนัส
เกิดขึ้นในระยะข้างหน้ า ทําให้ความต้องการแรงงานในภาค ครบสัญญา 15 วันประมาณ 400 ดีนาร์
ต่างๆ จึงมีคอ่ นข้างสูง โดยแรงงานไทยส่วนใหญ่เข้าไปทํางาน
3.เรียกร้องให้รฐั บาลจัดหาแหล่งเงินทุนดอกเบี้ยตํ่ามา
ในภาคก่อสร้า ง โดยเป็ น แรงงานฝี ม ือเฉพาะด้า น เช่ น ช่า ง
แก้ไขปญั หาหนี้สนิ นอกระบบทีเ่ กิดจากการกูย้ มื เพื่อ
เครื่องยนต์ ช่างเครื่องกล ช่างไฟฟ้า และช่างปูน เป็ นต้น โดย
เป็ นค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปทํางานทีล่ เิ บีย
ส่วนใหญ่จะทํางานในโครงการก่อสร้างทีเ่ ป็ นการรับเหมาของ
บริษัท ในยุ โ รป แคนาดา และเกาหลีใ ต้ท่ีเ ข้า ไปรับ ประมู ล
โครงการได้ในประเทศลิเบีย ซึ่งโครงการขนาดใหญ่มคี วาม 4.เรีย กร้อ งให้ก ระทรวงแรงงาน หาตลาดแรงงาน
จําเป็ นต้องใช้คนงานทีม่ ฝี ี มอื จํานวนมาก บริษทั รับเหมามักจะ ต่ า งประเทศให้แ รงงานที่ไ ด้ร ับ ผลกระทบในครัง้ นี้
จ้างคนงานไทยให้ไปทํางานเนื่องจากเป็ นกลุ่มคนงานทีม่ กั จะ เดิน ทางไปทํ า งานเพื่อ ให้ม ีเ งิน ใช้ห นี้ ท่ีเ กิด ขึ้น 5.
ไม่ ม ีป ญั หาความขัด แย้งกับ นายจ้า งเหมือ นกับ คนงานจาก
เรี ย กร้ อ งให้ ก รมการจั ด หางาน ปรั บ ลดค่ า หั ว
ประเทศอื่น ๆ โดยรายได้ส่งกลับ ของคนงานไทยในลิเ บีย ที่ ค่าบริการ ในการเดิน ทางไปทํางานต่างประเทศ 6.
ส่งกลับมาประเทศไทยในปี 2553 มีมูลค่าสูงถึง 3,450 ล้า น จั ด หาแหล่ ง เงิ น ทุ น เพื่ อ คนหางานไปทํ า งาน
บาท ต่างประเทศโดยรัฐบาลอุดหนุนเงินกูเ้ พือ่ คนหางาน
ปัญหาแรงงานไทยในลิ เบีย ล่วงมาถึงต้นปี พ.ศ. 2554 ปญั หาของคนงานทีเ่ คยไปทํางานที่
ลิเบียเหล่านี้ยงั ไม่ได้รบั การแก้ปญั หา คนงานไทยในลิเบีย ก็

6 << คนทำงำน กุมภำพันธ์ 2554


ต้องมาพบกับชะตากรรมทีเ่ ลวร้ายครัง้ ใหม่ นัน่ ก็คอื เหตุการณ์ ไม้ ช่างปูน ช่างท่อ และคนงานทัวไป ่ จํานวน 2,000
ความไม่สงบทางการเมืองในลิเบีย ตัง้ แต่เดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. อัต รา บริ ษั ท อิ ต าเลี ย นไทย จํ า กั ด เปิ ด รับ ช่ า ง
2554 ซึง่ เหตุการณ์ความไม่สงบทีเ่ กิดขึน้ ครัง้ นี้ได้ส่งผลกระทบ ตํ า แหน่ ง ต่ า งๆ รวมกว่ า 1,000 อัต รา และบริษัท
ต่ อ แรงงานไทยในหลายด้า น โดยเฉพาะในด้า นของความ ดับเบิ้ล วิง สปิ รติ เซอร์วสิ จํากัด รับสมัครคนงานใน
ปลอดภัย ที่ใ นบางประเทศมีการส่ งกํา ลังเจ้า หน้ า ที่ออกไป ตํ า แหน่ ง ต่ า งๆ ประมาณ 4,000 อัต รา ซึ่ ง รวม
ปราบปรามประชาชนที่ออกมาเคลื่อนไหวทางการเมือง หรือ ตํา แหน่ ง ที่เ ปิ ด รับ ในขณะนี้ ป ระมาณ 7,068 อัต รา
เกิดเหตุการณ์ ปล้นสะดมภ์แคมป์คนงานของชาวต่างชาติใน นอกจากนี้ ยัง มีตํ า แหน่ ง งานในต่ า งประเทศ ซึ่ ง
ประเทศเหล่านัน้ ซึง่ อาจจะทําให้เกิดความไม่ปลอดภัยในชีวติ กรมการจัดหางาน กระทรวงแรงงาน ได้ประสานไป
ความเป็ นอยู่ โดยกรณีลเิ บียได้มกี ารเคลื่อนย้ายแรงงานไทย ยัง 4 ประเทศ ได้ แ ก่ ไต้ ห วัน ซึ่ง มีค วามต้ อ งการ
กลับมายังประเทศไทยบ้างแล้ว แรงงานไทยในภาคก่อสร้างประมาณ 300-500 อัตรา
และภาคการผลิต อีก 3,000 อัตรา ส่ว นในประเทศ
ทัง้ นี้ ม าตรการเบื้ อ งต้ น ในการช่ ว ยเหลื อ แรงงานที่ ไ ด้ ร ับ
กาตาร์งานกลุ่มอุตสาหกรรม รวม 110 อัตรา ประเทศ
ผลกระทบ (จากเหตุการณ์ความไม่สงบในลิเบีย และถูกส่งตัว
สหรัฐ อาหรับ เอมิเ รตส์ งานสาขาช่ า งจํ า นวน 478
กลับมา) ของรัฐบาลไทย ประกอบไปด้วย
อัต รา และประเทศคู เ วต จํ า นวน 331 อัต รา รวม
เงิ น ช่ ว ยเหลื อ เบื้ อ งต้ น 16,500 บาท หากเป็ น ตําแหน่งงานในต่างประเทศทัง้ สิน้ 4,419 อัตรา
สมาชิ ก กองทุ น ช่ ว ยเหลื อ คนหางานไป ทํ า งาน
เจรจาธนาคารปล่ อ ยกู้ 3,000 ล้ า น ส าหรับ
ต่ า งประเทศจะได้ร ับ เงิน ช่ ว ย เหลือ คนละ 15,000
คนงานที่ ต้องการไปทางานต่างประเทศต่อ อธิบดี
บาท รวมทัง้ ค่ารถและค่าอาหารอีกรายละ 1,500 บาท
กรมการจัดหางาน เปิ ดเผยเมื่อวันที่ 8 มีนาคม 2554
ซึง่ แรงงานสามารถนําหลักฐานมาขอรับเงินได้ท่สี าํ นัก
ว่า ด้หารือกับกระทรวงการคลังและธนาคารพาณิชย์
จั ด หางานจั ง หวั ด ทุ ก จั ง หวั ด หากหลั ก ฐานครบ
ในการปล่ อยกู้ด อกเบี้ย ตํ่ า ช่ว ยเหลือแรงงานไทยที่
สามารถรับเงินได้ภายใน 4 วัน
ต้องการเดินทางไปทํา งานในต่างประเทศ เบื้องต้น
การจัด หางานให้ เ บื้อ งตัน กรมการจัด หางานได้ ธนาคารกรุ ง ไทยธนาคารออมสิน และธนาคารเพื่อ
เตรียมตําแหน่ งงานว่างรองรับเอาไว้ โดยมีบริษัท 3 การเกษตรและสหกรณ์ การเกษตร (ธ.ก.ส.)จะปล่อย
แห่งทีแ่ จ้งความประสงค์รบั คนงาน โดยมีการตัง้ บูธรับ เงินกูแ้ ห่งละ 1,000 ล้านบาทปล่อยกูแ้ รงงานรายละ 5
สมัครงานทีส่ นามบิน ได้แก่ บริษัท ซิโน-ไทย เอ็นจิ หมืน่ -1.5 แสนบาท
เนียริง่ แอนด์ คอนสตรัคชัน่ จํากัด ในตําแหน่ ง ช่าง

คนทำงำน กุมภำพันธ์ 2554 >> 7


19 ก.พ. 54 - หลายฝา่ ยเริม่ จับตาการประท้วงใน 'ลิเบีย' รวมถึงเตรียมความพร้อมการอพยพแรงงานไทย
21 ก.พ. 54 - กระทรงแรงงานเตรียมแผนอพยพแรงงานในลิเบีย ยังไม่ยนื ยันมีคนไทยเสียชีวติ
22 ก.พ. 54 - ญาติแรงงานบุรรี มั ย์ในลิเบีย กว่า 20 ราย ร้องขอความช่วยเหลือหวันไม่
่ ปลอดภัย
23 ก.พ. 54 - อธิบดีกรมการจัดหางานได้เชิญบริษทั จัดส่งแรงงานไปต่างประเทศ มาร่วมประชุมเพื่อเตรียมความพร้อมในการช่วยเหลือ
แรงงานทีไ่ ด้รบั ผลกระทบจาก เหตุการณ์ความไม่สงบเรียบร้อยในประเทศลิเบียและประเทศตะวันออกกลาง 30 บริษทั
23 ก.พ. 54 - คณะกรรมาธิการแรงงานสภาผูแ้ ทนราษฎร เรียกร้องให้รฐั บาล เร่งช่วยเหลือแรงงานไทยในลิเบียกว่า 23,600 คน ให้กลับ
ประเทศโดยเร็วทีส่ ดุ
24 ก.พ. 54 -โฆษกกระทรวงแรงงาน เปิ ดเผยว่า ล่าสุดมีแรงงานไทยสามารถอพยพหนีภยั จากเหตุการณ์ความรุนแรงทางการเมืองใน
ประเทศลิเบียได้แล้ว 2,000 คน โดยบริษทั จัดส่งแรงงานเป็ นผูช้ ่วยเหลือผ่าน 3 เส้นทาง ได้แก่ ผ่านชายแดนประเทศตูนีเซียจํานวน 2 ชุด
ชุดละ 600 คน ผ่านชายแดนอียปิ ต์ กว่า 500 คน และเส้นทางเรือ จากท่าเรือเบงกาซี่ ไปเมืองอิสตันบลู ประเทศตุรกี กว่า 500 คน
25 ก.พ. 54 - เมื่อเวลา 00.05 น. ทีผ่ ่านมา นายสุธรรม นทีทอง โฆษกกระทรวงแรงงาน นําทีมช่วยเหลือแรงงานไทยในประเทศลิเบีย
ออกเดินทางจากท่าอากาศยานสุวรรณภูมแิ ล้ว ด้วยเที่ยวบิน TG 944 ไปยังกรุงโรม ประเทศอิตาลี และต่อไปยัง ตูนิเซีย และเดินทาง
ต่อไปยังชายแดนของประเทศลิเบีย เพื่อนําแรงงานไทยในลิเบีย จํานวน 4,000 คน เดินทางกลับประเทศไทย
25 ก.พ. 54 - เวลา 20.30 น. นางจันทิมา แก้วทอง ชาวบ้าน อ.หนองบัว จ.นครสวรรค์ เปิ ดเผยว่า ได้รบั การติดต่อทางโทรศัพท์จากนาย
สมจิต ไชยมา ผูเ้ ป็ นบิดา และเป็ นหนึ่งในแรงงานไทยทีไ่ ปทํางานในประเทศลิเบีย โดยบิดาระบุว่ามีชายฉกรรจ์ชุดดําไม่ทราบจํานวน ยิง
ถล่มเข้ามาในแคมป์คนงานไทยซึ่งตัง้ อยู่ท่เี มืองมิซูราตาเป็ นระยะๆ อย่างไรก็ตามยังไม่มแี รงงานไทยบาดเจ็บหรือเสียชีวติ จากการยิง
ดังกล่าว
26 ก.พ. 54 - แรงงานไทยในลิเบียชุดแรก จํานวน 33 คน เดินทางมาถึงสนามบินสุวรรณภูมิ ในเวลา 06.45 น. วันที่ 26 กุมภาพันธ์ เป็ นที่
เรียบร้อยแล้ว มีบรรดาญาติแรงงาน และเจ้าหน้าทีข่ องกระทรวงแรงงานให้การต้อนรับกลับบ้านเกิด บรรยากาศเป็ นไปด้วยความชื่นมื่น
ทัง้ 33 คนทีเ่ ดิน ทางกลับมาชุดแรก เป็ นการดําเนินการพากลับโดยนายจ้าง กระทรวงแรงงานได้ตงั ้ โต๊ะเพื่อให้แรงงานได้ลงทะเบียนข้อมูล
ประวัติ เพื่อจะให้การช่วยเหลือต่อไป
27 ก.พ. 54 - ทีส่ นามบินสุวรรณภูมิ แรงงานไทยในประเทศลิเบียจํานวน 449 คน ได้เดินทางกลับเข้าประเทศเพิม่ เติม หลังเกิดจลาจล
เป็ นเหตุให้ไม่ได้รบั ความปลอดภัยในชีวติ ด้วยเครื่องบินเช่าเหมาลํา ท่ามกลางความดีใจของญาติๆทีม่ ารอรับเป็ นจํานวนมาก
27 ก.พ. 54 - นายอภิสทิ ธิ ์ เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตรี กล่าวในรายการเชื่อมันประเทศไทยกั
่ บนายกฯ อภิสทิ ธิ ์ ถึงความคืบหน้าการ
ช่วยเหลือแรงงานไทยในประเทศลิเบียว่า ขณะนี้กระทรวงการต่างประเทศเร่ งประสานงานกับนายจ้างทีป่ ระเทศลิเบีย ให้อพยพแรงงาน
ไทยไปอยู่ในทีป่ ลอดภัยก่อน เนื่องจากยังเกิดการสูร้ บในจุดทีจ่ ะอพยพผ่าน โดยล่าสุดแรงงานไทยไปอาศัยอยู่ในประเทศอียปิ ต์ และตูนิเซีย
ทัง้ นี้แนวทางทีด่ ที ส่ี ดุ คือการอพยพทางเครื่องบินและทางเรือ
27 ก.พ. 54 - กระทรวงแรงงานเผยอพยพแรงงานไทยจากพืน้ ทีอ่ นั ตรายในลิเบียได้แล้ว 4,000 คน

8 << คนทำงำน กุมภำพันธ์ 2554


28 ก.พ. 54 - แรงงานไทยจากลิเบียชุดที่ 3 กว่า 100 คน เดินทางถึงท่าอากาศยานสุวรรณภูมโิ ดยสวัสดิภาพ เผยถูกปล้นทัง้ ในแคมป์ทพ่ี กั
และระหว่างเดินทางทรัพย์สนิ มีหมดตัว ยืนยันไม่กลับไปอีกเพราะไม่คุม้ กับความเสีย่ ง ร้องรัฐบาลเร่งช่วยแรงงานตกค้าง และดูแลค่าจ้าง
ค้างจ่าย 2 เดือนพร้อมตั ๋วเดินทาง จนถึงวันที่ 28 ก.พ. มีคนงานเดินทางถึงประเทศไทยแล้ว 663 คน
1 มี.ค. 54 - ครม.อนุมตั ิ ในหลักการตามทีก่ ระทรวงแรงงานและกระทรวงต่างประเทศขอในเรื่องเงินช่วยเหลือแรงงานไทยทีป่ ระสบภัยใน
ลิเบียจนต้องเดินทางกลับประเทศ เบือ้ งต้นรัฐบาลจะให้ความช่วยเหลือคนละ 15,000 บาท โดยกระทรวงแรงงานของบทัง้ หมด 343 ล้าน
บาทส่วนกระทรวงการต่างประเทศขอ 403 ล้านบาท
1 มี.ค. 54 - นายกษิต ภิรมย์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ให้สมั ภาษณ์ทางโทรศัพท์จากนครเจนีวา ประเทศสวิตเซอร์แลนด์
ภายหลังจากเดินทางประชุมระดับรัฐมนตรี ว่าด้วยเรื่องสิทธิมนุษยชน และการลดอาวุธ ประจําปี 2011 ซึง่ จัดขึน้ ทีน่ ครเจนีวา ว่า ระหว่าง
การประชุม ตนได้มโี อกาสพบหารือกับเครือข่ายสหประชาชาติ 2 องค์กร คือ องค์การแรงงานระหว่างประเทศ (ไอแอลโอ) และองค์การ
ระหว่างประเทศเพื่อการโยกย้ายถิ่นฐาน (ไอโอเอ็ม) ทัง้ นี้ ไอแอลโอ ได้ออกถ้อยแถลงเรียกร้องให้รฐั บาลลิเบียปกป้องคุ้มครองความ
ปลอดภัย และรักษาสิทธิของแรงงานชาวลิเบียและแรงงานต่างชาติ
1 มี.ค. 54 - นายสุเมธ มโหสถ รองอธิบดีกรมการจัดหางาน (กกจ.) กล่าวว่า กระทรวงแรงงานได้เตรียมตําแหน่ งงานไว้รองรับแรงงาน
ไทยทีเ่ ดินทางกลับจาก ประเทศลิเบียแล้ว หากมีความประสงค์ทจ่ี ะทํางานในประเทศไทย รวมถึงตําแหน่ งงานเดียวกันหรือใกล้เคียงใน
ประเทศอื่นๆ
2 มี.ค. 54 - มีการเปิ ดเผยงบประมาณทีก่ ระทรวงแรงานขอต่อ ครม. โดยรายละเอียดค่าใช้จ่ายที่กระทรวงแรงงานเสนอ ส่วนใหญ่เป็ น
ค่าใช้จ่ายสงเคราะห์แรงงานไทยทีก่ ลับจากลิเบีย คนละ 15,000 คน จํานวน 20,000 คน เป็ นเงิน 300 ล้านบาท ค่าใช้จ่ายอาหารสําหรับ
แรงงานทีก่ ลับจากลิเบีย จํานวน 1 มื้อ และค่าพาหนะเพื่อกลับภูมลิ ําเนา ประเภทเหมาจ่าย คนละ 1,500 บาท จํานวน 20,000 คน เป็ น
เงิน 30 ล้านบาท นอกจากนี้ยงั มี ค่าจ้างเหมารถบัสขนาด 40 ทีน่ งั ่ จํานวน 5 คันๆละ 20,000 บาท ระยะเวลา 30 วัน เป็ นเงิน 3 ล้านบาท
ค่าออกข่าวเผยแพร่ความคืบหน้าในการช่วยเหลือแรงงานไทยในลิเบียทางวิทยุ โทรทัศน์ จํานวน 10 ครัง้ ๆละ 5 แสนบาท รวมเป็ นเงิน 5
ล้าน ค่าโทรศัพท์ระหว่างประเทศเพื่อติดต่อประสานงานแรงงานไทยในลิเบีย จํานวน 1,296,000 บาท
2 มี.ค. 54 - นายเฉลิมชัย ศรีอ่อน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงาน เปิ ดเผยถึงกรณีท่มี ขี ่าวระบุว่า กระทรวงแรงงาน ใช้งบช่วยเหลือ
แรงงานไทยในลิเบีย 344 ล้านบาท โดยนําไปเป็ นค่าใช้จ่ายในการออกสือ่ ประชาสัมพันธ์ผ่านสื่อโทรทัศน์และวิทยุ วงเงิน 5 ล้าน บาท นัน้
ว่า เป็ นงบการประชาสัมพันธ์เบอร์โทรศัพท์ของกระทรวงแรงงาน ผ่านสือ่ มวลชนทุกแขนง เพื่อให้ญาติได้รบั ทราบเบอร์โทรศัพท์ช่วยเหลือ
จะได้แจ้งข้อมูลและความเดือดร้อนของแรงงานไทยในลิเบียกลับมาทีก่ ระทรวงแรง งาน รวมทัง้ ใช้เพื่อแจ้งสิทธิประโยชน์ต่างๆ ของแรงงาน
ไทยทีเ่ ดินทางกลับมาแล้วด้วย ซึง่ งบนี้ เป็ นงบฉุกเฉิน ทีต่ อ้ งเร่งดําเนินการภายใน 5 วัน
2 มี.ค. 54 - สมาคมสือ่ ฯ โต้ ครม.เจียดงบ 5 ล้าน จ้างพีอาร์แผนอพยพแรงงานไทยในลิเบีย
3 มี.ค. 54 - นายจีรศักดิ ์ สุคนธชาติ อธิบดีกรมการจัดหางาน กล่าวถึงกรณีทม่ี กี ารวิพากษ์วจิ ารณ์การขออนุ มตั งิ บประมาณ 5 ล้าน บาท
ใช้ประชาสัมพันธ์การช่วยเหลือแรงงานในลิเบียผ่านสื่อเป็ นเรื่องไม่เหมาะสม ว่า เรื่องนี้นายเฉลิมชัย ศรีอ่อน รัฐมนตรีว่าการกระทรวง
แรงงาน ได้สงให้ ั ่ ปรับลดงบประมาณในส่วนดังกล่าวลง รวมถึงงบประมาณอื่น ๆ เช่น งบการจัดทําบันทึกข้อมูลแรงงานเดินทางกลับจาก
ลิเบีย ค่าเบีย้ เลีย้ งทีพ่ กั ของเจ้าหน้าทีท่ ร่ี ะดมมาช่วยแรงงานทีส่ นามบิน รวมการปรับลดงบลง 11 ล้านบาท จากทีก่ ระทรวงฯ ขออนุ มตั ไิ ว้
ในครัง้ แรก 343 ล้านบาท เหลืองบฯ ทีข่ ออนุมตั เิ พียง 332 ล้านบาท ซึง่ จะนํารายละเอียดเสนอให้สาํ นักงบประมาณพิจารณาอีกครัง้
4 มี.ค. 54 - ผูแ้ ทนองค์การระหว่างประเทศเพื่อการโยกย้ายถิน่ ฐาน (IOM) ได้เดินทางเข้าพบทีมงานของกรมองค์การระหว่างประเทศ ,
กรมการกงสุล , กรม เอเชียใต้ ตะวันออกกลาง และแอฟริกา ของกระทรวงการต่างประเทศ เพื่อหารือเรื่องการสนับสนุ นรัฐบาลไทยในการ
อพยพแรงงานไทยออกจากลิเบีย โดย IOM จะให้สาํ นักงานในดูไบคอยช่วยประสานเรื่องตั ๋วเครื่องบินให้ไทย
4 มี.ค. 54 - กระทรวงแรงงานเพิม่ เงินช่วยเหลือค่ารถและค่าอาหารอีกรายละ 1,500 บาท รวมเป็ นเงินช่วยเหลือแรงงานไทยจากลิเบีย
16,500 บาท
4 มี.ค. 54 - นายจีรศักดิ ์ สุคนธชาติ อธิบดีกรมการจัดหางาน (กกจ.) กล่าวภายหลังการประชุมร่วมกับบริษทั จัดหางาน จํานวน 30 แห่ง ที่
ส่งแรงงานไทยไปทํางานในประเทศลิเบีย ว่า ล่าสุด มีแรงงานไทยอพยพไปอยู่ในทีป่ ลอดภัยแล้ว จํานวน 8,386 คน ในจํานวนนี้กลับถึง
ประเทศไทยแล้ว จํานวน 3,079 คน

คนทำงำน กุมภำพันธ์ 2554 >> 9


รายงานพิเศษ >>

ทีดีอาร์ไอเผยประกันแรงงานนอก ระบบการจัดการยังน่าห่วง
สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย (ทีดีอาร์ไอ)

"ในช่วงหนึ่งเดือนที่ผ่านมามีการพูดกันมากถึงนโยบายประชาวิวัฒน์ หรือบาง
คนเรียกว่า “ประชานิยม”ที่รัฐบาลประกาศออกมา พร้อมมาตรการ 9 ข้อ ที่เน้น
การเพิ่มรายได้ให้กับประชาชนกลุ่มต่าง ๆ รวมไปถึงการลดภาระค่าครองชีพ
ของประชาชน"

10 << คนทำงำน กุมภำพันธ์ 2554


หลายมาตรการฝ่อตัง้ แต่เริม่ ต้น เช่นกรณีไข่ชงกิ
ั ่ โลทีม่ กี ระแสตอบ และการจัดระบบ บริหารจัดการทัง้ จํานวนแรงงานทีจ่ ะเข้าสู่ระบบ
รับน้อย แต่มาตรการขยายสวัสดิการประกันสังคมไปสู่แรงงาน และระบบการส่ง เงินสมทบ เพราะคนกลุ่มนี้ มีจํานวนมากกว่ า
นอกระบบ หากทําได้จริงน่าจะเกิดคุณูปการแก่ประชาชนกลุ่มใหญ่ แรงงานที่อยู่ในระบบประกันสังคมเดิมถึงเกือบ 3 เท่า (ในระบบ
ทีเ่ ป็ นกําลังแรงงานของ ประเทศมากกว่า 23 ล้านคน และนับเป็ น ประกันสังคมมีแรงงานราว 9 ล้านคนเศษ)
จุดเริ่มต้นที่ดี อีกทัง้ ยังช่วยสร้างสมดุลของสวัสดิการแรงงาน
เพราะประเทศไทยมีแรงงานภาคทางการน้อยกว่าแรงงานภาคไม่ “แรงงานนอกระบบเป็ นแรงงานกลุ่มใหญ่ อยู่กระจัดกระจาย ในทาง
เป็ นทางการมาก(ราว 3 เท่า)และไม่สามารถลดขนาดเล็กลงได้ก็ ปฏิบ ัติต้อ งใช้กํา ลัง เจ้า หน้ า ที่จํา นวนมาก เพื่อ ให้ลงไปถึง ระดับ
ต้องทําให้แรงงานเหล่านี้เกิดความมันคง่ ในชีวติ มากขึน้ แต่การ หมู่บา้ น ให้เข้าถึงคนกลุ่มนี้ เพราะหากเขาไม่มาขึน้ ทะเบียนก็ยากที่
บริหารจัดการให้เกิดความยังยื ่ นระยะยาวยังน่ าห่วง หากไม่มกี าร จะรูไ้ ด้ ในทางปฏิบตั จิ งึ ต้องมีการเชื่อมโยงการทํางานหลายฝา่ ย ทัง้
เตรียมการทีด่ พี อ ทัง้ ตัวระบบรองรับและการเข้าถึงตัวแรงงาน ทํา กลไกของกระทรวงแรงงาน และหน่วยงานอื่น ๆ ทีเ่ กีย่ วข้องเพื่อลง
ความเข้าใจและมาขึน้ ทะเบียนเข้าสูร่ ะบบ ไปให้ถงึ คนเหล่านี้ และควรต้องเร่งประชาสัมพันธ์ เพราะทุกวันนี้
บางคนยังไม่เข้าใจ ”
ดร.ยงยุ ท ธ แฉล้ ม วงษ์ ผู้ อํ า นวยการวิ จ ั ย ด้ า นกา รพั ฒ นา
แรงงาน สถาบันวิจยั เพื่อการพัฒนาประเทศไทย กล่าวว่า เรื่อง ดร.ยงยุ ท ธ กล่ า วว่ า สิง่ ที่น่ าห่ ว ง คือ แม้ใ นที่สุด จะมีก ารแก้
การขยายสวัสดิก ารให้ก ับแรงงานนอกระบบ และการให้สนิ เชื่อ กฎหมายให้เปิ ดช่องดําเนินการได้ แต่ ในทางปฏิบตั ิสํา นักงาน
พิเศษแก่ แท็กซี่ มอเตอร์ไซด์รบั จ้าง และผูค้ า้ หาบเร่แผงลอย เรื่อง ประกันสังคมจะต้องปรับปรุงตัวองค์การ ในการจัดระบบรองรับเป็ น
เหล่ า นี้ ห ากรัฐ บาลทํ า ได้จ ริง จะเป็ น ผลงานที่ส ร้า งชื่อ และเรีย ก การเฉพาะเนื่ องจากเป็ นการดู แ ลแรงงานกลุ่ ม ใหญ่ ก ว่ า ที่
คะแนนนิยม ได้มาก เพราะเป็ นการเปิ ดโอกาสให้คนทีไ่ ม่เคยได้รบั ประกันสังคมดูแลอยู่เดิมเพียง 9 ล้านคนเศษเท่านัน้ ขณะที่
สิทธิประโยชน์ได้เข้ามาอยู่ใน ระบบและได้รบั การดูแลด้านสิทธิ นโยบายนี้ถ้าประสบผลสําเร็จจะทําให้มแี รงงานนอกระบบเข้ามาสู่
ประโยชน์ ท่ีจํา เป็ น และคาดว่ า จะมีจํา นวนผู้เ กี่ย วข้อ งได้ร ับ ประกัน สังคมสูงถึง 24 ล้านคน จึงต้องมีการเตรียมความพร้อมทัง้
ประโยชน์หลายล้านคนจากแรงงานนอกระบบ มากกว่า 24 ล้านคน จํา นวนบุ ค ลากรและระบบบริห ารจัด การต่ า ง ๆ ซึ่ง มีต้น ทุ น
หรือประมาณร้อยละ 62 ของกําลังแรงงานของประเทศ ครอบคลุม ดําเนินการค่อนข้างสูง อีกทัง้ การส่งเงินสมทบผ่านช่องทางต่าง ๆ
แรงงานนอกระบบซึ่งแยกได้เป็ น 2 กลุ่มใหญ่ ๆ กลุ่มแรกเป็ นผู้ ล้วนมีค่าใช้จ่าย สํานักงานประกันสังคมต้องแบกรับต้นทุนทัง้ เรื่อง
ประกอบอาชีพอิสระทัวไป ่ อาทิ แท็กซี่ สามล้อมอเตอร์ไซค์รบั จ้าง คนและการพัฒนาระบบรองรับ ต้องมีการประเมินว่าระบบไอซีทที ่ี
หาบเร่ แผงลอย ช่างเสริมสวย แรงงานภาคเกษตรรวมไปถึงอาชีพ มีอยู่เดิมรองรับได้หรือไม่ เช่น หากคนทีจ่ ะเข้าสู่ระบบมากเกินที่
ที่มีรายได้สูงอย่างเช่น ทนายความ แพทย์ ที่มกี ิจการเป็ นของ คาดไว้เช่น จาก 2.5 ล้านคนเป็ น 6-7 ล้านคน นอกจากนี้ควรแยก
ตนเอง และกลุ่มทีส่ อง เป็ นกลุ่มอาชีพรับจ้างต่างๆ อาทิ ผูร้ บั งาน การบริหารจัดการกองทุนของแรงงานกลุ่มใหม่น้ีเป็ นคนละส่วนกับ
ไปทําที่บ้าน รับจ้างทําของ รับจ้างตามฤดูกาล รับจ้างในกิจการ กองทุนประกันสังคมเดิมและมีเจ้าหน้าที่ดูแลเฉพาะ กล่าวคือ
ประมงรวมไปถึงรับจ้างทํางานบ้าน และคนขับรถส่วนตัว เหมือนมีการตัง้ หน่ ว ยงานใหม่ข้นึ มาอีกหน่ วยงานหนึ่ง เพื่อ ดูแ ล
กองทุนของคน กลุ่มนี้ เช่นเดียวกับเรื่องของแรงงานต่างด้าวที่มี
สําหรับสวัสดิการประกันสังคมสําหรับแรงงานนอกระบบนัน้ ทําใน หน่วยงานดูแลเป็ นการเฉพาะเช่นกัน
รูปแบบรัฐร่วมจ่ายสมทบกับผู้ประกันตน โดยในขัน้ ต้นนี้รฐั ทํา เป็ น
2 แพคเกจให้เลือกตามความสมัครใจ คือ แพ็คเกจแรก 100 บาท อย่างไรก็ตาม เรื่องสวัสดิการแรงงานนอกระบบนับเป็ นนโยบายทีด่ ี
ผูป้ ระกันตนจ่าย 70 บาท รัฐสมทบ 30 บาท จะได้สทิ ธิประโยชน์ แต่ต้องทําอย่างระมัดระวังเพราะต่อไปกองทุนนี้จะเป็ นภาระด้าน
เงิน ทดแทนเมื่อ ขาดรายได้ จํา นวนหนึ่ ง เมื่อ เข้า พัก รัก ษาใน งบประมาณ เนื่ องจากเป็ นลักษณะเงิน สมทบ ซึ่งเบื้อ งต้น
โรงพยาบาลอย่างน้อย 2 วัน เงินค่าชดเชยเมื่อทุพพลภาพหรือ สํานักงานประกันสังคมจะดูแลอยู่เพราะมีความเชีย่ วชาญ แต่กต็ อ้ ง
เสียชีวติ ส่วน แพ็คเกจที่สอง 150 บาท ผูป้ ระกันตนจ่าย 100 แยกคนกลุ่มนี้ไม่ให้ไปปนกับคนในระบบประกันสังคมเดิม สิง่ ที่
บาท รัฐสมทบ 50 บาท จะได้รบั สิทธิประโยชน์เหมือนแพ็คเกจแรก ต้องระวังคือ เมื่อมีฐานมาจากการอุดหนุ นของรัฐบาล และการ
และบวกเพิ่ม เงิน บํ า เหน็ จ ชราภาพซึ่ง ตรงบํ า เหน็ จ ชราภาพนี้ บริหารจัดการก็อาจเกิดปญั หาจากความเสีย่ งของตัวแรงงานทีอ่ าจ
แรงงานนอกระบบยัง สามารถเลือกสมทบเพิ่มเติม มากกว่า ที่ มีการเข้าออกสูง การส่งเงินสมทบขาดความต่อเนื่อง กระแสเงินที่
กําหนดไว้กไ็ ด้ เข้ามาไม่ต่อเนื่อง อาจมีแรงกดดัน ทําให้ยากในการบริหารจัดการ
ต้นทุนและค่าตอบแทนต่าง ๆ ก็อาจจะมีการเรียกร้องสิทธิทดแทน
แม้ในระยะแรกคาดว่าจะมีคนเริม่ เข้ามาสูร่ ะบบไม่มากราว 2.5 ล้าน ต่าง ๆ ให้เพิม่ มากขึน้
คน แต่ในทางปฏิบตั กิ ารเข้าถึงคนกลุ่มนี้ตอ้ งใช้กาํ ลังคนจํานวนมาก

คนทำงำน กุมภำพันธ์ 2554 >> 11


หากจะให้กองทุนนี้ดําเนินการต่ อไปได้และมันคง ่ จะต้องมีการ อย่างไรก็ตาม หากมองว่ามาตรการนี้จะช่วยลดความเหลื่อมลํ้าและ
ติดตามและประเมินผลต่อเนื่องและปรับเปลีย่ นได้เมื่อพบว่าจะเป็ น สร้างสมดุลแรงงานได้นัน้ ต้องมีการบูร ณาการกัน หลายอย่า ง
ปญั หาในระยะยาว เพราะระบบนี้จะอยู่ได้ต้องมีคนเข้าระบบ เพราะโดยหลักการสมดุลแรงงานจะเกิดได้ ต้องลดขนาดของ
จํานวนมาก ถ้ามีคนเข้าระบบน้อยก็จะไม่คุม้ กับค่าบริหารจัดการ แรงงานภาคไม่เป็ นทางการให้เล็กลง ทําให้มาอยู่ในระบบมากขึน้
ซึง่ ต้องมีการจ้างบุคลากรเพิม่ เติมและทําระบบรองรับ หรือทําให้เขามีรายได้มคี วามมันคง
่ ได้รบั การดูแลมากขึน้ ซึง่ ใน
แง่น้ปี ระกันรายได้แรงงานนอกระบบก็น่าจะช่วยได้สว่ นหนึ่ง
ดร.ยงยุ ท ธ กล่ า วว่ า เมื่อ รัฐ บาลจะใช้น โยบายอย่ า งนี้ ไ ด้ ก็
หมายความว่ารัฐบาลต้องหาเงินเก่งด้วย แม้จะบอกว่าเก็บภาษีได้ ปจั จุบนั แรงงานภาคเกษตรคือแรงงานนอกระบบทีจ่ นทีส่ ุดมีรายได้
เกินกว่าเป้าเยอะ แต่นโยบายยังขาดดุล 3-4 แสนล้านบาท ก็เป็ น เฉลีย่ เพียง เดือนละไม่ถงึ 4,000 บาท และคนเหล่านี้กจ็ ะเข้ามาเป็ น
แนวโน้มทีไ่ ม่ดี เพื่อไม่ให้เกิดภาระงบประมาณในอนาคตรัฐบาล แรงงานแฝงในกรุงเทพฯ มีจํานวนราว 2 ล้านกว่าคนซึง่ มากพอ
ต้องมีวธิ หี าเงินด้วย ต้องทําให้จดี พี โี ตอย่างน้อย 4-5% จึงจะมีเงิน ๆ กับจํานวนแรงงานต่างด้าวทีเ่ ข้ามาทํางานในประเทศไทย การ
รายได้เข้าคลังเพียงพอมาทําให้รฐั สวัสดิการเหล่านี้ดาํ เนินต่อไป ได้ ยกระดับ คุ ณภาพชีวิต ของคนกลุ่ ม นี้ เ ป็ น นโยบายใหญ่ ท่ีต้อ งทํ า
โดยไม่ตดิ ขัด ต่อไปเพื่อลด ความเลื่อมลํ้าในสังคม.

12 << คนทำงำน กุมภำพันธ์ 2554


บทความ >>

เรื่องของอ้อม : เธอผิดหรือ? ที่คิดอยากเป็นแม่คน


บุญยืน สุขใหม่
ผู้ประสานงานกลุ่มพัฒนาแรงงานสัมพันธ์ตะวันออก

เรื่องนี้เป็นเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นจริง ในนิคมอุตสาหกรรมอีสเทิร์นซีบอร์ด (ระยอง) เป็นโรงงานผลิตชิ้นส่วน


ยานยนต์ นี่เป็นเพียงแค่หนึ่งตัวอย่างที่กล้าออกมาเปิดเผยความจริงบอกเล่าเรื่องราว ให้กับสังคมได้รับรู้
ว่าการกดขี่แรงงานให้เป็นเยี่ยงทาสนั้นมีอยู่จริงในอุตสาหกรรมไทย เรื่องราวที่จะเล่าต่อไปนี้เราไม่ได้ใส่
ชื่อและนามสกุลจริง ของใคร ถ้าการเขียนเรื่องจริงในครั้งนี้แล้วทาให้ใครต้องรู้สึกเดือดร้อนและลาบากใจ
ต้องขออภัยมา ณ ที่นี้ด้วย เหตุการณ์เช่นนี้มันเกิดขึ้นได้ในทุกซอกทุกมุมของโรงงาน ไม่ว่าจะเป็นโรงงาน
ขนาดเล็กหรือขนาดใหญ่ ไม่ว่าจะเป็นพนักงานระดับล่างสุดหรือพนักงานระดับบริหาร และวลีที่ยังใช้ได้
เสมอตั้งแต่อดีตจนปัจจุบัน คือ “ ที่ใดมีการกดขี่ที่นั่นย่อมมีการลุกขึ้นสู้” เรื่อง ที่เกิดขึ้นจริงในครั้งนี้มัน
ไม่ใช่ครั้งแรกและคงไม่ใช่ครั้งสุดท้ายที่จะ เกิดขึ้นกับพี่น้องแรงงานไทย แต่อยากจะฝากถึงผู้ที่เกี่ยวข้องทุก
ท่าน “ท่านต้องมองคนให้เป็นคนอย่ามองคนเป็นเพียงแค่ปัจจัยการผลิตอย่างหนึ่ง ” นี่คือเรื่องราวของ
เธอ…

คนทำงำน กุมภำพันธ์ 2554 >> 13


ในเช้าวันที่ 27 มกราคม 2554 เวลา 8.30-10.00 น. ผูจ้ ดั การฝา่ ยบุคคล อยากให้พ่เี สียความรู้สกึ ถ้าประเมินผ่านไปแล้วรู้ว่าลูกน้ องพี่ท้อง โดย
ฝ่า ยบุ ค คล ซึ่ง เป็ น ผู้บ ัง คับ บัญ ชาได้ เ รีย กพนั ก งานสาวเข้ า พบและ ไม่ได้แจ้งพี่ พี่ให้โอกาสกับอ้อมอีกสักครัง้ ได้ไหม อ้อมเชื่อว่าในหน้ าที่
สอบถามเรื่องข่าวที่เกิด ขึน้ เพราะทราบข่าวว่าผู้ใต้บงั คับบัญชาของตน การงานและตําแหน่ งพี่ พี่สามารถที่จะช่วยหาทางออกที่ดกี ว่านี้ให้อ้อม
กําลังจะเป็ นแม่คน ได้

ผู้จดั การ : มันเกิดอะไรขึน้ ? ผมได้ข่าวมาว่าคุณตัง้ ครรภ์หรือ? ทําไม ผู้จดั การ : ผม บอกแล้วไงเรื่องนี้ไม่มใี ครผิดหรอก นายท่าน (หมายถึง
คุณตัง้ ครรภ์แล้วไม่แจ้งผม ผมรับคุณเข้าทํางานคุณมีอะไรต้องแจ้งผม ผูบ้ ริหารชาวญี่ปุ่น) ก็บอกแล้วว่ามันเป็ นเรื่องธรรมชาติ คุณก็ไม่ผดิ ผมก็
ก่อ นไม่ใช่ไปป่าวประกาศให้คนอื่นรู้ ก่อ น ซึ่งตอนนี้ ม นั เป็ นปญั หาขึ้น ไม่ผิด แต่ว่าคุณท้อ งก่อ นผ่าน Promote มันจะเป็ นตัวอย่างไม่ดีให้กบั
มาแล้วคําพูดมันเป็ นนายคนจริงๆ คุณไปเที่ยวประจานตัวเองให้ใครต่อ พนักงานคนอื่น แล้วคุณก็ข้นึ ตรงกับผมแต่กลับทําเสียเอง ผมให้โอกาส
ใครรู้หมด ตอนนี้ข่าวรู้ไปทัง้ โรงงานแล้ว ผมไม่รู้ เรื่องอะไรเลยและรูเ้ ป็ น คุณแล้ว โทรศัพท์ก็ม ีทํ าไมคุณไม่โทรมาแจ้งผม ปกติคุณก็โทรหาผม
คนสุดท้าย ผมควรจะเอายังไงกับคุณดี ทําไมคุณไม่โทรมาแจ้งให้ผมรู้ ผมรูเ้ ป็ นคนสุดท้ายเลย คุณเห็นผมเป็ น
อะไร
อ้อม : เรื่อง ตัง้ ครรภ์ทท่ี างเราคุยกันเล่นๆ ทุกคนเห็นว่าอ้อมอ้วนขึน้ เลย
ล้อเล่น อ้อมเลยตอบว่าอ้อ มท้อง แต่ตอนนัน้ ไม่ได้ท้องจริง วันที่ได้ไป อ้อม : เพราะ ว่าเห็นพีเ่ ป็ นลูกพีไ่ ง เรื่องแบบนี้เป็ นเรื่องละเอียดอ่อน
ท่องเทีย่ วประจําปี กย็ งั ดื่มสังสรรค์กบั ทุกคนอยู่ แต่มารูท้ หี ลัง ในช่วงก่อน อ้อมต้อ งแจ้งพี่ด้วยตัวของอ้อมเอง และแจ้งจากปากตัวเองเท่านัน้ ขอ
งานเลี้ยงปี ใหม่ประมาณวันที่ 15 ธันวาคม 53 เพราะรูส้ กึ คลื่นไส้ วันกิน ทางเลือกทีด่ กี ว่านี้ได้ไหมคะ ในเมื่อมันท้องแล้ว ค่าใช้จ่ายที่จะตามมาอีก
เลีย้ งบริษทั ฯ วันที่ 18 ธันวาคม 2553 เลยได้ขอตัวกลับก่อน ปกติมงี าน ถ้าอ้อมออกแล้วพี่จะให้อ้อมอยู่ยงั ไง ค่าใช้จ่ายอื่นๆ ที่ตามมาอย่างเช่น
เลี้ยงอ้อ มต้อ งเคลีย ร์ส ถานที่ใ ห้เ รีย บร้อ ย แต่ วนั นัน้ ไม่ไ ด้อ ยู่ช่ว ยงาน ค่าฝากท้อง ค่าเลี้ยงดูอ้อมจะเอาที่ไหนมา อ้อมขอทางเลือกที่ไม่ใช่การ
เพราะว่ารูต้ วั เองดีวา่ สภาพร่างกายมันไม่ไหว ให้ออกจากงานได้ไหม

ผู้จดั การ : อัน นัน้ มันไม่ใช่ปญั หา ปญั หามันเกิดขึน้ แล้วเพราะปากของ ผู้จดั การ : ผม ให้โอกาสคุณแล้ว ให้ เขียนใบลาออกเป็ นวิธที ่ีดที ่ีสุด
คุณเอง ตอนนี้ทุกคนในโรงงานรู้กนั หมดแล้วว่าคุณท้องเพราะว่าคุณไป ตัง้ แต่ผมรู้ข่าว ผมก็กนิ ไม่ได้นอนไม่หลับ ผมมันคนทํางาน พอกลับมา
ป่าวประกาศให้คน อื่นรับทราบหมดว่าคุณท้อง แทนที่คุณจะมาแจ้งผม จากประชุมทีอ่ มตะนครก็มาเจอเรื่องเรื่องบ้าๆ ไร้สาระที่ทําให้ปวดหัวได้
ก่อนผมเป็ นหัวหน้าคุณ แต่คณ ุ ให้ผมรูจ้ ากปากของคนอื่น ตอนนี้ทุกคนรู้ อีก ถ้าผมให้โอกาสคุณเดีย๋ วมันก็มรี ายต่อไปอีก แล้วทีน้ีมนั จะทําให้เสีย
กันทัง้ โรงงานแล้วคุณจะเอายังไง ระบบกันหมด ไม่ใช้ว่าผมไม่อยากจะช่วย ผมก็อยากจะช่วย แต่บางครัง้
เรื่องบางเรื่องจะตะบีต้ ะบันช่วย แล้วช่วยแล้วมันจะได้อะไรขึน้ มา ผมเอง
อ้อม : …………………………….. ไม่ได้อยากให้คนอื่นมองว่าไร้มนุ ษยธรรมหรอกนะอ้อม แต่ว่าผมก็คดิ มา
ทัง้ คืนแล้วว่า มันเป็ นทางออกที่ดที ่ีสุดแล้ว แล้วอีกกี่เดือนคุณจะคลอด
ผู้จดั การ : คุณ เขียนใบลาออกแล้วกัน อย่าหาว่าผมใจดําไร้มนุ ษยธรรม ประมาณสิงหาคม กันยายนใช่ไหม?
เลยนะ ผมเองก็ลําบากใจและนอนคิดมาทัง้ คืน นอนไม่หลับเลย ปญั หา
ของคุณ คุณเป็ นคนสร้างมันขึน้ มาเองเพราะฉะนัน้ จัดการปญั หาของคุณ อ้อม : คะ ประมาณนัน้ พี่....อ้อมไม่อยากออก พีช่ ่วยอ้อมไม่ได้หรือ
เองซะ อย่าให้ผมหรือใครต้องลําบากใจเลย คะ อีกอย่างอีกแค่ไม่กว่ี นั ก็ผา่ น Promote

อ้อม : อ้อมรูว้ ่าพี่ลําบากใจ แต่อ้อมไม่กล้าบอกพีเ่ พราะว่าอ้อมเองก็ ผู้จดั การ : คุณเข้างานมาเมื่อไหร่นะ


กลัว เห็นเพื่อนไม่ผ่าน Promote กัน 2 คน พีค่ ดิ ว่าอ้อมจะไม่กงั วลหรือ
คะ มีวธิ กี ารที่ดกี ว่านี้ให้อ้อมไหมคะพี่ ในเมื่อเรื่องมันเกิดขึน้ มาแล้วและ อ้อม : วันที่ 2 พฤศจิกายน 2553 คะ ระยะเวลาทดลองงานหมด 28
แก้ไขไม่ได้เรามาหามาตรการหรือ วิธกี ารที่ ดีกว่านี้ ได้ไหม อ้อมเองก็ กุมภาพันธ์ 2554 คะ อีกไม่ก่วี นั เอง พีช่ ่วยอ้อมหน่ อยไม่ได้หรือค่ะ แล้ว
ไม่ได้อยากให้มนั ท้องตอนนี้หรอก แต่ยอมรับว่าปล่อยมานานแล้วเป็ นปี เรื่องอ้อมท้องพีไ่ ด้แจ้งนายไปหรือยัง
ไม่คดิ ว่าจะมาติดในช่วงเวลานี้อีกอย่าง หรือว่าอ้อมทํางานไม่ดี ทํางาน
ไม่ถูกใจพีบ่ อกอ้อมได้นะอ้อมจะปรับปรุงมันให้ดขี น้ึ ผู้จดั การ : ผม แจ้งทางนายไปแล้ว นายท่านบอกว่าเรื่องท้องเป็ นเรื่อง
ของธรรมชาติ ให้ผมจัดการได้เลย ผมก็เลยต้องมานอนคิดทัง้ คืนว่าผม
ผู้จดั การ : คุณเป็ นคนที่ ทางานดี ดีมากด้วย และงานทุกอย่างมัน จะเอายังไงกับกรณีของคุณดี และผมก็นอนไม่เหลับเลย คุณเลือกทาง
กาลังจะเป็ นไปด้วยดี แต่เพราะปากของคุณนั ่นแหละคุณไปประกาศให้ ของคุณเองนะบางครัง้ คําพูดของเรามันก็เป็ นนายของเรา คุณจะพูดอะไร
คนอื่นรูท้ ําไมว่าคุณท้อง ทําไมคุณมีปญั หาไม่มาปรึกษาผม เราจะได้มา คุณ ก็ค วรคิด ก่ อ นว่ า มัน ควรพู ด หรือ เปล่ า บางครัง้ เรื่อ งบางเรื่อ งไม่
หาทางแก้ปัญหา จําเป็ นต้องพูดให้ใครรูห้ มดก็ได้ มันเป็ นทางออกที่ดที ่สี ุดแล้วเขียนใบลา
ออกซะให้มผี ลบังคับวันที่ 20 กุมพาพันธ์ 2554 นี้ ออกไปแล้วก็อย่าไป
อ้อม : อ้อมขอโทษ อ้อมผิดที่อ้อมไม่ได้แจ้งพี่ แต่อ้อมก็คดิ ว่าจะแจ้งพี่ คิดอะไรมากดูแ ลสุข ภาพดีๆ แล้วตัง้ แต่ว นั นี้ จนกว่าจะออกจากงานก็
ด้วยปากของอ้อมเอง เมื่อพีป่ ระเมิน Promote ครัง้ ที่ 2 ให้ อ้อม อ้อมไม่ ตัง้ ใจทํางานให้เต็มทีน่ ะ
14 << คนทำงำน กุมภำพันธ์ 2554
อ้ อม : อ้อม พูดเรื่องอะไรบ้างคะที่มนั ไม่เป็ นผลดีกบั งาน อ้อมเอา บอกอ้อ ม อ้อ มจะได้แ ก้ไ ขได้ถู กจุด ถ้าให้อ้อ มออกตอนนี้ กว่าอ้อมจะ
ความลับอะไรบริษทั ไปเปิ ดเผยก็ไม่ม ีน่ี คะ ข้อ มูลบางอย่างของบริษทั คลอดก็อกี ตัง้ หลายเดือนให้ออ้ มอยูว่ า่ งๆ ไม่ได้ทําอะไรอ้อมยิง่ เครียด
อ้อมยังไม่รเู้ ลยด้วยซํ้า แต่เรื่องท้อง OK อ้อมผิด ที่ไม่ได้แจ้งพีเ่ อง ทัง้ ที่
พี่เป็ นผู้บงั คับบัญ ชา แต่อ้อ มไม่คิดว่ามันจะเป็ นเรื่อ งใหญ่ โตขนาดที่พ่ี ผู้จดั การ : คุณ ก็อย่าคิดมาก เรื่องค่าใช้จ่ายอะไรนี่มนั เรื่องของคุณ ไม่
ต้อ งให้อ้อ มออกจากงานเลย นี่ ค ะ คนท้อ งไม่ไ ด้ทํ า ความผิด อะไรสัก เกี่ยวกับผม ปญั หาของคุณ คุณแก้ไขเองสิ ผมตัดสินใจไปแล้วจะมาให้
หน่ อ ย และอ้อ มคิด ว่าตัวเองมีศกั ยภาพที่จ ะทํ างานให้พ่ไี ด้อีกตัง้ 6-7 ผมช่ ว ยอะไรคุ ณ อีก ละ เรื่อ งบางเรื่อ งผมก็อ ยากจะช่ ว ยนะแต่ จ ะให้
เดือน พีห่ าทางออกทีด่ กี ว่านี้ให้ออ้ มได้ไหม การออกเป็ นทางเลือกที่อ้อม ตะบี้ตะบันช่วยนะ มันก็เสียระบบหมด เราต่างทําหน้ าที่ของตัวเอง ผม
ไม่อยากทํามากทีส่ ดุ ต้องเล่นตามบทบาทของผม อย่าให้ผมต้องลําบากใจเลย

ผู้จดั การ : คุณ คิดว่าผมอยากทําหรือไง ผมเองก็ไม่ได้อยากทําแบบนี้ อ้อม : อ้อม ก็ลําบากนะคะพี่ ค่าใช้จา่ ยต่างๆ ก็มาก อ้อมไม่อยากออก
แค่น้ีคนอื่นก็มองว่าผมไร้มนุ ษยธรรมแล้ว ต่อไปมีอะไรก็เก็บซะบ้างอย่า จากงานตอนนี้ ทํ าไมคะ ทัง้ ๆ ที่พ่ชี ่วยอ้อมได้ ทําไมพี่ไม่ช่วยคะ อ้อม
เอาไปพูดให้คนอื่นรูห้ มด ขอร้องพีช่ ่วยหาทางออกทีด่ กี ว่านี้ให้ออ้ มได้ไหม อย่างน้อยๆ พีก่ บ็ อกว่า
อ้อมไม่ได้ทํางานแย่พ่ชี ่วยอ้อมสักครัง้ ได้ไหมถือว่าเป็ นการซื้อ ใจคนๆ
อ้อม : มีทางที่ดกี ว่านี้ให้กบั อ้อมไหม? ในเมื่อนายให้อํานาจพีเ่ ต็มที่ หนึ่ง การที่จะมีลูกน้องที่ซ่อื สัตย์สกั คนไม่ได้หาได้ง่ายๆ นะคะ ถ้าพีช่ ่วย
แล้วพีส่ ามารถทีจ่ ะหลีกเลีย่ งวิธกี ารให้ออ้ มลาออกได้น่ีคะ อ้อม พีจ่ ะให้ออ้ มทําอะไรอ้อมก็ทําทุกอย่าง ยกเว้นเรื่องลาออก

ผู้จดั การ : นี่แหละ ทางเลือกที่ดที ่สี ุด คือคุณเขียนใบลาออกจากงานซะ ผู้จดั การ : ผมเหนื่อยอย่าเอาเรื่องจุกจิกมาใส่สมองผมอีกได้ไหม ผม


ให้มผี ลบังคับใช้วนั ที่ 20 กุมพาพันธ์น้ี บอกแล้วไงว่าผมตัดสินใจไปแล้ว ขอผมพักผ่อนก่อนนะไว้ค่อยคุยกันวัน
หลัง
อ้ อม : อีก ครัง้ พี่ค่ะ พี่ไม่คดิ หน่ อ ยหรือคะว่าค่าใช้จ่ายของอ้อ มมัน
เพิ่ม ขึ้ น เพราะว่ า อ้ อ มท้ อ ง มีค่ า ใช้ จ่ า ยอื่ น ๆ ที่ ต ามมาและอ้ อ มเอง อ้อม : อ้อมขอโอกาสคะ พีใ่ ห้โอกาสอ้อมอีกครัง้ นะคะ
รับผิดชอบคนเดียวไม่หมดหรอก พี่ให้โอกาสอ้อมอีกสักครัง้ ได้ไหมคะ
ถ้ามีอะไรที่อ้อมทําแล้วไม่ถูกใจพี่ ต้องแก้ไขหรือปรับปรุงอะไร พีก่ ็บอก ผู้จดั การ : จะ ให้ผมให้โอกาสคุณอีกกี่ครัง้ ละ แค่เรื่องนี้เรื่องเดียวมันก็
อ้อมมาอ้อมยินดีทําทุกอย่าง เพื่อให้มนั ดีขน้ึ ทําผมปวดหัวแล้ว คุณรูไ้ หมผมคัดเลือกคุณมาจากคนจํานวนมาก ที่ผม
ใช้เวลานานเพราะว่าคนไม่น้อยทีอ่ ยากจะทํางาน ไม่เชื่อคุณไปดูใบสมัคร
ผู้จดั การ : ผม ตัดสินใจแล้ว ไม่ใช่ผมไม่อยากช่วย บางครัง้ ช่วยแล้วจะ ที่ผมคัดมาได้เลยเป็ นปึ กๆ ผมยังเก็บเอาไว้อยู่เ ลย ผมคิดว่าคุณเป็ นคน
ได้อะไรขึน้ มา ไม่ใช่อยากช่วยก็ตะบี้ตะบันช่วยไปหมดทุกอย่างเป็ นไป ที่ดที ่สี ุดในบรรดาคนที่ผมสัมภาษณ์แต่พอเข้ามาคุณก็เป็ น อย่างนี้ แล้ว
ไม่ได้หรอก เขียนใบลาออกซะ กลับไปคิดทบทวนซะ จะให้ผมทําอย่างไร จะให้ผมให้โอกาสอะไรอีกละ แน่ นอนคุณอยากกลับ
เข้ามาทํางานในนิ คมอีสเทิร์นซีบอร์ด ผมก็ให้โอกาสคุณแล้ว แต่น่ีคุณ
อ้อม : อ้อม จะคิดทบทวนอะไรคะ ในเมื่อพีเ่ องตัดสินใจให้อ้อมออก ท้องแล้วคุณไปเที่ยวประจานตัวเอง ไปบอกใครต่อใครทัง้ โรงงานว่าคุณ
แล้ ว อ้ อ มคิด ทบทวนไปก็ ทํ า ให้ ต ัว เองเครีย ดเปล่ า ๆยัง ไง พี่ก็ ไ ม่ ม ี ท้อง แล้ว จะให้ผมช่วยอะไรได้ มันเป็ นเพราะคําพูดของคุณนั ่นแหละ
ทางเลือ กที่ดกี ว่า นี้ให้อ้อม ไม่ว่าอ้อ มจะพูดอะไร คิดอะไร มันก็แค่คิด
เท่านัน้ ไม่มวี นั ไปเปลี่ยนความคิดของพี่ได้หรอก พี่ไม่ให้โอกาส ไม่ให้ อ้อม : พี่ ไม่ให้โอกาสอ้อมจริงๆ เหรอคะ อ้อมขอร้องนะ ขอให้พค่ี ดิ
ทางเลือกอ้อมเลย พีต่ ้องการให้อ้อมลาออกอย่างเดียว โดยที่อ้อมแค่ตงั ้ อีกสักครัง้ คิดว่าเห็นแก่คนๆ หนึ่งทีจ่ ะเกิดมาด้วยคะอ้อมเองก็รวู้ ่ามันเป็ น
ท้อง เรื่องลําบากใจ แต่นายก็ให้อํานาจในการตัดสินใจกับพีแ่ ล้ว พีม่ สี ทิ ธิ ์จะทํา
อะไรกับอ้อมก็ได้จะให้อยู่หรือไปมันก็ข้นึ กับพี่ ถือว่าอ้อมขอนะคะ ขอ
ผู้จดั การ : เพราะคุณตัง้ ท้องนั ่นแหละ คุณก็รวู้ า่ โรงงานเรายังไม่มใี ครตัง้ ทางเลือกและโอกาสให้ออ้ มอีกครัง้ นะคะ
ท้องก่อนผ่าน Promote แล้ว Case คุณก็เป็ น Case แรก ด้วย ไม่อยาก
ให้ม ีใครคิดแบบนี้ และทําแบบนี้ อีก มันเสียระบบ เพราะฉะนัน้ ปญั หา ผู้จดั การ : ผมเหนื่อย แค่น้ีนะ ผมอยากพักผ่อนไว้คอ่ ยคุยกันอีกที
ของคุณ คุณก็ไปจัด การเองแล้วกัน ไอ้ท่ีผมอยากพูดผมก็พูดไปแล้ว
ทัง้ หมด ต่อไปออกจากงานแล้วก็ให้ดแู ลตัวเองดีๆ อย่าคิดมาก อ้อม : พีค่ ะ คิดใหม่อกี ครัง้ ได้ไหม ช่วยอ้อมเถอะนะ อ้อมคิดไม่อ อก
แล้วจริงๆ ภาระอ้อมก็เยอะแยะ
ต่อมาในวันเดียวกันเย็นวันที่ 27 มกราคม 2554 อ้อมตัดสินใจโทรไปหา
ผูจ้ ดั การฝ่ายบุคคลอีกครัง้ แล้วขอโอกาสให้ผู้จดั การฝ่ายบุคคลทบทวน ผู้จดั การ : เรื่องของคุณ ปญั หาของคุณ แค่น้ีนะ
เรื่องทัง้ หมดอีกครัง้
ต่อมาวันศุกร์ท่ี 28 มกราคม 2554 อ้อม ขอลาหยุดและก็มาทํางานในวัน
อ้อม : พี่ คะ อ้อมขอโอกาสอีกครัง้ ได้ไหม อ้อมทําใจไม่ได้เลยที่อยู่ๆ จันทร์ ผูจ้ ดั การฝา่ ยบุคคลก็ได้ให้คุณเอ ซึ่งเป็ นเจ้าหน้าที่ในสํานักงานได้
พีม่ าบอกให้อ้อมลาออก อ้อ มมาคิดทบทวนแล้วหากอ้อมทํางานไม่ดี พี่ เอาใบลาออกมาให้เขียนบอกว่าลูกพี่ส ั ่งให้ เขียนใบลาออก อ้อมก็ไม่ได้

คนทำงำน กุมภำพันธ์ 2554 >> 15


เขียนและยังเก็บเอาไว้อีก 2 - 3 วัน ระหว่างนัน้ อ้อ มได้ไปปรึกษากับ ออกแล้ว ตามกฎหมายมันไม่มผี ล อะไรแล้ว พูดไปก็เท่านัน้ เพราะอะไร
ประธานสหภาพแรงงานฯ ว่ามีวธิ ใี ดช่วยเหลืออ้อมได้บ้างเขาก็บอกว่าจะ อ้อมไม่พูดก่อนเขียนใบลาออก พีร่ ู้ไหม...เพราะว่าพีบ่ อกว่าอ้อมไม่เก็บ
หาทางออกที่ดที ่สี ุดให้และ ประธานสหภาพแรงงานฯถามว่ายังไม่ได้ส่ง อะไร ตัง้ แต่วนั ที่อ้อมลงจากห้องพีว่ นั พฤหัสบดี อ้อมคุยกับพี่แค่สองคน
ใบลาใช่ไหม? เนืองจากว่าประธานสหภาพแรงงานฯ เข้ากะกลางคืน พอ วันศุกร์ออ้ มไม่ได้ไปทํางาน เรื่องที่รกู้ นั สองคน ทําไมมันรูไ้ ปทัง้ Line คะ
คุณ เอ ถามขอใบลาออกคืน อ้อ มเลยส่ง ใบลาออกให้คุณ เอในวัน ที่ 3 พี่ไปบอกเขาหรือเปล่า หรือคนที่เขามาคุยกับ พี่เขาไปป่าวประกาศคะ
เนื่องจากไม่อยากให้เพื่อนร่วมงานต้องลําบากใจ และวันที่ 4 กุมภาพันธ์ อ้อ มมาทํ างาน วันจันทร์ทุ กคนทักอ้อ มเป็ นเสียงเดียวกันทัง้ ที่อาทิตย์
ประธานสหภาพแรงงานฯ ก็มาแจ้งอ้อมว่าเขาได้สอบถามที่ปรึกษาของ ก่อนเขายังอยู่อกี กะ แต่เขารูไ้ ด้ไงว่าพีใ่ ห้อ้อมเขียนใบลาออก แต่อ้อมก็
สหภาพแรงงานฯ ให้แล้ว ปญั หายังมีท างออก อ้อมเลยบอกเขาไปว่า บอกเขาไปว่าเรื่องจริงแต่อ้อมยังไม่ได้เขียนใบลาออกไปเอาจากไหนมา
อ้อมส่งใบลาออกไปแล้ว เขาบอกว่าส่งไปทําไม พอดีม ี Case ของน้อง พูด เขาบอกเรื่องนี้พูดกันไปทั ่วทัง้ โรงงานแล้วว่าอ้อมไม่มาทํางานตัง้ แต่
พนักงานอีกคนที่ใน Line เมื่อวันศุกร์ท่ี 4 มกราคมอีก Case เห็น ว่า วัน ศุกร์แล้วไม่มที ํางานแล้วด้วย
ลูกพี่เขาช่วยเหลือดีจงั แต่กบั อ้อมลูกพี่เป็ นคนบอกให้เขียน ใบลาออก
เอง ทําไมเราต้องยอมในเมื่อเราอยากทํางานต่อและเราก็สามารถที่จะ ผู้จดั การ : นั ่น มันเรื่องของคุณ ไม่เกีย่ วกับผม แต่สหภาพแรงงานฯ เขา
ทํางานได้อยู่ เลยให้ประธานสหภาพแรงงานฯ ถามโดยตรงกับนายญี่ป่นุ ไปคุยกับนายและไปต่อว่าผมว่าผมไร้มนุ ษยธรรม คุณไปพูดอะไรให้เขา
ในวัน กิน เลี้ยงของบริษทั ฯ ประธานสหภาพแรงงานฯ เลยขอให้อ้อ ม ฟงั อีก ทําไมต้องมาสร้างความร้าวฉานภายในบริษทั ฯ ด้วย เราเคยอยู่
Copy ใบประเมินกับใบลาออกมาให้เขา เพื่อเอาไปเป็ นข้อมูลว่าอ้อ ม กันมาตัง้ นานไม่เคยมีเรื่อ งราวกันแบบนี้ พอคุณเข้ามามีแต่เรื่องให้น่า
เขียนว่าอย่างไรบ้าง แต่อ้อมไม่ได้ Copy เพราะไม่มเี วลา จนวันอังคาร ปวดหัว
เช้าวันที่ 8 มกราคม 2554 อ้อมได้ขอเอกสารแฟ้มประวัตอิ ้อมจากคุณเอ
แล้วก็ได้ Copy เอกสาร ที่เกี่ยวข้องออกมาบางส่วน นั ่นคงเป็ นสาเหตุท่ี อ้อม : อ้อม พูดกับประธานสหภาพแรงงานจริงๆ เรื่องนี้ว่าการที่ทาง
ทําให้ผจู้ ดั การฝา่ ยบุคคลมาถามอ้อมเรื่องที่จะฟ้องร้อง หรือเปล่า แต่คุณ สหภาพแรงงาน มีความตัง้ ใจจะช่วยอ้อม อ้อมขอบใจ แต่ออ้ มไม่อยากจะ
เอคงแจ้งให้กบั ทางผูจ้ ดั การฝา่ ยบุคคลทราบว่าอ้อมขอดูแฟ้มประวัตแิ น่ ๆ ให้เรื่อ งนี้ มนั วุ่นวายอีก แล้ว แล้วเขาถามว่าอ้อ มเขียนใบลาออกทําไม
เขารูก้ ฎหมายดี เขาเลยกลัวว่าอ้อมจะเอากฎหมายมาเล่นงานเขา อ้อม เหตุผล..ขอเหตุผล อ้อมเลยตอบไปว่าอ้อ มคิดดูดีแล้ว เพราะว่าพี่เป็ น
พอรู้กฎหมาย เรื่องนี้มาบ้าง แต่ว่า ..คิดว่ามันไม่มผี ลเพราะว่าเราเขียน เป็ นลูกพีข่ องอ้อม และถ้าหาอ้อมดึงดันอยู่ต่อมันก็ไม่ได้มปี ระโยชน์อะไร
ใบลาออกแล้ว แต่อ้อมก็อยากจะสูเ้ พราะว่าอ้อมไม่ได้เต็มใจเขียนใบลา ในเมื่อ ลูก พี่ไ ม่ต้อ งการ ต้อ งมีส กั วัน ที่เราจะต้อ งปะทะกันอีก อ้อมไม่
ออก อยากให้เป็ นแบบนัน้ มันไม่ใช่ม ี Case เดียวแล้วตอนนี้มนั มีอีก Case
คือเด็กใหม่ในแผนก QC แต่ ว่าหัวหน้ าของเขารับไว้ และหัวหน้ าของ
ต่อมาในวันที่ 8 กุมภาพันธ์ 2554 ขณะที่นั ่งทํางานโครงการโรงงานสี เขาไปพูดกับผู้จดั การและช่วยเหลือ เด็กเขาเต็มที่ แต่ทางผู้จดั การฝ่าย
ขาว เรื่องการจัดห้องประชุมสัมมนาผูจ้ ดั การฝา่ ยบุคคลได้มาเรียกขึน้ ไป บุคคลกลับผลักใสและให้ทางเลือกกับอ้อมซึ่งเป็ นลูกน้อง ของตัวเองโดย
คุยบนห้องประชุม การบอกให้ลาออก เขาถามอ้อมว่าอยากทํางานต่อไหม..อ้อมก็ตอบว่า
อยากทําอ้อมไม่อยากออก แต่ไม่มที างเลือก เขามีทางเลือกให้อ้อมแค่
ผู้จดั การ : คุณทําแบบนี้ คุณจะฟ้องหรือ? ทางเดียว

อ้อม : ทําไมพีค่ ดิ แบบนัน้ คะ อ้อมไม่มคี วามคิดแบบนัน้ เลย ผู้จดั การ : ถาม จริง ถ้าคุณฟ้องแล้วคุณจะได้อะไรขึน้ มา ในเมื่อทํางาน
ต่อคุณก็ต้องเป็ นลูกน้องผม แล้วคุณจะอยู่ได้หรือ ตอนนี้ไม่ว่าคุณจะทํา
ผู้จดั การ : คุณรูไ้ หมวันเสาร์ท่ี 5 กุมภาพันธ์ 2554 ที่ ไปกินเลี้ยงกัน อะไรก็มแี ต่เสียกับเสียเท่านัน้ แหละ อย่าดึงดันต่อไปเลย ถ้ าคนในองค์กร
สหภาพแรงงานฯ ได้ไปคุยเรื่อ งคุ ณกับ นาย คุณ ไปพูด ให้เ ขาฟ งั หมด เป็ น แบบคุณ เรีย กร้อ งจะเอานัน่ จะเอานี่ และมีป ญ ั หาไม่ห ยุด หย่อ น
เรื่องไม่ใช่เรื่องก็เอามาเป็ นเรื่อ ง คุณมีส่วนรู้เห็นกับเรื่องนี้ไหม คุณใช่ องค์กรก็ต้องมาคอยแก้ปญั หาให้ตลอดแบบนี้กไ็ ม่ต้องทํามาหากินอะไร
ไหมทีไ่ ปพูดปา่ วประกาศให้พวกสหภาพแรงงานฯ รูถ้ ามจริงเถอะคุณทํา แล้วองค์กร ล่มจมแน่ ๆ ไปทํางานที่ไหนก็ทําไม่ได้หรอกถ้าทําตัวแบบนี้
แบบนัน้ แล้วคุณจะได้อะไรขึน้ มา คุณอยากอยูใ่ นองค์กร ถามว่าคุณจะอยู่ มีอ่ ะไรก็ป่าวประกาศไปซะหมด เรื่องบางอย่างมันก็ไม่ควรจะเอาไปพูด
ได้หรือ คุณจะดือ้ ด้านไปทําไมให้มนั ได้อะไรขึน้ มา มันไม่ดเี ลยสําหรับตัว คุณก็เอาไปพูด ผมถึงได้บอกไงคําพูดมันเป็ นนายคน
คุณเอง ผมเองก็เสีย เพราะว่าทุกคนมองผมว่าผมเป็ นคนไร้มนุ ษยธรรม
นายท่านเองก็ไม่สบายใจ คุณจะให้ผมทํายังไงกับคุณดี อ้อม : อ้อม พูดเรื่องอะไรที่มนั ไม่ควรจะพูดพีบ่ อกมาสิคะ มีดว้ ยเหรอ
ที่เอาความลับบริษทั ไปเปิ ดเผย พีย่ กตัวอย่างมาสักเรื่อง ถ้าเป็ นเรื่องที่
อ้อม : ทาง สหภาพแรงงานไปถามพี่ แล้วมันเกี่ยวอะไรกับอ้อม เรื่องนี้ อ้อมพูดจริงอ้อมจะยอมรับ อ้อมเองก็เก็บอารมณ์นะคะ ทุกคนใน Line
พี่บอกว่าทุ กคนในบริษทั ฯ รู้ทําไมทางสหภาพแรงงานฯ ต้อ งไปถามพี่ มอง ว่า อ้อ มเข้ม แข็ง จริงๆ อ้อ มแค่ผู้ห ญิง ธรรมดาคนหนึ่ ง เท่า นัน้ มี
ด้วย แล้วเขาถามว่าอะไร ทําไมพีต่ ้องมาใส่อารมณ์กบั อ้อมด้วย พีค่ ดิ ว่า ความรูส้ กึ ไม่ต่างจากคนอื่น คิดมาก กังวล เศร้าเสียใจไม่ได้ต่างกัน แต่
อ้อมปลุกระดมความคิดคนได้ด้วยหรือคะ อ้อมยอมรับว่าได้คุยกับเขา เพราะว่าตําแหน่งของอ้อมที่อยู่ มันคํ้าคออยู่ไง เลยแสดงอารมณ์ออกมา
จริง หมายถึงประธานสหภาพแรงงานฯ แต่มนั หลังจากที่อ้อมเขียนใบลา อย่างนัน้ ไม่ได้ อ้อมอยากร้องไห้เหมือนกัน เมื่อมีคนถาม แต่อ้อมต้องยิม้

16 << คนทำงำน กุมภำพันธ์ 2554


เข้าไว้เพราะว่าคิดว่าเราเป็ นผู้ใหญ่ ไม่ควรร้อ งไห้ให้น้อ ง ได้เห็น แล้ว อ้อม : อ้อม ยอมรับการตัดสินใจของพี่คะ แต่อ้อมไม่ได้อยากเขียน
แบบนี้พว่ี ่าอ้อมไม่เก็บอารมณ์ยงั ไง หรือเพราะว่าอ้อมไปคุยกับสหภาพ ใบลาออก อ้อมยอมรับว่าอ้อมไม่อยากออก แล้วเรื่องกล่องแดงอ้อมไม่ได้
แรงงาน พี่เ ลยบอกว่าอ้อ มไม่เก็บอารมณ์ ถ้าเรื่อ งลาออก เขารู้ไปทัง้ ทํา พี่จะถามอ้อมเรื่องกล่องแดงเท่านัน้ แต่พอ่ี ้างตัง้ แต่เรื่องวันเสาร์แล้ว
Line แล้วเพียงแต่ทุกคนไม่รวู้ ่าอ้อมเขียนใบลาออกแล้ว เพราะอ้อมหยุด เรื่องที่สหภาพเขาไปคุยกับพวกพี่ทงั ้ ที่อ้อมเองไม่ได้อยู่ดว้ ย แล้วจะโยง
ทีจ่ ะพูดเพียงประโยคเดียวที่อ้อมพูดคือ "ไปเอามาจากไหน อ้อมยังไม่ได้ เรื่องเข้าไปเกีย่ วข้องกันทําไม พูดเหมือนพีป่ รักปรําอ้อมอยู่เลยนะเรื่องที่
เขียนใบลาออกเลย แหม!...ข่าวไวจริงๆ นะ ^^" ใครจะรู้ได้ว่าใบหน้ า พีบ่ อกว่าอ้อมไม่เก็บอารมณ์นะ อ้อมขอถามหน่ อยวันนัน้ ที่อ้อมคุยกับพี่
เปื้ อนยิม้ นั ่นมันซ่อนนํ้าตาเอาไว้ขา้ งใน ไม่มใี ครรูน้ อกจากตัวของอ้อมเอง แล้วพีใ่ ห้เขียนใบลาออกพีไ่ ด้คุยกับ ใครบ้าง เพราะนอกจากอ้อมกับพีไ่ ม่
เท่านัน้ แหละ มีใครรูเ้ รื่องนี้ ในเมื่ออ้อมไม่มาใครเป็ นคนปล่อยข่าว

ผู้จดั การ : เออ...ผมจะเรียกมาถามว่าคุณเกี่ยวข้องกับกล่องแดงหรือ ผู้จดั การ : สรุปว่าคุณไม่ยอมรับใช่ไหมว่าคุณเกีย่ วข้องกับกล่องแดง


เปล่า ไม่ตอ้ งมาร้องไห้หรอก
อ้อม : อ้อม ไม่ยอมรับว่าเกีย่ วข้องกับกล่องแดง และไม่ยอมรับที่พค่ี ดิ จะ
อ้อม : เขาเขียนว่าไงคะ ก็แค่คาํ ถามเอง...เขาอาจจะอยากรูอ้ ยากเห็น ให้ออ้ มลาออกเนื่องจากสาเหตุว่าอ้อมท้อง คนท้องยังทํางานได้อกี ตัง้ 7-
ก็ได้น่ีคะ มันเป็ นเรื่องธรรมดา ในเมื่อทํากล่องแดงขึ้นมาก็ต้องคํานึงถึง 8 เดือน บางคนทํางานยันคลอดเขาก็ทํากัน แต่พจ่ี ะให้อ้อมลาออกเพราะ
Feedback ที่ มันจะตามมาด้วย ในเมื่อเลือกที่จะให้พนักงานแสดงความ สาเหตุท่อี ้อมท้องอ้อมรับไม่ได้ แต่ท่ยี อมเขียนใบลาออกเพราะว่าพีเ่ ป็ น
คิดเห็นเขาก็แ สดงความคิดเห็น แล้วถ้าอ้อ มจะเขียน อ้อ มก็ไม่ผิด แต่ ลูกพีอ่ อ้ ม อ้อมขึน้ ตรงกับพี่ อยูไ่ ปพีก่ ต็ อ้ งหาวิธกี ารให้อ้อมออกอยู่ดี แล้ว
อ้อมว่าพีด่ ูน่าจะรูน้ ะว่าไม่ใช่ตวั หนังสืออ้อม ชัดเจนว่ามันเป็ นตัวหนังสือ ความคิดเรื่องฟ้องๆ อะไรของพี่ มันไม่เคยอยู่ในหัวอ้อมเลย แต่ในเมื่อพี่
ของผูช้ าย คนเราเมื่อมันมีเรื่องมันก็ต้องเกิดคําถาม การที่มคี ําถามมันก็ พูดกับอ้อมแบบนี้ อ้อมก็ขอคิดดูก่อนไม่วา่ อ้อมจะอ้อนวอนข้อร้องอะไรพี่
ไม่ได้เสียหายอะไรไม่ใช่หรือคะก็แค่ตอบ มันไม่ได้เป็ น Comment อะไร อ้อมคิดว่ามันไม่มปี ระโยชน์เลย ทางเลือกทีพ่ ม่ี อบให้ออ้ มคิดลาออก
สักหน่ อย แล้วมันก็ไม่ได้ม ี Case อ้อม Case เดียวไม่ใช่หรือคะ ความ
อยากรูอ้ ยากเห็นของคนเรามันปิ ดกัน้ ไม่ได้หรอกคะ ผู้จดั การ : OK ผมถามแค่น้ีแหละ ไปทํางานเถอะ

ผู้จดั การ : อัน นัน้ ผมไม่รู้หรอก รู้แต่ว่าสหภาพแรงงานฯ เขามาถาม … จากข้อมูล ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 ในภาคตะวันออกแรงงานหญิง
เรื่องคุณ ตอนเช้าวันจันทร์มาก็มกี ล่องแดง จะให้ผมคิดว่ายังไงล่ะแล้ว ทีอ่ ยูใ่ นระบบกว่า 300,000 คน ต้องตกอยู่ในภาวะเสีย่ งต่อการถูกละเมิด
เรื่องทีเ่ ขียนมามันก็เกีย่ วกับเรื่องท้องทําให้ ทุกคนไม่สบายใจกันไปหมด สิท ธิ ส ตรีแ ละเป็ น การละเมิด สิท ธิ ม นุ ษ ยชนอย่ า งร้ า ยแรง “ใคร
ผมก็ไม่สบายใจ นายก็ไม่สบายใจ Office ก็ ไม่สบายใจไม่มใี ครสบายใจ รับผิดชอบ”
หรอก อ้อมคุณทําแบบนี้แล้วมันได้อะไร มันมีประโยชน์ อะไรกับตัวคุณ
บ้างคุณทําแบบนี้เท่ากับว่าคุณไม่ยอมรับการตัดสิน ใจของผมนะสิ

คนทำงำน กุมภำพันธ์ 2554 >> 17


จับตาประเด็นร้อน >>

คนงานหลักพันเดินเท้าเข้ากรุงฯ จี้ รัฐฯ แก้ปัญหาละเมิดสิทธิแรงงาน


14 ก.พ. 54 - คนงานเกือบสองพันคนจากบริษทั แม็กซิ ส อินเตอร์เนชั ่น ส่วนบริษทั พีซีบี เซ็นต์เตอร์ จํากัด หลังบริษทั เกิดอุบตั ิเหตุเพลิงไหม้
แนล (ประเทศ ไทย) จํากัด ผลิตยางรถยนต์ ที่จ .ระยอง พนักงานของ ซึ่งทําให้มผี ู้ได้รบั บาดเจ็บจํานวนมากและเสียชีวติ 3 ราย เมื่อกลางปี ท่ี
บริษ ัท พีซีบี เซ็ น เตอร์ จํ า กัด ผู้ผ ลิ ต แผงวงจรอิเ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ และ ผ่านมา บริษทั ฯ ได้ประกาศจ่ายค่าจ้างให้พนักงาน 75% จนกว่าบริษทั ฯ
พนั ก งานของบริ ษ ั ท ฟู จิ ต สึ เจเนรัล จํ า กั ด ผู้ ผ ลิ ต และประกอ บ จะปรับปรุงโรงงานให้แล้วเสร็จ และเปิ ดทําการใหม่ภ ายในเดือน ธ.ค.
เครื่องปรับอากาศ ที่ จ.ชลบุรี ซึ่งส่วนหนึ่งเริม่ เดินเท้าจากระยองตัง้ แต่ 2553 แต่การจ่ายค่าจ้างกลับผิดนัดมาตลอด และวันที่ 21 ม.ค.2554
วันที่ 1 ก.พ.ที่ ผ่านมา ได้ออกเดินทางจากที่ปกั หลักชุมนุ มที่โรงงานไม้ บริษทั ฯ ก็ประกาศปิ ดกิจการเลิกจ้างพนักงานทุกคน แต่ไม่จ่ายค่าชดเชย
อัดไทย ถ.สรรพาวุธ โดยใช้เส้นทาง แยกบางนา-สุขุมวิท-ราชประสงค์- ตามกฎหมาย
ราช ปรารภ-สามเหลี่ยมดินแดง ไปยังกระทรวงแรงงาน เพื่อขอความ
ช่วยเหลือจากรัฐบาล กรณีมกี ารละเมิดสิทธิแรงงาน ซึ่งเคยยื่นหนังสือถึง ตัวแทนพนักงานบริษทั พีซบี ี เซ็นต์เตอร์ จํากัด อายุงาน 14 ปี กล่าวว่า
หลายหน่วยงานแล้วก่อนหน้านี้ แต่กย็ งั ไม่ได้รบั การแก้ไข นายจ้างได้ย่นื ข้อเสนอจ่ายเงิน 6 ล้านบาทให้พนักงาน 500 กว่าคน ซึ่ง
ไม่เป็ นไปตามกฎหมาย โดยเมื่อคํานวณค่าชดเชยบวกกับค่า ค้างจ่าย
สําหรับสหภาพแรงงานแม็กซิส ประเทศไทย ถูกนายจ้างปิ ดงานตัง้ แต่ ต่า งๆ แล้ว พวกตนควรจะได้ร บั เงิน ทัง้ สิ้น ประมาณ 61 ล้า นบาท
วันที่ 25 พ.ย.2553 โดย อ้างเครื่องจักรเสียจําเป็ นต้องปิ ดซ่อมแซม แต่ อย่างไรก็ตาม หากจะอ้างว่าไม่มเี งินจ่าย พวกตนก็พร้อมเจรจาลดหย่อน
กลับมีการนําแรงงานข้ามชาติและแรงงานเหมาค่าแรงมาทํางานแทน ทํา โดยที่ผ่านมาเคยขอเป็ น 20 ล้านบาทแล้ว แต่กไ็ ม่เคยมีการเจรจาใดๆ
ให้พนักงานได้รบั ความเดือดร้อน โดยที่ผ่านมา มีการลดสวัสดิการของ เกิดขึน้ ที่ผ่านมาได้ย่นื หนังสือถึงนายกฯ 1 ครัง้ และกระทรวงแรงงาน 2
พนักงานลงเรื่อยๆ ทัง้ ทีบ่ ริษทั มีกําไรมากขึน้ มหาศาลจากปี ก่อน ครัง้ แล้วแต่กย็ งั ไม่ได้รบั การแก้ปญั หา

ธนชัย ที่รกั ษ์ รองประธานสหภาพแม็กซิส ประเทศไทย เล่าว่าวันที่อ้าง ทัง้ นี้ ตัวแทนของพนักงานบริษทั พีซบี ี เซ็นต์เตอร์ ระบุดว้ ยว่า พนักงาน
ว่าเครื่องจักรเสียนัน้ มีการจ้างชายชุดดํามาปิ ดทางเข้าและกัน้ รัว้ สังกะสี แต่ละคนที่ถูกลอยแพนัน้ อายุงาน 10 กว่าปี ขน้ึ ไปทัง้ สิน้ แต่ละคนอายุ
ทําให้พวกตนต้องไปชุมนุมในบริเวณอื่น โดยที่ผ่านมา ได้เรียกร้องไปยัง 35-44 ปี หางานใหม่กค็ งจะยาก สําหรับการเรียกร้องครัง้ นี้ โชคดีท่ไี ด้รบั
แรงงานจังหวัดแล้วก็ไม่ได้รบั การแก้ปญั หา จึงอยากเรียกร้องต่อรัฐบาล การสนับสนุนจากสหภาพอื่นๆ บริจาคเงินช่วยเหลือด้วย
ให้เห็นใจพวกตนบ้าง เพราะสิง่ ที่ต้องการคือได้กลับเข้าทํางานเท่านัน้
พร้อมตัดพ้อด้วยว่าทัง้ ทีพ่ วกตนก็เสียภาษี แต่ไม่เคยได้รบั การดูแลเลย ตลอด เส้นทาง มีการแจกเอกสารและประกาศชี้แจงกับผู้ใช้รถใช้ถนน
เป็ นระยะๆ ถึงสาเหตุของการเดินขบวนครัง้ นี้โดยแถลงการณ์ร่วมของ
สําหรับสหภาพแรงงาน ฟู จึซึ เจอร์เนอร์รลั ประเทศไทย ถูกนายจ้าง ลูกจ้างทัง้ สามบริษทั ระบุ ต้องการให้รฐั บาลแก้ไขปญั หาทีเ่ กิดขึน้ ดังนี้
ประกาศปิ ดงานหลังไม่สามารถตกลงเรื่องข้อเรียกร้องได้ ต่อมาเมื่อวันที่
9 ก.พ.54 มีหมายศาลให้ตวั แทนทัง้ 15 คนขึน้ ศาลโดยอ้างว่าพาพวกปิ ด 1. กรณี ของบริษทั แม็กซิสฯและฟู จิตสึฯ ให้ห าข้อ ยุติในข้อพิพาท
ถนนหน้าบริษทั ศาลมีคําสั ่งกักขังตัวแทนทัง้ 15 คน ตัง้ แต่วนั ที่ 9-16 แรงงานที่เ กิ ด ขึ้น เพื่อ ให้พ นั ก งานได้ก ลับ ไปทํ า งานทุ ก คน และให้
ก.พ. โดยล่าสุดได้ประกันตัวตัวแทนผูห้ ญิง 2 รายซึ่งถูกฝากขัง 2 วัน แต่ นายจ้างยอมรับการรวมตัวของลูกจ้างในสถานประกอบการ ให้เจ้าหน้าที่
ตัวแทนชายอีก 13 คนยังไม่ได้รบั การประกันตัวและอยูใ่ นชัน้ อุทธรณ์ ของรัฐได้ดาํ เนินการใช้อํานาจหน้าทีต่ ามกฎหมายอย่างจริงจัง

ชรัม ภ์ บุญสังข์ สมาชิกสหภาพแรงงานฟูจติ สึฯ ซึ่งเป็ นผูด้ ูแลขบวนของ 2. กรณีบริษทั พีซีบีฯให้นายจ้างจ่ายค่าชดเชยตามกฎหมายคุ้มครอง


คนงานฟูจติ สึในครัง้ นี้ กล่าวว่า การกระทําของนายจ้างนัน้ ขัดแย้งกัน ทัง้ แรงงาน2541กรณี ปิ ดกิจการเลิกจ้างไม่จ่ายค่าชดเชย ให้ดําเนินคดีกบั
ที่เมื่อตกลงเรื่องข้อเรียกร้องไม่ได้ นายจ้างเป็ นฝา่ ยปิ ดงานก่อน ลูกจ้าง นายจ้างกรณีเกิดเพลิงไหม้มผี เู้ สียชีวติ และกรณีนายจ้างค้าง จ่ายค่าจ้าง
จึงมีมตินัดหยุดงาน แต่นายจ้างได้อ้างต่อศาลว่าจะฟ้องร้องแกนนํ าที่ทํา และไม่จา่ ยค่าชดเชย
ให้กจิ การได้รบั ความเสีย หาย
3. ให้ รัฐบาลทบทวนนโยบายส่งเสริมการลงทุนกรณีท่นี ายทุนต่างชาติ
นอกจากนี้ ชรัมภ์กล่าวถึงสํา นักงานส่งเสริมการลงทุนหรือ BOI ด้วยว่า มาลงทุนแต่ไม่ ให้ความเป็ นธรรมกับแรงงานและนํ าแรงงานข้ามชาติมา
ขณะที่มุ่งส่งเสริม การลงทุน แต่กลับไม่เคยตรวจสอบเลยว่าคนงานซึ่ง ทํ างานอย่างผิดกฎหมายทัง้ ๆที่ แรงงานไทยก็ไ ม่ได้ขาดแคลนตามที่
ทํางานอย่างเหนื่อยยากได้อะไรตอบแทนบ้าง รัฐบาลเปิ ดโอกาสให้นายทุนรับแรงงานข้ามชาติ มาทํางานแทนแรงงาน
ไทย เพราะรัฐบาลมีนโยบายส่งเสริมการลงทุนและต้องการเห็นคุณภาพ
ชีวติ ของคนทํางานมี คุณภาพชีวติ ที่ดี แต่ไม่ดูแลลูกจ้างที่ถู กละเมิดสิทธิ

18 << คนทำงำน กุมภำพันธ์ 2554


อย่าปล่อยให้นายทุนข้ามชาติท่ไี ม่ม ี คุณธรรมและจริยธรรมมาเอารัดเอา เปรียบลูกจ้างแรงงานไทย ซึง่ ขัดกับนโยบายทีร่ ฐั ให้ไว้กบั ประชาชน

คนทางาน ตปท. เสนอเพิ่มมาตรการลงโทษบริษัทหลอกลวง


16 ก.พ. 54 - โครงการรณรงค์เพื่อแรงงานไทยได้จดั เวทีระดมความคิด เสนอว่า ควรให้ยกเลิกบริษทั จัดหางานเอกชนและให้รฐั จัดส่งแทน ตัง้
เพื่อจัดทําข้อเสนอร่าง กฎหมายคุ้มครองแรงงานข้ามชาติ ในส่วนของ เป็ นหน่วยงานด้านการจัดส่งคนไทยไปทํางานต่างประเทศ มีการจัดเก็บ
แรงงานไทยไปต่างประเทศ ที่เทศบาลตําบลหนองไผ่ อ.หนองหาน จ. ค่าธรรมเนียมในอัตราทีต่ ่าํ จัดเก็บเข้ารัฐไม่ต้องเข้ากระเป๋าเอกชน ซึ่งจะ
อุดรธานี โดยมีอดีตคนงานไทยที่เคยไปทํางานต่างประเทศในเขตภาค เป็ นการตัดช่องทางการหลอกลวงคนงานได้อย่างเบ็ดเสร็จเด็ดขาดทีส่ ดุ
อีสานเข้าร่วมเวทีเสวนา สุธาสินี แก้วเหล็กไหล โครงการรณรงค์เพื่อ
นอกจากนี้ ย ัง มีข้อ เสนอให้ม ีก ารปฏิรู ป กองทุ น เงิน ทดแทน ทัง้ ด้า น
แรงงานไทย ได้นําเสนอป ญ ั หาการค้าแรงงานไทยไปต่างประเทศใน
ระยะเวลาการครอบคลุ ม เมื่อ คนงานกลับ มายัง ประเทศไทยแล้ว เกิด
ปจั จุบนั โดยเล่าถึงความคืบหน้ ากรณีการฟ้องร้องของแรงงานไทยกับ
อาการเจ็บ ป่วย (เสนอให้ยืดเวลาออกไปอีก 6 เดือ น) มีการจ่ายเงิน
บริษทั จัดหางานในกรณี ของสวีเดน สเปน ที่กําลังอยู่ในชัน้ ศาล ส่วน
ให้กบั คนงานอย่า งเหมาะสม รวมถึงการขยายสิท ธิประโยชน์ ใ ห้ม าก
กรณีของโปแลนด์ท่บี ริษทั จัดหางานกําลัง ยื่นอุทธรณ์คําสั ่งของพนักงาน
กว่า เดิม การปรับ ปรุง เรื่อ งระยะเวลาของกระบวนการทางกฎหมาย
ตรวจแรงงานอยู่ ทัง้ นี้สุธาสินี ได้อธิบายถึงความสําคัญของวิธกี ารจัดส่ง
คนงานมิสทิ ธิย่นื คัดค้านการอุทธรณ์ของบริษทั จัดหางานได้ และเสนอให้
คนไปทํางานต่างประเทศ ตาม พ.ร.บ. จัดหางานและคุม้ ครองคนหางาน
คดีหลอกลวงแรงงานเป็ นคดีพเิ ศษที่มกี ารสืบสวนสอบสวนในระยะเวลา
นัน้ มันมี 5 ช่องทาง (1. กรมการจัดหางานส่งไป (ไม่เสียค่านายหน้า) 2.
ที่ เป็ นธรรมแก่คนงาน
เดินทางไปกับบริษทั จัดหางาน (เสียค่านายหน้า) 3. เดินทางไปทํางาน
ด้วยตัวเอง (ไม่เสียค่านายหน้า) 4.นายจ้างในประเทศไทยพาคนงานไป มี ก ารตรวจสอบข้ า ราชการของกระทรวงแรงงาน ในเรื่ อ งของ
ทํ างาน (ไม่เ สีย ค่า นายหน้ า ) 5.นายจ้างในประเทศไทยพาคนงานไป ความสัมพันธ์กบั บริษทั จัดหางาน ไม่ว่าจะเป็ นเครือญาติ ตัวแทน และ
ฝึ กงาน (ไม่เสียค่านายหน้า) ซึ่งคนงานที่จะไปทํางานต่างประเทศมักจะ เส้นทางการเงินต่างๆ โดยคนงานเสนอว่าข้าราชการกระทรวงแรงงาน
ไม่ทําการศึกษาวิธกี ารต่างๆ ทําให้ถูกหลอกลวงได้งา่ ย จะต้องไม่มคี วามสัมพันธ์กบั ธุรกิจจัด หางานโดยเด็ดขาด และข้อเสนอ
บทลงโทษแก่ บ ริษ ัท จัด หางานที่ ม ี ก ารหลอกลวงคนงาน ควรเป็ น
ในช่ วงบ่ ายของการเสวนาได้ม ีก ารระดมความคิด เพื่อ จัด ทํ า ข้อ เสนอ
บทลงโทษที่หนักคือขึ้นบัญ ชีดําบริษทั หรือ บุคคลที่เกี่ยวข้องทางเครือ
พ.ร.บ. คุม้ ครองแรงงานข้ามชาติ (ฉบับคู่ขนาน) ในส่วนแรงงานไทยไป
ข่ายเส้นทางทางการเงินต่างๆ ไม่ให้สามารถกลับมาทําธุรกิจจัดหางาน
ต่างประเทศ เพื่อแก้ไขปญั หาการหลอกแรงงานไทยไปต่างประเทศ โดย
ได้อกี
ปญั หาการเก็บค่าหัวคิวเกินจริงนัน้ คนงานไทยที่ไปทํางานต่างประเทศ
สมาพันธ์แรงงานรัฐวิสาหกิจสัมพันธ์จับมือ พธม.ลั่นยกระดับชุมนุม
18 ก.พ. 54 - ที่สะพานมัฆวานรังสรรค์ นายสาวิทย์ แก้วหวาน แกนนํ า วิท ย์ กล่ าว พร้อ มอ่า นแถลงการณ์ ฉ บับ ที่ 1 สรุป ใจความได้ว่า เรื่อ ง
พัน ธมิต รประชาชนเพื่อ ประชาธิป ไตย ในฐานะเลขาธิก ารสมาพัน ธ์ กระบวนการใช้ สิท ธิข อง พธม.ต่ อ ประเด็น ที่แ หลมคม เพื่อ ปกป้ อง
แรงงานรัฐ วิส าหกิ จ สัม พัน ธ์ หรือ สรส.ได้ อ่ า นแถลงการณ์ ใ นนาม อธิปไตย ถือเป็ นการใช้สทิ ธิตามพลเมืองไทย ทีบ่ ญ ั ญัตไิ ว้ใน รธน.50 แต่
สมาพันธ์แรงงานรัฐวิสาหกิจสัมพันธ์ (สรส.) รวมทัง้ 44 องค์กร ในสังกัด ้
รัฐบาลซึ่งหน้าที่โดยตรงในการปกปองอธิปไตย ไม่ได้ดําเนินการตามที่
บนเวทีรวมพลังปกป้องแผ่นดิน ว่า ขอประกาศเจตนารมณ์ท่จี ะร่วมต่อสู้ ควรจะเป็ น แต่กลับบิดเบือนข้อเรียกร้องของ พธม.และใช้ส่อื รัฐใส่ร้าย
กับเคียงบ่าเคียงไหล่ กับพลังมวลชนพันธมิตรฯ เพื่อทวงคืนอธิปไตย อย่างต่อเนื่ อง และยังมีความพยายามสลายการชุม นุ ม ความล้มเหลว
ไทยกลับคืนมา ซึ่งถือเป็ นสิทธิและหน้าที่สทิ ธิอนั ชอบธรรมของพลเมือง ของการบริหารราชแผ่นดิน ในด้านต่างๆ ทัง้ เศรษฐกิจ และทุจริตคอร์รปั
ตาม รธน. สรส.ไม่ได้หนีไปไหน แต่หลังจากรอดูท่าทีของรัฐบาลในการ ชัน รวมทัง้ การเสี ย อธิ ป ไตยให้ ก ัม พู ช า เพราะมี บุ ค คลในรัฐ บาล
ั หาเขตแดน นอกจากจะล้ ม เหลว แต่ ร ัฐ บาลยัง ยืด หยัด ที่
แก้ ไ ขป ญ นักการเมือง และข้าราชการระดับสูงบางฝา่ ย มีประโยชน์อยูเ่ บือ้ งหลัง
ปกป้องเอ็มโอยู 43 ซึ่งเป็ นต้นเหตุท่จี ะทําให้ไทยเสียต้องทรัพยากร ทัง้
บนบนดินและทางทะเลแน่นอน นายสาวิท ย์ กล่า วยํ้า ว่า ดัง นัน้ รัฐ บาลจึง ต้อ งนํ า 3 ข้อ เรีย กร้อ งของ
พธม.ไปดําเนินการ และไม่มสี ทิ ธิสลายการชุมนุ ม หรือดําเนินการออก
“การต่อสูต้ ลอดกว่า 30 ปี ของ สรส.ขอรับประกันว่า สหภาพแรงงานฯ มี หมายเรียกหรือหมายจับแกนนํ า โดย สรส.รวมทัง้ 44 องค์กรในสังกัด
เกียรติและศักดิ ์ศรี อํานาจรัฐและอํานาจเงิน ซื้อเราไม่ได้เด็ดขาด และขอ สมาพัน ธ์ ร ัฐ วิส าหกิจ ยืด หยัด ที่จ ะยืน เคีย งข้า งการต่ อ สู้ก ับ มวลชน
ใช้โอกาสบนเวทีแห่งนี้ประกาศยืนอยู่ขา้ งมวลชนอย่างแน่ นอน” นายสา พันธมิตรฯ โดยนับตัง้ แต่วนั นี้ จะได้ยกระดับการต่อสูใ้ ห้เข้มข้นขึ้นเป็ น
ลําดับ

คนทำงำน กุมภำพันธ์ 2554 >> 19


สหภาพ อสมท. จี้ตรวจสอบ "สุรพล นิติไกรพจน์" จวกไม่โปร่งใส-ขาดหลักธรรมาภิบาล
22 ก.พ. 54 - ที่ทําเนียบรัฐบาล ตัวแทนสหภาพแรงงานรัฐวิสาหกิจ ให้มกี ารบรรจุผบู้ ริหารสัญญาจ้าง โดยจะให้ลูกจ้างสัญญาจ้างใน บมจ.อ
บริษ ัท อสมท จํ า กัด (มหาชน) นํ า โดยนางอรวรรณ ชู ดี ประธาน สมท.เฉพาะ 3 ตํ า แหน่ ง คื อ กรรมการผู้ อํ า นวยการใหญ่ หัว หน้ า
สหภาพแรงงานรัฐ วิส าหกิจ บมจ.อสมท. ได้เ ข้า ยื่น หนั ง สือ ถึง นาย เจ้าหน้าที่ด้านการเงิน (ซีเอฟโอ) และผูช้ ่วยกรรมการผู้อํานวยการใหญ่
อภิสทิ ธิ ์ เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตรี เรียกร้องให้ตรวจสอบการบริหารงาน สํานักงานตรวจสอบภายใน ซึง่ ไม่มหี น่วยงานรัฐวิสาหกิจแห่งใดทําเช่นนี้
ภายใต้การกํากับของนายสุรพล นิตไิ กรพจน์ ประธานกรรมการ บมจ.อ เป็ นการปิ ดกัน้ โอกาสในการสรรหาบุคลากรมืออาชีพในตําแหน่ งหลักได้
สมท. และนายธนวัฒน์ วันสม กรรมการผูอ้ ํานวยการใหญ่ บมจ.อสมท.ที่ อย่างเปิ ด กว้าง และสอดคล้องกับความจําเป็ นทางธุรกิจ และยังเป็ นการ
อาจมีพฤติกรรมการปฏิบตั ิหน้ าที่ไม่รกั ษาผลประโยชน์ของบริษทั ฯ ไม่ บั ่นทอนขวัญกําลังใจพนักงานในการเติบโตตามสายงาน
โปร่งใส ขาดหลักธรรมาภิบาล และประสิทธิภาพในการทํางาน จนส่งผล
กระทบต่ออนาคตขององค์กร นอกจากนี้ยงั มีการจ้างบริษทั ปรับปรุงโครงสร้างองค์กรซึ่งมีความพยาม
ปิ ด กัน้ การมีส่วนร่วมจากสหภาพฯ ไม่ม ีการรับฟงั ความคิดเห็นจาก
ทัง้ นี้ ก ารยื่น หนั ง สือ ให้ต รวจสอบการทํ า งานของนายสุ ร พลกับ นาย พนักงาน อีกทัง้ ระหว่างนี้ ไ ด้ม ีก ารใช้อํานาจแต่ งตัง้ โยกย้ายพนักงาน
ธนวัฒน์ครัง้ นี้ เป็ นผลมาจากการนัดหารือพนักงาน บมจ.อสมท.เมื่อวันที่ หลายระดับ โดยไม่ ผ่า นสํา นัก ทรัพยากรมนุ ษ ย์ รวมทั ้ง มีก ารแต่ ง ตัง้
24 ม.ค.ที่ ผ่ า นมา จนได้ ข อยุ ติ ร่ ว มกัน ว่ า จํ า เป็ น ต้ อ งยื่น หนั ง สือ ให้ บุคคลใกล้ชิดกรรมการผู้อํานวยการใหญ่ ม าดํา รงตําแหน่ ง รักษาการ
นายกรัฐ มนตรีใ นฐานะกํ า กับ การ บริห ารราชการแผ่ น ดิน พิจ ารณา ผู้ช่วยกรรมการผู้อํานวยการใหญ่ สํานักเลขานุ การบริษทั ฯ ซึ่งเป็ นผู้มี
ตรวจสอบ และแก้ไขปญั หาที่เกิดขึน้ ภายใน บมจ.อสมท.ดังนี้ 1. มีการ ส่วนได้เสีย เนื่องจากคณะกรรมการ บมจ.อสมท.ต้องทําหน้าที่ตรวจสอบ
ปฏิบตั หิ น้าทีไ่ ม่โปร่งใส ไม่รกั ษาผลประโยชน์ของ บมจ.อสมท.จากกรณี ประเมินผลงานของกรรมการผูอ้ ํานวยการใหญ่
การกํากับดูแ ลคู่สญ ั ญาสัม ปทานช่ อ ง 3 ที่ต่อ สัญ ญาไปอีก 10 ปี โดย
ได้รบั ค่าตอบแทนคงที่ตลอดอายุสญ ั ญาจํานวน 2,002 ล้านบาท ขณะที่ 3. ขาดประสิทธิภาพเชิงบริหาร กระทบต่ออนาคตขององค์กร มีความ
ประธานกรรมการ บมจ.อสมท.เจรจาขอให้ช่อง 3 ชดเชยค่าเสียหาย ล่าช้าในการเตรียมแผนรองรับ พ.ร.บ.องค์ก รจัดสรรคลื่นความถี่และ
จํานวน 405 ล้านบาท แต่ยงั มีข้อ โต้แย้งจากบุคคลภายนอก กรรมกา พ.ร.บ.ประกอบกิจการฯ ไม่มคี วามชัดเจนเรื่องแผนงานของธุรกิจใหม่
รบมจ.อสมท.ส่วนหนึ่ง จนเกรงว่าท้ายที่สุดจะทําให้ บมจ.อสมท. จะเสีย โดยเฉพาะการจัดซื้อ อุปกรณ์ จํานวนหลายร้อ ยล้านบาท แผนการเช่า
ผลประโยชน์ รวมถึ ง กรณี ก ารให้ บ ริษ ัท ทรู วิช ัน่ ส์ม ีโ ฆษณาตามมติ สัญญาดาวเทียมมูลค่ากว่า 1,000 ล้านบาท ทัง้ ที่คาดว่าจะมีกําไรเพียงปี
คณะกรรมการ บมจ.อสมท.ซึ่งมีการระบุให้จ่ายค่าตอบแทนเพิม่ เป็ นเงิน ละ 20 ล้านบาทเท่านัน้
ร้อยละ 6.5 ของรายได้ ก่อนหักค่าใช้จ่าย แต่จนถึงขณะนี้ บมจ.อสมท.
ยังไม่ได้รบั ค่าตอบแทนใดๆ นายอภิสทิ ธิ ์ กล่าวกับตัวแทนสหภาพที่เข้ายื่นหนังสือตอนหนึ่งว่า ขอให้
สหภาพฯ รวบรวมประเด็นป ญ ั หาเข้ามา เรื่อ งไหนที่คิดว่าไม่โ ปร่งใส
อีกทัง้ กรณีการจัดหาวัสดุด้วยวิธรี ะบบพิเศษ เทเลพรีเซนซ์ ระยะเวลา เสนอมา และตนจะส่งเรื่องไปยังรัฐมนตรีท่รี บั ผิดชอบ เพื่อทําหนังสือถึง
24 เดือนในวงเงิน 24 ล้านบาท โดยอ้างถึงการไปดูงานของกรรมการ ผูบ้ ริหาร อสมท.และประธานบอร์ด อสมท.เพื่อให้ช้แี จงข้อกล่าวหาต่างๆ
บมจ.อสมท.ทีม่ บี ริษทั ซีสโก้ ซีสเตมส์ สหรัฐอเมริกา ทําให้มกี ารตัง้ เรื่อง ทัง้ เรื่องของค่าโฆษณาของทรูวิช ั ่น ไปเจรจาความเสียหายให้ประธาน
จัดหาอุปกรณ์ ด งั กล่ าวด้วยวิธีพิเ ศษ อ้างว่ารองรับ การสื่อ สารประชุ ม บอร์ดชีแ้ จง ที่ไปเรียกค่าเสียหายจากช่อง 3 คืออะไร พร้อมกับยืนยันว่า
ทางไกลกับบุคคลสําคัญทีท่ ําเนียบรัฐบาล และรัฐสภา ทัง้ ที่ บมจ.อสมท. เรื่อ งของการจัด หาวัส ดุ พิเ ศษระบบเทเล พรีเ ซนซ์ ไม่ เ กี่ย วสํ า นั ก
มีรถถ่ายทอดสัญญาณดาวเทียมและห้องส่งที่พร้อมรองรับภารกิจต่างๆ นายกรัฐ มนตรี เพราะเป็ น เรื่อ งที่สํา นัก นายกฯ มีโ ครงการนี้ อ ยู่ แ ล้ ว
อยูแ่ ล้ว เพียงแต่อยู่ท่กี ารศึกษาความคุ้มค่าระหว่างการเช่าหรือซื้อมา ไม่เกี่ยว
กันเป็ นเรื่องที่ ผอ.อสมท.ต้องชีแ้ จงกับทางสหภาพฯ.
2. การบริการทีข่ าดหลักธรรมาภิบาล ความโปร่งใส สร้างความแตกแยก
ภายในองค์กร มีการล้วงลูกการบริหาร การปรับปรุงโครงสร้างองค์กร
แต่ปิดกัน้ การมีส่วนร่วมของพนักงาน โดยเฉพาะความพยายามผลักดัน

20 << คนทำงำน กุมภำพันธ์ 2554


ความเคลื่อนไหวแรงงานไทย >>
คนงาน บ.แม็กซิ ส เดิ นเท้าเข้ากรุงฯ เรียกร้องความเป็ นธรรม โรงงาน ขณะทีอ่ าชีพทีค่ นหางานสมัครทํางานมากทีส่ ดุ คือ อาชีพ
พืน้ ฐานรองลงมาเป็ นอาชีพเสมียน พนักงานบริการ พนักงานขาย และ
เมื่อเวลา 05.30 น. วันนี้ (1 ก.พ. 54) พนักงาน บ.แม็กซิส อินเตอร์
การตลาดตามลําดับ อย่าง ไรก็ตาม วุฒกิ ารศึกษาทีน่ ายจ้างต้องการ
เนชั ่นแนล(ไทยแลนด์) จํากัด บริษทั ผูผ้ ลิตยางรถยนต์ยห่ี อ้ แม็กซิส
มากทีส่ ดุ คือ ระดับมัธยมศึกษา รองลงมาระดับ ปวส.และปวช.
ตัง้ อยูเ่ ลขที่ 300/1 ม. 1 ต.ตาสิทธิ ์ อ.ปลวกแดง จ.ระยอง กว่า 1,000
ตามลําดับ ส่วนวุฒกิ ารศึกษาทีค่ นหางานนํามาสมัครมากทีส่ ดุ คือระดับ
คน รวมตัวกันบริเวณหน้าบริษทั ฯ ก่อนจะเดินเท้าเข้ากรุงเทพฯ เพื่อ
มัธยมศึกษา ระดับประถมศึกษาหรือตํ่ากว่า และระดับปริญญาตรี
ไปยื่นหนังสือกับรัฐมนตรีวา่ การกระทรวงแรงงาน ทีท่ ําเนียบรัฐบาล
ตามลําดับ (แนวหน้า, 1-2-2554)
และยื่นหนังสือกับหน่ วยงานทีเ่ กี่ยวข้องให้ช่วยเหลือ ประท้วงนายจ้าง
ชาวไต้หวัน ทีป่ ระกาศหยุดงาน หลังรวมตัวกันเรียกร้องโบนัส และ กรมการจัดหางานยันแรงงานไทยในอียิปต์ปลอดภัย
เงินเดือนเพิม่ นายรุง่ สว่าง ดอนสอนยา ทีป่ รึกษาสหภาพแรงงานแม็ก
2 ก.พ. 54 - นายสุเมธ มโหสถ รองอธิบดีกรมการจัดหางาน เปิ ดเผย
ซิส ประเทศไทย บอกว่า บริษทั แม็กซิส เป็ นผูผ้ ลิตยางรถยนต์ยห่ี อ้
ถึงการให้ความช่วยเหลือแรงงานไทยทีท่ ํางานในประเทศอียปิ ต์จาํ นวน
แม็กซิส สัญชาติไต้หวัน มีพนักงานทัง้ หมดประมาณ 2,500 คน สภาพ
630 คน ว่า ขณะนี้ยงั ไม่มรี ายงานว่ามีแรงงานได้รบั บาดเจ็บหรือ
ปญั หาของพนักงานทีผ่ า่ นมาได้รบั ค่าจ้างและสวัสดิการตํ่ามาก
เสียชีวติ แรงงาน เป็ นชาย 200 คน หญิง 430 คน ส่วนใหญ่ทํางานใน
โดยเฉพาะโบนัส และเงินเดือน รวมทัง้ ไม่ปฎิบตั ติ ามกฏหมายคุม้ ครอง
ตําแหน่งพนักงานนวดสปา พ่อครัว ช่างไม้ ช่างปูน ช่างเครื่องยนต์
แรงงานหลายอย่างด้วยกัน เช่น ห้องนํ้าไม่เพียงพอ นํ้ าดื่มไม่สะอาด
ช่างเชื่อมเบือ้ งต้นได้มอบหมายให้เจ้าหน้าที่ ประสานครอบครัว
อุปกรณ์ความปลอดภัยไม่ได้มาตรฐาน และไม่จดั ทีท่ ํางานให้พนักงาน
แรงงานในเมืองไทยเพื่อยืน ยันความปลอดภัย ขณะนี้ประสานได้ 118
ทีต่ งั ้ ครรภ์อย่างเหมาะสม เป็ นต้น จึงได้มกี ารยื่นข้อเรียกร้องกับ
ครอบครัว อยูใ่ นจังหวัดนครราชสีมามากทีส่ ดุ รองลงมา คือ พะเยา
ผูบ้ ริหารฯ แต่ขอ้ เรียกร้องกลับถูกผูบ้ ริหารยื่นข้อเรียกร้องสวนมา ทํา
นครพนม กรุงเทพฯ และบุรรี มั ย์ ซึง่ แรงงานไทยทีเ่ ป็ นสมาชิกกองทุน
ให้การเจรจาล้มเหลว และนายจ้างก็ประกาศหยุดงานทันทีตงั ้ แต่วนั ที่
เพื่อช่วยเหลือผูไ้ ปทํางานต่างประเทศจะได้ รับสิทธิประโยชน์กรณี
25 พฤศจิกายน 2554 เป็ น ต้นมา โดยอ้างว่า เครื่องจักรเสีย พวกตน
ปญั หาความไม่สงบเบือ้ งต้นคนละ 15,000 คน หากสถานการณ์ยดื เยือ้
เห็นว่าไม่ได้รบั ความเป็ นธรรม จึงได้รวมตัวกันโดยจะเดินเท้าเข้า
จะได้รบั ชดเชยการสูญเสียการขาดรายได้จากการทํางานด้วย
กรุงเทพฯ ไปรวมกับกลุ่มพนักงานของบริษทั อีก 2 บริษทั ในนิคม
นอกจากนี้ได้ประสานบริษทั ทีจ่ ะนํ าแรง งานไทยเดินทางไปทํางานที่
อุตสาหกรรมแหลมฉบัง จํานวน 800 คน เดินเท้าไปพร้อมกัน เพื่อยื่น
ประเทศลิเบีย 16 คน ทีต่ กค้างในสนามบินนานาชาติกรุงไคโร ให้บนิ
หนังสือกับผูห้ ลักผูใ้ หญ่ของบ้านเมืองให้ช่วยกลับเข้าทํางาน โดยคํ่า
ไปลงทีป่ ระเทศจอร์แดน และขณะนี้ได้เดินทางถึงลิเบียแล้ว รวมทัง้ ได้
ไหนนอนนัน้ โดยมีกําหนดจะใช้เวลาประมาณ 12 วัน จะถึงทีห่ มาย
ทําหนังสือไปยังบริษทั จัดหางานต่าง ๆ ให้ระงับการจัดแรงงานไป
(เนชั ่นทันข่าว, 1-2-2554)
ประเทศอียปิ ต์หรือประเทศใกล้เคียงจนกว่าสถานการณ์จะ สงบ ซึง่
ลูกจ้างขึน้ ทะเบียนว่างงาน 3 หมื่นรายชี้ส่วนใหญ่ย้ายงาน กระทรวงแรงงานจะติดตามช่วยเหลือแรงงานด้านความปลอดภัยและ
การชดเชยอย่าง เต็มทีต่ ่อไป (สํานักข่าวไทย, 2-2-2554)
นายสุธรรม นทีทอง โฆษกกระทรวงแรงงาน กล่าวว่า ในเดือน
ธันวาคม 2553 มีผปู้ ระกันตนไปขึน้ ทะเบียนขอรับประโยชน์ทดแทน
กรณีวา่ งงาน จํานวน 32,243 คน แบ่งเป็ นผูถ้ ูกเลิกจ้างจํานวน 5,625
ก.แรงงาน ระบุ ผู้สาเร็จการศึกษาระดับ ป.ตรี ปี นี้ เสี่ยงต่อการ
คน ลาออกจํานวน 26,618 คน และสามารถหางานทําได้ใหม่จาํ นวน
ว่างงานสูง
15,428 คนคิดเป็ นร้อยละ 47.85 ทัง้ นี้ มีคนหางานมาสมัครงานที่
กรมการจัดหางานจํานวน 66,279 คน และได้รบั การบรรจุงาน 30,788 นายสมเกียรติ ฉายะศรีวงศ์ ปลัดกระทรวงแรงงาน เปิ ดเผยว่า ปี น้ีมี
คน ส่วนความต้องการจ้างงานของนายจ้าง ข้อมูลณ วันที่ 1 มกราคม แนวโน้มทีผ่ สู้ าํ เร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีจะประสบปญั หาว่างงาน
2554 มีจาํ นวน294,207 คน เพิม่ จากช่วงเดียวกันของปี ก่อน จํานวน สูง โดยจากการสํารวจความคิดเห็นของผูส้ าํ เร็จการศึกษาปี น้ีพบว่า
168,073 คน ส่วนใหญ่เป็ นกลุ่มอาชีพ พนักงานบริการ พนักงานขาย กว่าร้อยละ 90 ประสงค์จะทํางาน แต่ความต้องการแรงงานของ
อาชีพงานพืน้ ฐาน(แรงงานด้านการประกอบหรือบรรจุผลิตภัณฑ์) นายจ้างทีแ่ จ้งเข้ามายังกรมการจัดหางานมีกว่า 2.1 แสนอัตรา แต่ใน
เสมียน ผูป้ ฏิบตั งิ านโดยใช้ฝีมอื ในธุรกิจต่างๆ และผูป้ ฏิบตั งิ านใน จํานวนนี้ตอ้ งการวุฒปิ ริญญาตรีเพียง 3.1 หมื่นอัตรา เท่านัน้ ซึง่ แต่ละ

คนทำงำน กุมภำพันธ์ 2554 >> 21


ปี มผี จู้ บปริญญาตรีประมาณ 3 แสนคน เท่ากับว่าอัตราการแข่งขัน ร้องเรียนต่อ พล.ต.อ.วิเชียร พจน์โพธ์ศรี ผูบ้ ญ ั ชาการตํารวจแห่งชาติ
เพื่อให้ได้งานทําอยูท่ ่ี 10 ต่อ 1 ดัง นัน้ คนทีห่ างานไม่ได้อาจหันไปทํา โดยมี พล.ต.ต.ประวุฒ ิ ถาวรศิริ โฆษกสํานักงานตํารวจแห่งชาติ รับ
ธุรกิจอิสระ ทํางานทีค่ วามต้องการตํ่ากว่าวุฒทิ จ่ี บ หรือไปเรียนต่อ หนังสือเรียกร้องให้ปลดโซ่ล่าม นายชาลี ดียู แรงงานชาวพม่า ที่
แทน ทัง้ นี้ ปลัดกระทรวงแรงงาน แนะนําให้นกั เรียนทบทวนความคิด ประสบอุบตั เิ หตุจากการทํางานจนได้รบั บาดเจ็บสาหัส และอยูใ่ น
หันมาเรียนสายอาชีพแทนสายสามัญให้มากขึน้ เพราะจะตรงกับความ ระหว่างพักรักษาตัวทีโ่ รงพยาบาลตํารวจ น.ส.ปรียา ภร ระบุว่ากรณี
ต้องการของตลาด แรงงาน ขณะที่กระทรวงแรงงานจะดูแลเรื่อง ของ นายชาลี ไม่ได้กระทําผิดร้ายแรง ทีส่ าํ คัญยังอยู่ในสภาพทีไ่ ม่
ค่าแรงงานตามมาตรฐานฝีมอื รวมทัง้ วางแนวทางความก้าวหน้าใน สามารถหลบหนีได้ การล่ามโซ่ผปู้ ่วย ถือเป็ นการลดทอนศักดิ ์ศรีความ
อาชีพให้สามารถขึน้ ไปถึงขัน้ ผูบ้ ริหารได้ในอนาคต สําหรับความต้อง เป็ นมนุษย์ ซึง่ ขัดต่อรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย และปริญญา
จ้างงานของนายจ้างที่ แจ้งเข้ามายังกรมการจัดหางานในปี น้ี มีจาํ นวน สากลว่าด้วยสิทธิมนุ ษยชนของสหประชาชาติ จึงขอเรียกร้องให้รบี
กว่า 2.1 แสนอัตรา แบ่งเป็ นวุฒ ิ ม.3 กว่า 6.1 หมื่นคน ปวช.3.4 หมื่น ปลดโซ่ล่าม นายชาลี เพราะไม่ใช่อาชญากร แต่เป็ นเรื่องของระบบรัฐ
คน ปวส. 5.2 หมื่นคน แต่ผสู้ าํ เร็จการศึกษาชัน้ ม.3 มีเพียงร้อยละ 3.8 ด้าน พล.ต.อ.ประวุฒ ิ กล่าวว่า จะไปตรวจสอบว่า การควบคุมตัว นาย
ทีต่ อ้ งการทํางาน ส่วนวุฒ ิ ปวช.มีรอ้ ยละ 23.7 และ ปวส.ร้อยละ 46.4 ชาลี ขณะรักษาตัว เป็ นเรื่องทีเ่ กินความจําเป็ นหรือไม่ ส่วนการ
ทีต่ อ้ งการทํางาน (สํานักข่าวแห่งชาติ กรมประชาสัมพันธ์, 3-2-2554) ดําเนินคดีหลบหนีเข้าเมืองก็จะประสานกับกระทรวงแรงงาน เพื่อ
ตรวจสอบว่า นายชาลี เป็ นแรงงานทีถ่ ูกกฎหมายตามทีก่ ล่าวอ้าง
ต่างด้าวต่อใบอนุญาต 58,201 คน
หรือไม่ดว้ ย ทัง้ นี้ก่อนหน้านี้ นายชาลี เป็ นแรงงานที่ได้รบั ใบอนุญาต
นายอนุรกั ษ์ ทศรัตน์ ผูอ้ ํานวยการสํานักบริหารแรงงานต่างด้าว ทํางานอย่างถูกต้องตามกฎหมาย และใบอนุญาตจะหมดอายุ ในวันที่
กรมการจัดหางาน เปิ ดเผยว่า แรงงานต่างด้าว 3 สัญชาติ ที่ 20 มกราคม 2554 แต่ประสบอุบตั เิ หตุขณะทํางานก่อสร้างจนลําไส้
ใบอนุญาตการทํางานจะหมดอายุในวันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2554 มี แตก และขาหัก เมื่อวันที่ 9 มกราคม 2554 ต้องพักรักษาตัวต่อเนื่อง
จํานวนทัง้ สิน้ 892,875 คน แบ่งเป็ น สัญชาติพม่า 775,875 คน ลาว ในโรงพยาบาลแห่งหนึ่งใน จ.ปทุมธานี จนไม่ได้ไปต่อใบอนุญาตโดย
61,362 คน และกัมพูชา 55,746 คน และตัง้ แต่เปิ ดให้มาต่อใบอนุญาต นายจ้างหลบหนีไป กระทั ่งวันที่ 31 มกราคม ทีผ่ า่ นมา รพ.แจ้ง
ล่วงหน้าตัง้ แต่วนั ที่ 1 ธันวาคม 2553 – 31 มกราคม ทีผ่ า่ นมา มี ตํารวจให้มาจับกุมและถูกส่งไปควบคุมทีส่ าํ นักงานตรวจคนเข้าเมือง
แรงงานต่างด้าวมาต่อใบอนุญาตเพียง 58,201 คน ยังไม่มาต่อ เพื่อรอการส่งกลับ จนมูลนิธไิ ปประสานงานและถูกส่งมารักษาที่ รพ.
ใบอนุญาตทํางานจํานวน 834,674 คน จึงขอให้นายจ้างรีบพาแรงงาน ตํารวจในทีส่ ุด (สํานักข่าวไทย, 3-2-2554)
ต่างด้าวมาต่อใบอนุญาตโดยเร็ว ไม่จาํ เป็ นต้องรอให้เป็ นสัปดาห์
สุดท้ายค่อยมาต่อใบอนุญาต เพราะจะส่งผลให้ล่าช้า และอาจต้องมา
ต่อใบอนุญาตภายหลัง วันที่ 28 กุมภาพันธ์ทจ่ี ะถึงนี้ เนื่องจาก คนงาน บ.อริยะการทอ จี้ ก.แรงงานเก็บหนี้ นายจ้างจ่าย
เจ้าหน้าทีอ่ าจทําได้เพียงการรับคําขอการต่อใบอนุญาตไว้ก่อนสําหรับ ค่าชดเชย
แรงงานต่างด้าวทีใ่ บอนุญาตการ ทํางานหมดอายุในวันที่ 20 มกราคม
4 ก.พ. 54 - ทีก่ ระทรวงแรงงาน นางอัมพร นิตสิ ริ ิ อธิบดีกรม
ทีผ่ า่ นมา มีจาํ นวนทัง้ หมด 39, 272 คน ตัวเลขล่าสุดหลังจากปิ ดรับคํา
สวัสดิการและคุม้ ครองแรงงาน กล่าวถึง กรณีทค่ี นงานจากบริษทั
ขอและต่อใบอนุญาตแล้วมีผมู้ าต่อใบอนุญาตทัง้ หมด 12,953 คน ซึง่
อริยะการทอ จํากัด จังหวัดปทุมธานี ประมาณ 150 คน ได้เดินทางมา
บางส่วนได้รบั การพิสจู น์สญ ั ชาติไปแล้วและได้ใบอนุญาตทํางานอีก
ปกั หลักชุมนุมอยูบ่ ริเวณหน้ากระทรวงแรงงาน เพื่อเรียกร้องให้
ประเภท หนึ่งและบางส่วนกลับประเทศ จึงทําให้ยอดหายไปกว่าร้อย
สํานักงานประกันสังคม(สปส.)ปทุมธานี ดําเนินการให้บริษทั อริยะการ
ละ 60 ซึ่งแรงงานต่างด้าวกลุ่มทีเ่ หลือขอให้รบี มาต่อใบอนุญาตการ
ทอ จํากัด ชําระหนี้กองทุนประกันสังคม ซึง่ เดิมผ่อนชําระเดือนละไม่
ทํางานภายในวันที่ 28 กุมภาพันธ์น้ี หากตรวจพบการขาดต่อ
น้อยกว่า 15,000 บาท ขอให้สปส.เรียกเก็บเงินจากบริษทั ฯ เพื่อชําระ
ใบอนุญาตจะมีโทษทัง้ จําและปรับตามกฎหมาย (สํานักข่าวแห่งชาติ
หนี้ไม่น้อยกว่าเดือนละ 500,000 บาท หากไม่สามารถชําระหนี้ได้ ขอ
กรมประชาสัมพันธ์, 3-2-2554)
ให้สปส.ยึดอายัดทรัพย์สนิ ของบริษทั เพื่อออกขายทอดตลาด ว่า เป็ น
ร้องเรียน ผบ.ตร. รพ.ตารวจใช้โซ่ล่ามแรงงานข้ามชาติ ที่ป่วย การมุง่ หวังกดดันให้บริษทั ฯ ประสบปญั หาไม่สามารถดําเนินกิจการ
หนัก ต่อไปได้ ส่งผลให้มกี ารเลิกจ้างและจ่ายเงินชดเชยกรณีเลิกจ้าง โดย
ก่อนหน้านี้ได้มกี ารขอให้ใช้อํานาจตามกฎหมายสั ่งปิ ด กิจการโรงงาน
น.ส.ปรียาภร ขันกําเหนิด ผู้ ประสานงานโครงการยุตธิ รรมเพื่อ
ดังกล่าว และจ่ายเงินชดเชยให้กบั แรงงานทัง้ หมด แต่ปจั จุบนั บริษทั ฯ
แรงงานข้ามชาติ มูลนิธสิ ทิ ธิมนุษยชนและการพัฒนา เข้ายื่นหนังสือ
22 << คนทำงำน กุมภำพันธ์ 2554
ยังดําเนินการอยู่ และยังไม่ได้จา่ ยเงินชดเชยแก่แรงงานทัง้ 283 คน มิได้รบั การช่วยเหลือแต่ อย่างใด จาก การให้ขอ้ มูลของปญั หาทีเ่ กิด
คิดเป็ นจํานวนเงิน 18 ล้านบาท นางอัมพร กล่าวว่า ขณะ นี้บริษทั ฯ กับทีวไี ทยยังโดนโทรศัพท์ลกึ ลับมาขมขูโ่ ดย ห้ามไม่ให้ขอ้ มูลเกี่ยวกับ
ยังขาดสภาพคล่อง และยังจ่ายเงินให้กบั คนงานยังไม่ครบ ทางลูกจ้าง ปญั หาทีเ่ กิดขึน้ มิฉะนัน้ จะไม่ได้รบั ความปลอดภัยในชีวติ หลังรอ
จึงอยากให้นายจ้างบอกเลิกจ้างเลย เพื่อจะได้เงินชดเชย แล้วจะได้ ความหวังมาหลายเดือนยังไม่ม ี ความชัดเจนการช่วยเหลือจาก
ออกไปทํางานทีอ่ ่นื แต่ในขณะนี้กย็ งั ไม่ได้มกี ารเลิกจ้าง ทางกลุ่ม หน่ วยงานใด พนักงาน พีซบี จี งึ มีมติเข้าร่วมกับพี่น้องแรงงานแม็กซีส
ลูกจ้างทีม่ าชุมนุมจึงอยากให้สปส.เรียกเก็บสมทบทีท่ างบริษทั ฯ ติด เดินเท้าเข้ากรุงเทพ เพื่อบอกคนทัง้ ประเทศว่าพวกเราถูกทอดทิง้ แม้
หนี้อยูใ่ ห้มากขึน้ เพื่อกดดันให้บริษทั ประสบปญั หาจะได้ไม่สามารถ ร้องเรียนขอความเป็ นธรรมยังถูก ข่มขู่ (นักสื่อสารแรงงาน, 8-2-2554)
ดําเนินกิจการได้ แล้วจึงจ่ายเงินชดเชยให้ในกรณีทถ่ี ูกเลิกจ้าง “จาก
สหภาพฯ ขสมก.ปูดซ่อมรถเมล์ 500 คันเปลี่ยนช่างหวั ่นเกิ ด
ปญั หาทีเ่ กิดขึน้ เป็ นการอาศัยช่องว่างทางกฎหมาย โดยการจ่าย
ปัญหา
ค่าแรงไม่ตรงเวลาเพื่อให้ลูกจ้างรําคาญและลาออกไปเองซึง่ ก็จะไม่ ได้
เงินชดเชย ทําให้ทางกลุ่มลูกจ้างออกมาเรียกร้องซึง่ ในขณะนี้ได้สง่ เมื่อวันที่ 8 ก.พ. นายวีระพงศ์ วงแหวน เลขาธิการสหภาพแรงงาน
เจ้าหน้าทีข่ องทางกรม สวัสดิการและคุม้ ครองแรงงาน รวมถึง รัฐวิสาหกิจ องค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ (ขสมก.) เปิ ดเผยว่า บริษทั
เจ้าหน้าทีจ่ ากสปส.เข้าไปไกล่เกลี่ยปญั หาดังกล่าวแล้ว”นางอัมพร มิตซู ซึง่ รับจ้างเหมาซ่อมรถเมล์ของ ขสมก.ยีห่ อ้ มิตซู จํานวน 500
กล่าว (ASTV ผูจ้ ดั การออนไลน์ , 4-2-2554) กว่าคัน ได้หมดสัญญาไปตัง้ แต่วนั ที่ 31 ม.ค.ทีผ่ า่ นมา และผูบ้ ริหาร
ไม่ได้ต่อสัญญาจ้างอีก เนื่องจากบริษทั ฯ ขอขึน้ ค่าจ้างเหมาซ่อมรถอีก
วอนอย่ากดดันแรงงานกัมพูชา
15% จากค่าเหมาซ่อมเดิม คือ 1,053 บาท/คัน/วัน และได้หารายใหม่
7 ก.พ. 54 - นาย สุธรรม นทีทอง โฆษกกระทรวงแรงงาน กล่าวถึง ได้แล้ว คือ บริษทั อินทิรา วิจติ รลาภ คิดค่าเหมาซ่อม 1,015 บาท/คัน/
เหตุปะทะตามแนวชายแดนระหว่างทหารไทยและกัมพูชา โดยยอมรับ วัน ทัง้ นี้บอร์ด ขสมก. มีมติเมื่อวันที่ 25 ม.ค.ทีผ่ า่ นมา อนุมตั กิ ารจ้าง
ว่าเรื่องดังกล่าวส่งผลกระทบต่อการจ้างแรงงานต่างด้าวสัญชาติ บริษทั อินทิรา ซ่อมรถ ทีอ่ ยูใ่ นเขตการเดินรถที่ 2, 4 และ 8 ให้เริม่
กัมพูชา โดยเฉพาะแรงงานทีท่ ํางานแบบเช้าไป-เย็นกลับตามแนว ตัง้ แต่วนั ที่ 1 ก.พ. ทีผ่ า่ นมา แต่จนถึงขณะนี้ บริษทั เพียงมาดูสภาพรถ
ชายแดน เช่น ทีจ่ งั หวัดสระแก้ว สุรนิ ทร์และศรีสะเกษ ทีข่ ณะนี้ดา่ น แต่ยงั ไม่นําอุปกรณ์เข้าทํางานใด ๆ ซึง่ น่าเป็ นห่วงมาก เพราะรถเมล์
ชายแดนทัง้ 3 แห่ง ได้ปิดชั ่วคราว นอกจากนี้ยงั ส่งผลกระทบไปถึง ของ ขสมก. เก่ามากมีอายุการใช้งาน 17 ปี ขน้ึ ไป จะต้องมีการ
การพิสจู น์สญั ชาติท่เี ริม่ หยุดชะงักลง เนื่องจากแรงงานต่างด้าว บํารุงรักษาดูแลระบบเบรก คลัตช์ ทุกวัน เพื่อความปลอดภัยในการ
สัญชาติกมั พูชามีความกังวลในสถานการณ์ทย่ี งั รุนแรง อย่างต่อเนื่อง ออกให้บริการ หากไม่มชี ่างมาซ่อมแซม รถเสียก็ตอ้ งจอดทิง้ ไว้ ออก
อย่างไรก็ตามฝากเตือนไปยังนายจ้างรวมถึงคนงานชาวไทยให้ช่วยกัน ให้บริการไม่ได้ ส่งผลเสียต่อ ขสมก.เอง อย่างไรก็ตามได้สอบถามเรื่อง
ดูแลแรงงานกัมพูชาอย่าง ใกล้ชดิ ในช่วงนี้ และอย่าพูดจากดดันหรือ นี้ไปยังผูบ้ ริหาร ขสมก.แล้ว ได้คาํ ตอบว่า ขสมก.จะเซ็นสัญญากับ
ทําอะไรทีเ่ ป็ นการสร้างสถานการณ์ เนื่องจากแรงงานอาจเกิด บริษทั วันที่ 10 พ.ค.นี้ ระหว่างนี้จะส่งนายช่างวิศวะของ ขสมก.ไป
ความเครียด และอาจทําอะไรอย่างไม่ยงั ้ คิดได้ เช่นกรณีทเ่ี กิดขึน้ เมื่อ ดูแลซ่อมบํารุงรถดังกล่าวเบือ้ งต้นก่อน ซึง่ ตนเห็นว่าไม่สามารถ
วานนี้ ทีค่ นงานชาวกัมพูชาขโมยรถเพื่อพยายามหลบหนีกลับประเทศ แก้ปญั หาได้ เพราะไม่มเี ครื่องมือและอะไหล่ในการซ่อมแซม ทัง้ นี้
เพราะความเมาสุรา และถูกกดดันจากคนงานชาวไทย โดยขอให้คดิ ว่า สหภาพฯ จะติดตามการทํางานของฝา่ ยบริหารต่อไป โดยจะนัด
แรงงานกัมพูชาทีเ่ ข้ามาทํางานในประเทศไทยในขณะนี้ มาด้วยความ ประชุมกรรมการสหภาพฯ ขสมก.ในวันที่ 11 พ.ค.นี้ ด้านนางปราณี ศุ
สุจริตใจ และไม่มสี ว่ นรูเ้ ห็นกับเหตุการณ์ทเ่ี กิดขึน้ (สํานักข่าวไทย, 7- กระศร รองผูอ้ ํานวยการ ขสมก. ฝา่ ยบริหาร กล่าวว่า ฝา่ ยบริหารได้
2-2554) ส่งช่าง 26 คน ไปช่วยดูตามเขตการเดินรถ เนื่องจากเป็ นช่วงเปลี่ยน
ถ่ายงาน บริษทั ฯ อยู่ระหว่างเตรียมความพร้อมและจัดทําเอกสาร
พนักงาน พีซีบี ร้องต่อทีวีไทยกลับโดนนายจ้างข่มขู่
ยืนยันว่าบริษทั อินทิราฯ มีประสบการณ์ทํางานซ่อมรถโดยสาร และ
นายกิตติพงษ์ ตาเขียว พนักงานบริษทั แผนกช่างซ่อมบํารุง เล่าว่า ผ่านขัน้ ตอนการคัดเลือกมาถูกต้อง พร้อมให้ขอ้ เสนอที่ดจี งึ เลือกมา
หลังจากเกิดอุบตั เิ หตุไฟไหม้ได้รบั บาดเจ็บจากเหตุการณ์ดงั กล่าวเป็ น ทํางาน เนื่อง จาก ขสมก.ได้แจ้งบริษทั เหมาซ่อมรถโดยสาร มาเสนอ
เวลา 6 เดือนผ่านมาต้องทนทุกข์จากบาดแผลทีโ่ ดนไฟไหม้ตามราง ราคาแต่ไม่มรี ายใดเสนอมา มีเพียงบริษทั อินทิราฯ เพียงรายเดียว
กายในการรักษายัง ต้องมีการผ่าตัดอยูบ่ ่อยครัง้ ส่วนชีวติ ครอบครัวลูก และเสนอราคาตํ่ากว่าบริษทั เดิมทีเ่ คยทํางานให้ ขสมก. (เดลินิวส์, 9-
2 คนต้องไปฝากญาติอยู่ต่างจังหวัดดูแลแทนภรรยาทีแ่ ยกทางกัน 2-2554)
ตอนนี้ลําบากมาก และการเดินทางไปทีศ่ ูนย์ฟ้ืนฟูทจ่ี งั หวัดระยองนัน้
คนทำงำน กุมภำพันธ์ 2554 >> 23
“ประกันสังคม” ดีเดย์ใช้ “ม.40” รับวันแรงงาน 4.1 ทัง้ นี้ คนงานมากกว่าร้อยละ 60 ระบุวา่ สามารถหาซือ้ ดื่มได้ไม่
จํากัดเวลา และมีรอ้ ยละ 57.7 ทีร่ วู้ ่ามี พ.ร.บ.ควบคุมเครื่องดื่ม
นายเฉลิมชัย ศรีอ่อน รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงแรงงาน เปิ ดเผยว่า ได้
แอลกอฮอล์ เพื่อใช้ในการจํากัดการดื่มและการจําหน่าย ลดปญั หา
หารือกับนายอภิสทิ ธิ ์ เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตรีเกีย่ วกับนโยบาย
สังคม (สํานักข่าวไทย, 10-2-2554)
ประชาวิวฒ ั น์ 9 ข้อ ทีจ่ ะต้องจูงใจให้แรงงานนอกระบบเข้ามาสูร่ ะบบ
ประกันสังคม มาตรา 40 โดยหารือในเรื่องของแผนงานและเป้าหมาย
ทีว่ างไว้ รวมถึงวันที่จะเริม่ เก็บเงินสมทบ โดยจะมีการเปิ ดตัวอย่าง
พนักงานโรงกลั ่น Esso ศรีราชา ชี้แจงกรณี พิพาทแรงงาน
เป็ นทางการในระหว่างวันที่ 19-21 ก.พ.นี้ ซึง่ ขณะนี้ยงั รอการตัดสินใจ
ของนายอภิสทิ ธิ ์ว่าควรจะเป็ นวันใด ขณะเดีย่ วกันนัน้ ในส่วนของเจ้า 10 ม.ค. 54 – สืบเนื่องจากพนักงานโรงกลั ่นนํ้ามันเอสโซ่ศรีราชา
หน้าที่ ก็จะมีการแยกกองออกไปต่างหาก โดยขณะนี้ได้ขออนุมตั จิ าก จํานวน 259 คน ทัง้ ระดับปฏิบตั กิ ารและระดับบังคับบัญชา ได้รว่ มกัน
สํานักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน (ก.พ.) จํานวนทัง้ สิน้ 470 ลงลายมือชื่อ ยื่นข้อเรียกร้อง ตามพระราชบัญญัตแิ รงงานสัมพันธ์
อัตรา ซึง่ อยูใ่ นการรออนุมตั ิ ในส่วนผูป้ ระกันตนตามมาตรา 40 พ.ศ.2518 ทีไ่ ด้ให้สทิ ธิลูกจ้างในการยื่นข้อเรียกร้องเพื่อปรับปรุง
กระทรวงแรงงานก็จะคืนสิทธิให้กบั ผูป้ ระกันตนด้วย ทัง้ นี้นายเฉลิมชัย เปลีย่ นแปลงสภาพ การจ้าง ต่อฝา่ ยบริหาร ของบริษทั เมื่อวันที่ 4
กล่าวว่า โจทย์สาํ คัญทีก่ ระทรวงแรงงานจะต้องทําจากนี้ คือ การทํา ตุลาคม 2553 จํานวน 16 ข้อ ซึง่ ได้มกี ารประชุมเจรจา เป็ นทางการ
การประชาสัมพันธ์โครงการให้กลุ่มแรงงานนอกระบบทั ่วประเทศ รับรู้ จํานวน 6 ครัง้ และนอกรอบอย่างไม่เป็ นทางการ ซึง่ ได้มกี ารเจรจา
และเข้าถึงแหล่งข้อมูลให้ได้มากที่สดุ ซึง่ มองนโยบายให้สาํ นักงาน ครัง้ สุดท้าย เมื่อวันที่ 6 มกราคม 2554 โดยตัวแทนฝา่ ยบริษทั ตอบ
ประกันสังคมดําเนินการต่อไป และจะต้องทําการประชาสัมพันธ์ให้ ปฏิเสธข้อเรียกร้องของพนักงาน ทัง้ จํานวน 16 ข้อ (ประชาไท, 10-2-
ประชาชนรูเ้ ข้าถึงสิทธิประโยชน์ท่จี ะได้รบั เพราะหากการ 2554)
ประชาสัมพันธ์ไม่เข้าถึงกลุ่มผูส้ ามารถใช้สทิ ธิ ์ก็คงจะไม่เข้ามาสมัคร
บีโอไอเผยเอกชน 377 รายแห่ยื่นขอแรงงาน
กัน (สํานักข่าวกรมประชาสัมพันธ์, 10-2-2554)
แหล่งข่าวจากสํานักงานคณะกรรมการส่ง เสริมการลงทุน (บีโอไอ)
เผยแรงงานไทยจ่ายค่าเหล้ามากกว่าเดือนละพัน
เปิ ดเผยว่า ขณะนี้มบี ริษทั ทีไ่ ด้รบั การส่งเสริมการลงทุนผ่านบีโอไอ
10 ก.พ. 54 - นายจะเด็จ เชาวน์วไิ ล ผูจ้ ดั การมูลนิธเิ พื่อนหญิง กล่าว จํานวน 377 ราย แสดงความจํานงต้องการแรงงานเพื่อรองรับการ
ว่า จากการเก็บข้อมูลการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ของคนงาน 4 ลงทุนใหม่หรือขยายกิจการในปี 54 มากถึง 152,824 คน ซึง่ สูงสุดเป็ น
บริษทั ในปี 2533 ได้แก่ 1.บริษทั วาไทยอุตสาหกรรม จํากัด ประวัตกิ ารณ์ เนื่องจากหลายบริษทั ได้รบั คําสั ่งซือ้ (ออร์เดอร์) มากขึน้
(มหาชน) จ.นนทบุรี 2.บริษทั สเต็ปสโตนส์ จํากัด จ.ลําพูน 3.บริษทั ตามการฟื้นตัวของเศรษฐกิจโลก โดยเฉพาะสินค้าประเภทยานยนต์,
ยางโอตานิ จํากัด จ.นครปฐม และ 4.หจก.อุตสาหกรรมผลิตยางไทย เครื่องใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์, อาหาร, สิง่ ทอและเครื่องนุ่งห่ม เป็ น
สิน จ.สมุทรสาคร จํานวน 604 ราย อายุระหว่าง 16-45 ปี พบว่า ต้น “ตัวเลข 152,824 คน เป็ นข้อมูลความต้องการแรงงานทีแ่ จ้งความ
คนงานกว่าร้อยละ 80 มีรายได้เฉลี่ยอยูท่ ่ี 5,001-10,000 บาทต่อเดือน จํานงมาในช่วงไตรมาส 4 ของปี 53 (ต.ค.-ธ.ค.53) ซึง่ เป็ นจํานวนทีส่ ูง
โดยร้อยละ 39.2 มีคา่ ใช้จ่ายในการซือ้ เครื่องดื่มแอลกอฮอล์มาบริโภค แบบก้าวกระโดดน่าตกใจมากเมื่อเทียบกับไตรมาสอื่นๆ โดยในไตร
เป็ นอันดับ 4 รองจากค่าใช้จา่ ยค่าอาหาร ค่าเดินทาง และค่าเบ็ดเตล็ด มาส 3 (ก.ค.-ก.ย.53) อยูท่ ่ี 16,795 คน, ไตรมาส 2 (เม.ย.-มิ.ย.53)
ตามลําดับ ผลสํารวจพบว่า คนงานเกือบ 1ใน 4 หรือร้อยละ 24.4 ต้อง 42,065 คน, ไตรมาส 1 (ม.ค.-มี.ค.53) เพียง 22,947 คน” สําหรับ
เสียค่าใช้จา่ ยในการดื่มเหล้ามากกว่า 1,000 บาทต่อเดือน ขณะที่ อุตสาหกรรมทีต่ อ้ งการแรงงาน มากสุด คือ อิเล็กทรอนิกส์ และเครื่อง
คนงานร้อยละ 17.5 โดย 3 อันดับยอดนิยม คือ เบียร์ สุรา และสุรา ไฟฟ้า 44,783 คน รองลงมาอุตสาหกรรมเบา ในกลุ่มสิง่ ทอ, รองเท้า,
พืน้ บ้าน โดยเทศกาล เช่น ปี ใหม่ สงกรานต์ เป็ นช่วงทีม่ กี ารดื่มมาก เฟอร์นิเจอร์, เครื่องนุ่งห่ม 31,426 คน, เกษตรกรรมและผลิตผลจาก
ทีส่ ดุ ร้อยละ 84.2 รองลงมาการเป็ นการเลีย้ งฉลองกับเพื่อน และดื่ม การเกษตร 31,398 คน และกลุ่มผลิตภัณฑ์โลหะ เครื่องจักรและ
กับคนในครอบครัว ในด้านพฤติกรรมการดื่ม คนงานเกือบ 1 ใน 3 อุปกรณ์ขนส่ง 21,857 คน โดยจํานวน 152,824 คน เป็ นแรงงาน
หรือร้อยละ 30.4 ดื่มเป็ นประจําทุกวันหลังเลิกงาน โดยคนทีด่ ่มื สุรา ระดับการศึกษา ป.6-ม.6 มากสุด 121,618 คน รองลงมาเป็ นช่าง
แล้วทําร้ายคนในครอบครัว เป็ นบางครัง้ ร้อยละ 8.6 ดื่มเป็ นประจํา เทคนิคระดับการศึกษา ปวช.-ปวส.15,937 คน, ปริญญาตรีขน้ึ ไป
ร้อยละ 2.1 และทีด่ ่มื สุราจนมีผลกระทบต่อการทํางาน ไปทํางานไม่ 6,744 คน และระดับอื่นๆ อีก 8,525 คน ทัง้ นี้เท่าทีส่ อบถามความ
ไหวในวันถัดไป เคยเป็ นบางครัง้ ร้อยละ 36.3 และ เป็ นประจําร้อยละ เชื่อมั ่น นักลงทุนต่างชาติในไทย ในกลุ่มเกษตรกรรมและผลิตผลจาก

24 << คนทำงำน กุมภำพันธ์ 2554


การเกษตร, เหมืองแร่ เซรามิกและโลหะขัน้ มูลฐาน, สิง่ ทอ, ว่าด้วยคุณสมบัตขิ องคณะกรรมการประกันสังคมและเงื่อนไขการพ้น
เครื่องประดับและเครื่องหนัง, อิเล็กทรอนิกส์และเครื่องใช้ไฟฟ้า, สถานภาพ (โพสต์ทูเดย์, 19-2-2554)
เคมีภณ ั ฑ์ กระดาษและพลาสติก กิจการบริการและสาธารณูปโภค
เผยสื่อให้พนื้ ที่แรงงานข้ามชาติ ผู้ลีภ้ ยั เรียกร้องความเป็ นธรรม
ส่วนใหญ่มองว่าสัญญาณฟื้นตัวของเศรษฐกิจโลกตัง้ แต่ปลายปี 52
เพิ่มขึน้
และต่อเนื่องถึงปี 53 ทํา ให้นักลงทุนมีความเชื่อมั ่นว่า เศรษฐกิจไทยมี
แนวโน้มดีขน้ึ โดยเฉพาะด้านรายได้ กําไร สภาพคล่องและการลงทุน 21 ก.พ. 54 - มูลนิธเิ พื่อนไร้พรมแดน-คพรส. เปิ ดผลการศึกษา “แอบ
อย่างไรก็ตาม แม้ไทยจะมีปญั หาชุมนุมทางการเมืองทีร่ นุ แรงในช่วงที่ มองสื่อ” มอง การทํางานของสื่อต่อแรงงานข้ามชาติ ผูล้ ภ้ี ยั คนไร้รฐั
ผ่านมา “ขีดความสามารถแข่งขันของไทยใน ปจั จุบนั นักลงทุน กลุ่มชาติพนั ธุ์ พบทิศทางทีด่ ี สื่อให้พน้ื ทีเ่ รียกร้องความเป็ นธรรม-
ต่างชาติมองว่าทีต่ งั ้ ทางภูมศิ าสตร์ของไทย, สิทธิ ประโยชน์ดา้ นการ ชีแ้ จงสิทธิรอ้ ยละ 22.33 น.ส.พรสุข เกิดสว่าง มูลนิธเิ พื่อนไร้พรมแดน
ลงทุนของบีโอไอเป็ นปจั จัยทีด่ งึ ดูดให้เกิดการลงทุนใน ไทย กล่าวว่า มูลนิธฯิ โครงการพัฒนาคุณภาพชีวติ แรงงานข้ามชาติและผูม้ ี
นอกเหนือจากค่าจ้างแรงงาน และต้นทุนการดําเนินธุรกิจอื่นๆ ทีย่ งั อยู่ ปญั หาสถานะบุคคล (คพรส.) สํานักงานกองทุนสนับสนุ นการสร้าง
ในเกณฑ์ทย่ี งั สามารถแข่งขันกับประเทศอื่นได้” โดยหากเปรียบเทียบ เสริมสุขภาพ (สสส.) และมูลนิธเิ พื่อนไร้พรมแดน จัดทําโครงการ
ขีดความสามารถใน การแข่งขันในปจั จัยต่างๆ ทีเ่ กีย่ วข้องกับการ “แอบมองสื่อ” ติดตามการทํางานของสื่อมวลชนต่อแรงงานข้ามชาติ
ลงทุนของไทยกับประเทศคู่แข่ง 6 ประเทศ ประกอบด้วย เวียดนาม และผูม้ ปี ญั หาสถานะบุคคล ทัง้ กลุ่มชาติพนั ธ์ ผูล้ ภ้ี ยั และคนไร้รฐั
ฟิลปิ ปิ นส์ มาเลเซีย อินโดนีเซีย อินเดียและจีน พบว่า ต้นทุนค่าจ้าง ในช่วง 10 เดือน ตัง้ แต่วนั ที่ 10 มกราคม-14 พฤศจิกายน 2553
แรงงานไทย ตํ่ากว่ามาเลเซียและฟิลปิ ปิ นส์ แต่สงู กว่าเวียดนาม พบว่าสื่อให้พน้ื ทีแ่ ก่กลุ่มเป้าหมายสมํ่าเสมอ โดยเป็ นการนําเสนอ
อินเดียและจีน ขณะทีภ่ าคลักษณ์ของประเทศจะดีกว่า ฟิลปิ ปิ นส์ เนื้อหาประเภทอาชญากรรมและอุบตั เิ หตุมากทีส่ ดุ ร้อยละ 40.04 ของ
อินโดนีเซีย และอินเดีย แต่จะตํ่ากว่ามาเลเซีย, จีน, เวียดนาม เนื้อหาทัง้ หมดเกีย่ วกับกลุ่มเป้าหมาย ซึง่ เชื่อมโยงกับความรุนแรง
(บ้านเมือง, 14-2-2554) และมักนําเสนอกลุ่มเป้าหมายในฐานะผูก้ ระทําผิดหรือถูกกล่าวหาว่า
กระทําผิดมาก ทีส่ ดุ ซึง่ ผูร้ บั สื่ออาจมีทศั นคติเชิงลบต่อแรงงานข้าม
มติ กมธ.สั ่งแขวนโหวตตรง กก.สปส
ชาติและผูม้ ปี ญั หาสถานะบุคคล รองลงมาคือเนื้อหาเกีย่ วกับการคุม้
ทีป่ ระชุมคณะกรรมาธิการ (กมธ.)วิสามัญพิจารณาแก้ไขร่าง พ.ร.บ. ครองสิทธิ กฎหมาย และนโยบาย ร้อยละ 22.33 ของ เนื้อหาทัง้ หมด
ประกันสังคม เมื่อวันที่ 17 ก.พ.ทีผ่ ่านมา ไม่สามารถหาข้อสรุปใน ของกลุ่มเป้าหมาย ซึง่ ค่อนข้างห่างกัน แต่กถ็ อื เป็ นทิศทางทีด่ ที ส่ี ่อื ให้
มาตรา 9 ว่าด้วยทีม่ าของคณะกรรมการประกันสังคม (บอร์ด สปส.) พืน้ ทีเ่ รียกร้องความเป็ นธรรมหรือชี้แจง สิทธิเกีย่ วกับกลุ่มเป้าหมาย
ได้ จึงมีมติให้แขวนมาตราดังกล่าวแล้วข้ามไปพิจารณามาตราอื่นแทน ส่วนเนื้อหาทีไ่ ด้รบั การเสนอน้อยที่สดุ คือ เนื้อหาเกีย่ วกับการเมือง
นายชาลี ลอยสูง ประธานคณะกรรมการสมานฉันท์แรงงานไทย(คส ร้อยละ 2.52 เนื่องจากกลุ่มเป้าหมายไม่มสี ทิ ธิในการเมือง ส่วนความ
รท.) เปิ ดเผยว่า ตัวแทนฝา่ ยรัฐบาลและฝา่ ยผูใ้ ช้แรงงานมีความเห็น ถูกต้องของบริบทข้อมูล พบว่าผิดพลาดร้อยละ 12.98 ซึง่ ส่วนใหญ่มา
ต่างในประเด็นทีม่ าของบอร์ด สปส. โดย ฝา่ ยรัฐบาลเห็นว่าบอร์ด จากการทีส่ ่อื ยังไม่ตระหนักถึงความอ่อนไหวของประเด็น ร้อยละ
สปส.ควรมีทม่ี าเหมือนเดิม คือให้ผปู้ ระกันตนเสนอตัวลงสมัครในนาม 89.57 เช่น การเรียกชื่อผิด ทัง้ นี้ขอให้ส่อื เปิ ดพืน้ ที่ให้มากขึน้ และเสนอ
องค์กร จากนัน้ ให้แต่ละสหภาพแรงงานหรือคณะกรรมการสวัสดิการ เชิงลึก โดยทัง้ หน่วยงานเอกชนและสื่ออาจหาหนทางการประสาน
ของแต่ละบริษทั เลือกตัง้ 1 สหภาพฯ 1 คะแนน ขณะทีฝ่ า่ ยแรงงาน ข้อมูลทีม่ ปี ระสิทธิภาพ เพื่อให้ส่อื ได้เข้าถึงข้อมูลข่าวสารทีห่ ลากหลาย
ยืนยันว่าต้องการให้ผปู้ ระกันตนทัง้ 9.4 ล้านคนลงคะแนนเลือก ทัง้ ในเชิงนโยบาย สภาพปญั หา สังคมและวัฒนธรรม รวมทัง้ ประสาน
คณะกรรมการโดยตรง "ปญั หาคือโรงงานบางแห่งไม่มสี หภาพ ความเข้าใจทีถ่ ูกต้องในประเด็นอ่อนไหว นอกจากนี้ หน่วยงานเอกชน
แรงงาน ก็ตอ้ งใช้คณะกรรมการสวัสดิการเป็ นคนลงคะแนน ซึง่ ส่วน จะต้องศึกษาเงื่อนไขและข้อจํากัดการทํางานของสื่อด้วย หากทําได้
ใหญ่จะเป็ นตัวแทนของนายจ้างทัง้ นัน้ " นายชาลี กล่าว นายชีวเวช สื่อก็อาจจะมีพน้ื ทีใ่ นการนําเสนอเกีย่ วกับกลุ่มเป้าหมายมากขึน้
เวชชาชีวะ รองประธานกรรมาธิการฯ กล่าวว่า คาดว่าท้ายทีส่ ุดแล้ว (สํานักข่าวไทย, 21-2-2554)
บอร์ด สปส.จะมีทม่ี าเช่นเดิม เพราะหากเปลีย่ นไปใช้ระบบเลือกตัง้
คนงานตะวันออกบุกพรรคประชาธิ ปัตย์ ร้องถูกจ้างไม่เป็ นธรรม
โดยตรงจะก่อให้เกิดปญั หาด้านการจัดการ เนื่องจากมีผใู้ ช้สทิ ธิหลาย
ล้านคน และยังไม่มคี วามชัดเจนว่างบประมาณสําหรับจัดการเลือกตัง้ เมื่อเวลา 15.00 น. วันที่ 22 กุมภาพันธ์ ที่พรรคประชาธิปตั ย์ กลุ่ม
จะนํามาจากทีใ่ ด ทัง้ นี้ ในวันที่ 24 ก.พ. กมธ.จะพิจารณามาตรา 10 ประชาชนอ้างว่าเป็ นลูกจ้างของบริษทั ต่างชาติ ซึง่ รับผลิตยางรถยนต์
ในจังหวัดระยอง อาทิ บริษทั แม็กซีส อินเตอร์เนชั ่นแนล (ประเทศ
คนทำงำน กุมภำพันธ์ 2554 >> 25
ไทย) จํากัด อําเภอปลวกแดง จังหวัดระยอง บริษทั พีซบี ี เซ็นต์เตอร์ จังหวัดเร่งดําเนินการประชาสัมพันธ์และอํานวยความสะดวกให้
จํากัด และบริษทั ฟูจติ สึ เจเนอรัล ประเทศไทย จํากัด ประมาณ 200 ประชาชนทีจ่ ะมาใช้โครงการดังกล่าว (สํานักข่าวไทย, 25-2-2554)
คน ได้มารวมตัวชุมนุมเรียกร้องขอความช่วยเหลือจากพรรค
พนักงานฮิ ตาชิ ประท้วงขอขึน้ ค่าแรง-ค่าครองชีพ
ประชาธิปตั ย์ ฐานะแกนนํารัฐบาล เนื่องจากได้รบั ความเดือดร้อน
เนื่องจากบริษทั ดังกล่าวเลิกจ้างไม่เป็ นธรรม รวมแล้วกว่า 3,000 คน เมื่อเวลา 16.00 น. วันที่ 25 ก.พ. ทีบ่ ริเวณด้านหน้า บริษทั ฮิตาชิ โก
โดยไม่ได้รบั ค่าชดเชยตามกฎหมายแรงงาน โดยกลุ่มผูช้ ุมนุมจะ บอล สโตเรจเทคโนโลยี (ประเทศไทย) จํากัด เขตอุตสาหกรรม 304
ปกั หลักทีห่ น้าพรรคประชาธิปตั ย์ จนกว่าจะได้พบนายอภิสทิ ธิ ์ เวชชา หมูท่ ่ี 7 ตําบลท่าตูม อําเภอศรีมหาโพธิ จังหวัดปราจีนบุรี มีพนักงาน
ชีวะ นายกรัฐมนตรี ซึง่ หากกลุ่มผูช้ ุมนุมไม่ได้พบก็จะพาผูใ้ ช้แรงงานที่ ของบริษทั ทีอ่ อกกะในช่วงบ่ายและเข้ากะในช่วงเย็น กว่า 1,000 คน
ได้รบั ความเดือดร้อน ซึง่ ขณะนี้ปกั หลักที่หน้ากระทรวงแรงงานนับพัน รวมตัวประท้วงอยูบ่ ริเวณด้านหน้าโรงงาน เรียกร้องให้ผบู้ ริหารของ
คนมาสมทบ ทําให้ทางพรรคประชาธิปตั ย์ตอ้ งขอกําลังเจ้าหน้าที่ บริษทั ฯ ออกมาแก้ไขปญั หาค่าแรง โดยมีเจ้าหน้าทีต่ ํารวจประมาณ
ตํารวจมาดูแลความสงบเรียบ ร้อย จํานวน 1 กองร้อย จากกองบังคับ 50 นาย คอยดูแลรักษาความสงบเรียบร้อยจากนัน้ นายไพรัช วามวา
การตํารวจภูธรบุรรี มั ย์ และตํารวจนครบาล สน.บางซื่อ (มติชน, 23-2- นิช รองกรรมการผูจ้ ดั การ นายเมตต์ แสงจันทร์ ปลัดอาวุโส ทีท่ ําการ
2554) ปกครองอําเภอศรีมหาโพธิ ได้ออกมาพบกับกลุ่มพนักงาน และรับ
เรื่องร้องเรียน พร้อมทัง้ แจ้งว่า มิสเตอร์ทาเคดะ ซัง กรรมการผูจ้ ดั การ
นายกฯ จีผ้ ้วู ่าฯ ประชาสัมพันธ์ประกันสังคมแรงงานนอกระบบ
และนายนคร ตัง้ สุจริต รองกรรมการฝา่ ยบริหาร กําลังเดินทางมาพบ
นายอภิสทิ ธิ ์ เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตรี ติดตามการปฏิบตั งิ านตามมติ กับกลุ่มพนักงาน เพื่อตกลงเจรจาหาข้อยุตติ ามที่พนักงานเรียกร้อง
คณะรัฐมนตรี (ครม.) ผ่านการประชุมทางไกลระบบวิดโี อคอนเฟอ โดยการรวมตัวของพนักงานฮิตาชิครัง้ นี้ ได้ย่นื ข้อเสนอ 9 ข้อ คือ 1.
เรนซ์ โดยประชุมร่วมกับส่วนราชการและประชาชนในพืน้ ทีจ่ งั หวัด เรียกร้องให้ทางบริษทั ฯ ดําเนินการเปลีย่ นแปลงค่าอาหารจาก 20
สงขลา สุราษฎร์ธานี เชียงใหม่ แพร่ ขอนแก่น นครปฐม ชลบุรี เรื่อง บาท เป็ น 40 บาท ข้อ 2 เปลีย่ นแปลงค่าอาหาร OT จาก 15 บาท
ประกันสังคมสําหรับแรงงานนอกระบบนายกรัฐมนตรี กล่าวว่า รัฐบาล เป็ น 30 บาท 3. เปลีย่ นแปลงค่ากะ E และ C จาก 60 บาท เป็ น 80
พยายามขยายการคุม้ ครองประกันสังคมให้แรงงานนอกระบบ เพราะ บาท 4. เปลีย่ นแปลงค่ากะ B จาก 40 บาท เป็ น 60 บาท 5.
เห็นว่าเป็ นระบบสวัสดิการทีม่ คี วามมั ่นคง ยั ่งยืน ทุกคนเป็ นเจ้าของใน เปลีย่ นแปลงเบีย้ ขยันขัน้ ตํ่า จาก 500 บาท เป็ น 700 บาท 6. เบีย้ ขยัน
การบริหารจัดการ ทําให้ประชาชนมีหลักประกัน หากเจ็บปว่ ย และมี ขัน้ สูง จาก 700 บาท เป็ น 900 บาท 7. เปลีย่ นแปลงเงินพิเศษ 8. เปิ ด
รายได้ในช่วงปลายของชีวติ หลังจากเลิกทํางานแล้ว ในอดีตพยายาม ให้มกี องทุนสํารองเลีย้ งชีพ โดยมีขอ้ แม้คอื พนักงานทีม่ อี ายุงาน 3 ปี
ขยายระบบประกันสังคมเพื่อให้ครอบคลุมประชาชนจํานวนมาก แต่ท่ี ขึน้ ไป ต้องมีกองทุนสํารองเลีย้ งชีพ 9. ขึน้ เงินค่าแรงงานให้พนักงาน
ผ่านมาทําได้เฉพาะประชาชนทีท่ ํางานในสถานประกอบการ แต่ยงั มี ตามเกรด ต่อมาเมื่อเวลา 19.00 น. มิสเตอร์ทาเคดะซัง และนายนคร
ประชาชนคนทํางานอีกกว่า 20 ล้าน คนทีไ่ ม่มแี รงจูงใจ เพราะไม่ ได้เดินทางมาพบกับกลุ่มพนักงานดังกล่าว ขอให้กลุ่มพนักงานส่ง
สามารถสมทบเงินในระบบได้ และไม่มคี วามชัดเจนว่าหน่ วยงานอื่นจะ ตัวแทนจํานวน 7 คน เข้าพบเพื่อเจรจาหาข้อตกลงกัน โดยมีมสิ เตอร์
อุดหนุ นอย่างไร ในทีส่ ุดรัฐบาลจึงมีนโยบายเปิ ดโอกาสเป็ นทางเลือก ทาเคดะซัง นายนคร นางสาวสุพวิ รรณ ทันสมัย ผจก.ฝา่ ยพนักงาน
ให้ 2 ทาง คือ ประชาชนจ่าย 70 บาทต่อเดือน รัฐจะสมทบให้ 30 บาท สัมพันธ์และอุตสาหกรรมสัมพันธ์ ตัวแทนพนักงาน 7 คน ตัง้ โต๊ะเจรจา
ถือเป็ นเบีย้ ประกัน 100 บาทต่อเดือน ครอบคลุมสิทธิประโยชน์ 3 ด้าน ต่อหน้าพนักงานทีร่ วมตัวกันมากขึน้ กว่า 3,000 คน ทัง้ นี้การเจรจาได้
คือ เจ็บปว่ ย ทุพพลภาพ เสียชีวติ ส่วนสิทธิบําเหน็จชราภาพ ก็ตอ้ ง ผ่านไปกว่า 2 ชม. พนักงานที่รอฟงั คําตอบอยูข่ า้ งนอกโรงงานไม่
จ่ายเดือนละ 100 บาท รัฐอุดหนุ น 50 บาท ได้สทิ ธิเหมือนกรณีแรกแต่ พอใจ จึงใช้ขวดนํ้ าขว้างปาเข้าไปภายในโรงงาน เจ้าหน้าทีจ่ งึ เปลีย่ นที่
เพิม่ บําเหน็จชราภาพ นายอภิสทิ ธิ ์ กล่าวว่า เรื่องนี้ตนได้ประกาศเป็ น ประชุมเข้าไปในตัวอาคารและเจรจาจน จนได้ขอ้ ยุตวิ า่ ตามทีพ่ นักงาน
ของขวัญไปแล้วเมื่อปี ใหม่ จากนัน้ กระทรวงแรงงานพยายามปรับ ได้ย่นื ข้อเรียกร้อง 9 ข้อ ทางบริษทั ฯ จะขึน้ เงินพนักงาน ตามข้อ 9
กฎระเบียบ แนวทาง กฎหมายต่าง ๆ เพื่อให้สอดรับนโยบายนี้ และ ในวันที่ 1 เมษายน 2554 ส่วนข้อ 1, 2 , 8 ขอเวลาพิจารณา 1 เดือน
ตรากฎหมาย แก้กฎหมายประกันสังคม แก้ไขกฎหมายกองทุนเงิน และข้อ 3 – 7 จะขอรับไว้พจิ ารณาภายใน 2 เดือน ทําให้พนักงานต่าง
ออมแห่งชาติ (กอช.) เพื่อดําเนินการให้เรื่องนี้เดินหน้าไปได้ โดย พอใจ และได้แยกย้ายกลับบ้าน. (ไทยรัฐ, 25-2-2554)
ตัง้ เป้าหมายจะทําให้สาํ เร็จในวันที่ 1 พฤษภาคม นี้เป็ นต้นไป เพื่อให้
จบแล้ว!ฟูจิตสึ ลูกจ้างเฮ นายจ้างยุติ
ประชาชนสามารถเข้าใช้ประโยชน์ได้ทนั ที ตนขอให้ผวู้ า่ ราชการ

26 << คนทำงำน กุมภำพันธ์ 2554


หลังจากตัวแทน 10กว่าคนถูกจําคุกในเรือนจํานับ 7 วัน ลูกจ้างฟูจติ สึ ประกอบด้วย 1.พนักงานที่กระทําผิด / ใช้ความรุนแรง ก่อให้เกิดความ
เคว้ง ร่วมเดินกับคนงานแม็กซิส พิซบี ี เฮเมื่อแกนนําถูกปล่อยตัวเมื่อ เสียหาย ทางบริษทั จะไม่เอาผิดระเบียบวินยั ในทางแพงและทางอาญา
วันที่ 16 ก.พ. แต่ยงั เจรจาหาข้อยุตไิ ม่ได้ ใครดือ้ ระหว่าง ลูกจ้างกัน 2.สําหรับข้อเรียกร้องข้อ 5 ,6,7,8 (คือเปลีย่ นเบี้ยขยันขัน้ ตํ่าจาก500
นายจ้าง เมื่อต้องมีคาํ สั ่งให้นายจ้างกลับเข้าโต๊ะเจรจานายจ้างเสนอ บาทเป็ น700บาท ,เปลีย่ นเบีย้ ขยันขัน้ สูงจาก 700บาท เป็ น900บาท,
ตัวเลขเพื่อทีจ่ ะ ยุตขิ อ้ เรียกร้องเพราะไม่อยากปล่อยให้มคี วามเสียหาย เปลีย่ นแปลงเงินพิเศษจากเดิมมาเป็ น ค่าแรง บวกโอทีบวกค่าอาหาร
มากไปกว่านี้ หลังหันไปใช้ลูกจ้างเหมาค่าแรง นายจ้างจําเป็ นที่จะต้อง โอที.บวกค่าอาหารกะเอ กะบีหรือกะซีคูณ3 และเปิ ดให้มกี องทุน
ยุติ ลูกจ้างฟูจติ สึลาพีน่ ้องพิซบี ี แม็กซิสกลับเข้าทํางาน 1 มีนานี้ 1. สํารองเลีย้ งชีพโดยมีขอ้ แม้ตายตัวคือ พนักงานทีม่ อี ายุงาน 1 ปี ขน้ึ ไป
เงินโบนัส 4.2 เดือนเงินบวกพิเศษ 5,000 บาท 2. การปรับเงินเดือน ต้องมีกองทุนสํารองเลีย้ งชีพ ทาง ฝา่ ยบริหารฯรับทีจ่ ะนํ าเสนอผลักดัน
ตัดเกรด 3% – 5% เงินบวกพิเศษ 250 บาท 3. ค่าฌาปนกิจศพ และแจ้งผลให้ทราบภายใน 15 วันทําการ เริม่ ตัง้ แต่วนั ที่ 28 ก.พ.54 นี้
พนักงาน 10,000 บาท บิดา,มารดา,บุตร,สามีและภรรยา 5,000 บาท เมื่อทราบผลการรับข้อเสนอฝา่ ยพนักงานพอใจสลายการชุมนุมไปใน
4. ค่าสุขภาพพนักงานเชื่อมเดือนละ 200 บาท และ 5. กองทุนสํารอง ทีส่ ดุ นายนิรชุ ศรีสวสดิ ์ นายอําเภอศรีมหาโพธิ จ.ปราจีนบุรี กล่าวว่า
เลีย้ งชีพ 5% ทุกคน ค่าจ้างจะเริม่ วันที่ 1 มีนาคม 2554 พนักงาน พนักงานผูช้ ุมนุมได้สลายการชุมนุ มเมื่อเวลา 15.25 น. โดยสรุปการ
จะต้องกลับไปรายงานตัวในวันจันทร์ ที่ 28 กุมภาพันธ์ 2554 ทุก คน เจรจาของตัวแทนพนักงานฯ กับผูบ้ ริหาร สรุปคือ บริษทั ฯจะไม่เอาผิด
แต่จะเข้าทํางานกีค่ นนัน้ ต้องดูก่อน เพราะจะต้องมีการถ่ายเทคนงาน กับพนักงานผูช้ ุมนุมทัง้ ในวันที่25,26ก.พ. นี้ทงั ้ ทางแพ่งและอาญา และ
ออก คนงานทีถ่ ูกถ่ายเทออกคงจะต้องเป็ นพนักงานทีม่ สี ญ ั ญาการจ้าง ให้สวัสดิการตามที่พนักงานเรียกร้องนายนิรชุ กล่าว (เนชั ่นทันข่าว,
งานชั ่วคราวแน่ นอน! โบนัส 4.2 เดือน รับวันที่ 7 มีนาคม 2554 ส่วน 26-2-2554)
เงินบวกพิเศษ 5,000 บาท รับ 1 สิงหาคม 2554 ข้อตกลงมีอายุสญ ั ญา
ตอก “มาร์ค” ค่าแรง 250 บาททาให้ได้ก่อน
2 ปี (นักสื่อสารแรงงาน, 27-2-2554)
28 ก.พ. 54 - นายเฉลิมชัย ศรีอ่อน รมว.แรงงาน กล่าวถึง กรณีท่ี
นายอภิสทิ ธิ ์ เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตรี ประกาศนโยบายขึน้ ค่าจ้างขัน้
คนงานฮิ ตาชิ โกบอลยุติการผละงานประท้วงหลังเจรจาลงตัว ตํ่าให้สงู กว่าวันละ 300 บาท ว่า เรื่องดังกล่าว ต้องไปถามนายกฯ
เพราะท่านพูดผ่านสื่อมวลชน ตนไม่มคี วามเห็นในเรื่องนี้ อย่างไรก็
26 ก.พ. 54 - ผูส้ ่อื ข่าวรายงานความคืบหน้าเหตุพนักงานบริษทั ฮิตาชิ
ตาม ถ้านายกฯ จะมีบญ ั ชามา ท่านก็ตอ้ งมีเหตุผลประกอบมาด้วย ซึ่ง
โกบอล สโตเรจเทคโนโลยี(ประเทศไทย)จํากัด ในเขตนิคม
การดําเนินการก็ตอ้ งว่าไปตามขัน้ ตอน ดังนัน้ จะต้องรอให้
อุตสาหกรรม 304 หมู่ 7 ต.ท่าตูม อ.ศรีมหาโพธิ จ.ปราจีนบุรี กว่า
นายกรัฐมนตรีส ั ่งการเป็ นนโยบายมาก่อน ผูท้ เ่ี กีย่ วข้องจึงจะมีการ
500 คนชุมนุมประท้วงเรียกร้องเงินค่าตอบแทนและสวัสดิการจากทาง
ประชุมหารือว่าจะดําเนินการอย่างไรต่อไป ด้านนายชาลี ลอยสูง
บริษทั ระหว่างวัน ที่ 25 -26 ก.พ. โดยปิ ดถนนหน้าปากทางเข้า-ออก
ประธานคณะกรรมการสมานฉันท์แรงงานไทย (คสรท.) กล่าวว่า ก่อน
ไม่ให้รถวิง่ ผ่านเข้า-ออกได้ เหลือช่องการจราจรรถวิง่ ได้เพียงทางเดียว
หน้านี้นายกรัฐมนตรีอยากเห็นค่าจ้างขัน้ ตํ่าอยูท่ ว่ี นั ละ 250 บาท แต่ก็
และ ทางอําเภอศรีมหาโพธิ จ.ปราจีนบุรไี ด้ส ั ่งให้ปิดโรงงานชั ่วคราว
ทําไม่ได้ ถึงเวลาจริงได้มาแค่วนั ละ 215 บาท เข้าใจว่ารัฐบาลอยากหา
เนื่องจากในช่วงกลางคืนมีกลุ่มพนักงานบางส่วนดื่มสุราพร้อมเผาป้าย
เสียง สร้างภาพว่าเป็ นรัฐบาลทีจ่ ริงใจกับผูใ้ ช้แรงงาน เพราะขณะนี้ใกล้
ผ้า ขวดพลาสติก พร้อมขว้างขวดเหล้าเบียร์เข้าในบริษทั ต่อเนื่อง
เลือกตัง้ ซึง่ ผูใ้ ช้แรงงานทีม่ สี ทิ ธิลงคะแนนเสียงมีมากถึง 37 ล้านคน
ตัง้ แต่เช้านี้ ถึงเวลา 14.00 น. พนักงานอีกกว่า500 คน ยังปกั หลัก
รัฐบาลจึงหวังซือ้ ใจ “ผมคิดว่า ขึน้ ค่าแรงวันละ 250 บาท เอาให้ได้
เรียกร้องหน้าบริษทั ฯพร้อมเปิ ดเครื่องขยายเสียงติดรถยนต์ เต้นรํา
ก่อน เพราะถ้าจะปรับขึน้ ทีเดียว 300 บาท นายจ้างจะโอเคหรือไม่ แต่
สนุกสนาน บางส่วนยังมีการนํ าสุรา-เหล้าเบียร์ด่มื กินต่อเนื่องเพื่อ
จากการสํารวจของลูกจ้างพบว่า ตัวเลขทีจ่ ะทําให้คนงานอยูไ่ ด้คอื ต้อง
เรียกร้อง โดยได้มกี ารจัดตัวแทนชุดใหม่ รวม 10 คน เป็ นแกนนํา เข้า
ได้คา่ จ้างวันละ 421 บาท” นายชาลี กล่าว. (เดลินิวส์, 28-2-2554)
เจรจากับนายนคร ตัง้ สุจริตพันธ์ รองกรรมการผูจ้ ดั การฝา่ ยบริหารฯ
โดยมีนายนิรชุ ศรีสวั สดิ ์ นายอําเภอศรีมหาโพธิ ,พ.ต.อ. นิทศั น์ สะสิ แรงงานมีนากาเม้นต์ตงั ้ สหภาพแรงงาน
วงศ์ ผกก.สภ.ศรีมหาโพธิ พ.ต.ท.สมบัติ พอดี รอง ผกก.สภ.ศรีมหา
นายสมชาย สายหยุด ประธานสหภาพแรงงานโรเยลเชรามิค กล่าวว่า
โพธิ นายอภิญญา สุจริตตตานันท์ สวัสดิการและคุม้ ครองแรงงาน จ.
ได้มพี นักงาน บริษทั มีนาการ์เม้นต์ มาขอให้ไปช่วยจัดตัง้ สหภาพ
ปราจีนบุรี และนายประภาส ศิรปิ ิ่ น นักวิชาการแรงงานชํานาญการ จ.
แรงงาน เนื่องจากบริษทั มีนาการ์เม้นต์ไม่ยอมจ่ายโบนัสให้พนักงาน
ปราจีนบุรรี ่วมไกล่เกลีย่ -รับฟงั กลุ่มพนักงานได้ย่นื ข้อเรียกร้อง
สามร้อยกว่าคนเพียง คนละสามสิบหกวันเท่านัน้ แต่พนักงานไม่มี
คนทำงำน กุมภำพันธ์ 2554 >> 27
อะไรไปต่อสูก้ บั นายจ้าง ก็หวังให้มอี งกรณ์สหภาพแรงงาน จึงรวมตัว ส่วนกลางหรือไตรภาคี เนื่องจากทุกคนทุกฝา่ ยได้มคี วามจริงใจในการ
รวบรวมทีจ่ ะเป็ นสมาชิกสหภาพแรงงานได้มากกว่าสองร้อยกว่าคน เจรจาต่อกัน การเจรจาจึงเรียบง่าย คุณ ธนันพร สมบรม กรรมการ
โดยมีสหภาพโรเยลเชรามิค เป็ นพีเ่ ลีย้ ง ให้คาํ แนะนํ าต่างๆ มีการ สหภาพ ได้กล่าวว่า เนื่องจากบริษทั รอยัลปอร์ซเลนจํากัด(มหาชน)
เจรจากับนายจ้างสองครัง้ ไม่เป็ นผล และได้ย่นื ข้อพิพาทแรงงานเจรจา เป็ นบริษทั ผลิตเชรามิค เครื่องใช้ในครัวเรือน อาทิ ถ้วย จาน ชาม ชุด
อีกครัง้ แต่สวัสดิการไม่ยอมบันทึกการประชุมในการเจรจา ซึง่ ตอนนี้ กาแฟ ซึง่ ส่งขายทัง้ ในและนอกประเทศ ตลอดยีส่ บิ กว่าปี แต่มาพักหลัง
ได้จดทะเบียนแล้ว รอแต่ผวู้ า่ ลงนามรับรองเท่านัน้ หลังจากนัน้ ก็จะ กิจการของบริษทั ไม่คอ่ ยดีตามเศรษฐกิจ ทําให้ขาดทุนตลอด แต่
เปิ ดประชุมใหญ่ และจัดสรรกรรมการกันต่อไป บริษทั มีนาการ์เมนต์ พนักงานก็ตอ้ งมีการใช้จา่ ย ค่าครองชีพสูงขึน้ สหภาพแรงงานจึงต้อง
ตัง้ อยูท่ ่ี อ.วิหารแดง จ.สระบุรี บริษทั ก่อตัง้ มากว่ายีส่ บิ ปี เป็ นบริษทั มีการยื่นข้อเรียกร้องและได้มกี ารเจรจากันสองครัง้ ซึง่ ทางบริษทั ก็ไห้
ผลิตชุดชัน้ ในสตรีมพี นักงาน ณ.ปจั จุบนั สามร้อยห้าสิบเจ็ดคน ความ เพิม่ มาห้าข้อ ทางสหภาพเห็นว่าเหมาะสมและพอรับได้และพอใจที่
คืบหน้าจะเป็ นอย่างไร นักสื่อสารสระบุรจี ะแจ้งให้ทราบอีกครัง้ (นัก บริษทั ให้มา การเจรจาจึงยุติ และสมาชิกสหภาพก็เห็นว่าสมควร และ
สื่อสารแรงงาน, 28-2-2554) พอใจในข้อเรียกร้องทีบ่ ริษทั ให้มา ซึง่ ก่อนการเจรจา ทุกคนคิดว่า ไม่
ง่ายยังไงต้องมีการชุมนุมแน่ นอน แต่ผลออกมาทุกคนก็มคี วามสุขกัน
R.P.C ทวิ ภาคี สมหวังทัง้ สองฝ่ าย
และการยื่นข้อเรียกร้องครัง้ ต่อไปจะมีการเจรจาทุกปี ปกติสามปี เจรจา
สหภาพ แรงงานรอยัลปอร์ซเลน ทัง้ สองโรงได้มคี วามสุขกันทั ่วหน้า ครัง้ ซึง่ เป็ นผลดีต่อการเปลีย่ นแปลงข้อเรียกร้องของสหภาพแรง งาน
หลังจากการเจรจาข้อเรียกร้องเพื่อเปลีย่ นแปลงสภาพการจ้าง รอยัลปอร์ซเลน (นักสื่อสารแรงงาน, 28-2-2554)
หลังจากรอคอยมาตัง้ สามปี ได้สําเร็จลุล่วงไปด้วยดี โดยทีไ่ ม่ตอ้ งถึง

วารสารออนไลน์คนทางานมีวัตถุประสงค์เพื่อเป็นสื่อกลางในการสื่อสารด้านแรงงาน ไม่สงวนลิขสิทธิ์ในการ
เผยแพร่-ทาซ้า รับข่าวสาร-ข้อมูลด้านแรงงานทางอินเตอร์เน็ตได้ที่ :
www.prachatai3.info (เว็บไซต์ข่าวทางเลือกประชาไท)
www.voicelabour.org (นักสื่อสารแรงงาน โครงการการพัฒนาสือ่ สนับสนุนการขับเคลือ่ นขบวนการแรงงาน โดยการสนับสนุน
ของ แผนงานพัฒนาคุณภาพชีวิตแรงงาน สานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.))

www.thailabour.org (โครงการรณรงค์เพื่อแรงงานไทย)
- www.facebook.com/thailabour
- www.twitter.com/thailabour
เรียบเรียง/รูปเล่ม: วิทยากร บุญเรือง (workazine@gmail.com)

28 << คนทำงำน กุมภำพันธ์ 2554

You might also like