You are on page 1of 146

หลักสูตร “การจัดการมลพิษ”

โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากร
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอม

เสนอตอ
กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอม

จัดทําโดย
บริษัท แอรเซฟ จํากัด

ISBN 974-93830-6-0

จัดพิมพโดย
บริษัท แอรเซฟ จํากัด
ชั้น 15 อาคารอิตัลไทยทาวเวอร
2034/71 ถ.เพชรบุรตี ัดใหม แขวงบางกะป
เขตหวยขวาง กรุงเทพ ฯ 10310
โทรศัพท (02) 723-4455 โทรสาร (02) 723-4452
email : airsave@airsave.co.th

ธันวาคม 2548
โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากร
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

หลักสูตร
“การจัดการมลพิษ”

บทที่ ผูเขียน
1. สถานการณมลพิษสิ่งแวดลอมของประเทศไทย รศ.ดร. วันเพ็ญ วิโรจนกูฏ
และคณะบรรณาธิการ
2. กฎหมายสําหรับผูปฏิบัติงานดานสิ่งแวดลอม รศ. ณรงค ใจหาญ
3. การจัดการมลพิษทางน้ํา ดร. เกษมสันติ์ สุวรรณรัต
4. การจัดการมลพิษทางอากาศและเสียง รศ. ดร. วราวุธ เสือดี
5. การจัดการขยะมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล รศ. ดร. วิษณุ มีอยู
6. การปองกันมลพิษ มีนา พิทยโสภณกิจ

คณะบรรณาธิการ
นางมีนา พิทยโสภณกิจ
นายปรีชาวิทย รอดรัตน
นายสายชล ทองประกอบ
นายสรศักดิ์ ธรรมาพิทักษพร

เสนอตอ
กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

จัดทําโดย
บริษัท แอรเซฟ จํากัด

ธันวาคม 2548
คํานํา

เอกสารฉบับนี้เปนเอกสารประกอบการฝกอบรมหลักสูตร “การจัดการมลพิษ” ในโครงการพัฒนา


ศักยภาพบุคลากรกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม เนื้อหาของเอกสารประกอบดวย สถานการณภาวะ
มลพิษสิ่งแวดลอมของประเทศไทย กฎหมายสําหรับผูปฏิบัติงานดานสิ่งแวดลอม การจัดการมลพิษทางน้ํา อากาศ
และเสียง ขยะมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล รวมถึงหลักการปองกันมลพิษ โดยกรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม ได
มอบหมายใหบริษัท แอรเซฟ จํากัด ดําเนินการจัดทําหลักสูตรพรอมจัดฝกอบรมเพื่อใหเจาหนาที่ของสํานักงาน
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมจังหวัด 75 จังหวัด ไดรับความรูความเขาใจในบทบาทดานการจัดการมลพิษ
และสามารถนําความรูที่ไดรับไปประยุกตใชกับการปฏิบัติงานดานการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมใน
พื้นที่ไดอยางเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ นอกจากนี้ ยังเปนการสงเสริมใหเกิดความสัมพันธและนําไปสูการ
ประสานความรวมมือระหวางหนวยงานในกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมตอไป
หลักสูตรการจัดการมลพิษ โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

สารบัญ

หนา

สารบัญ
สารบัญตาราง
สารบัญรูป

บทที่ 1 สถานการณภาวะมลพิษสิ่งแวดลอมของประเทศไทย
1.1 นโยบายบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม 1-1
1.2 สถานการณมลพิษสิ่งแวดลอม 1-3
1.2.1 สถานการณคุณภาพแหลงน้ํา 1-3
1.2.2 สถานการณคุณภาพอากาศ 1-9
1.2.3 สถานการณมลพิษทางเสียง 1-12
1.2.4 สถานการณขยะมูลฝอยและของเสียอันตราย 1-13
1.3 การรองเรียนปญหามลพิษ 1-16

บทที่ 2 กฎหมายสําหรับผูปฏิบัติงานดานสิ่งแวดลอม
2.1 บทนํา 2-1
2.2 โครงสรางของกฎหมายดานสิ่งแวดลอม 2-1
2.2.1 รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2540 2-1
2.2.2 พระราชบัญญัติ 2-3
2.2.3 กฎหมายที่ออกตามพระราชบัญญัติ 2-5
2.3 กฎหมายเกี่ยวกับการจัดการมลพิษสิ่งแวดลอม 2-5
2.3.1 มาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดลอม 2-5
2.3.2 มาตรฐานควบคุมการระบายมลพิษ 2-8
2.3.3 การจัดการมลพิษสิ่งแวดลอม 2-17
2.3.4 องคกรและเจาพนักงานผูปฏิบัติงานดานสิ่งแวดลอม 2-22
2.4 สํานักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมจังหวัด (ทสจ.) 2-25
2.5 การใชมาตรการทางกฎหมายในการควบคุมสิ่งแวดลอม 2-25

บทที่ 3 การจัดการมลพิษทางน้ํา
3.1 ความรูทั่วไป 3-1
3.1.1 ตัวบงชี้คุณภาพน้ํา 3-1
3.1.2 ความหมายที่เกี่ยวของ 3-2

กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม
หลักสูตรการจัดการมลพิษ โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

สารบัญ (ตอ)

หนา

3.1.3 ผลกระทบจากน้ําเสีย 3-3


3.2 แหลงกําเนิด 3-3
3.3 การจัดการน้ําเสีย 3-4
3.4 ระบบบําบัดน้ําเสีย 3-10
3.4.1 ระบบบอปรับเสถียร (stabilization pond; SP) 3-10
3.4.2 ระบบสระเติมอากาศ (aerated lagoon; AL) 3-11
3.4.3 ระบบเอเอส (activated sludge; AS) 3-11
3.4.4 ระบบบึงประดิษฐ (wetland) 3-14

บทที่ 4 การจัดการมลพิษทางอากาศและเสียง
4.1 การควบคุมมลพิษทางอากาศ 4-1
4.1.1 มลพิษทางอากาศ 4-1
4.1.2 อุปกรณบําบัดฝุน 4-1
4.1.3 การควบคุมกาซและไอ 4-11
4.2 การควบคุมมลพิษทางเสียง 4-14
4.2.1 ความรูทั่วไปเกี่ยวกับมลพิษทางเสียง 4-14
4.2.2 วิธีการตรวจวัดและดัชนีที่ใชวัดระดับเสียง 4-16
4.2.3 ผลของเสียงตอมนุษย 4-20
4.2.4 การควบคุมมลพิษทางเสียง 4-21

บทที่ 5 การจัดการขยะมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล
5.1 ความรูทั่วไป 5-1
5.1.1 คําจํากัดความ 5-1
5.1.2 แหลงกําเนิดและประเภทขยะมูลฝอย 5-1
5.1.3 ของเสียอันตราย (hazardous waste) 5-2
5.1.4 ลักษณะของขยะมูลฝอย 5-3
5.1.5 การเกิดกลิ่นเหม็น 5-6
5.1.6 ปญหาจากขยะมูลฝอยที่มีตอสภาพแวดลอมและชุมชน 5-6
5.2 อัตราการเกิดขยะมูลฝอย 5-7
5.3 ระบบการจัดเก็บและขนสงขยะมูลฝอย 5-8

กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม
หลักสูตรการจัดการมลพิษ โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

สารบัญ (ตอ)

หนา

5.4 เทคโนโลยีในการกําจัดขยะมูลฝอย 5-10


5.4.1 การกําจัดขยะมูลฝอยในอดีต 5-10
5.4.2 การกําจัดขยะมูลฝอยที่ถูกตองตามหลักวิชาการ 5-11
5.4.3 ขอมูลที่สําคัญในการเลือกวิธีการกําจัดขยะมูลฝอยที่เหมาะสม 5-22

บทที่ 6 การปองกันมลพิษ
6.1 มลพิษ 6-1
6.2 ความหมายของการปองกันมลพิษ 6-2
6.3 ประโยชนของการปองกันมลพิษ 6-3
6.4 อุปสรรคในการดําเนินการปองกันมลพิษ 6-3
6.5 แนวทางการปองกันมลพิษ 6-4
6.5.1 การปองกันมลพิษในชุมชน 6-4
6.5.2 การปองกันมลพิษในภาคอุตสาหกรรม 6-5
6.5.3 การปองกันมลพิษในเกษตรกรรม 6-6
6.6 โครงสรางของการปองกันมลพิษในองคกร 6-7
6.7 ตัวอยางกรณีศึกษาการปองกันมลพิษ 6-7

บรรณานุกรม

กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม
หลักสูตรการจัดการมลพิษ โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

สารบัญตาราง
หนา

ตารางที่ 1.2.1-1 การจําแนกคุณภาพน้ําของแหลงน้ําจืดทั่วประเทศ ป พ.ศ. 2547 1-4


ตารางที่ 1.2.2-1 คุณภาพอากาศในกรุงเทพมหานครป พ.ศ. 2547 1-10
ตารางที่ 3.3-1 สมมูลประชากรและลักษณะน้ําเสียชุมชน 3-5
ตารางที่ 3.3-2 ลักษณะน้ําเสียในชุมชนตางๆ ของประเทศไทย 3-6
ตารางที่ 3.3-3 ลักษณะน้ําเสียชุมชนของประเทศไทย 3-6
ตารางที่ 3.4-1 เปรียบเทียบขอแตกตางของระบบบําบัดน้ําเสียชุมชน 3-10
ตารางที่ 3.4.4-1 ตัวอยางเกณฑการออกแบบระบบบึงประดิษฐ 3-15
แบบ Free Water Surface Wetland
ตารางที่ 3.4.4-2 ตัวอยางเกณฑการออกแบบระบบบึงประดิษฐ 3-16
แบบ Vegetated Submerged Bed System (VSB
ตารางที่ 4.1.1-1 เทคโนโลยีการควบคุมสารมลพิษ 4-2
ตารางที่ 4.1.2-1 การเปรียบเทียบของระบบควบคุมฝุนชนิดตางๆ 4-3
ตารางที่ 4.2.2-1 ผลตางของแหลงกําเนิดเสียงและระดับเสียงรวมที่เพิ่มขึ้น 4-16
ตารางที่ 4.2.2-2 การถวงน้ําหนักของเครื่องมือวัดระดับเสียง 4-17
ตารางที่ 4.2.4-1 วัสดุดูดซับเสียงกับสัดสวนของเสียงที่ถูกดูดซับ 4-21
ตารางที่ 4.2.4-2 การกั้นเสียงกับรอยละของปริมาตรอากาศ/ปริมาตรผนังพื้น 4-22
ตารางที่ 4.2.4-3 ทางเลือกตามสภาวะในการลดเสียง 4-25
ตารางที่ 5.1.4-1 องคประกอบขยะมูลฝอยของกรุงเทพมหานครระหวางป 2536-2545 5-3
ตารางที่ 5.1.4-2 ลักษณะทางกายภาพ เคมี และโลหะหนักของขยะมูลฝอย 5-4
กรุงเทพมหานคร ประจําปงบประมาณ 2544-2545
ตารางที่ 5.2-1 อัตราการเกิดขยะมูลฝอยที่เกิดจากแหลงกําเนิดตางๆ 5-7
ตารางที่ 5.4.2-1 ตารางเปรียบเทียบเทคโนโลยีในการกําจัดขยะมูลฝอย 5-13

กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม
หลักสูตรการจัดการมลพิษ โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

สารบัญรูป

หนา

รูปที่ 1.2.1-1 การจําแนกคุณภาพน้ําของแหลงน้ําจืดทั่วประเทศ ป พ.ศ. 2545-2547 1-5


รูปที่ 1.2.1-2 คุณภาพน้ําของน้ําทะเลชายฝงทั่วประเทศ ป พ.ศ. 2545-2547 1-8
รูปที่ 1.2.2-1 ฝุนขนาดเล็กรายป ในกรุงเทพมหานคร ป พ.ศ. 2537-2547 1-11
รูปที่ 1.2.2-2 ฝุนรวมรายปในกรุงเทพมหานคร ป พ.ศ. 2537-2547 1-11
รูปที่ 1.2.4-1 ปริมาณการนําขยะมูลฝอยชุมชนมาใชประโยชน ป พ.ศ. 2544-2547 1-14
รูปที่ 1.2.4-2 ปริมาณการนําของเสียอุตสาหกรรม กลับมาใชประโยชน ป พ.ศ. 2544-2547 1-15
รูปที่ 1.3-1 จํานวนการรองเรียนปญหามลพิษ ป พ.ศ. 2535-2547 1-16
รูปที่ 1.3-2 ผังขั้นตอนการรับเรื่องรวมรองทุกข 1-18
รูปที่ 3.3.1 แผนภาพทอการไหลของระบบทอระบายรวม 3-7
รูปที่ 3.3.2 แผนภาพการไหลของทอระบบแยก 3-7
รูปที่ 3.3.3 ระบบรวบรวมน้ําทิ้งแบบเดิมของชุมชน 3-8
รูปที่ 3.4.1-1 ตัวอยางแผนภาพการไหลของระบบบอปรับเสถียร 3-12
รูปที่ 3.4.2-1 ตัวอยางแผนภาพการไหลขงระบบสระเติมอากาศ 3-12
รูปที่ 3.4.3-1 ตัวอยางแผนภาพการไหลของระบบเอเอส 3-12
รูปที่ 4.1.2-1 หองตกสะสม 4-4
รูปที่ 4.1.2-2 เครื่องดักฝุนแบบไซโคลน 4-5
รูปที่ 4.1.2-3 Spray chamber scrubber 4-6
รูปที่ 4.1.2-4 Cyclonic scrubber 4-6
รูปที่ 4.1.2-5 Venturi scrubber 4-7
รูปที่ 4.1.2-6 อุปกรณดักฝุนแบบถุงกรอง 4-8
รูปที่ 4.1.2-7 การทําความสะอาดถุงกรองแบบ reverse air filter 4-9
รูปที่ 4.1.2-8 การทําความสะอาดถุงกรองแบบ shaking 4-9
รูปที่ 4.1.2-9 การทําความสะอาดถุงกรองแบบ pulse-jet 4-9
รูปที่ 4.1.2-10 Electrostatic precipitator 4-10
รูปที่ 4.1.2-11 สนามไฟฟาใน EP 4-10
รูปที่ 4.1.3-1 กลไกการดูดซับ 4-12
รูปที่ 4.1.3-2 หอบรรจุตัวกลาง 4-13
รูปที่ 4.1.3-3 วัสดุตัวกลาง 4-13
รูปที่ 4.1.3-4 องคประกอบของเตาเผาแบบมีสารเรงปฏิกิริยา 4-14
รูปที่ 4.2.1-1 สวนประกอบของหู 4-15
รูปที่ 4.2.1-2 อาณาเขตของความสามารถในการรับฟงเสียง 4-15

กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม
หลักสูตรการจัดการมลพิษ โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

สารบัญรูป (ตอ)

หนา

รูปที่ 4.2.2-1 เครื่องมือวัดระดับเสียง 4-17


รูปที่ 4.2.2-2 ระดับเสียงและการถวงน้ําหนัก 4-18
รูปที่ 4.2.2-3 ลักษณะของเสียงบริเวณชานเมือง 4-19
รูปที่ 4.2.4-1 การลดเสียงโดยการครอบหรือคลุม 4-23
รูปที่ 4.2.4-2 กําแพงกั้นเสียง 4-23
รูปที่ 4.2.4-3 ทอเก็บเสียง 4-24
รูปที่ 4.2.4-4 อุปกรณปองกันหูแบบตางๆ 4-24
รูปที่ 5.1.2-1 แหลงกําเนิดและประเภทของขยะมูลฝอย 5-2
รูปที่ 5.3.3-1 Horizontal air knife 5-9
รูปที่ 5.3.3-2 Zig-zag air classifier 5-9
รูปที่ 5.3.3-3 Drum holding magnet 5-10
รูปที่ 5.3.3-4 Belt holding magnet 5-10
รูปที่ 5.4.2-1 กระบวนการเผาชนิดที่มีแผงตะกรับ 5-16
รูปที่ 5.4.2-2 กระบวนการผลิตไฟฟาจากความรอนที่ไดจากการเผาของเสีย 5-17
รูปที่ 5.4.2-3 ลักษณะของเซลลในการฝงกลบของเสีย 5-18
รูปที่ 5.4.2-4 การฝงกลบแบบกลบบนพื้นที่ 5-20
รูปที่ 5.4.2-5 การฝงกลบแบบวิธีรอง 5-20
รูปที่ 5.4.2-6 การฝงกลบแบบวิธีบอ 5-21
รูปที่ 6.2-1 ลําดับความสําคัญของการจัดการมลพิษ 6-2

กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม
“สถานการณภาวะมลพิษสิ่งแวดลอมของประเทศไทย”

“ปกติแลวเรื่องของสิ่งแวดลอมมักจําแนกไดเปน 4 องคประกอบ ไดแก ทรัพยากรธรรมชาติ (เชน


ป า ไม สั ต ว ป า ดิ น เป น ต น ) มลพิ ษ สิ่ ง แวดล อ ม (เช น มลพิ ษ ทางน้ํ า มลพิ ษ ทางอากาศ ขยะ เป น ต น )
สิ่งแวดลอมธรรมชาติและสิ่งแวดลอมศิลปกรรม (แหลงทองเที่ยวและแหลงสุนทรียภาพ) และสิ่งแวดลอม
ชุมชนและพื้นที่สีเขียว (สภาพแวดลอมชุมชนและคุณภาพชีวิตของชุมชน) อยางไรก็ตาม หลักสูตรนี้เปนการ
เนนถึงการจัดการมลพิษสิ่งแวดลอม ดังนั้น ขอกลาวถึงเฉพาะสถานการณภาวะมลพิษสิ่งแวดลอมของ
ประเทศไทยเทานั้น ประกอบดวย

1. สถานการณมลพิษทางน้ํา
2. สถานการณมลพิษทางอากาศ
3. สถานการณมลพิษทางเสียง
4. สถานการณขยะมูลฝอย

ทั้งนี้ เพื่อใหผูอานทราบถึงคุณภาพสิ่งแวดลอมในปจจุบันและตระหนักถึงความจําเปนที่จะตองมี
การจัดการมลพิษอยางเหมาะสมตอไป”
หลักสูตรการจัดการมลพิษ โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

บทที่ 1
สถานการณภาวะมลพิษสิ่งแวดลอมของประเทศไทย

1.1 นโยบายบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

หลายทศวรรษที่ผานมาประเทศไทยไดใชทรัพยากรธรรมชาติเพื่อการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมไป
มาก สงผลใหเกิดความเสื่อมโทรมของทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมอยางกวางขวาง และยังสงผล
กระทบตอคุณภาพและวิถีการดํารงชีวิตของประชาชนเปนวงกวางและรุนแรงขึ้นตามลําดับ ในขณะเดียวกัน
การดําเนินงานของหนวยงานภาครัฐที่มีหนาที่รับผิดชอบบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม
ก็มีการดําเนินงานอยางไมเปนเอกภาพและขาดการบูรณาการ โดยเมื่อป พ.ศ. 2545 ไดมีการปฏิรูปราชการ
และปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม โดยจัดตั้งกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมขึ้นมาเพื่อใหมี
อํ า นาจในการบริ ห ารและจั ด การด า นธรรมชาติ แ ละสิ่ ง แวดล อ มโดยตรง โดยที่ รั ฐ บาลและกระทรวง
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมมีนโยบายบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมดังนี้
(1) นโยบายบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมของรัฐบาล
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมของประเทศเปนปจจัยที่สําคัญในการพัฒนาประเทศ ซึ่ง
จะตองมีความสมดุลในการใช การอนุรักษ และการทดแทนอยางเหมาะสม เพื่อรักษาทรัพยสินของประเทศ
ที่มีคานี้ใหเปนสมบัติของคนในรุนตอไป ดังนั้น รัฐบาลจะสงเสริมและเรงฟนฟูความสมบูรณของดินและน้ําสู
ธรรมชาติ แกไขปญหาความเสื่อมโทรมและภาวะมลพิษเพื่อคืนสภาพแวดลอมที่ดีใหกับคนไทย รัฐบาลจะ
กําหนดวิธีการบริหารจัดการทรัพยากรของรัฐและเอกชนภายใตการมีสวนรวมของเอกชนและชุมชนทองถิ่น ที่
ให มี ความสมดุ ลของการใช ประโยชน การถื อครอง และการอนุ รั ก ษ ฐ านทรั พ ยากร ที่ ดิ น ป า ไม ลุ ม น้ํ า
ทรัพยากรชายฝง การใชภูมิสารสนเทศ การปรับปรุงกฎหมายและกฎระเบียบ การมีสวนรวมของผูเกี่ยวของ
ใหเกิดประโยชนสูงสุด และการใชทรัพยากรธรรมชาติเพื่อการพัฒนาประเทศและคุณภาพชีวิตอยางยั่งยืน
รัฐบาลจะดูแลรักษาสิ่งแวดลอมตั้งแตตนทางจนถึงปลายทาง สนับสนุนใหชุมชนจัดทําฝายน้ําลน
และฝายชะลอความชุ ม ชื้ น หรื อ ฝายแม ว ตามแนวพระราชดํ า ริ การเข า ถึ ง และใช ป ระโยชน จ ากความ
หลากหลายทางชีวภาพอยางยั่งยืนและเปนธรรม รัฐบาลจะลงทุนเพื่อการพัฒนาแหลงน้ําอยางเปนระบบ
ตามลักษณะกายภาพของลุมน้ํา ตั้งแตการพัฒนาแหลงตนน้ํา กลางน้ํา และการกระจายการใชประโยชน
อยางมีประสิทธิภาพและทั่วถึง รัฐบาลจะฟนฟูอนุรักษทรัพยากรดินอยางเต็มที่ การยุติการเผาไรนาและ
ทําลายหนาดิน การลดการใชสารเคมีเพื่อการเกษตร รวมทั้งการฟนฟูดินและปองกันการชะลางทําลายดิน
โดยการปลูกแฝกตามแนวพระราชดําริ และใหมีมาตรการปองกันและเตือนภัยจากภัยพิบัติทางธรรมชาติ
เชน อุทกภัย ภัยแลง ธรณีพิบัติ และการเปลี่ยนแปลงของชั้นบรรยากาศ และดําเนินมาตรการลดผลกระทบ
และความเดือดรอนของประชาชน เปนตน
ดานภาวะมลพิษ รัฐบาลจะเรงรัดการควบคุมมลพิษจากกาซ ขยะ น้ําเสีย กลิ่น และเสียง ที่เกิด
จากการผลิตและบริโภค โดยเรงรัดการสรางระบบบําบัดน้ําเสียที่เกิดขึ้นจากสังคมเมืองและการผลิตในภาค
เกษตรและอุตสาหกรรม การจัดระบบกําจัดขยะโดยวิธีที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอมและเพิ่มขีดความสามารถของ
องคกรปกครองสวนทองถิ่นในการกําจัดขยะ
รัฐบาลจะสงเสริมใหภาคเอกชนวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อการอนุรักษพลังงาน การจัดการ

กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม 1-1 กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม


หลักสูตรการจัดการมลพิษ โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

ดานสิ่งแวดลอม การผลิตวัสดุที่สามารถยอยสลายได การหมุนเวียนการใชวัตถุดิบและเทคโนโลยีที่สะอาด


และการใชหลักผูกอมลพิษเปนผูรับภาระคาใชจายเพื่อกระตุนใหเกิดการลดการกอมลพิษและลดภาระของ
สังคม นอกจากนี้ รัฐบาลจะปองกันการใชประเทศไทยเปนประเทศปลายทางของการรับภาระจากการสงขยะ
ของเสีย และกากพิษอุตสาหกรรม
(2) นโยบายดานสิ่งแวดลอมของกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมไดกําหนดนโยบายการดําเนินงานในดานทรัพยากร
ธรรมชาติ และสิ่ งแวดล อม เพื่ อดํ าเนิ นการให ทรั พยากรธรรมชาติ ที่ หลากหลายของประเทศได อยู คู กั บ
สังคมไทยตลอดไป รวมทั้งประชาชนไดมีการดํารงชีวิตอยูอยางมีความสุขภายใตคุณภาพสิ่งแวดลอม ดังนี้
1) นโยบายดานทรัพยากรธรรมชาติ
- ประเมินสถานภาพและศักยภาพของทรัพยากรธรรมชาติทุกประเภทและความหลากหลาย
ทางชีวภาพ
- สงวน อนุรักษ พัฒนา ฟนฟู เพื่อดํารงสภาพสมบูรณของทรัพยากรธรรมชาติและจัดการ
ใชประโยชนเพื่อตอบสนองความตองการตามศักยภาพใหเกิดประโยชนอยางยั่งยืน
- สร า งมู ล ค า เพิ่ ม ทั้ ง ทางเศรษฐกิ จ สั ง คม และสิ่ ง แวดล อ มของทรั พ ยากรธรรมชาติ ทุ ก
ประเภทเพื่อการใชประโยชนอยางคุมคา
- จัดทําระเบียบ กฎเกณฑ และระบบการเขาถึงทรัพยากรธรรมชาติของชุมชนทองถิ่นและ
ประชาชนทุ ก กลุ ม อย า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ รวมทั้ ง แบ ง ป น ผลประโยชน อ ย า งยุ ติ ธ รรม ตลอดจนกํ า หนด
ขอ เสนอแนะ แนวทาง และมาตรการการใช ประโยชนท รัพ ยากรธรรมชาติ ทุก ประเภทอย างยั่ง ยืน และ
สอดคลองกับสถานการณบนฐานขอมูลจากการวิจัยและพัฒนา
2) นโยบายดานสิ่งแวดลอม
- ดําเนินการใหชุมชนทั้งในชนบทและในเมืองมีสภาพแวดลอมและคุณภาพชีวิตที่ดีโดย
ประสานการวางผังเมืองและจัดระเบียบชุมชนใหสอดคลองกับศักยภาพของพื้นที่
- ปองกัน รักษา และฟนฟูคุณภาพสิ่งแวดลอมใหดีขึ้นและอยูในระดับมาตรฐานที่ไมเปน
อั น ตรายต อ สุ ข ภาพอนามั ย ของประชาชน ตลอดจนใช เ ทคโนโลยี ที่ เ หมาะสมในการจั ด การคุ ณ ภาพ
สิ่งแวดลอม
- ดําเนินการปองกันและควบคุมสภาวะความเสี่ยงดานสิ่งแวดลอมที่เกี่ยวของกับสุขภาพ
อนามัยที่จะมีผลกระทบตอการดํารงชีวิต และสงเสริมการสรางสภาพแวดลอมที่ดีเพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีของ
ประชาชน
- สรางกระบวนการเรียนรูเพื่อใหชุมชนสามารถปองกัน คุมครอง และฟนฟูสิ่งแวดลอมชุมชน
สิ่งแวดลอมธรรมชาติ สิ่งแวดลอมศิลปกรรมที่เกี่ยวของกับประวัติศาสตร โบราณคดี วัฒนธรรม ประเพณี
วิถีชีวิต และภูมิปญญาทองถิ่นเพื่อใหเปนมรดกสืบทอดไปยังอนุชนรุนหลังตอไป
3) นโยบายดานการบริหารจัดการ
- บริ ห ารจั ด การและพั ฒ นาทรั พ ยากรธรรมชาติ แ ละสิ่ ง แวดล อ มแบบบู ร ณาการ โดยยึ ด
หลักธรรมมา ภิบาลบนพื้นฐานการจัดการชิงพื้นที่ การมีสวนรวม และการกระจายอํานาจ
- เติมภูมิปญญาประชาชนทุกระดับ และเสริมสรางความสามารถขององคกรทุกระดับอยาง
ตอเนื่อง

กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม 1-2 กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม


หลักสูตรการจัดการมลพิษ โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

- พั ฒ นาบุ ค ลากรให รู ทั ก ษะและมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ ทั้ ง ด า นองค ค วามรู แ ละทั ก ษะเพื่ อ ให
สอดคลองกับบทบาทและภารกิจของกระทรวง
- พัฒนาระบบและมาตรฐานในการบริหารจัดการและจัดทําฐานขอมูลโดยใชเทคโนโลยี
สารสนเทศและการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพ และสามารถเชื่อมโยงเครือขายกับระบบฐานขอมูลสารสนเทศ
หลักของประเทศได
- ส ง เสริ ม การวิ จั ย และพั ฒ นาเพื่ อ สนั บ สนุ น การกํ าหนดนโยบาย การวางแผน และการ
ปฏิบัติงานทุกระดับ
- รณรงคและสรางจิตสํานึกของประชาชนทุกฝาย รวมทั้งสรางเครือขายการมีสวนรวมในการ
ดําเนินงานอยางจริงจังและตอเนื่อง
- ติ ด ตามแก ไ ขป ญ หาข อ ร อ งเรี ย นของราษฎรด า นทรั พ ยากรธรรมชาติ แ ละสิ่ ง แวดล อ ม
รวมทั้งพัฒนาเครื่องมือและกลไกในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมที่มีประสิทธิภาพ
- สรางแรงจูงใจโดยการใชมาตรการทางเศรษฐศาสตร สังคม และกฎหมาย
- พัฒนากลไกลดความขัดแยงในการใชทรัพยากรธรรมชาติและการแกไขปญหาสิ่งแวดลอม
สงเสริมกลไกการตลาดเพื่อสังคม เพื่อสรางความสมดุลระหวางอุปสงคและอุปทานในการจัดการทรัพยากร
ธรรมชาติและสิ่งแวดลอม
- ปรับปรุง แกไข เสนอรางกฎหมายใหมเพื่อใชเปนเครื่องมือในการดําเนินการ และสามารถ
บังคับใชกฎหมายที่เกี่ยวของใหงานสัมฤทธิ์ผลสอดคลองกับสถานการณ
- เพิ่มบทบาทดานทรั พยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล อมในเวที โลก เพื่อ การพั ฒนาความ
รวมมือและพิทักษผลประโยชนของประชาชนและประเทศชาติ
- ติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลการดําเนินงานโดยมีตัวชี้วัดผลสัมฤทธิ์ชัดเจน

1.2 สถานการณมลพิษสิ่งแวดลอม

หลักสูตรการจัดการมลพิษถือเปนแนวทางหนึ่งดานการเสริมสรางทักษะ ความรู และความสามารถ


ใหแกบุคลากรที่ปฏิบัติงานดานสิ่งแวดลอม ซึ่งเนนทางดานการจัดการมลพิษเปนสําคัญ โดยจะกลาวถึง
สถานการณภาวะมลพิษของประเทศไทย ประกอบดวย มลพิษทางน้ํา มลพิษทางอากาศ มลพิษทางเสียง
และขยะมูลฝอย ทั้งนี้ เพื่อใหผูอานทราบถึงคุณภาพสิ่งแวดลอมในปจจุบันและตระหนักถึงความจําเปนที่
จะตองมีการจัดการมลพิษอยางเหมาะสม สําหรับเนื้อหาโดยสวนใหญจะอางอิงตามขอมูลของกรมควบคุม
มลพิษเปนหลัก (จากสรุปสถานการณมลพิษของประเทศไทยในปตางๆ) ดังนี้

1.2.1 สถานการณคุณภาพแหลงน้ํา

(1) คุณภาพแหลงน้ําจืด
กรมควบคุมมลพิษไดติดตามตรวจสอบคุณภาพน้ําในแมน้ําสายสําคัญ 48 สาย (ป พ.ศ.2547)
ครอบคลุมพื้นที่ทั่วประเทศทั้ง 5 ภาค (ภาคเหนือ ภาคกลาง ภาคตะวันออก ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และ
ภาคใต) รวมทั้งไดติดตามตรวจสอบคุณภาพน้ําของแหลงน้ํานิ่งขนาดใหญอีก 4 แหลง ไดแก กวานพะเยา
บึงบอระเพ็ด หนองหาน และลุมน้ําทะเลสาบสงขลา

กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม 1-3 กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม


หลักสูตรการจัดการมลพิษ โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

จากการติดตามตรวจสอบแหลงน้ําตางๆ ขางตน พบวา แหลงน้ําที่มีคุณภาพน้ําอยูในเกณฑดี พอใช


เสื่อมโทรม และเสื่อมโทรมมากมีจํานวนรอยละ 23, 51, 21 และ 5 ตามลําดับ (ดังตารางที่ 1.2.1-1) หาก
เปรียบเทียบคุณภาพของแหลงน้ําขางตนยอนหลัง 3 ปที่ผานมา (ดังรูปที่ 1.2.1-1) พบวา แหลงน้ําที่มีคุณภาพ
อยูในเกณฑเสื่อมโทรมและเสื่อมโทรมมากในอดีตมีจํานวนลดลงเล็กนอย (ลดลงจากรอยละ 6 ในป พ.ศ. 2546
เปนรอยละ 5 ในป พ.ศ.2547) แตในทางกลับกันยังพบวาแหลงน้ําที่มีคุณภาพอยูในเกณฑดีในอดีตก็มีจํานวน
ลดลงเชนกัน ซึ่งเปนการลดลงอยางมีนัยสําคัญโดยลดลงจากรอยละ 40 (ป พ.ศ. 2545) เปนรอยละ 32 และ 23
(ในป พ.ศ.2546 และ 2547 ตามลําดับ) สําหรับการจําแนกคุณภาพน้ําของแหลงน้ําขางตนจะยึดถือตามดัชนี
คุณภาพน้ําโดยทั่วไป ไดแก ออกซิเจนละลาย (DO) บีโอดี (BOD) ไนเตรท (NO3) ฟอสฟอรัสรวม (TP) ของแข็ง
รวม (TS) ของแข็งแขวนลอย (SS) แบคทีเรียกลุมฟคัลโคลิฟอรม (FCB) และความเปนกรด-ดาง (pH)
ตารางที่ 1.2.1-1
การจําแนกคุณภาพน้ําของแหลงน้ําจืดทั่วประเทศ ป พ.ศ. 2547
ตะวันออก
คุณภาพน้ํา เหนือ กลาง ตะวันออก ภาคใต
เฉียงเหนือ
- แมจาง - แควนอย - เวฬุ - หนองหาน - ตาปตอนบน
- บึงบอระเพ็ด - เพชรบุรีตอนบน - สงคราม - พุมดวง
ดี
- พอง - สายบุรี
(แหลงน้ําผิวดิน
- ลําปาว
ประเภทที่ 2)
- ชี
- อูน
- วัง - เจาพระยาตอนบน - ตราด - ลําชี - ตาปตอนลาง
- ปง - ทาจีนตอนบน - ปราจีนบุรี - เสียว - ปากพนัง
- กก - แมกลอง - พังราด - เลย - ตรัง
พอใช - ยม - นอย - จันทบุรี - ทะเลนอย
(แหลงน้ําผิวดิน - ลี้ - แควใหญ - หลังสวน
ประเภทที่ 3) - อิง - กุยบุรี - ปตตาปตอนบน
- นาน - สะแกกรัง - ทะเลหลวง
- กวานพะเยา - ปราณบุรี - ปตตานีตอนลาง
- เพชรบุรีตอนลาง
- กวง - ลพบุรี - นครนายก - มูล
เสื่อมโทรม - ปาสัก - ระยอง - ลําตะคอง
- ชุมพร
(แหลงน้ําผิวดิน - ทาจีนตอนกลาง - บางปะกง ตอนบน
ประเภทที่ 4) - เจาพระยาตอนกลาง - ประแสร
- เจาพระยาตอนลาง
เสื่อมโทรมมาก
- ลําตะคอง
(แหลงน้ําผิวดิน - - ทาจีนตอนลาง - - ทะเลสาบสงขลา
ตอนลาง
ประเภทที่ 5)
ที่มา: กรมควบคุมมลพิษ, 2548

กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม 1-4 กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม


หลักสูตรการจัดการมลพิษ โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

100

80
ดี
60 51
พอใช
รอ ยละ

40
40 32 32 31 31 เสื่อมโทรม
25 23 21
20 เสื่อมโทรมมาก
3 6 5
0
ป พ.ศ. 2545 ป พ.ศ. 2546 ป พ.ศ. 2547
ที่มา: กรมควบคุมมลพิษ, 2548
รูปที่ 1.2.1-1 การจําแนกคุณภาพน้ําของแหลงน้ําจืดทั่วประเทศ ป พ.ศ. 2545-2547

แหลงน้ําที่มีคุณภาพน้ําอยูในเกณฑโทรมมากมีจํานวน 3 แหลงน้ํา ไดแก แมน้ําทาจีนตอนลาง


(ตั้งแตอําเภอเมือง จังหวัดสมุทรสาคร ถึง อําเภอนครชัยศรี จังหวัดนครปฐม) แมน้ําลําตะคองตอนลาง
(พื้นที่อําเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา) และทะเลสาบสงขลา (บริเวณปากคลองสําโรง อําเภอเมือง จังหวัด
สงขลา) ซึ่งแหลงน้ําขางตนยังมีความสอดคลองกับผลการตรวจวัดในป พ.ศ. 2546 ในขณะที่แมน้ํา
เจาพระยาตอนลางมีแนวโนมของคุณภาพน้ําดีขึ้น โดยเปลี่ยนแปลงจากเกณฑเสื่อมโทรมมากในป พ.ศ.
2546 มาเปนเกณฑเสื่อมโทรมในป พ.ศ. 2547
แหลงน้ําที่มีเกณฑคุณภาพน้ําเสื่อมโทรมมากขางตนมักพบการปนเปอนแบคทีเรียกลุมโคลิฟอรม
ทั้งหมดและกลุมฟคัลโคลิฟอรมในปริมาณสูง (95,000-544,000 และ 22,400-119,000 หนวย ตามลําดับ) และมี
บางแหลงน้ํามีคาออกซิเจนละลายอยูในระดับต่ํา (นอยกวา 1.0 มิลลิกรัม/ลิตร) ทั้งนี้ เนื่องจากบริเวณริมแหลง
น้ําขางตนมักเปนที่ตั้งของชุมชนเมืองซึ่งมีจํานวนประชากรอาศัยอยูกันอยางหนาแนน ทําใหมีน้ําทิ้งในปริมาณ
สูงที่ไหลลงสูแหลงน้ํา อีกทั้งน้ําทิ้งโดยสวนใหญขางตนยังไมไดผานการปรับปรุงคุณภาพน้ํา (ใหไดมาตรฐาน
กอนระบายลงสูแหลงน้ํา) จึ งเป นสาเหตุใหมีปริมาณความสกปรกที่ระบายทิ้งลงแหล งน้ําสูงจนเกิ น
ความสามารถของแหลงรับน้ําที่จะฟอกไดเอง (self-purification) และเปนที่นาสังเกตวาบริเวณที่พบแหลงน้ําอยู
ในเกณฑเสื่อมโทรมมากมักจะเปนแมน้ําสวนลางใกลระบายลงสูทะเล ซึ่งเปนบริเวณที่รับภาระความสกปรก
สะสมจากชุมชนริมแหลงน้ํามากอน (เนื่องจากชุมชนที่ตั้งอยูตนน้ําไมมีการบําบัดน้ําเสียกอนระบายทิ้ง หรือมี
การบําบัดในปริมาณที่ไมเพียงพอ) อยางไรก็ตาม ที่ผานมารัฐมีการสงเสริมใหมีการบําบัดน้ําเสียจากชุมชนกอน
ระบายทิ้งลงสูแหลงน้ํา ซึ่งในปจจุบันมีระบบรวบรวมน้ําเสียและระบบบําบัดน้ําเสียรวมของชุมชนที่กอสรางแลว
และมีบางแหงที่อยูในระหวางการดําเนินการกอสรางรวมประมาณ 77 แหง (ไมรวมระบบบําบัดน้ําเสียของ
กรุงเทพมหานครอีก 7 แหง) แตจากการดําเนินงานที่ผานมา พบวา ระบบบําบัดน้ําเสียรวมโดยสวนใหญ
ประสบอุปสรรคในแงตางๆ กัน จนไมสามารถดําเนินการไดอยางมีประสิทธิภาพเทาที่ควร และที่ผานมากรม
ควบคุมมลพิษไดจัดทําและดําเนินการตามแผนฟนฟูและปรับปรุงระบบบําบัดน้ําเสียรวมของชุมชนทั่วประเทศ
จนทําใหระบบบําบัดน้ําเสียของเทศบาลตางๆ มีความพรอมที่สามารถใชงานไดแลวมีจํานวน 35 แหง และมี
แผนจะดําเนินงานเพิ่มเติมในเทศบาลสวนที่เหลืออีก 42 แหง
กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม 1-5 กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม
หลักสูตรการจัดการมลพิษ โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

สถานการณมลพิษทางน้ําแยกตามแหลงน้ําในภูมิภาคตางๆ ไดดังนี้
1) ภาคเหนือ
แหลงน้ําที่มีคุณภาพน้ําดีขึ้น ไดแก แมน้ํายม แมน้ําวัง และแมน้ํานาน ซึ่งเดิมมีคุณภาพน้ํา
อยูในเกณฑเสื่อมโทรม แตปจจุบันมีคุณภาพอยูในเกณฑพอใช สวนแหลงน้ําที่มีแนวโนมเสื่อมโทรมลง
ไดแก แมน้ําอิง ซึ่งเดิมมีคุณภาพน้ําอยูในเกณฑดี แตปจจุบันมีคุณภาพน้ําอยูในเกณฑพอใช สําหรับแหลง
น้ําที่ยังคงมีเกณฑคุณภาพน้ําเสื่อมโทรมเชนเดิม ไดแก แมน้ํากวง
ปญหาคุณภาพน้ําที่สําคัญในภาคเหนือ ไดแก การปนเปอนของแบคทีเรียกลุมฟคัลโคลิ
ฟอรมบริเวณชุมชนเมืองริมแมน้ํากวง (บริเวณเมืองลําพูน) และริมแมน้ําปง (บริเวณเทศบาลเมืองเชียงใหม)
ซึ่งพบกลุมฟคัลโคลิฟอรมประมาณ 5,000 และ 44,000 หนวย ตามลําดับ นอกจากนี้ ปญหาที่พบไดใน
แมน้ําเกือบทุกแหลงในภาคเหนือ ไดแก คาความขุนสูงในชวงฤดูฝน
2) ภาคกลาง
แหลงน้ําที่มีคุณภาพน้ําดีขึ้น ไดแก แมน้ําเจาพระยาตอนลาง ซึ่งเดิมมีคุณภาพน้ําอยูใน
เกณฑเสื่อมโทรมมาก แตปจจุบันมีคุณภาพอยูในเกณฑเสื่อมโทรม สวนแหลงน้ําที่มีแนวโนมเสื่อมโทรมลง
ไดแก แมน้ําแควใหญ แมน้ําสะแกกรัง และแมน้ําเพชรบุรีตอนลาง ซึ่งเดิมมีคุณภาพน้ําอยูในเกณฑดี แต
ปจจุบันมีคุณภาพอยูในเกณฑพอใช
อยางไรก็ตาม ยังพบวาแหลงน้ําที่ยังคงมีคุณภาพน้ําอยูในเกณฑเสื่อมโทรม ไดแก แมน้ํา
ลพบุ รี แมน้ําปาสัก แมน้ํ าทาจีนตอนกลาง และแมน้ํ าเจ าพระยาตอนกลาง สวนแหลงน้ํ าที่ ยังคงมีเกณฑ
คุณภาพน้ําเสื่อมโทรมมากเชนเดิม ไดแก แมน้ําทาจีนตอนลาง ซึ่งพบการปนเปอนของแบคทีเรียกลุมฟคัลโคลิ
ฟอรมสูง มีคาออกซิเจนละลายต่ําและแอมโมเนียสูง โดยมีปริมาณ 22,400 หนวย 1.0 และ 1.1 มิลลิกรัม/ลิตร
ตามลําดับ
3) ภาคตะวันออก
แหลงน้ําในภาคตะวันออกสวนใหญมีแนวโนมของคุณภาพน้ํ าเสื่อมโทรมลง ไดแก แมน้ํ า
นครนายก แมน้ําบางปะกง และแมน้ําประแสร ซึ่งเดิมมีคุณภาพน้ําอยูในเกณฑพอใช แตปจจุบันมีคุณภาพอยู
ในเกณฑเสื่อมโทรม สวนแมน้ําตราด เดิมมีคุณภาพน้ําอยูในเกณฑดี แตปจจุบันมีคุณภาพอยูในเกณฑพอใช
ปญหาที่สําคัญของแหลงน้ําในภาคตะวันออก ไดแก การลุกล้ําของน้ําทะเลในชวงฤดูแลง ทํา
ใหแหลงน้ําจืดปนเปอนดวยน้ําทะเล อีกทั้งยังพบการปนเปอนของแบคทีเรียกลุมโคลิฟอรมทั้งหมดและ
กลุมฟคัลโคลิฟอรมในปริมาณสูงดวย โดยที่แมน้ํานครนายก (บริเวณอําเภอเมือง จังหวัดนครนายก) มี
ปริมาณ 68,000 และ 61,900 หนวย ตามลําดับ สวนแมน้ําประแสร (บริเวณสะพาน อําเภอแกลง จังหวัด
ระยอง) มีปริมาณ 550,000 และ 80,000 หนวย ตามลําดับ
4) ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
แหลงน้ําที่มีคุณภาพน้ําดีขึ้น ไดแก แมน้ําเลย ซึ่งเดิมมีคุณภาพน้ําอยูในเกณฑเสื่อมโทรม
แตปจจุบันมีคุณภาพอยูในเกณฑพอใช สวนแมน้ําพองและแมน้ําลําปาวเดิมมีคุณภาพน้ําอยูในเกณฑพอใช
แตปจจุบันมีคุณภาพอยูในเกณฑดี สําหรับแหลงน้ําที่มีแนวโนมเสื่อมโทรมลง ไดแก แมน้ํามูล ซึ่งเดิมมี
คุณภาพน้ําอยูในเกณฑพอใช แตปจจุบันมีคุณภาพอยูในเกณฑเสื่อมโทรม สวนลําน้ําชีและแมน้ําเสียว เดิม
มีคุณภาพน้ําอยูในเกณฑดี แตปจจุบันมีคุณภาพอยูในเกณฑพอใช

กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม 1-6 กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม


หลักสูตรการจัดการมลพิษ โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

แหลงน้ําที่อยูในเกณฑเสื่อมโทรมมากยังคงเปนแมน้ําลําตะคองตอนลางเชนเดิม ซึ่งมีการ
ปนเปอนแบคทีเรียกลุมฟคัลโคลิฟอรมในปริมาณสูง (ประมาณ 31,000 หนวย) นอกจากนี้ ยังพบวาฝาย
หวยเสี้ยว (อําเภอบรบือ จังหวัดมหาสารคาม) มีคาความเค็มสูงกวาปกติ ซึ่งอาจไดรับอิทธิพลมาจากแหลง
เกลือใตดินตามธรรมชาติ
5) ภาคใต
แหลงน้ําที่คุณภาพน้ําดีขึ้น ไดแก แมน้ําปากพนัง แมน้ําหลังสวน แมน้ําปตตานีตอนลาง (ซึ่ง
เดิมมีคุณภาพน้ําอยูในเกณฑเสื่อมโทรม แตปจจุบันมีคุณภาพอยูในเกณฑพอใช) และแมน้ําพุมดวง (ซึ่งเดิมมี
คุณภาพน้ําอยูในเกณฑพอใช แตปจจุบันมีคุณภาพอยูในเกณฑดี) สวนแหลงน้ําที่มีแนวโนมเสื่อมโทรมลง
ไดแก ทะเลนอยและทะเลหลวง ซึ่งเดิมมีคุณภาพน้ําอยูในเกณฑดี แตปจจุบันมีคุณภาพอยูในเกณฑพอใช
อยางไรก็ตาม แหลงน้ําที่มีเกณฑคุณภาพน้ําเสื่อมโทรมมากยังคงเปนทะเลสาบสงขลาเชนเดิม ซึ่งมีการ
ปนเปอนแบคทีเรียกลุมฟคัลโคลิฟอรมในปริมาณสูง (119,000 หนวย)
(2) คุณภาพน้ําทะเลชายฝง
กรมควบคุมมลพิษไดติดตามตรวจสอบคุณภาพน้ําทะเลชายฝงทั่วประเทศครอบคลุมพื้นที่ 23
จังหวัด (มีสถานีตรวจวัดจํานวน 240 สถานี) เปนการตรวจวัดในชวง 2 ฤดู ในป พ.ศ. 2547 ไดแก ฤดูแลง
(เมษายน-พฤษภาคม) และฤดู ฝน (กรกฎาคม-สิ งหาคม) ซึ่ งจากการตรวจสอบข างต นพบว า สถานี ที่ มี
คุณภาพน้ําอยูในเกณฑดีมาก ดี พอใช เสื่อมโทรม และเสื่อมโทรมมาก คิดเปนรอยละ 3, 43, 45, 5 และ 4
ตามลําดับ และเมื่อเปรียบเทียบกับคุณภาพน้ําชายฝงทะเลในป พ.ศ. 2545 และ 2546 พบวา คุณภาพน้ําของ
น้ําทะเลชายฝงโดยสวนใหญมีแนวโนมเสื่อมโทรมลง (ดังรูปที่ 1.2.1-2) กลาวคือ สถานีที่มีคุณภาพน้ําอยูใน
เกณฑดีมากมีจํานวนลดลงอยางตอเนื่องและมีนัยสําคัญ โดยลดจากรอยละ 47 (ป พ.ศ. 2545) มาเปนรอยละ
7 และ 3 ตามลําดับ (ในป พ.ศ. 2546 และ 2547 ตามลําดับ) อีกทั้ง ในป พ.ศ. 2547 มีสถานีที่มีคุณภาพน้ํา
อยูในเกณฑเสื่อมโทรมมากเพิ่มขึ้นเปนรอยละ 4 ในขณะที่ในป พ.ศ. 2545 และ 2546 ไมพบสถานีใดที่มี
คุณภาพน้ําอยูในเกณฑเสื่อมโทรมมาก
บริ เ วณที่ พ บว า มี คุ ณ ภาพน้ํ า ทะเลเสื่ อ มโทรมมากอยู ใ นพื้ น ที่ อ า วไทยตอนในและอ า วไทย
ฝง ตะวั น ตก ได แ ก ปากแม น้ํ า เจ า พระยา ปากคลอง 12 ธั น วา (หนา โรงงานฟอกย อ ม กม.35 จั ง หวั ด
สมุทรปราการ) ปากแมน้ําทาจีน (จังหวัดสมุทรสาคร) และปากคลองบานแหลม ทั้งนี้ สําหรับ 3 แหลงน้ํา
แรกนั้น เปนแหลงรองรับน้ําเสียจากกิจกรรมตางๆ ทั้งจากชุมชน อุตสาหกรรม และเกษตรกรรม จึงทําใหคา
ออกซิเจนละลายอยูในระดับต่ํา อีกทั้งพบการปนเปอนของแบคทีเรียกลุมฟคัลโคลิฟอรมในระดับสูงอีกดวย
ส ว นปากคลองบ า นแหลมพบการปนเป อ นของแบคที เ รี ย กลุ ม ฟ คั ล โคลิ ฟ อร ม ในระดั บ สู ง เช น กั น ทั้ ง นี้
เนื่องจากแหลงน้ําขางตนเปนแหลงรองรับน้ําเสียจากกิจกรรมของชุมชนตางๆ ในจังหวัดเพชรบุรี
สําหรับคุณภาพน้ําทะเลชายฝงตางๆ ในป พ.ศ. 2546 สรุปไดดังนี้
1) อาวไทยตอนใน (บริเวณปากแมน้ําสายหลัก 4 สาย)
คุณภาพแหลงน้ําทะเลชายฝงบริเวณอาวไทยตอนในสวนใหญอยูในมาตรฐาน ยกเวนเพียง
บางสถานี ที่ มี ค า ออกซิ เ จนละลายต่ํ า ได แ ก บริ เ วณปากแม น้ํ า ท า จี น ปากแม น้ํ า เจ า พระยา (1.8-3.5
มิลลิกรัม/ลิตร) และบริเวณปากคลอง 12 ธันวา (มีคาต่ําที่สุด 0.3 มิลลิกรัม/ลิตร) นอกจากนี้ บางสถานีพบ
การปนเปอนแบคทีเรียกลุมโคลิฟอรมทั้งหมดในปริมาณสูง ไดแก บริเวณปากแมน้ําเจาพระยา ปากแม
น้ําทาจีน และปากแมน้ําแมกลอง (900-16,000 เอ็มพีเอ็น/100 มิลลิลิตร) ในขณะที่ปากแมน้ําบางปะกงพบ

กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม 1-7 กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม


หลักสูตรการจัดการมลพิษ โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

แบคทีเรียชนิด Vibrio parahaemolyticus ปนเปอนสูง (70 CFU/มิลลิลิตร) และมีบางสถานีที่มีสารอาหารทั้ง


ไนโตรเจนและฟอสฟอรัสสูง ไดแก ปากแมน้ําเจาพระยาและปากแมน้ําทาจีน นอกจากนี้ พบบางสถานีที่มี
คาแมงกานีสสูงเกินมาตรฐาน ไดแก ปากแมน้ําทาจีน ปากคลอง 12 ธันวา ปากแมน้ําเจาพระยา และปาก
แมน้ําบางปะกง ซึ่งมีปริมาณ 162-226, 301, 102 และ 369-547 ไมโครกรัม/ลิตร ตามลําดับ อีกทั้งพบวา
บริเวณปากคลอง 12 ธันวายังพบคาโครเมียมสูงอีกดวย (161 ไมโครกรัม/ลิตร)

100

80 ดีมาก
61
ดี
60 47 43 45
ร อ ยละ

36 พอใช
40 29
เสื่อมโทรม
20 11 7
6 3 4 เสื่อมโทรมมาก
3 5
0
ป พ.ศ. 2545 ป พ.ศ. 2546 ป พ.ศ. 2547
ที่มา : กรมควบคุมมลพิษ, 2548

รูปที่ 1.2.1-2 คุณภาพน้ําของน้ําทะเลชายฝงทั่วประเทศ ป พ.ศ. 2545-2547

2) อาวไทยฝงตะวันออก
คุณภาพแหลงน้ําทะเลชายฝงบริเวณอาวไทยฝงตะวันออกสวนใหญอยูในมาตรฐาน ยกเวนบาง
สถานีที่มีคาออกซิเจนละลายต่ํา ไดแก บริเวณปากแมน้ําระยอง (3.0 มิลลิกรัม/ลิตร) และทาเรือแหลมงอบ (3.5
มิลลิกรัม/ลิตร) บางสถานีมีคาแบคทีเรียกลุมโคลิฟอรมทั้งหมดในระดับสูง ไดแก บริเวณทาเรือแหลมฉบัง และ
แหลมงอบ จังหวัดตราด ซึ่งมีปริมาณ 1,700-16,000 และ 16,000 เอ็มพีเอ็น/100 มิลลิลิตร ตามลําดับ บาง
บริเวณพบการปนเปอนแบคทีเรียชนิด Vibrio parahaemolyticus สูง ไดแก บริเวณฟารมหอยนางรมอาวชลบุรี
และอางศิลา (1,300 และ 3,400 CFU/มิลลิลิตร ตามลําดับ)
นอกจากนี้ ยังพบวา บริเวณหาดทรายทองมีคาฟอสเฟตสูง (58.2 ไมโครกรัม/ลิตร) บริเวณ
ทาเทียบเรือแหลมฉบัง จังหวัดชลบุรี และปากคลองใหญ จังหวัดตราด มีคาแมงกานีสสูง (581 และ 122
ไมโครกรัม/ลิตร ตามลําดับ) สวนบริเวณที่พบเหล็กสูง ไดแก บริเวณปากแมน้ําเวฬุ จังหวัดจันทบุรี และปาก
คลองใหญ จังหวัดตราด (2,500 และ 2,200 ไมโครกรัม/ลิตร ตามลําดับ)
3) อาวไทยฝงตะวันตก
คุณภาพแหลงน้ําทะเลชายฝงบริเวณอาวไทยฝงตะวันตกสวนใหญอยูในมาตรฐาน ยกเวน
บางบริเวณที่พบการปนเปอนของแบคทีเรียกลุมโคลิฟอรมทั้งหมดในปริมาณสูง ไดแก ปากคลองบานบาง
ตะบูน ปากคลองบานแหลม (จังหวัดเพชรบุรี) อาวประจวบฯ ตอนกลาง ปากคลองบางสะพานนอย (จังหวัด
ประจวบคีรีขันธ) ปากแมน้ําชุมพร ปากแมน้ําหลังสวน (จังหวัดชุมพร) ตลาดแมน้ํา เกาะสมุย อาวหาดริ้น
เกาะพงัน ปากคลองทาเคย ปากคลองทาสูง (จังหวัดสุราษฎรธานี) ปากแมน้ําปตตานี และปากคลองบาง

กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม 1-8 กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม


หลักสูตรการจัดการมลพิษ โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

นรา (จั ง หวั ด นราธิ ว าส) และยั ง พบว า บริ เ วณบ า นบางตะบู น มี ก ารปนเป อ นแบคที เ รี ย ชนิ ด Vibrio
parahaemolyticus ในปริมาณสูงอีกดวย
สําหรับบริเวณที่พบแมงกานีสสูง ไดแก บริเวณปากคลองบานแหลม ปากคลองบางตะบูน ปาก
คลองบางสะพานนอย และปากคลองทาเคย (268, 211, 118 และ 142 ไมโครกรัม/ลิตร ตามลําดับ) อีกทั้งยัง
พบวาเกือบทุกสถานีมีคาเหล็กสูง
4) ฝงอันดามัน
คุณภาพแหลงน้ําทะเลบริเวณฝงอันดามันสวนใหญอยูในมาตรฐาน ยกเวนบางบริเวณพบ
ปริมาณออกซิเจนละลายต่ํา ไดแก บริเวณหาดชาญดําริ (จังหวัดระนอง) และหาดในหาญ (จังหวัดภูเก็ต)
และยังมีบางบริเวณที่มีปริมาณแบคทีเรียกลุมโคลิฟอรมทั้งหมดสูง ไดแก บริเวณหาดชาญดําริ (จังหวัด
ระนอง) หาดไนยาง หาดปาตอง และหาดราไวย (จังหวัดภูเก็ต) บานแหลมสัก (จังหวัดพังงา) อาวตนไทร
เกาะพีพี หาดนพรัตนธารา (จังหวัดกระบี่) อีกทั้งยังพบวาเหล็กมีคาสูงเกินมาตรฐานทุกสถานี

1.2.2 สถานการณคุณภาพอากาศ

สถานการณคุณภาพอากาศของประเทศไทยในป พ.ศ. 2547 ยังพบวาปญหาหลักยังคงเปนฝุนละออง


ขนาดเล็กเชนเดิมที่มักจะมีปริมาณสูงและเกินมาตรฐาน (ในบริเวณริมถนน) และยังพบวาคาฝุนขนาดเล็กมี
แนวโน ม สู ง ขึ้ น อย า งชั ด เจน โดยส ว นใหญ มั ก จะเป น ป ญ หาในพื้ น ที่ เ ดิ ม เช น จั ง หวั ด สมุ ท รปราการ
กรุงเทพมหานคร และตําบลหนาพระลาน อําเภอเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดสระบุรี เปนตน นอกจากนี้ ยัง
พบวามีหลายพื้นที่ที่เริ่มมีปริมาณฝุนละอองสูงขึ้น (โดยเฉพาะในชวงฤดูหนาว) เชน จังหวัดเชียงใหม
ลําปาง พระนครศรีอยุธยา ชลบุรี (อําเภอศรีราชา) และระยอง (อําเภอปลวกแดง) สวนปญหารองลงมา คือ
กาซโอโซน ซึ่งพบบางบริเวณที่มีคาเกินมาตรฐาน ไดแก กรุงเทพมหานคร ปริมณฑล และภาคตะวันออก
นอกจากนี้ ยังพบวาบริเวณริมถนนบางสายในกรุงเทพมหานครมีคากาซคารบอนมอนอกไซดเกินมาตรฐาน
เปนครั้งคราว สวนสารมลพิษประเภทอื่นๆ ไดแก กาซซัลเฟอรไดออกไซด กาซไนโตรเจนไดออกไซด ยังมี
คาอยูในมาตรฐาน
(1) คุณภาพอากาศในกรุงเทพมหานคร
คุณภาพอากาศในกรุง เทพมหานครที่ ตรวจวั ด ในป พ.ศ. 2547 แสดงดัง ตารางที่ 1.2.2-1
สําหรับปญหามลพิษทางอากาศที่พบในกรุงเทพมหานคร ไดแก ฝุนขนาดเล็ก ฝุนรวม และกาซโอโซน
(แนวโนมปริมาณฝุนขนาดเล็กและฝุนรวมจากการตรวจวัดที่ผานมาแสดงดังรูปที่ 1.2.2-1 และ 1.2.2-2)
โดยพบวาบริเวณริมถนนจะมีปริมาณฝุนสูงกวาในพื้นที่ทั่วไปหรือพื้นที่ชุมชนที่พักอาศัย ทั้งนี้ เนื่องจาก
กรุงเทพมหานครมีปริมาณการจราจรที่หนาแนนและติดขัด ซึ่งจากสถิติของกรมการขนสงทางบก พบวา มี
รถยนตทุกประเภทที่จดทะเบียนในกรุงเทพมหานครสะสมจนถึงป พ.ศ. 2545 มีจํานวนถึง 5.4 ลานคัน สวน
ในป พ.ศ. 2546 และ 2547 มีรถใหมที่จดทะเบียนจํานวน 514,530 และ 657,592 คัน ตามลําดับ
1) บริเวณพื้นที่ทั่วไป
จากการตรวจวัดคุณภาพอากาศบริเวณพื้นที่ทั่วไปในกรุงเทพมหานคร (10 สถานี) พบวา ยังคงมี
ปญหาเรื่องฝุนขนาดเล็กและกาซโอโซนที่มีคาสูงและเกินมาตรฐานในบางครั้ง สวนสารมลพิษประเภทอื่นๆ
ไดแก ฝุนรวม กาซซัลเฟอรไดออกไซด กาซไนโตรเจนไดออกไซด และกาซคารบอนมอนอกไซด ยังมีคาอยูใน
กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม 1-9 กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม
ตารางที่ 1.2.2-1
คุณภาพอากาศในกรุงเทพมหานครป พ.ศ. 2547
จํานวนทีเ่ กินมาตรฐาน/
ชวงที่วัดได คาเฉลี่ย คาเปอรเซ็นไทลที่ 95 คา
สารมลพิษ หนวย จํานวนที่ตรวจวัด
มาตรฐาน
พื้นที่ทั่วไป ริมถนน พื้นที่ทั่วไป ริมถนน พื้นที่ทั่วไป ริมถนน พื้นที่ทั่วไป ริมถนน
ฝุนรวม ไมโครกรัม/
20-320 0.01-0.77 110.0 180.0 210.0 380.0 330.0 0/436 53/631
เฉลี่ย 24 ชั่วโมง ลูกบาศกเมตร
ฝุนขนาดเล็ก ไมโครกรัม/
19.3-219.3 21.5-224.8 59.8 78.5 116.4 135.2 120.0 82/1,873 243/2,282
เฉลี่ย 24 ชั่วโมง ลูกบาศกเมตร
สารตะกั่ว ไมโครกรัม/
0.02-0.34 0.02-0.31 0.1 0.1 0.2 0.2 1.5 0/107 0/104
เฉลี่ย 1 เดือน ลูกบาศกเมตร
กาซคารบอนมอนอกไซด สวนในลานสวน
0-8.3 0-15.1 0.7 1.7 2.0 4.5 30.0 0/71,616 0/55,940
เฉลี่ย 1 ชั่วโมง (พีพีเอ็ม)
1-10

กาซคารบอนมอนอกไซด สวนในลานสวน
0-5.2 0-10.6 0.7 1.7 1.8 4.1 9.0 0/74,282 44/56,647
เฉลี่ย 8 ชั่วโมง (พีพีเอ็ม)
กาซโอโซน สวนในพันลานสวน
0-173 0-143 15.7 21.4 53.0 45.0 100.0 102/58,081 12/24,977
เฉลี่ย 1 ชั่วโมง (พีพีบี)
กาซซัลเฟอรไดออกไซด สวนในพันลานสวน
0-103 0-66 5.0 7.0 14.0 17.0 300.0 0/70,886 0/24,615
เฉลี่ย 1 ชั่วโมง (พีพีบี)
กาซซัลเฟอรไดออกไซด สวนในพันลานสวน
0-19.7 0.4-23.6 5.0 7.0 10.3 12.8 120.0 0/2,884 0/1,069
เฉลี่ย 24 ชั่วโมง (พีพีบี)
กาซไนโตรเจนไดออกไซด สวนในพันลานสวน
0-170 0-172 24.3 34.7 58.0 77.0 170.0 0/69,752 1/24,835
เฉลี่ย 1 ชั่วโมง (พีพีบี)
หมายเหตุ: - ฝุนรวม หมายถึง ฝุนละอองขนาดไมเกิน 100 ไมครอน
- ฝุนขนาดเล็ก หมายถึง ฝุนละอองขนาดไมเกิน 10 ไมครอน
ที่มา: กรมควบคุมมลพิษ, 2548
หลักสูตรการจัดการมลพิษ โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

100
ฝุ นขนาดเล็ ก (มคก./ลบ.ม.) 90
80
70
60
50
40
30 ริมถนน
20
10 พื้นที่ทั่วไป
0
2537 2538 2539 2540 2541 2542 2543 2544 2545 2546 2547 ป พ.ศ.
หมายเหตุ: เปนคามัชฌิมเลขคณิต 1 ป ซึ่งมาตรฐานกําหนดใหไมเกิน 50 ไมครอน/ลูกบาศกเมตร
ที่มา: กรมควบคุมมลพิษ, 2548
รูปที่ 1.2.2-1 ฝุนขนาดเล็กรายป ในกรุงเทพมหานคร ป พ.ศ. 2537-2547

100
90
80 ริมถนน
ฝุ น รวม (มคก./ลบ.ม.)

70 พื้นที่ทั่วไป
60
50
40
30
20
10
0
2537 2538 2539 2540 2541 2542 2543 2544 2545 2546 2547 ป พ.ศ.
หมายเหตุ: เปนคามัชฌิมเลขคณิต 1 ป ซึ่งมาตรฐานกําหนดใหไมเกิน 100 ไมครอน/ลูกบาศกเมตร
ที่มา: กรมควบคุมมลพิษ, 2548

รูปที่ 1.2.2-2 ฝุนรวมรายป ในกรุงเทพมหานคร ป พ.ศ. 2537-2547


มาตรฐาน โดยที่ฝุนขนาดเล็กเฉลี่ย 24 ชั่วโมง มีคาอยูในชวง 19.3-219.3 ไมโครกรัม/ลูกบาศกเมตร ซึ่งเกิน
มาตรฐาน 82 ครั้ง จากการตรวจวัดทั้งหมด 1,873 ครั้ง หรือรอยละ 4.4 (มาตรฐานกําหนดไวไมเกิน 120
ไมโครกรัม/ลูกบาศกเมตร) โดยบริเวณที่มีปญหามากที่สุด คือ มหาวิทยาลัยราชภัฏบานสมเด็จเจาพระยา สวน
กาซโอโซนเฉลี่ย 1 ชั่วโมง มีคาอยูในชวง 0-173.0 สวนในพันลานสวน ซึ่งเกินมาตรฐาน 102 ครั้ง จากการ
ตรวจวัดทั้งหมด 58,081 ครั้ง หรือรอยละ 0.18 (มาตรฐานกําหนดไวไมเกิน 100 สวนในพันลานสวน) โดย
บริเวณที่พบกาซโอโซนสูงสุดและสวนใหญมีคาเกินมาตรฐาน คือ บริเวณสํานักงานการเคหะชุมชนคลองจั่น
2) บริเวณริมถนน
จากการตรวจวัดคุณภาพอากาศบริเวณริมถนนในกรุงเทพมหานคร (จุดตรวจวัด 7 สถานี และ
จุดตรวจวัดแบบชั่วคราว 21 จุด) พบวา ปญหาหลัก ไดแก ฝุนขนาดเล็กและฝุนรวม โดยที่ฝุนขนาดเล็ก 24
กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม 1-11 กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม
หลักสูตรการจัดการมลพิษ โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

ชั่วโมง มีคาอยูในชวง 21.5-224.8 ไมโครกรัม/ลูกบาศกเมตร ซึ่งเกินมาตรฐาน 243 ครั้ง จากการตรวจวัด


ทั้งหมด 2,282 ครั้ง หรือรอยละ 10.6 นอกจากนี้ ยังพบกาซคารบอนมอนอกไซดเฉลี่ย 8 ชั่วโมง และโอโซน
เฉลี่ย 1 ชั่วโมง เกินมาตรฐานเปนครั้งคราวบริเวณริมถนนบางสายเทานั้น (อยูในชวง 0-10.6 สวนในลานสวน
และ 0-143.0 สวนในพันลานสวน ตามลําดับ) สวนกาซซัลเฟอรไดออกไซดและกาซไนโตรเจนไดออกไซดยัง
อยูในมาตรฐาน
(2) คุณภาพอากาศในเขตปริมณฑล
การตรวจวัดคุณภาพอากาศในเขตปริมณฑลทั้ง 4 จังหวัด ในป พ.ศ. 2547 (จํานวน 10 สถานี)
ไดแก สมุทรปราการ สมุทรสาคร ปทุมธานี และนนทบุรี พบวา มีฝุนขนาดเล็กและกาซโอโซนเปนปญหา
หลักเชนเดิม อีกทั้งมีแนวโนมรุนแรงมากกวาปที่ผานมาอีกดวย อยางไรก็ตาม สําหรับสารมลพิษอื่นยังมี
ปริมาณอยูในมาตรฐาน โดยที่ฝุนขนาดเล็กเฉลี่ย 24 ชั่วโมง มีคาอยูในชวง 8.8-331.0 ไมโครกรัม/ลูกบาศก
เมตร บริเวณที่มีปญหามากที่สุดและเกิดขึ้นอยางตอเนื่อง คือ จังหวัดสมุทรปราการ โดยพบขอมูลที่เกิน
มาตรฐาน 702 ครั้ง (จากการตรวจวัดทั้งหมด 1,672 ครั้ง หรือคิดเปนรอยละ 42.0) ในขณะที่ป พ.ศ. 2545
และ 2546 พบขอมูลที่เกินมาตรฐานมีเพียงรอยละ 18.4 และ 27.4 เทานั้น) สวนกาซโอโซนเฉลี่ย 1 ชั่วโมง
มีคาสูงเกินมาตรฐานหลายครั้งในทุกสถานี โดยตรวจวัดไดอยูในชวง 0-192.0 สวนในพันลานสวน โดยพบ
ขอมูลที่เกินมาตรฐาน 112 ครั้ง (จากการตรวจวัด 41,038 ครั้ง หรือคิดเปนรอยละ 0.27) สําหรับบริเวณที่
มักจะมีคาเกินมาตรฐาน ไดแก จังหวัดสมุทรสาคร นนทบุรี และปทุมธานี
(3) คุณภาพอากาศในพื้นที่ตางจังหวัด
จากการตรวจวัดคุณภาพอากาศในพื้นที่ตางจังหวัดของประเทศไทย พบวา มีฝุนขนาดเล็กเปน
ปญหาหลักเชนเดิม อีกทั้ง ยังมีแนวโนมพบปญหาเพิ่มขึ้นอยางชัดเจน โดยเฉพาะในพื้นที่จังหวัดเชียงใหม
ลําปาง และบริเวณอําเภอเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดสระบุรี ปญหารองลงมา คือ กาซโอโซน สําหรับสาร
มลพิษอื่นยังมีปริมาณอยูในมาตรฐาน โดยมีคาฝุนขนาดเล็กเฉลี่ย 24 ชั่วโมง อยูในชวง 9.9-415.7
ไมโครกรัม/ลูกบาศกเมตร ซึ่งบริเวณที่พบคาฝุนขนาดเล็กสูงสุด ไดแก อําเภอเฉลิมพระเกียรติ จังหวัด
สระบุรี โดยมีคาเกินมาตรฐาน 124 ครั้ง (จากการตรวจวัดทั้งหมด 355 ครั้ง หรือคิดเปนรอยละ 34.9)
ในขณะที่ป พ.ศ. 2546 มีจํานวนครั้งที่เกินมาตรฐานเพียงรอยละ 15 เทานั้น ทั้งนี้ เนื่องจากบริเวณพื้นที่
ดังกลาวเปนที่ตั้งของอุตสาหกรรมโม บดและยอยหิน และอุตสาหกรรมปูนซีเมนต นอกจากนี้ ยังพบวาในบาง
พื้นที่ของจังหวัดเชียงใหมและลําปาง (อําเภอแมเมาะ) มีปญหาเรื่องฝุนขนาดเล็กในชวงตนป ทั้งนี้ เนื่องจาก
ฝุนควันที่เกิดจากการเผาในที่โลง เชน การเกิดไฟปา การเผาวัสดุเหลือใชจากผลิตภัณฑการเกษตร การเผา
ขยะ เปนตน สําหรับกาซโอโซนเฉลี่ย 1 ชั่วโมง มีคาอยูในชวง 0-165.0 สวนในพันลานสวน โดยบริเวณที่มีคา
เกินมาตรฐาน ไดแก จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ชลบุรี ระยอง (อําเภอปลวกแดง) และราชบุรี สวนบริเวณที่มี
คาเกินเปนครั้งคราว ไดแก จังหวัดสระบุรี เชียงใหม นครราชสีมา และนครสวรรค

1.2.3 สถานการณมลพิษทางเสียง

สถานการณมลพิษทางเสียงในป พ.ศ. 2547 พบวา บริเวณริมถนนในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล


ยังคงเปนพื้นที่ที่เปนปญหาหลักเชนเดิม เนื่องจากระดับเสียงสวนใหญมีคาเกินมาตรฐาน (มาตรฐานกําหนดไว
ไมเกิน 70 เดซิเบลเอ) แตระดับเสียงในพื้นที่ทั่วไปยังมีคาสวนใหญอยูในมาตรฐาน สวนบริเวณริมถนนและ
พื้นที่ทั่วไปในตางจังหวัดสวนใหญยังมีระดับเสียงอยูในมาตรฐาน
กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม 1-12 กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม
หลักสูตรการจัดการมลพิษ โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

(1) ระดับเสียงในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล
ผลการตรวจวัดระดับเสียงบริเวณพื้นที่ริมถนน พบวา ระดับเสียงเฉลี่ย (Leq) 24 ชั่วโมง มีคาอยู
ในชวง 64-84 เดซิเบลเอ โดยมีจํานวนวันที่มีระดับเสียงเกินมาตรฐานรอยละ 74 ในขณะที่มีคาเฉลี่ยของระดับ
เสียงเฉลี่ย 24 ชั่วโมงของทุกจุดตรวจวัดเทากับ 72 เดซิเบลเอ สําหรับบริเวณที่พบวามีคาเกินมาตรฐาน ไดแก
ถนนบํารุงเมือง ถนนเยาวราช ถนนสุขมุ วิท ถนนตรีเพชร และถนนลาดพราว
ผลการตรวจวัดระดับเสียงในพื้นที่ทั่วไป พบวา ระดับเสียงเฉลี่ย 24 ชั่วโมง มีคาอยูในชวง 54-77
เดซิเบลเอ โดยมีจํานวนครั้งของระดับเสียงที่เกินมาตรฐานเพียงรอยละ 6 เทานั้นในขณะที่คาเฉลี่ยของ
ระดับเสียงเฉลี่ย 24 ชั่วโมง ของทุกจุดตรวจวัดเทากับ 61 เดซิเบลเอ สําหรับระดับเสียงเฉลี่ย 24 ชั่วโมง
บริเวณที่พักอาศัยของประชาชนริมคลองแสนแสบ (ที่ไดรับเสียงจากการเดินเรือโดยสาร) มีคาอยูในชวง 63-
65 เดซิเบลเอ ในขณะที่คาเฉลี่ยของระดับเสียงเฉลี่ย 24 ชั่วโมง ของทุกจุดตรวจวัด เทากับ 64 เดซิเบลเอ
(2) ระดับเสียงในตางจังหวัด
ผลการตรวจวัดระดับเสียงบริเวณริมถนน พบวา ระดับเสียงเฉลี่ย 24 ชั่วโมง มีคาอยูในชวง 49-85
เดซิเบลเอ และมีคาเฉลี่ยของระดับเสียงเฉลี่ย 24 ชั่วโมง ของทุกจุดตรวจวัดเทากับ 64 เดซิเบลเอ โดย
จํานวนวันที่มีระดับเสียงเกินมาตรฐานเพียงรอยละ 13 เทานั้น สําหรับบริเวณที่พบปญหามากที่สุดยังคงเปน
โรงเรียนหนาพระลาน จังหวัดสระบุรี ซึ่งมีระดับเสียงเฉลี่ย 24 ชั่วโมง อยูในชวง 68-85 เดซิเบลเอ (มีจํานวน
วันที่เกินมาตรฐานรอยละ 96)
ผลการตรวจวัดระดับเสียงในพื้นที่ทั่วไป พบวา ระดับเสียงเฉลี่ย 24 ชั่วโมง มีคาอยูในชวง 52-76
เดซิเบลเอ แตมีคาเฉลี่ยของระดับเสียงเฉลี่ย 24 ชั่วโมง ของทุกจุดตรวจวัดเทากับ 59 เดซิเบลเอ ซึ่งพบวามี
จํานวนวันที่เกินมาตรฐานเพียงรอยละ 1 เทานั้น

1.2.4 สถานการณขยะมูลฝอยและของเสียอันตราย
(1) ขยะมูลฝอยชุมชน
ป ญ หาขยะมู ล ฝอยชุ ม ชนยั ง คงเป น ป ญ หาสํ า คั ญ ในชุ ม ชนและท อ งถิ่ น ทุ ก ระดั บ รวมทั้ ง
กรุงเทพมหานครในป พ.ศ. 2547 มีปริมาณขยะมูลฝอยชุมชนเกิดขึ้นทั่วประเทศประมาณ 14.6 ลานตัน
(ในขณะที่ป พ.ศ. 2545 และ 2546 มีป ริม าณ 14.3 และ 14.4 ล านตัน ตามลําดับ ) โดยเฉพาะในเขต
กรุงเทพมหานครมีปริมาณขยะมูลฝอยเกิดขึ้นวั นละ 9,536 ตัน (ในขณะที่ป พ.ศ. 2545 และ 2546 มี
ปริมาณ 9,521 และ 9,340 ตัน ตามลําดับ) สําหรับในเขตเทศบาลและเมืองพัทยามีปริมาณขยะมูลฝอย
เกิดขึ้นประมาณวันละ 12,500 ตัน สวนบริเวณนอกเขตเทศบาลซึ่งครอบคลุมพื้นที่องคการบริหารสวน
ตําบลทั้งหมดมีปริมาณขยะมูลฝอยเกิดขึ้นประมาณวันละ 18,100 ตัน
การจัดการขยะมูลฝอยในกรุงเทพมหานครเปนการวาจางบริษัทเอกชนใหขนสงขยะมูลฝอยและทํา
การกําจัดดวยวิธีการฝงกลบอยางถูกหลักสุขาภิบาล โดยนําไปฝงกลบที่อําเภอกําแพงแสน จังหวัดนครปฐม
และที่ตําบลราชาเทวะ อําเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ สําหรับการจัดการขยะมูลฝอยของชุมชนระดับ
เทศบาลและเมืองพัทยานั้นจะทําการเก็บขนและนําไปกําจัดดวยวิธีตางๆ โดยปจจุบันมีสถานที่กําจัดขยะมูล
ฝอยที่ดําเนินการอยางถูกหลักสุขาภิบาลประมาณ 106 แหง แบงเปนเตาเผา 3 แหง (เทศบาลลําพูน เทศบาล
นครภูเก็ต และเทศบาลตําบลเกาะสมุย) และบอฝงกลบอยางถูกหลักสุขาภิบาล 103 แหง ซึ่งระบบกําจัด

กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม 1-13 กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม


หลักสูตรการจัดการมลพิษ โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

ตางๆ ขางตนสามารถกําจัดขยะไดเพียงรอยละ 37 เทานั้น จึงทําใหพื้นที่นอกเขตเทศบาลโดยสวนใหญ (ซึ่ง


ยังไมมีสถานที่กําจัดที่ถูกหลักสุขาภิบาล) จะกําจัดขยะมูลฝอยโดยการกองทิ้งกลางแจงหรือเผากลางแจง
การใชประโยชนของเสียจําแนกตามแหลงกําเนิด แบงไดเปน
1) การใชประโยชนขยะมูลฝอยชุมชน
ปจจุบันทั่วประเทศมีปริมาณขยะมูลฝอยประมาณ 14.6 ลานตัน (ดังที่กลาวแลวขางตน) ซึ่ง
โดยปกติแลวขยะมูลฝอยมีศักยภาพในการนํากลับมาใชประโยชนใหมประมาณรอยละ 93 ของขยะที่เกิด
ขึ้นมาทั้งหมด (กรมควบคุมมลพิษ, 2547) อยางไรก็ตาม ปจจุบันสามารถคัดแยกและนําขยะบางสวน
กลับมาใชประโยชนใหมไดเพียง 3.1 ลานตัน หรือคิดเปนรอยละ 21 ของปริมาณขยะที่เกิดขึ้นทั้งหมด
เทานั้น (การคํานวณปริมาณขยะที่นํากลับมาใชขางตนเปนการคิดเฉพาะขยะที่เก็บขนไดจากถังขยะเทานั้น
ในขณะที่อาจมีการแยกขยะเพื่อนํากลับไปใชใหมกอนที่จะทิ้งลงถังขยะ) ในขณะที่ป พ.ศ. 2544, 2545 และ
2546 สามารถคัดแยกและนําขยะกลับมาใชประโยชนใหมไดรอยละ 15.6, 18.2 และ 19.4 ตามลําดับ (ดังรูป
ที่ 1.2.4-1) ซึ่ งพบว าแนวโนม การคั ดแยกและนํากลับมาใชใหมเพิ่ มขึ้น อยางตอเนื่ อง ทั้ งนี้ อาจเปนผล
เนื่องมาจากการรณรงคและการสงเสริมจากภาครัฐและองคกรเอกชนใหมีการลด คัดแยก และนําขยะมูลฝอย
กลับมาใชประโยชนใหม จึงกอใหเกิดกิจกรรมหลากหลายรูปแบบในภูมิภาคตางๆ เชน การจัดตั้งธนาคารวัสดุ
เหลือใช หรือธนาคารขยะ การจัดกิจกรรมผาปารีไซเคิล ขยะแลกไข การนําขยะมูลฝอยสลายมาทําปุยหมัก
อินทรียหรือน้ําสกัดชีวภาพ เปนตน
2) การใชประโยชนของเสียในภาคเกษตรกรรม
ขอมูลจากสํานักงานเศรษฐกิจ กรมปศุสัตว กรมพัฒนาที่ดิน และกรมพัฒนาพลังงานทดแทน
และอนุรักษพลังงานในป พ.ศ. 2547 พบวา ปริมาณวัสดุเหลือใชจากการเกษตรกรรม (ไดแก ออย ขาวโพด
มะพราว ปาลมน้ํามัน มันสําปะหลัง ถั่วลิสง ฝาย ถั่วเหลือง และขาวฟาง) ที่มีศักยภาพในการนํากลับมาใช
ประโยชนไดปริมาณสูงสุด 82.23 ลานตัน (กรมควบคุมมลพิษ, 2548) แตสามารถนํากลับมาใชประโยชนได
เพียง 18.6 ลานตัน หรือคิดเปนรอยละ 22.62 โดยนํามาใชเพื่อเปนพลังงานทดแทน ผสมอาหารสัตว และ
ปุยอินทรีย ดวยปริมาณรอยละ 84.6, 14.0 และ 1.3 ตามลําดับ

ขยะมูลฝอยที่เกิดขึ้น การใชประโยชนมูลฝอย รอยละการใชประโยชนมูลฝอย


20 100
90
80
15
70
ปริมาณ (ลานตั น)

60
รอยละ

10 50
40
30
5
20
10
0 0
2544 2545 2546 2547
ที่มา: กรมควบคุมมลพิษ, 2548 ป พ.ศ.
รูปที่ 1.2.4-1 ปริมาณการนําขยะมูลฝอยชุมชนมาใชประโยชน ป พ.ศ. 2544-2547

กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม 1-14 กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม


หลักสูตรการจัดการมลพิษ โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

3) การใชประโยชนของเสียในในภาคอุตสาหกรรม
ในป พ.ศ. 2547 ปริ ม าณของเสี ย ภาคอุ ต สาหกรรม (กระดาษ แก ว พลาสติ ก เหล็ ก
อลูมิเนียม และยาง) มีประมาณ 14.6 ลานตัน โดยสามารถนํากลับมาใชประโยชนใหมประมาณ 8.3 ลานตัน
หรือคิดเปนรอยละ 57 ในขณะที่ป พ.ศ. 2544, 2545 และ 2546 มีการนํากลับมาใชเพียงรอยละ 45.1, 48.3
และ 42.7 จากปริมาณของเสีย 11.3, 11.4 และ 12.4 ลานตัน ตามลําดับ (ดังรูปที่ 1.2.4-2) โดยปริมาณการ
ใชประโยชนของเสียในภาคอุตสาหกรรมสวนใหญเปนการเรียกคืนผลิตภัณฑ/บรรจุภัณฑและวัสดุเหลือใช
โดยกลุมผูผลิต ผูนําเขา หรือผูจําหนายสินคา ซึ่งดําเนินงานผานรูปแบบตางๆ เชน ระบบแลกเปลี่ยนของ
เสีย (Waste exchange system) ระบบมัดจํา (Deposit-refund system) การจัดกิจกรรมชิงโชคผานตัวแทน
จําหนาย ตลอดจนการรับซื้อของเสียจากกลุมผูประกอบการรับซื้อของเกา เปนตน

ของเสียเกิดขึ้น การใชประโยชนของเสีย รอยละการใชประโยชนของเสีย


20 100
90
80
15 70
ปริมาณ (ลานตัน)

60

รอยละ
10 50
40
30
5
20
10
0 0
2544 2545 2546 2547
ที่มา: กรมควบคุมมลพิษ, 2548
ป พ.ศ.

รูปที่ 1.2.4-2 ปริมาณการนําของเสียอุตสาหกรรม กลับมาใชประโยชน ป พ.ศ. 2544-2547


(2) ของเสียอันตราย
กรมควบคุมมลพิษไดคาดการณปริมาณของเสียอันตรายทั้งหมดที่เกิดขึ้นในป พ.ศ. 2547 พบวา
มีประมาณ 1.81 ลานตัน ในขณะที่ป พ.ศ. 2545 และ 2546 มีปริมาณ 1.7 และ 1.8 ลานตัน ตามลําดับ ซึ่ง
พบวาปริมาณขยะอันตรายโดยสวนใหญเกิดขึ้นในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล โดยแบงออกเปนของ
เสียอันตรายจากอุตสาหกรรมและจากชุมชน 1.405 และ 0.403 ลานตัน ตามลําดับ (ของเสียอันตรายจาก
ชุมชน รวมถึงขยะมูลฝอยติดเชื้อดวย)
การจัดการของเสียอันตรายจากอุตสาหกรรมคาดวาถูกสงเขากําจัดโดยหนวยงานซึ่งไดรับอนุญาต
ใหประกอบกิจการรับบริการกําจัดสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุไมใชแลวเพียงรอยละ 20 และ 50 เทานั้น (ในป พ.ศ.
2546 และ 2547 ตามลําดับ) สําหรับการจัดการของเสียอันตรายจากชุมชน ยังคงทิ้งของเสียอันตรายรวมไป
กั บ ขยะมู ล ฝอยทั่ ว ไป และในป พ.ศ. 2546 กรมควบคุ ม มลพิ ษ มี โ ครงการเรี ย กคื น ซากผลิ ต ภั ณ ฑ
เครื่องใชไฟฟาและอิเล็กทรอนิกส ซึ่งขณะนี้ไดรวมมือกับบริษัทเอกชนดําเนินการเรียกคืนซากแบตเตอรีและ
โทรศัพทมือถือในพื้นที่นํารองแลว ไดแก กรุงเทพมหานครและปริมณฑล
สวนการจัดการขยะมูลฝอยติดเชื้อ สําหรับสถานพยาบาลบางแหงที่มีเตาเผาขยะมูลฝอยติดเชื้อ
เองก็ดําเนินการกําจัดดวยตนเอง นอกจากนี้ ปจจุบันองคกรปกครองสวนทองถิ่นบางแหงไดกอสรางเตาเผา

กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม 1-15 กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม


หลักสูตรการจัดการมลพิษ โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

ขยะมูลฝอยติดเชื้อและมีการบริการรับเก็บรวบรวมและกําจัดมูลฝอยติดเชื้อดวย ซึ่งปจจุบันองคกรปกครอง
สวนท องถิ่ นที่ มี เตาเผามู ลฝอยติ ดเชื้ อแลวจํ านวน 10 แห ง (9 จังหวั ด) ประกอบด วย กรุ งเทพมหานคร
นนทบุรี สมุทรสาคร สุพรรณบุรี เชียงใหม ขอนแกน สงขลา ภูเก็ต และชลบุรี

1.3 การรองเรียนปญหามลพิษ

(1) สถิติการรองเรียนปญหามลพิษในชวง พ.ศ. 2535-2547


ตั้งแตในอดีตจนถึงปจจุบัน พบวา การรองเรียนปญหามลพิษมีแนวโนมเพิ่มสูงขึ้นอยางตอเนื่อง
และมีนัยสําคัญ (ดังรูปที่ 1.3-1) โดยในป พ.ศ. 2546 มีจํานวน 777 เรื่อง สวนในป พ.ศ. 2547 มีจํานวน
เพิ่มขึ้นเปน 853 เรื่อง หากจําแนกประเด็นปญหามลพิษในแตละดานมีความสอดคลองกับขอมูลในป พ.ศ.
2546 พบวา มีการรองเรียนเรื่องกลิ่นมากที่สุดรอยละ 39 รองลงมาเปนปญหาฝุนละออง/เขมาควัน ปญหา
น้ําเสีย และปญหาเสียงรบกวนซึ่งคิดเปนรอยละ 26, 15 และ 12 ตามลําดับ นอกจากนี้ หากจําแนกการ
ร อ งเรี ย นตามพื้ น ที่ พ บว า พื้ น ที่ ที่ มี ก ารร อ งเรี ย นเกี่ ย วกั บ ป ญ หามลพิ ษ มากที่ สุ ด 4 จั ง หวั ด แรก ได แ ก
กรุงเทพมหานคร สมุทรปราการ นนทบุรี และนครปฐม ซึ่งคิดเปนรอยละ 66 ของเรื่องรองเรียนทั้งประเทศ
(2) การดําเนินการใหบริการรับเรื่องราวรองทุกข
กรมควบคุมมลพิษ (โดยฝายตรวจและบังคับการ) มีอํานาจหนาที่ในการตรวจสอบและบังคับการ
ตามกฎหมายวาดว ยการสง เสริมและรัก ษาคุณภาพสิ่ งแวดลอ มแหงชาติ ดานมลพิ ษและกฎหมายอื่น ที่
เกี่ยวของ โดยกําหนดใหมีหนาที่รับเรื่องราวรองทุกขดานมลพิษ ตรวจสอบและพิจารณาวินิจฉัย ไกลเกลี่ย
ขอพิพาทดานมลพิษ เรียกคาเสียหายหรือคาสินไหมทดแทนจากแหลงกําเนิดมลพิษที่กอใหเกิดความ
เสียหายแกทรัพยากรธรรมชาติอันเปนของรัฐหรือเปนสาธารณสมบัติของแผนดิน รวบรวม จัดทําและ
เผยแพรขอมูลขาวสารดานมลพิษและที่เกี่ยวเนื่องของแหลงกําเนิดมลพิษตอสาธารณะ ประสานการมีสวน
รวมของหนวยงานภาครัฐ องคกรเอกชน องคกรชุมชน และประชาชนในการตรวจสอบและควบคุมมลพิษ
จัดใหมีการศึกษา และ ฝกอบรมในดานการปฏิบัติตามและบังคับใชกฎหมายวาดวยการสงเสริมและรักษา

1000
853
800 777
จํา นวนเรื่อ งรอ งเรีย น

600 556
435 420
400 370 381
256 240
186 200 181
200
11
0
2535 2536 2537 2538 2539 2540 2541 2542 2543 2544 2545 2546 2547
ที่มา: กรมควบคุมมลพิษ, 2548 ป พ.ศ.
รูปที่ 1.3-1 จํานวนการรองเรียนปญหามลพิษ ป พ.ศ. 2535-2547

กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม 1-16 กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม


หลักสูตรการจัดการมลพิษ โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

คุณภาพสิ่งแวดลอมแหงชาติดานมลพิษและกฎหมายอื่นที่เกี่ยวของใหแกภาครัฐและภาคเอกชน สนับสนุน
และดําเนินความรวมมือในการกํากับดูแลดานมลพิษกับองคกรปกครองสวนทองถิ่น ปฏิบัติงานรวมกับหรือ
สนับสนุนการปฏิบัติงานของหนวยงานอื่นที่เกี่ยวของหรือที่ไดรับมอบหมาย
นอกจากนี้ ฝ า ยตรวจและบั ง คั บ การ กรมควบคุ ม มลพิ ษ ได กํ า หนดขั้ น ตอนการให บ ริ ก าร
ดําเนินการรับเรื่องราวรองทุกขเกี่ยวกับปญหาดานมลพิษพรอมกําหนดระยะเวลาการแกไขเรื่องรองทุกข (ดัง
รู ปที่ 1.3-2) ซึ่ ง ประกอบด ว ย ขั้ น ตอนการรั บ แจ ง เรื่ อ งร อ งทุ ก ข การวิ นิ จ ฉั ย สั่ ง การ การจั ด ทํ า รายงาน
ขอเท็จจริง และการแกไขปญหา และหากเปนกรณีที่มีหนวยงานที่รับผิดชอบโดยตรงจะดําเนินการแจงเรื่อง
รองทุกขที่ไดรับนั้นใหแกหนวยงานที่มีหนาที่รับผิดชอบนําไปแกไข โดยกรมควบคุมมลพิษจะทําหนาที่
ติดตามแกไขปญหานั้นและแจงใหผูรองเรียนไดรับทราบผลการดําเนินงานตอไป

กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม 1-17 กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม


การใหบริการดําเนินการเรื่องราวรองทุกข
กรมควบคุมมลพิษ
รับแจงเรื่องรองทุกข (1 วัน)
ลงทะเบียน/ตรวจสอบประวัติรองเรียน

วินิจฉัยสั่งการ (1 วัน)

ดําเนินการ (12 วัน)

ตรวจสอบขอเท็จจริง แจงหนวยงานรับผิดชอบ

สรุปรายงานขอเท็จจริง (25 วัน)

ออกคําสั่ง (6 วัน) แจงหนวยงานที่เกี่ยวของ (6 วัน)

แจงผูรอ งเรียนเบื้องตน

ติดตามผลการดําเนินการแกไข
ระยะเวลาดําเนินการขึ้นอยูกับประเภท
ของแหลงกําเนิดมลพิษ

ดําเนินคดีตาม ไมใช ไมใช


แกไข
กฎหมาย
ใช

แจงผูรอ งเรียนทราบผลการดําเนินการ

หมายเหตุ: การนับระยะเวลาเปนวันทําการ และสามารถดําเนินการไดแลวเสร็จกอนระยะเวลาที่กําหนด


ที่มา: กรมควบคุมมลพิษ, 2548
รูปที่ 1.3-2 ผังขั้นตอนการรับเรื่องราวรองทุกข
1-18
“กฎหมายสําหรับผูปฏิบัติงานดานสิ่งแวดลอม”

“หลักสูตรนี้ไดนําเสนอภาพรวมของกฎหมายที่เกี่ยวของกับการจัดการมลพิษสิ่งแวดลอม ซึ่งคณะ
ผู จั ดทํ ามี จุ ดประสงค เพื่ อให ผู อ านเข าใจโครงสร างของกฎหมายเกี่ ยวกั บการจั ดการหรื อควบคุ มมลพิ ษ
สิ่งแวดลอม ซึ่งยอมทําใหผูอานสามารถติดตามในรายละเอียดของกฎหมายในแตละฉบับไดในภายหลัง
โดยงายขึ้น ทั้งนี้ กฎหมายเกี่ยวกับการจัดการมลพิษสิ่งแวดลอมมีหลายลักษณะ แตในหลักสูตรนี้มี
วัตถุประสงคที่มุงเนนกฎหมายสําหรับผูปฏิบัติงานดานสิ่งแวดลอม โดยเนื้อหาครอบคลุมถึงโครงสรางของ
กฎหมายสิ่ ง แวดล อ ม กฎหมายเกี่ ย วกั บ การจั ด การมลพิ ษ สิ่ ง แวดล อ ม องค ก รและพนั ก งานเจ า หน า ที่
ผูปฏิบัติงานดานสิ่งแวดลอม

นอกจากนี้ ยังเนนถึงมาตรการในการประสานความรวมมือ สรางความตระหนักและการสรางจิตสํานึก


เพื่อใหทุกหนวยงานที่เกี่ยวของตลอดจนประชาชน ชุมชน และองคกรปกครองสวนทองถิ่นไดมีสวนในดาน
การปองกันและฟนฟูคุณภาพสิ่งแวดลอมในแตละจังหวัดหรือในแตละภูมิภาคตอไป”

****************************
หลักสูตรการจัดการมลพิษ โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

บทที่ 2
กฎหมายสําหรับผูปฏิบัติงานดานสิ่งแวดลอม

2.1 บทนํา

กฎหมายเกี่ยวกับการจัดการดานสิ่งแวดลอมมีอยูหลายลักษณะทั้งในเรื่องการอนุรักษและฟนฟู
ทรัพยากร การควบคุมการระบายมลพิษ และการจัดการมลพิษสิ่งแวดลอม อยางไรก็ตาม ในหลักสูตรนี้เนนถึง
การควบคุมการระบายมลพิษและการจัดการมลพิษสิ่งแวดลอมเทานั้น ซึ่งประกอบดวย
• โครงสรางกฎหมายดานสิ่งแวดลอม
• มาตรฐานของคุณภาพสิ่งแวดลอม
• มาตรฐานควบคุมการระบายมลพิษออกสูสิ่งแวดลอม
• การจัดการมลพิษสิ่งแวดลอม เชน การกําหนดเขตพื้นที่คุมครองสิ่งแวดลอม เขตควบคุม
มลพิษ และการจัดทํารายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม (EIA) การจัดทําแผนปฏิบัติการจัดการ
คุณภาพสิ่งแวดลอมระดับจังหวัด เปนตน
• องคกรหรือพนักงานผูปฏิบัติงานดานสิ่งแวดลอม
• สํานักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมจังหวัด (ทสจ.)
• การใชมาตรการทางกฎหมายในการควบคุมสิ่งแวดลอม
เนื่องจากกฎหมายดานสิ่งแวดลอมมีจํานวนมากและกระจัดกระจายอยูในกฎหมายลักษณะตางๆ เชน
พระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2535 พระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. 2535 และพระราชบัญญัติควบคุม
อาคาร พ.ศ. 2522 เปนตน ซึ่งบทบัญญัติตามพระราชบัญญัติตางๆ เหลานี้มิไดมีวัตถุประสงคเพื่อการ
จัดการหรือคุมครองทางดานสิ่งแวดลอมเพียงอยางเดียว แตบัญญัติเฉพาะไวในสวนที่ตนมีอํานาจในการ
ควบคุมดูแลเทานั้น ดังนั้น ในบทนี้จะนําเสนอเฉพาะภาพรวมของกฎหมายที่เกี่ยวของกับการจัดการมลพิษ
สิ่งแวดลอม (มิไดลงรายละเอียดในเนื้อหาสาระของกฎหมายแตละฉบับ) เพื่อใหผูอานเขาใจโครงสรางของ
กฎหมายที่เกี่ยวของ ซึ่งจะทําใหผูอานสามารถติดตามในรายละเอียดของกฎหมายในแตละฉบับไดงายขึ้นใน
ภายหลัง ทั้งนี้ สามารถคนควาไดจากแหลงขอมูลที่เปนเว็บไซตของราชกิจจานุเบกษา

2.2 โครงสรางของกฎหมายดานสิ่งแวดลอม

2.2.1 รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2540

รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2540 เปนกฎหมายในลําดับสูงสุด ซึ่งมีเจตนารมณเพื่อ


กํ า หนดสาระสํ า คั ญ ให ห น ว ยงานที่ มี ห น า ที่ เ กี่ ย วข อ งในเรื่ อ งนั้ น ๆ ได นํ า ตั ว บทในมาตราต า งๆ ของ
รัฐธรรมนูญไปอางเพื่อรางเปนกฎหมายสําหรับกําหนดหลักเกณฑและวิธีปฏิบัติใหละเอียดชัดเจนมากยิ่งขึ้น
และเพื่องายตอการปฏิบัติตามของประชาชนโดยทั่วไป กฎหมายที่ออกตามรัฐธรรมนูญจะเรียกวา “กฎหมาย
ประกอบรัฐธรรมนูญ” หรือกฎหมายลูก โดยในปจจุบันมีกฎหมายลูกออกมามากมายหลายฉบับ อยางไรก็ตาม
ในบางประเด็นยังไมมีการออกกฎหมายลูก ซึ่งเหตุผลจะขึ้นอยูกับความพรอมของหนวยงานที่ทําหนาที่ราง
กฎหมายและความพรอมหรือการยอมรับของผูปฏิบัติตามกฎหมาย รวมถึงสถานการณตางๆ ที่เกี่ยวของใน
เวลานั้นเปนปจจัยสําคัญ
กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม 2-1 กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม
หลักสูตรการจัดการมลพิษ โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

รัฐ ธรรมนูญ แหง ราชอาณาจั กรไทย พ.ศ. 2540 ไดก ลาวถึง นโยบายดานสิ่ง แวดลอ มในหมวด 5
มาตรา 79 ไววา
“รั ฐ ต อ งส ง เสริ ม และสนั บ สนุ น ให ป ระชาชนมี ส ว นร ว มในการสงวนบํ า รุ ง รั ก ษาและใช ป ระโยชน
จากทรั พยากรธรรมชาติ และความหลากหลายทางชี วภาพอย างสมดุ ลรวม ทั้ งมี ส วนร วมในการส งเสริ ม
บํารุงรักษาและคุมครองคุณภาพสิ่งแวดลอมตามหลักการพัฒนาที่ยั่งยืน ตลอดจนควบคุมและกําจัดภาวะ
มลพิษที่มีผลตอสุขภาพอนามัย สวัสดิภาพและคุณภาพชีวิตของประชาชน”
จากบทบัญญัติที่กลาวขางตน หมายความวา รัฐตองมีนโยบายในการสงเสริมการมีสวนรวมของ
ราษฎร กลาวคือ การมีสวนรวมทั้งการบํารุงรักษาและการใชประโยชนจากทรัพยากรธรรมชาติและความ
หลากหลายทางชี วภาพ ไมไดหมายถึงสงเสริมให ประชาชนสงวนรั กษาทรัพยากรธรรมชาติและความ
หลากหลายทางชีวภาพไวอยางเดียว แตราษฎรตองไดรับประโยชนดวย ซึ่งจะเปนการงายตอการจูงใจให
ราษฎรกระทําการเชนนั้น นอกจากนี้ ยังกําหนดวาจะตองสงเสริมใหประชาชนมีสวนรวมในการบํารุงรักษา
และคุมครองคุณภาพสิ่งแวดลอม รวมทั้งการจัดการมลพิษดวย จากนโยบายการสงเสริมดังกลาวนั้นจะเปน
ผลดีตอรัฐ เนื่องจากรัฐเองอาจไมมีงบประมาณและบุคลากรเพียงพอในการแกไขปญหาดานสิ่งแวดลอมได
ทั้งหมด แตหากไดรับความรวมมือกับประชาชนแลว การแกไขปญหาดานสิ่งแวดลอมยอมกระทําไดงายขึ้น
นอกจากนี้ บทบัญญัติของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2540 เฉพาะในสวนที่เกี่ยวของ
กับดานสิ่งแวดลอมอีกหลายมาตรา ไดแก
“มาตรา 46 บุคคลซึ่งรวมกันเปนชุมชนทองถิ่นดั้งเดิมยอมมีสิทธิอนุรักษหรือฟนฟูจารีตประเพณี ภูมิ
ปญญาทองถิ่น ศิลปะหรือวัฒนธรรมอันดีของทองถิ่นและของชาติ และมีสวนรวมในการจัดการ การ
บํารุงรักษา และการใชประโยชนจากทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมอยางสมดุลและยั่งยืน ทั้งนี้ ตามที่
กฎหมายบัญญัติ”
“มาตรา 56 สิทธิของบุคคลที่จะมีสวนรวมกับรัฐและชุมชนในการบํารุงรักษาและการไดประโยชนจาก
ทรัพยากรธรรมชาติและความหลากหลายทางชีวภาพ และในการคุมครอง สงเสริม และรักษาคุณภาพ
สิ่งแวดลอม เพื่อใหดํารงชีพอยูไดอยางปกติและตอเนื่องในสิ่งแวดลอมที่จะไมกอใหเกิดอันตรายตอสุขภาพ
อนามัยสวัสดิภาพหรือคุณภาพชีวิตของตน ยอมไดรับความคุมครอง ทั้งนี้ ตามที่กฎหมายบัญญัติ
การดําเนินโครงการหรือกิจกรรมที่อาจกอใหเกิดผลกระทบอยางรุนแรงตอคุณภาพสิ่งแวดลอม จะกระทํา
มิได เวนแตจะไดศึกษาและประเมินผลกระทบต อคุณภาพสิ่งแวดลอม รวมทั้งไดใหองคการอิ สระซึ่ ง
ประกอบดวยผูแทนองคการเอกชนดานสิ่งแวดลอมและผูแทนสถาบันอุดมศึกษาที่จัดการศึกษาดานสิ่งแวดลอม
ใหความเห็นประกอบกอนมีการดําเนินการดังกลาว ทั้งนี้ ตามที่กฎหมายบัญญัติ
สิทธิของบุคคลที่จะฟองหนวยราชการ หนวยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ ราชการสวนทองถิ่น หรือองคกร
อื่นของรัฐ เพื่อใหปฏิบัติหนาที่ตามที่บัญญัติไวในกฎหมายตามวรรคหนึ่งและวรรคสอง ยอมไดรับความ
คุมครอง”
“มาตรา 59 บุคคลยอมมีสิทธิไดรับขอมูล คําชี้แจง และเหตุผล จากหนวยราชการ หนวยงานของรัฐ
รัฐวิสาหกิจ หรือราชการสวนทองถิ่น กอนการอนุญาตหรือการดําเนินโครงการหรือกิจกรรมใดที่อาจมี
ผลกระทบตอคุณภาพสิ่งแวดลอม สุขภาพอนามัย คุณภาพชีวิต หรือสวนไดเสียสําคัญอื่นใดที่เกี่ยวกับตน
หรือชุมชนทองถิ่น และมีสิทธิแสดงความคิดเห็นของตนในเรื่องดังกลาว ทั้งนี้ ตามกระบวนการรับฟงความ
คิดเห็นของประชาชนที่กฎหมายบัญญัติ”

กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม 2-2 กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม


หลักสูตรการจัดการมลพิษ โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

“มาตรา 76 รัฐตองสงเสริมและสนับสนุนการมีสวนรวมของประชาชนในการกําหนดนโยบาย การ


ตัดสินใจทางการเมือง การวางแผนพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม และการเมือง รวมทั้งการตรวจสอบการใชอํานาจ
รัฐทุกระดับ”
“มาตรา 290 เพื่อสงเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอม องคกรปกครองสวนทองถิ่นยอมมีอํานาจ
หนาที่ตามที่กฎหมายบัญญัติ
กฎหมายตามวรรคหนึ่งอยางนอยตองมีสาระสําคัญ ดังตอไปนี้
(1) การจัดการ การบํารุงรักษา และการใชประโยชนจากทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมที่อยูใน
เขตพื้นที่
(2) การเขาไปมีสวนรวมในการบํารุงรักษาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมที่อยูนอกเขตพื้นที่
เฉพาะในกรณีที่อาจมีผลกระทบตอการดํารงชีวิตของประชาชนในพื้นที่ของตน
(3) การมีสวนรวมในการพิจารณาเพื่อริเริ่มโครงการหรือกิจกรรมใดนอกเขตพื้นที่ซึ่งอาจมีผลกระทบ
ตอคุณภาพสิ่งแวดลอมหรือสุขอนามัยของประชาชนในพื้นที่”
กลาวโดยสรุป รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2540 เปนรัฐธรรมนูญที่ใหสิทธิแกประชาชน
และชุมชน ไดมีสวนรวมจัดการและใชประโยชนจากทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมอยางยั่งยืน อีกทั้ง
ใหรัฐและองคกรปกครองสวนทองถิ่นสนับสนุนดวย เปนเจตนารมณสําคัญที่ตองยึดถือปฏิบัติอยางเปน
รูปธรรม ทั้งนี้ ในปจจุบันยังไมมีกฎหมายประกอบรัฐธรรมนูญสวนใดเกี่ยวกับการจัดการดานสิ่งแวดลอม
ออกมา ซึ่งสวนใหญจะคางอยูในขั้นตอนการพิจารณากลั่นกรองของผูมีอํานาจในคณะตางๆ จึงทําใหการอาง
การใชยังขาดความชัดเจน ขาดบทลงโทษ ขาดความรู และความเขาใจในสิทธิตางๆ ตามที่รัฐธรรมนูญได
กําหนดไว โดยการดําเนินงานเกี่ยวกับการจัดการดานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมของประชาชนใน
ปจจุบันยังคงอาศัยบทกฎหมายที่มีบังคับใชเฉพาะเรื่องในแตละกิจกรรมเทานั้น ซึ่งบางครั้งมีชองวางของ
กฎหมาย ทําใหการติดตามตรวจสอบในเรื่องตางๆ ไมมีประสิทธิภาพเทาที่ควร

2.2.2 พระราชบัญญัติ

พระราชบัญญัติ คือ บทบัญญัติสําหรับรองรับอํานาจหนาที่ของหนวยงานหรือองคกรตางๆ รวมถึงการ


กํ าหนดกรอบภาระหน าที่ และขอบเขตการใช อํ านาจของผู ปฏิ บั ติ งานในส วนนั้ นๆ ซึ่ งเป นกฎหมายที่ มี
ความสําคัญในระดับกระทรวง ทบวง หรือกรม ที่ตราขึ้นเพื่อใชอางอิงในการออกกฎ ประกาศ หรือระเบียบใดๆ
ที่ปลีกยอยขึ้น ทั้งนี้ เพื่อความชัดเจนและเขาใจโดยงายแกผูปฏิบัติงานและผูปฏิบัติตามกฎหมายนั้นๆ
อยางไรก็ตาม ในที่นี้จะกลาวถึงพระราชบัญญัติในสวนที่มีสาระสําคัญเกี่ยวกับการจัดการมลพิษสิ่งแวดลอม ซึง่
แบงออกเปน 3 สวน ไดแก พระราชบัญญัติสงเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอมแหงชาติ พ.ศ. 2535
พระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2535 และพระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. 2535
กอนป พ.ศ. 2518 ประเทศไทยมิไดมีพระราชบัญญัติที่วาดวยสิ่งแวดลอมในภาพรวมโดยตรง แตมี
กฎหมายหลายฉบับ ซึ่งมีบทบัญญัติที่เกี่ยวกับดานสิ่งแวดลอมเปนบางสวนเทานั้น เชน
• กฎหมายว าด วยโรงงานอุ ตสาหกรรม มี บทบั ญญั ติ ที่ ให อํ านาจแก กระทรวงอุ ตสาหกรรม
รับผิดชอบดูแลปญหาดานสิ่งแวดลอมที่เกิดจากโรงงานอุตสาหกรรม
• กฎหมายว าด ว ยการสาธารณสุ ข มี บ ทบั ญ ญั ติ ที่ ม อบหมายให ก ระทรวงสาธารณสุ ข และ
หนวยงานทองถิ่นมีหนาที่ดูแลเกี่ยวกับการจัดการเรื่องขยะมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล

กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม 2-3 กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม


หลักสูตรการจัดการมลพิษ โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

• กฎหมายวาดวยการเดินเรือและการรักษาแมน้ําลําคลอง มีบทบัญญัติหามทิ้งสิ่งตางๆ ลงใน


แมน้ําลําคลองอันเปนอุปสรรคตอการคมนาคมทางน้ํา
บทบัญญัติของกฎหมายที่เกี่ยวของกับการจัดการมลพิษตามที่กลาวขางตนเปนเพียงตัวอยางที่แสดง
ใหเ ห็นถึ งกฎหมายเฉพาะกิจ กรรมและหนวยงานที่มี หนาที่ดูแ ลเท านั้ น ทั้ งนี้ก ารจั ดการดู แลและรั กษา
ทรัพยากรธรรมชาติก็มีกฎหมายสําหรับทรัพยากรธรรมชาติแตละประเภท อาทิ ทรัพยากรน้ํา ทรัพยากรปา
ไมและสัตวปา ทรัพยากรดินและแรธาตุตางๆ และหากมีขอขัดแยงเกี่ยวกับสิ่งแวดลอมที่เกิดขึ้นและเปน
กรณีที่ ตอ งมี การฟ อ งร องเรี ยกคาเสี ยหายจากผูที่ กอ ความเสี ยหายจะอาศั ย ประมวลกฎหมายแพ ง และ
พาณิชยในสวนของกฎหมายวาดวยการละเมิด
ประเทศไทยมีการตราพระราชบัญญัติเกี่ยวกับสิ่งแวดลอมโดยตรงเปนครั้งแรก ในป พ.ศ. 2518
ไดแก พระราชบัญญัติวาดวยการสงเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอมแหงชาติ โดยมีการกําหนดใหแตงตั้ง
คณะกรรมการสิ่งแวดลอมแหงชาติและสํานักงานคณะกรรมการสิ่งแวดลอมแหงชาติขึ้น เพื่อทําหนาที่
รับ ผิ ด ชอบเรื่ อ งสิ่ ง แวดล อ มในภาพรวมทั้ง หมด ขณะเดี ย วกัน หน ว ยงานอื่ น ๆ ที่ มีห น าที่ เ กี่ ยวข อ งด าน
สิ่งแวดลอมในแตละเรื่องยังคงมีอยูและทําหนาที่ตามกฎหมายของตนตอไป ซึ่งคณะกรรมการสิ่งแวดลอม
แหงชาติและสํานักงานคณะกรรมการสิ่งแวดลอมแหงชาติทําหนาที่ประสานงานกับหนวยงานตางๆ ที่
เกี่ยวของ
จากนั้น ในป พ.ศ. 2535 ไดยกเลิกพระราชบัญญัติสงเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอมแหงชาติ
พ.ศ. 2518 โดยตราพระราชบัญญัติสงเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอมแหงชาติ พ.ศ. 2535 ขึ้นมาแทน
ทั้งนี้ เปนการปรับปรุงอํานาจหนาที่ของคณะกรรมการสิ่งแวดลอมแหงชาติใหมีความเหมาะสมยิ่งขึ้น โดยมี
สวนหลักๆ ดังนี้
• ยกเลิกสํานักงานคณะกรรมการสิ่งแวดลอมแหงชาติ
• ก อ ตั้ ง หน ว ยงานขึ้ น ใหม เ พื่ อ ทํ า หน า ที่ ส นั บ สนุ น คณะกรรมการสิ่ ง แวดล อ มแห ง ชาติ 3
หนวยงาน ไดแก
- สํานักงานนโยบายและแผนสิ่งแวดลอม (สผ.) (ปจจุบันเปนสํานักงานนโยบายและแผน
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม)
- กรมควบคุมมลพิษ (คพ.)
- กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม (สส.)
อยางไรก็ตาม พระราชบัญญัติสงเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอมแหงชาติ พ.ศ. 2535 นั้นไมได
ยกเลิกกฎหมายอื่นๆ ที่เกี่ยวของกับการสงเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอมที่มีอยูเดิม แตมีกลไกหลาย
อย า งที่ ช ว ยทํ า ให ห น ว ยงานด า นสิ่ ง แวดล อ มกั บ หน ว ยงานอื่ น ๆ สามารถทํ า งานร ว มกั น ในลั ก ษณะที่ มี
ประสิทธิภาพมากกวาเดิม
วิวัฒนาการของกฎหมายดานสิ่งแวดลอมดังกลาว มีความสัมพันธโดยตรงกับการพัฒนาหรือปรับปรุง
หนวยงานที่มีหนาที่เกี่ยวของกับการจัดการดานสิ่งแวดลอมโดยตรง เนื่องจากหนวยงานนั้นๆ มีหนาที่ออก
บทบัญญัติตางๆ เพื่อรองรับอํานาจหนาที่ของหนวยงานและพนักงานเจาหนาที่ตามกฎหมาย ดังนั้น นับจาก
อดีตจนถึงปจจุบันจึงพบความเปลี่ยนแปลงของกฎหมายตามการพัฒนาหรือปรับปรุงหนวยงานตางๆ ที่
เกี่ยวของดานสิ่งแวดลอมควบคูกัน ซึ่งเปนการพัฒนาที่มีวัตถุประสงคเพื่อความชัดเจนในอํานาจหนาที่และ
การประสานงานระหวางหนวยงานตางๆ รวมถึงกําหนดขอบเขตอํานาจหนาที่การบังคับใชกฎหมายใหมี
ความชัดเจนและเขมขนขึ้น

กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม 2-4 กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม


หลักสูตรการจัดการมลพิษ โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

2.2.3 กฎหมายที่ออกตามพระราชบัญญัติ

กฎกระทรวง ประกาศกระทรวง รวมถึงระเบียบตางๆ ที่ออกตามพระราชบัญญัติที่เกี่ยวของกับการ


จัดการมลพิษสิ่งแวดลอมถือเปนเครื่องมือที่สําคัญของหนวยงานที่มีหนาที่จัดการดานสิ่งแวดลอม ซึ่งเปน
ลักษณะของการกําหนดรายละเอียด หลักเกณฑ และวิธีการปฏิบัติที่มีความชัดเจน เพื่อใหผูปฏิบัติตาม
กฎหมายทั้งเจาหนาที่ของรัฐและประชาชนมีความเขาใจที่ตรงกัน

2.3 กฎหมายเกี่ยวกับการจัดการมลพิษสิ่งแวดลอม

กฎหมายเกี่ยวกับการจัดการมลพิษสิ่งแวดลอมมีหลายลักษณะ ซึ่งในที่นี้ไดแบงเปน 4 สวน ไดแก


มาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดลอม มาตรฐานควบคุมการระบายมลพิษ การจัดการมลพิษสิ่งแวดลอม และ
องคกร/เจาพนักงานผูปฏิบัติงานดานสิ่งแวดลอม โดยมีรายละเอียดดังนี้

2.3.1 มาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดลอม

การกํ า หนดมาตรฐานคุ ณ ภาพสิ่ ง แวดล อ มมี จุ ด ประสงค เ พื่ อ ประโยชน ใ นการส ง เสริ ม และรั ก ษา
คุ ณ ภาพสิ่ ง แวดล อ ม ซึ่ ง มาตรฐานคุ ณ ภาพสิ่ ง แวดล อ มโดยส ว นใหญ มั ก ถู ก กํ า หนดโดยคณะกรรมการ
สิ่งแวดลอมแหงชาติ (ประกาศคณะกรรมการสิ่งแวดลอมแหงชาติฉบับตางๆ) สามารถแบงมาตรฐาน
คุณภาพสิ่งแวดลอมออกเปนดานตางๆ ไดแก มาตรฐานคุณภาพน้ําผิวดิน มาตรฐานคุณภาพน้ําทะเล
ชายฝง มาตรฐานคุณภาพน้ําบาดาล มาตรฐานคุณภาพอากาศในบรรยากาศ และมาตรฐานระดับเสียง โดย
มีรายละเอียดดังนี้
(1) มาตรฐานคุณภาพน้ําผิวดิน
มาตรฐานคุณภาพน้ําผิวดินถูกกําหนดขึ้นโดยประกาศคณะกรรมการสิ่งแวดลอมแหงชาติ ฉบับที่ 8
(พ.ศ. 2537) ซึ่งแหลงน้ําผิวดิน หมายถึง แมน้ํา ลําคลอง หนอง บึง ทะเลสาบ อางเก็บน้ํา และแหลงน้ํา
สาธารณะอื่นๆ ที่อยูภายในแผนดินหรืออยูบนผืนดินที่เปนเกาะ รวมถึงปากแมน้ําหรือปากทะเลสาบดวย
โดยแบงมาตรฐานคุณภาพน้ําผิวดินเปน 5 ประเภท ตามคุณภาพน้ําและการใชประโยชนจากแหลงน้ํา
สําหรับมาตรฐานคุณภาพแหลงน้ําผิวดินประเภทที่ 1 ถูกกําหนดใหมีคุณภาพน้ําดีที่สุดและลดหลั่นคุณภาพ
น้ําลงมาในแตละประเภทตามลําดับ ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้
• แหลงน้ําประเภทที่ 1 คือ แหลงน้ําที่มีคุณภาพน้ําเปนไปตามธรรมชาติโดยปราศจากน้ําทิ้ง
จากกิจกรรมทุกประเภทและสามารถนําน้ํามาใชประโยชนเพื่อ
- การอุปโภคและบริโภคโดยตองผานการฆาเชื้อโรคตามปกติกอน
- การขยายพันธุตามธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตระดับพื้นฐาน
- การอนุรักษระบบนิเวศนของแหลงน้ํา
• แหลงน้ําประเภทที่ 2 คือ แหลงน้ําที่ไดรับน้ําทิ้งจากกิจกรรมบางประเภทและสามารถนําน้ํา
มาใชประโยชนเพื่อ
- การอุปโภคและบริโภคโดยตองผานการฆาเชื้อโรคตามปกติกอน และผานกระบวนการ
ปรับปรุงคุณภาพน้ําทั่วไปกอน
- การอนุรักษสัตวน้ํา

กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม 2-5 กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม


หลักสูตรการจัดการมลพิษ โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

- การประมง
- การวายน้ําและกีฬาทางน้ํา
• แหลงน้ําประเภทที่ 3 คือ แหลงน้ําที่ไดรับน้ําทิ้งจากกิจกรรมบางประเภทและสามารถนําน้ํา
มาใชประโยชนเพื่อ
- การอุปโภคและบริโภคโดยตองผานการฆาเชื้อโรคตามปกติกอน และผานกระบวนการ
ปรับปรุงคุณภาพน้ําทั่วไปกอน
- การเกษตรกรรม
• แหลงน้ําประเภทที่ 4 คือ แหลงน้ําที่ไดรับน้ําทิ้งจากกิจกรรมบางประเภทและสามารถนําน้ํา
มาใชประโยชนเพื่อ
- การอุปโภคและบริโภคโดยตองผานการฆาเชื้อโรคตามปกติกอน และผานกระบวนการ
ปรับปรุงคุณภาพน้ําเปนพิเศษกอน
- การอุตสาหกรรม
• แหลงน้ําประเภทที่ 5 คือ แหลงน้ําที่ไดรับน้ําทิ้งจากกิจกรรมบางประเภทและมีขอจํากัดที่จะ
นําไปใชประโยชน ซึ่งสามารถใชประโยชนจากแหลงน้ําเพียงเพื่อการคมนาคม
สําหรับคามาตรฐานของแหลงน้ําในแตละประเภทมีการกําหนดดัชนีคุณภาพน้ําแตกตางกันไป
ซึ่งสามารถดูเพิ่มเติมไดจากประกาศคณะกรรมการสิ่งแวดลอมแหงชาติ ฉบับที่ 8 (พ.ศ. 2537) สวนการ
กําหนดใหแหลงน้ําใดๆ มีคุณภาพน้ําเปนไปตามแหลงน้ําผิวดินประเภทใดนั้น จะถูกกําหนดขึ้นโดยประกาศ
กรมควบคุมมลพิษฉบับตางๆ ซึ่งปจจุบันแมน้ําที่ถูกควบคุมใหเปนไปตามมาตรฐานตางๆ แลว ไดแก แมน้ํา
เจ า พระยา ท าจี น แม ก ลอง บางปะกง นครนายก ปราจี น บุ รี สงคราม น้ํ า พอง น้ํ าชี น้ํ ามู ล ลํ า ตะคอง
เพชรบุรี ปากพนัง ปตตานี ตาป พุมดวง จันทบุรี ตราด และระยอง อยางไรก็ตาม การกําหนดมาตรฐาน
คุณภาพน้ําของแมน้ําตางๆ ขางตนมักถูกกําหนดเฉพาะเพียงบางชวงของลําน้ําเทานั้น (มิไดถูกกําหนดให
ครอบคลุมทั้งลําน้ํา) อีกทั้ง ในแตละชวงของลําน้ําอาจถูกกําหนดใหมีมาตรฐานแตกตางกัน ตัวอยางเชน
บางชวงของลําน้ําอาจถูกกําหนดใหมีคุณภาพน้ําเปนไปตามมาตรฐานของแหลงน้ําผิวดินประเภทที่ 3 แต
บางชวงอาจถูกกําหนดใหเปนไปตามมาตรฐานของแหลงน้ําผิวดินประเภทที่ 4 เปนตน ทั้งนี้ สามารถดู
เพิ่มเติมไดจากประกาศกรมควบคุมมลพิษในแตละฉบับ (ที่เกี่ยวของ)
(2) มาตรฐานคุณภาพน้ําทะเลชายฝง
มาตรฐานคุณภาพน้ําทะเลชายฝงถูกกําหนดขึ้นโดยประกาศคณะกรรมการสิ่งแวดลอมแหงชาติ
ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 2537) ซึ่งน้ําทะเลชายฝง หมายถึง น้ําที่อยูนอกเขตปากแมน้ําหรือทะเลสาบ ซึ่งรวมถึง
บริเวณน้ําทะเลที่อยูโดยรอบเกาะดวย โดยแบงมาตรฐานคุณภาพน้ําของแหลงน้ําทะเลชายฝงไดเปน 7
ประเภท ตามคุณภาพน้ําทะเลชายฝงและการใชประโยชนจากแหลงน้ํา สําหรับมาตรฐานคุณภาพน้ําชายฝง
ทะเลประเภทที่ 1 ถูกกําหนดใหมีคุณภาพน้ําดีที่สุดและลดหลั่นคุณภาพน้ําลงมาในแตละประเภทตามลําดับ
ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้
• คุณภาพน้ํ าทะเลเพื่อการสงวนรั กษาธรรมชาติ ไดแก น้ํ าทะเลซึ่งมีสภาพธรรมชาติแ ละ
สามารถเปนประโยชนเพื่อการศึกษาวิจัยหรือสาธิตทางดานวิทยาศาสตรที่ไมกอใหเกิดการเปลี่ยนแปลงแก
สภาพแวดลอม หรือการใชประโยชนจากทัศนียภาพและธรรมชาติหรือการจัดการและการอนุรักษที่ไม
กอใหเกิดการเปลี่ยนแปลงแกสภาพแวดลอม
• คุณภาพน้ําทะเลเพื่อการอนุรักษแหลงปะการัง

กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม 2-6 กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม


หลักสูตรการจัดการมลพิษ โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

• คุณภาพน้ําทะเลเพื่อการอนุรักษแหลงธรรมชาติอื่น นอกจากแหลงปะการัง
• คุณภาพน้ําทะเลเพื่อการเพาะเลี้ยงสัตวน้ําชายฝง
• คุณภาพน้ําทะเลเพื่อการวายน้ํา
• คุณภาพน้ําทะเลเพื่อการกีฬาทางน้ําหรืออยางอื่นนอกจากการวายน้ํา
• คุณภาพน้ําทะเลบริเวณแหลงอุตสาหกรรม
สํา หรั บ ค า มาตรฐานคุ ณ ภาพน้ํ าชายฝ ง ทะเลในแต ล ะประเภทมี ก ารกํ า หนดดั ช นี คุ ณ ภาพน้ํ า
แตกตางกันไป ซึ่งสามารถดูเพิ่มเติมไดจากประกาศคณะกรรมการสิ่งแวดลอมแหงชาติ ฉบับที่ 7 (พ.ศ.
2537) แตในปจจุบันยังไมมีแหลงน้ําทะเลชายฝงแหงใดถูกควบคุมใหเปนไปตามมาตรฐานคุณภาพน้ําทะเล
ชายฝงที่กําหนดไวขางตน
(3) มาตรฐานคุณภาพน้ําบาดาล
มาตรฐานคุณภาพน้ําใตดินซึ่งใหรวมถึงน้ําบาดาลตามกฎหมายวาดวยน้ําบาดาล (ตามที่กําหนดโดย
กระทรวงอุตสาหกรรม) ถูกกําหนดขึ้นโดยประกาศคณะกรรมการสิ่งแวดลอมแหงชาติ ฉบับที่ 20 (พ.ศ. 2543)
เปนมาตรฐานที่กําหนดระดับความเขมขนสูงสุดของสารอันตรายที่ยอมใหมีไดในน้ําใตดินโดยไมกอใหเกิด
อันตรายและผลกระทบตอสุขภาพอนามัยของประชาชน (เมื่อนําน้ําใตดินมาใชบริโภค) เชน สารอินทรียระเหย
งาย โลหะหนัก สารปองกันกําจัดศัตรูพืชและสัตว ไซยาไนด พีซีบี ไวนิลคลอไรด เปนตน สําหรับรายละเอียด
สามารถดูเพิ่มเติมไดในประกาศคณะกรรมการสิ่งแวดลอมแหงชาติ ฉบับที่ 20 (พ.ศ. 2543)
(4) มาตรฐานคุณภาพอากาศในบรรยากาศ
กฎหมายที่เกี่ยวของกับการกําหนดมาตรฐานคุณภาพอากาศในบรรยากาศมีหลายฉบับ ซึ่ง
คณะกรรมการสิ่งแวดลอมแหงชาติกําหนดมาตรฐานคุณภาพอากาศในบรรยากาศครั้งแรกเมื่อ พ.ศ. 2538
ตอมามีการกําหนดมาตรฐานเพิ่มเติมในบางดัชนี โดยมีรายละเอียด ดังนี้
• ประกาศคณะกรรมการสิ่ง แวดลอ มแหงชาติ ฉบับที่ 10 (พ.ศ. 2538) ออกตามความใน
พระราชบัญญัติสงเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอมแหงชาติ พ.ศ. 2535 เรื่อง กําหนดมาตรฐานคุณภาพ
อากาศในบรรยากาศโดยทั่วไป
• ประกาศคณะกรรมการสิ่ง แวดลอ มแหงชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2538) ออกตามความใน
พระราชบัญญัติสงเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอมแหงชาติ พ.ศ. 2535 เรื่อง กําหนดมาตรฐานคากาซ
ซัลเฟอรไดออกไซดในบรรยากาศโดยทั่วไปในเวลา 1 ชั่วโมง
• ประกาศคณะกรรมการสิ่ง แวดลอ มแหงชาติ ฉบับที่ 21 (พ.ศ. 2544) ออกตามความใน
พระราชบัญญัติสงเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอมแหงชาติ พ.ศ. 2535 เรื่อง กําหนดมาตรฐานคากาซ
ซัลเฟอรไดออกไซดในบรรยากาศโดยทั่วไปในเวลา 1 ชั่วโมง
• ประกาศคณะกรรมการสิ่ง แวดลอ มแหงชาติ ฉบับที่ 24 (พ.ศ. 2547) ออกตามความใน
พระราชบัญญัติสงเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอมแหงชาติ พ.ศ. 2535 เรื่อง กําหนดมาตรฐานคุณภาพ
อากาศในบรรยากาศโดยทั่วไป
(5) มาตรฐานระดับเสียง
• ประกาศคณะกรรมการสิ่งแวดลอมแหงชาติ ฉบับที่ 15 (พ.ศ. 2540) เรื่องกําหนดมาตรฐาน
ระดับเสียงโดยทั่วไป

กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม 2-7 กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม


หลักสูตรการจัดการมลพิษ โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

2.3.2 มาตรฐานควบคุมการระบายมลพิษ

(1) ควบคุมการระบายน้ําทิ้ง
การกําหนดมาตรฐานควบคุมการระบายน้ําทิ้งออกจากแหลงกําเนิดมีกฎหมายหลายฉบับ ซึ่ง
สามารถแบงออกเปน 2 ลักษณะ กลาวคือ ลักษณะแรกเปนการกําหนดมาตรฐานของน้ําทิ้งตามประเภทของ
แหลงกําเนิด เชน โรงงานอุตสาหกรรม ที่ดินจัดสรรหรืออาคารตางๆ บอเพาะเลี้ยงสัตวน้ําชายฝง ฟารมเลี้ยง
สุกร สถานบริการน้ํามันเชื้อเพลิง เปนตน สวนลักษณะที่สองเปนการกําหนดมาตรฐานน้ําทิ้งโดยไมสนใจ
ประเภทของแหล ง กํ า เนิ ด แต จ ะกํ า หนดตามประเภทของแหล ง รั บ น้ํ าทิ้ ง แทน เช น บ อ บาดาล ทางน้ํ า
ชลประทาน เปนตน โดยมีรายละเอียดดังนี้
1) มาตรฐานน้ําทิ้งที่กําหนดตามประเภทแหลงกําเนิด
แหลงกําเนิดน้ําทิ้งที่ถูกควบคุมคุณภาพน้ําทิ้งกอนระบายออกสูภายนอกสามารถแยกเปน 3
สวนหลัก ไดแก น้ําทิ้งจากโรงงานอุตสาหกรรม น้ําทิ้งจากที่ดินจัดสรรหรืออาคารตางๆ และแหลงกําเนิด
เฉพาะโดยมีรายละเอียดดังนี้
ก) โรงงานอุตสาหกรรม
• มาตรฐานควบคุมการระบายน้ําทิ้งจากแหลงกําเนิดที่เปนโรงงานอุตสาหกรรมที่กําหนด
ตามพระราชบัญญัติสงเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอมแหงชาติ พ.ศ. 2535 ไดแก
- ประกาศกระทรวงวิทยาศาสตร เทคโนโลยีและสิ่งแวดลอม ฉบับที่ 3 (พ.ศ. 2539) เรื่อง
กําหนดมาตรฐานควบคุมการระบายน้ําทิ้งจากแหลงกําเนิดประเภทโรงงานอุตสาหกรรมและนิคมอุตสาหกรรม
- ประกาศกระทรวงวิทยาศาสตร เทคโนโลยีและสิ่งแวดลอม ฉบับที่ 4 (พ.ศ. 2539) เรื่อง
กําหนดประเภทโรงงานอุตสาหกรรมและนิคมอุตสาหกรรมที่จะตองถูกควบคุมการปลอยน้ําเสียออกสูแหลงน้ํา
สาธารณะ (โดยที่กฎหมายฉบับนี้เปนการระบุวาประเภทของโรงงานใดบางที่ตองควบคุมคุณภาพน้ําทิ้งให
เปนไปตามมาตรฐานตามประกาศกระทรวงวิทยาศาสตร เทคโนโลยีและสิ่งแวดลอม ฉบับที่ 3 พ.ศ. 2539)
- ประกาศคณะกรรมการควบคุมมลพิษ เรื่อง กําหนดประเภทโรงงานอุตสาหกรรมที่
อนุญาตใหระบายน้ําทิ้งใหมีคามาตรฐานแตกตางจากมาตรฐานควบคุมการระบายน้ําทิ้งที่กําหนดไวใน
ประกาศกระทรวงวิทยาศาสตร เทคโนโลยีและสิ่งแวดลอม ฉบับที่ 3 (พ.ศ. 2539) เรื่อง กําหนดมาตรฐาน
ควบคุมการระบายน้ําทิ้งจากแหลงกําเนิดประเภทโรงงานอุตสาหกรรม (โดยที่กฎหมายฉบับนี้เปนการ
กําหนดใหโรงงานบางประเภทสามารถยกเวนการควบคุมมาตรฐานคุณภาพน้ําทิ้งในบางดัชนีใหแตกตางไป
จากมาตรฐานที่ถูกกําหนดตามประกาศกระทรวงวิทยาศาสตร เทคโนโลยีและสิ่งแวดลอม ฉบับที่ 3 (พ.ศ.
2539))
• มาตรฐานคุณภาพน้ําทิ้งประกาศตามกฎหมายอื่นๆ ซึ่งเปนหนวยงานที่มีหนาที่เกี่ยวของ
กับโรงงานอุตสาหกรรมโดยตรง หรือหนวยงานที่มีหนาที่รับผิดชอบแหลงน้ําหรือทางน้ําที่เปนแหลงรองรับน้ํา
ทิ้งจากโรงงานอุตสาหกรรมโดยมีรายละเอียดดังนี้
- ประกาศกระทรวงอุ ต สาหกรรม ฉบั บ ที่ 2 (พ.ศ. 2539) ออกตามพระราชบั ญ ญั ติ
โรงงาน พ.ศ. 2535 เรื่อง กําหนดคุณลักษณะของน้ําทิ้งที่ระบายออกจากโรงงาน
- ประกาศกรมโรงงานอุตสาหกรรม เรื่อง กําหนดคุณลักษณะของน้ําทิ้งที่ระบายออก
จากโรงงานใหมีคาแตกตางจากที่กําหนดไวในประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2539) เรื่อง
กําหนดคุณลักษณะของน้ําทิ้งที่ระบายออกจากโรงงาน

กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม 2-8 กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม


หลักสูตรการจัดการมลพิษ โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

- ประกาศการนิคมอุตสาหกรรมแหงประเทศไทยที่ 45/2541 เรื่อง หลักเกณฑทั่วไปใน


การระบายน้ําทิ้งจากโรงงานอุตสาหกรรมในนิคมอุตสาหกรรม
- ประกาศกรมเจาทาที่ 419/2540 เรื่อง กําหนดมาตรฐานควบคุมการระบายน้ําทิ้งจาก
แหลงกําเนิดประเภทโรงงานอุตสาหกรรมและนิคมอุตสาหกรรม
- ประกาศกรมเจาทาที่ 435/2540 เรื่อง กําหนดประเภทโรงงานอุตสาหกรรมที่อนุญาต
ใหระบายน้ําทิ้งใหมีคามาตรฐานแตกตางจากคามาตรฐานควบคุมการระบายน้ําทิ้งที่กําหนดไวในประกาศ
กรมเจาทา เรื่อง กําหนดมาตรฐานควบคุมการระบายน้ําทิ้งจากแหลงกําเนิดประเภทโรงงานอุตสาหกรรม
และนิคมอุตสาหกรรม
ข) ที่ดินจัดสรรและอาคารควบคุม
• มาตรฐานควบคุมการระบายน้ําทิ้งจากที่ดินจัดสรรและอาคารควบคุมออกสูสิ่งแวดลอม
ซึ่งกําหนดโดยพระราชบัญญัติสงเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอมแหงชาติ พ.ศ. 2535 ไดแก
- ประกาศกระทรวงวิทยาศาสตร เทคโนโลยีและสิ่งแวดลอม เรื่อง กําหนดประเภทของ
อาคารเป น แหล ง กํ า เนิ ด มลพิ ษ ที่ จ ะต อ งถู ก ควบคุ ม การปล อ ยน้ํ าเสี ย ลงสู แ หล ง น้ํ า สาธารณะหรื อ ออกสู
สิ่งแวดลอม พ.ศ. 2537
- ประกาศกระทรวงวิทยาศาสตร เทคโนโลยีและสิ่งแวดลอม เรื่อง กําหนดมาตรฐาน
ควบคุมการระบายน้ําทิ้งจากอาคารบางประเภทและบางขนาด (พ.ศ. 2537) โดยกําหนดประเภทของอาคาร
ออกเปนประเภท ก, ข, ค, ง และ จ ซึ่งแบงตามขนาดของอาคาร ประเภทการใชสอย และพื้นที่การใช
ประโยชนของอาคาร
- ประกาศกระทรวงวิทยาศาสตร เทคโนโลยีและสิ่งแวดลอม ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2538)
เรื่อง กําหนดประเภทของอาคารเปนแหลงกําเนิดมลพิษที่จะตองถูกควบคุมการปลอยน้ําเสียลงสูแหลงน้ํา
สาธารณะหรือออกสูสิ่งแวดลอม
- ประกาศกระทรวงวิทยาศาสตร เทคโนโลยีและสิ่งแวดลอม ฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2539)
เรื่อง กําหนดมาตรฐานควบคุมการระบายน้ําทิ้งจากที่ดินจัดสรร
- ประกาศกระทรวงวิทยาศาสตร เทคโนโลยีและสิ่งแวดลอม ฉบับที่ 6 (พ.ศ. 2539)
เรื่ อง กํา หนดใหที่ ดิน จั ด สรรเป น แหล ง กํา เนิดมลพิ ษที่ จ ะต อ งถู กควบคุ มการปล อ ยน้ํ าเสี ย ลงสูแ หลง น้ํ า
สาธารณะหรือออกสูสิ่งแวดลอม
• มาตรฐานคุณภาพน้ําทิ้งประกาศตามกฎหมายอื่นที่มีหนาที่รับผิดชอบ
- กฎกระทรวง ฉบับที่ 44 (พ.ศ. 2538) ออกตามความในพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร
พ.ศ. 2522
- ประกาศกรมเจาทาที่ 420/2540 เรื่อง กําหนดมาตรฐานควบคุมการระบายน้ําทิ้งจาก
ที่ดินจัดสรรออกสูสิ่งแวดลอม
- ประกาศกรมเจาทาที่ 421/2540 เรื่อง กําหนดมาตรฐานควบคุมการระบายน้ําทิ้งจาก
อาคารบางประเภทและบางขนาด (โดยกําหนดประเภทของอาคารเปนประเภท ก, ข, ค, ง และ จ)
- กฎกระทรวง ฉบับที่ 51 (พ.ศ. 2541) ออกตามความในพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร
พ.ศ. 2522 (ไดกําหนดคุณภาพน้ําทิ้งจากอาคารที่จะระบายออกสูแหลงรองรับน้ําทิ้งตองไดมาตรฐานน้ําทิ้ง
ตามประเภทของอาคารเหลานั้น โดยกําหนดประเภทของอาคารออกเปนประเภท ก, ข, ค, ง และ จ ซึ่งแบง
ตามขนาดของอาคาร ประเภทการใชสอย และพื้นที่การใชประโยชนของอาคาร)
กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม 2-9 กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม
หลักสูตรการจัดการมลพิษ โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

ค) แหลงกําเนิดเฉพาะ
- ประกาศกระทรวงวิทยาศาสตร เทคโนโลยีและสิ่งแวดลอม เรื่อง มาตรฐานควบคุมการ
ระบายน้ําทิ้งจากแหลงกําเนิดมลพิษประเภทการเลี้ยงสุกร พ.ศ. 2544 (โดยแบงการเลี้ยงสุกรเปนประเภท
ก, ข และ ค ซึ่งอาศัยการแบงตามจํานวนสุกรที่เลี้ยง และกําหนดคามาตรฐานของน้ําทิ้งจากการเลี้ยงสุกรแต
ละประเภทกอนปลอยออกสูแหลงน้ําสาธารณะ)
- ประกาศกระทรวงวิทยาศาสตร เทคโนโลยีและสิ่งแวดลอม เรื่อง กําหนดมาตรฐาน
ควบคุมการระบายน้ําทิ้งจากสถานีบริการน้ํามันเชื้อเพลิง พ.ศ. 2535
- ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม เรื่อง กําหนดมาตรฐานควบคุม
การระบายน้ําทิ้งจากบอเพาะเลี้ยงสัตวน้ําชายฝง พ.ศ. 2547
2) มาตรฐานน้ําทิ้งที่กําหนดตามประเภทแหลงรองรับน้ําทิ้ง
ก) บอน้ําบาดาล
กฎหมายที่ กํ า หนดให ค วบคุ ม คุ ณ ภาพน้ํ า ทิ้ ง ก อ นระบายลงสู บ อ น้ํ า บาดาล ได แ ก
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง กําหนดหลักเกณฑและมาตรการในทางวิชาการสําหรับการระบายน้ํา
ลงบอบาดาล พ.ศ. 2521 โดยกฎหมายฉบับนี้กําหนดใหมีการตรวจวิเคราะหคุณภาพน้ําทิ้ง และตองมี
ลักษณะไมเกินเกณฑกําหนดสูงสุดที่ถูกกําหนดไว (ในทายประกาศ) จึงจะสามารถระบายน้ําทิ้งลงสูบอ
บาดาลได
ข) ทางน้ําชลประทาน
กฎหมายที่กําหนดใหควบคุมคุณภาพน้ําทิ้งกอนระบายลงสูทางน้ําชลประทาน ไดแก
คํ าสั่ ง ที่ 883/2532 (โดยกรมชลประทาน) ออกตามพระราชบั ญ ญั ติ ก ารชลประทานหลวง พ.ศ. 2484
กฎหมายฉบับ นี้ ห า มไมใ ห ผู ใ ดปลูก สร าง แก ไ ข หรื อต อ เติ ม สิ่ งก อ สร าง หรื อ ปลู ก ปก สิ่ ง ใด หรื อ ทํ า การ
เพาะปลูกรุกล้ําทางน้ําชลประทาน ชานคลอง เขตคันคลอง หรือเขตพนัง เวนแตจะไดรับอนุญาตเปนหนังสือ
จากกรมชลประทาน และหามไมใหผูใดปลอยน้ําทิ้งซึ่งทําใหเกิดพิษแกน้ําธรรมชาติ หรือสารเคมีเปนพิษลง
ในทางน้ําชลประทานจนอาจทําใหน้ําในทางน้ําชลประทานเปนอันตรายแกเกษตรกรรม การอุปโภค การ
บริโภค หรือสุขภาพอนามัย ถาผูใดฝาฝนจะมีโทษตามพระราชบัญญัติการชลประทานหลวง โดยกําหนด
มาตรฐานคุ ณ ภาพน้ํ าทิ้ ง ที่ จ ะระบายลงสู ท างน้ํ า ชลประทานหรื อ ทางน้ํ า ธรรมชาติ ที่ ต อ เชื่ อ มกั บ ทางน้ํ า
ชลประทาน ซึ่งสามารถเพิ่มเติมในรายละเอียดไดจากคําสั่งกรมชลประทานที่ 883/2532 เรื่อง การปองกัน
และการแกไขการระบายน้ําที่มีคุณภาพต่ําลงทางน้ําชลประทานและทางน้ําที่ตอเชื่อมกับทางน้ําชลประทาน
ในเขตพื้นที่โครงการชลประทาน
(2) การระบายมลพิษทางอากาศ การควบคุมระดับเสียง และกลิ่น
มาตรฐานควบคุมการระบายมลพิษทางอากาศจากแหลงกําเนิดและการควบคุมเสียงและกลิ่น
สามารถแบงออกไดเปน 2 ลักษณะ ไดแก แหลงกําเนิดที่เคลื่อนที่ได และแหลงกําเนิดที่เคลื่อนที่ไมได โดย
มีรายละเอียดดังนี้
1) แหลงกําเนิดที่เคลื่อนที่ได (ยานพาหนะ)
• มาตรฐานที่ออกตามพระราชบัญญัติสงเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอมแหงชาติ พ.ศ. 2535
- ประกาศกระทรวงวิทยาศาสตร เทคโนโลยีและสิ่งแวดลอม เรื่อง กําหนดมาตรฐานคา
กาซไฮโดรคารบอนจากทอไอเสียของรถจักรยานยนต (พ.ศ. 2536)

กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม 2-10 กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม


หลักสูตรการจัดการมลพิษ โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

- ประกาศกระทรวงวิทยาศาสตร เทคโนโลยีและสิ่งแวดลอม เรื่อง กําหนดระดับเสียง


ของเรือ (พ.ศ. 2537)
- ประกาศกระทรวงวิทยาศาสตร เทคโนโลยีและสิ่งแวดลอม ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2537)
เรื่อง กําหนดมาตรฐานคากาซคารบอนมอนอกไซดจากทอไอเสียของรถจักรยานยนต
- ประกาศกระทรวงวิทยาศาสตร เทคโนโลยีและสิ่งแวดลอม ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2540)
เรื่อง การกําหนดมาตรฐานคาควันดําจากทอไอเสียของรถยนตที่ใชเครื่องยนตดีเซล
- ประกาศกระทรวงวิทยาศาสตร เทคโนโลยีและสิ่งแวดลอม ฉบับที่ 3 (พ.ศ. 2540)
เรื่อง การกําหนดมาตรฐานคากาซคารบอนมอนอกไซดและกาซไฮโดรคารบอนจากทอไอเสียของรถยนตที่
ใชเครื่องยนตแกสโซลีน
- ประกาศกระทรวงวิทยาศาสตร เทคโนโลยีและสิ่งแวดลอม ฉบับที่ 3 (พ.ศ. 2540) เรื่อง
การกํ า หนดมาตรฐานค าก า ซคาร บ อนมอนอกไซด แ ละก า ซไฮโดรคาร บ อนจากท อ ไอเสี ย ของรถยนต
สามลอใชงาน
- ประกาศกระทรวงวิทยาศาสตร เทคโนโลยีและสิ่งแวดลอม ฉบับที่ 4 (พ.ศ. 2541)
เรื่อง การกําหนดมาตรฐานคาควันดําจากทอไอเสียของรถยนตที่ใชเครื่องยนตดีเซล
- ประกาศกระทรวงวิทยาศาสตร เทคโนโลยีและสิ่งแวดลอม เรื่อง การกําหนดมาตรฐาน
คาควันขาวจากทอไอเสียของรถจักรยานยนต (พ.ศ. 2542)
- ประกาศกระทรวงวิทยาศาสตร เทคโนโลยีและสิ่งแวดลอม ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2545)
เรื่อง การกําหนดมาตรฐานคาควันขาวจากทอไอเสียของรถจักรยานยนต
- ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม เรื่อง กําหนดระดับเสียงของรถยนต
(พ.ศ. 2546)
- ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม เรื่อง กําหนดระดับเสียงของ
รถจักรยานยนต (พ.ศ. 2546)
• มาตรฐานที่ออกตามกฎหมายอื่น
- ประกาศกรมเจาทาที่ 177/2537 เรื่อง การใชเครื่องวัด ควันและเสียงดังของเรือกล
- ประกาศกรมขนสงทางบกฉบับที่ 78/2527 เรื่อง เกณฑระดับเสียงที่เกิดจากเครื่อง
กําเนิดพลังงานของรถ
2) แหลงกําเนิดที่เคลื่อนที่ไมได
มาตรฐานที่กําหนดไวสําหรับควบคุมแหลงกําเนิดมลพิษที่เคลื่อนที่ไมไดสามารถแบงได 2
กลุมหลัก โดยที่กลุมแรกจะเปนการกําหนดมาตรฐานการระบายมลพิษทางอากาศจากโรงงานอุตสาหกรรม
ทั่ ว ไป ส ว นกลุ ม ที่ ส องเป น การกํ า หนดจากโรงงานอุ ต สาหกรรมหรื อ แหล ง กํ า เนิ ด บางประเภท
(เฉพาะเจาะจง) โดยมีรายละเอียดดังนี้
ก) โรงงานอุตสาหกรรมทั่วไป
การควบคุมการระบายมลพิษทางอากาศออกจากโรงงานอุตสาหกรรมทั่วไปโดยสวนใหญมัก
ถูกกําหนดขึ้นโดยกระทรวงอุตสาหกรรม ดังนี้
- ประกาศกระทรวงอุ ต สาหกรรม ฉบั บ ที่ 2 (พ.ศ. 2543) ออกตามความใน
พระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2535 เรื่อง กําหนดคาปริมาณสารเจือปนในอากาศที่ระบายออกจากโรงงาน
(เพิ่มเติม)

กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม 2-11 กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม


หลักสูตรการจัดการมลพิษ โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

- ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง กําหนดใหโรงงานประเภทตางๆ ตองติดตั้ง


เครื่องมือหรือเครื่องอุปกรณพิเศษเพื่อตรวจสอบคุณภาพอากาศจากปลองแบบอัตโนมัติ พ.ศ. 2544
- ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง กําหนดคาปริมาณของกาซซัลเฟอรไดออกไซดที่
เจือปนในอากาศที่ระบายออกจากโรงงานซึ่งใชน้ํามันเตาเปนเชื้อเพลิงในการเผาไหม พ.ศ. 2547
- ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง กําหนดคาปริมาณสารเจือปนในอากาศที่ระบาย
ออกจากโรงงาน พ.ศ. 2548
- กฎกระทรวงกําหนดมาตรฐานและวิธีการตรวจสอบกลิ่นในอากาศจากโรงงาน พ.ศ.
2548 ออกตามความในพระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2535
ข) โรงงานอุตสาหกรรมหรือแหลงกําเนิดบางประเภท
• โรงงานผลิตกระแสไฟฟา
- ประกาศกระทรวงวิทยาศาสตร เทคโนโลยีและสิ่งแวดลอม เรื่อง กําหนดมาตรฐาน
ควบคุมการปลอยทิ้งอากาศเสียจากโรงไฟฟา (พ.ศ. 2539)
- ประกาศกระทรวงวิทยาศาสตร เทคโนโลยีและสิ่งแวดลอม เรื่อง กําหนดใหโรงไฟฟา
เปนแหลงกําเนิดมลพิษที่ตองถูกควบคุมการปลอยทิ้งอากาศเสียออกสูสิ่งแวดลอม (พ.ศ. 2539)
- ประกาศกระทรวงวิทยาศาสตร เทคโนโลยีและสิ่งแวดลอม ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2542)
เรื่อง กําหนดมาตรฐานควบคุมการปลอยทิ้งอากาศเสียจากโรงไฟฟาเกา
- ประกาศกระทรวงวิทยาศาสตร เทคโนโลยีและสิ่งแวดลอม ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2542)
เรื่ อ ง กํ า หนดให โ รงไฟฟ าเก าเป น แหล ง กํ า เนิ ด มลพิ ษ ที่ ต อ งถู ก ควบคุ ม การปล อ ยทิ้ ง อากาศเสี ย ออกสู
สิ่งแวดลอม
- ประกาศกระทรวงวิทยาศาสตร เทคโนโลยีและสิ่งแวดลอม ฉบับที่ 3 (พ.ศ. 2544)
เรื่อง กําหนดมาตรฐานควบคุมการปลอยทิ้งอากาศเสียจากโรงไฟฟาแมเมาะ
- ประกาศกระทรวงวิทยาศาสตร เทคโนโลยีและสิ่งแวดลอม ฉบับที่ 3 (พ.ศ. 2544) เรื่อง
กํ า หนดให โ รงไฟฟ า แม เ มาะเป น แหล ง กํ า เนิ ด มลพิ ษ ที่ ต อ งถู ก ควบคุ ม การปล อ ยทิ้ ง อากาศเสี ย ออกสู
บรรยากาศ
- ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง กําหนดคาปริมาณของสารเจือปนในอากาศที่
ระบายออกจากโรงงานผลิต สง หรือจําหนายพลังงานไฟฟา พ.ศ. 2547
• โรงงานผลิตเหล็ก
- ประกาศกระทรวงวิทยาศาสตร เทคโนโลยีและสิ่งแวดลอม เรื่อง กําหนดมาตรฐาน
ควบคุมการปลอยทิ้งอากาศเสียจากโรงงานเหล็ก (พ.ศ. 2544)
- ประกาศกระทรวงวิทยาศาสตร เทคโนโลยีและสิ่งแวดลอม เรื่อง กําหนดใหโรงงาน
เหล็กเปนแหลงกําเนิดมลพิษที่ตองถูกควบคุมการปลอยทิ้งอากาศเสียออกสูบรรยากาศ (พ.ศ. 2544)
• โรงงานผลิตปูนซีเมนต
- ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง กําหนดคาปริมาณสารเจือปนในอากาศที่ระบาย
ออกจากโรงงานปูนซีเมนต พ.ศ. 2547
- ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม เรื่อง กําหนดมาตรฐานควบคุม
การปลอยทิ้งอากาศเสียจากโรงงานปูนซีเมนต (พ.ศ. 2547)
- ประกาศกระทรวงทรั พ ยากรธรรมชาติ แ ละสิ่ ง แวดล อ ม เรื่ อ ง กํ า หนดให โ รงงาน
ปูนซีเมนตเปนแหลงกําเนิดมลพิษที่จะตองถูกควบคุมการปลอยทิ้งอากาศเสียออกสูบรรยากาศ (พ.ศ. 2547)

กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม 2-12 กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม


หลักสูตรการจัดการมลพิษ โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

• โรงโม บด หรือยอยหิน
- ประกาศกระทรวงวิทยาศาสตร เทคโนโลยีและสิ่งแวดลอม เรื่อง กําหนดมาตรฐาน
ควบคุมการปลอยฝุนละอองจากโรงโม บด หรือยอยหิน (พ.ศ. 2540)
- ประกาศกระทรวงวิทยาศาสตร เทคโนโลยีและสิ่งแวดลอม เรื่อง กําหนดใหโรงโม บด
หรือยอยหินเปนแหลงกําเนิดมลพิษที่ตองถูกควบคุมการปลอยฝุนละอองออกสูบรรยากาศ (พ.ศ. 2540)
• เตาเผาขยะมูลฝอย
- ประกาศกระทรวงวิทยาศาสตร เทคโนโลยีและสิ่งแวดลอม เรื่อง กําหนดมาตรฐาน
ควบคุมการปลอยทิ้งอากาศเสียจากเตาเผามูลฝอย (พ.ศ. 2540)
- ประกาศกระทรวงวิทยาศาสตร เทคโนโลยีและสิ่งแวดลอม เรื่อง กําหนดใหเตาเผามูล
ฝอยเปนแหลงกําเนิดมลพิษที่จะตองถูกควบคุมการปลอยอากาศออกสูบรรยากาศ (พ.ศ. 2540)
- ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม เรื่อง กําหนดมาตรฐานความ
ทึบแสงของเขมาควันจากปลองเตาเผาศพ (พ.ศ. 2546)
- ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม เรื่อง กําหนดใหเตาเผาศพเปน
แหลงกําเนิดที่จะตองถูกควบคุมการปลอยทิ้งอากาศเสียออกสูสิ่งแวดลอม (พ.ศ. 2546)
- ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม เรื่อง กําหนดมาตรฐานการ
ควบคุมการปลอยทิ้งอากาศเสียจากเตาเผามูลฝอยติดเชื้อ (พ.ศ. 2546)
- ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม เรื่อง กําหนดใหเตาเผามูลฝอย
ติดเชื้อเปนแหลงกําเนิดที่จะตองถูกควบคุมการปลอยทิ้งอากาศเสียออกสูสิ่งแวดลอม (พ.ศ. 2546)
- ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง กําหนดปริมาณสารเจือปนในอากาศที่ระบาย
ออกจากปลองเตาเผาสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไมใชแลวที่เปนอันตรายจากอุตสาหกรรม พ.ศ. 2545
• โรงสีขาวที่ใชหมอไอน้ํา
- ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม เรื่อง กําหนดใหโรงสีขาวที่ใชหมอ
ไอน้ําเปนแหลงกําเนิดมลพิษที่จะตองถูกควบคุมการปลอยทิ้งอากาศเสียออกสูบรรยากาศ (พ.ศ. 2548)
- ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม เรื่อง กําหนดมาตรฐานคาความ
ทึบแสงจากปลองปลอยทิ้งอากาศเสียของโรงสีขาวที่ใชหมอไอน้ํา (พ.ศ. 2548)
• สถานประกอบกิจการหลอมและตมทองคํา
- ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม เรื่อง กําหนดมาตรฐานควบคุม
การปลอยทิ้งอากาศเสียจากสถานประกอบกิจการหลอมและตมทองคํา (พ.ศ. 2547)
- ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม เรื่อง กําหนดใหสถานประกอบ
กิจ การหลอมและต ม ทองคําเป น แหล งกํ าเนิ ด มลพิ ษที่ จะต อ งถู กควบคุ มการปล อ ยทิ้ งอากาศเสี ย ออกสู
บรรยากาศ (พ.ศ. 2547)
• คลังน้ํามันเชื้อเพลิง
- ประกาศกระทรวงวิทยาศาสตร เทคโนโลยีและสิ่งแวดลอม เรื่อง กําหนดมาตรฐาน
ควบคุมการปลอยทิ้งไอน้ํามันเบนซินจากคลังน้ํามันเชื้อเพลิง (พ.ศ. 2544)
- ประกาศกระทรวงวิทยาศาสตร เทคโนโลยีและสิ่งแวดลอม ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2545)
เรื่อง กําหนดมาตรฐานควบคุมการปลอยทิ้งไอน้ํามันเบนซินจากคลังน้ํามันเชื้อเพลิง
• เหมืองหิน
- ประกาศกระทรวงวิทยาศาสตร เทคโนโลยีและสิ่งแวดลอม เรื่อง กําหนดมาตรฐาน
ควบคุมระดับเสียงและความสั่นสะเทือนจากการทําเหมืองหิน (พ.ศ. 2539)
กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม 2-13 กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม
หลักสูตรการจัดการมลพิษ โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

- ประกาศกระทรวงวิทยาศาสตร เทคโนโลยีและสิ่งแวดลอม เรื่อง กําหนดใหเหมืองหิน


เปนแหลงกําเนิดมลพิษที่ตองถูกควบคุมระดับเสียงและความสั่นสะเทือน (พ.ศ. 2539)
• โรงงานในนิคมอุตสาหกรรม
- ประกาศการนิคมอุตสาหกรรมแหงประเทศไทยที่ 46/2541 เรือ่ ง การกําหนดอัตราการ
ปลอยมลสารทางอากาศจากปลองในนิคมอุตสาหกรรม
(3) การจัดการขยะมูลฝอย สิ่งปฏิกูล และของเสียอันตราย
การจัดการขยะมูลฝอย สิ่งปฏิกูล และของเสียอันตรายมีกฎหมายที่เกี่ยวของอยู 2 สวน ไดแก
1) พระราชบัญญัติสงเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอมแหงชาติ พ.ศ. 2535
พระราชบัญญัติฉบับนี้ระบุวาการเก็บรวบรวม การขนสง และการจัดการดวยประการใดๆ
เพื่อบําบัดและขจัดขยะมูลฝอยและของเสียอื่นที่อยูในสภาพของแข็งใหเปนไปตามที่กฎหมายวาดวยการนั้น
กรณีที่ไมมีกฎหมายใดบัญญัติไวโดยเฉพาะ ใหรัฐมนตรีโดยคําแนะนําของคณะกรรมการควบคุมมลพิษออก
กฎกระทรวงกําหนดชนิด ประเภทของเสียอันตรายที่เกิดจากการผลิต การใชสารเคมี หรือวัตถุอันตรายใน
กระบวนการทางอุตสาหกรรม เกษตรกรรม การสาธารณสุข และกิจการอยางอื่นใหอยูในความควบคุมและ
กําหนดหลักเกณฑ มาตรการ วิธีการเพื่อการควบคุม การเก็บรวบรวม การรักษาความปลอดภัย การขนสง
เคลื่อนยาย การนําเขา-สงออก รวมถึงการบําบัดและกําจัดของเสียอันตรายดังกลาวดวยวิธีการที่เหมาะสม
และถูกตองตามหลักวิชาการที่เกี่ยวของ
2) กฎหมายอื่นที่มีหนาที่เกี่ยวของ
พระราชบัญญัติสงเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอมแหงชาติ พ.ศ. 2535 นั้น มีเจตนาให
เรื่องการจัดการขยะมูลฝอยเปนไปตามกฎหมายอื่น โดยในหลักสูตรนี้จะใหความสําคัญกับกฎหมาย ซึ่งให
อํานาจการจัดการแกหนวยงานที่รับผิดชอบเกี่ยวกับการจัดการของขยะมูลฝอย รวมถึงการจัดการสิ่งปฏิกูล
หรือวัสดุที่ไมใชแลว สามารถพิจารณาไดดังนี้
ก) พระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. 2535
พระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. 2535 เปนกฎหมายที่ใหอํานาจหนาที่แกหนวยงาน
ทองถิ่นในการจัดการขยะมูลฝอย สิ่งปฏิกูล และของเสียอันตรายในเขตพื้นที่รับผิดชอบของตน ราชการสวน
ทองถิ่นตามกฎหมาย ไดแก เทศบาล องคการบริหารสวนจังหวัด กรุงเทพมหานคร เมืองพัทยา และองคการ
บริหารสวนตําบล ทั้งนี้ กฎหมายขององคกรปกครองสวนทองถิ่นในแตละประเภทไดกลาวถึงอํานาจหนาที่
เกี่ยวกับการจัดการขยะมูลฝอยในเขตพื้นที่รับผิดชอบขององคกรปกครองสวนทองถิ่นนั้นๆ ดวยเชนกัน
กลาวคือ ราชการสวนทองถิ่นตางๆ สามารถที่จะออกขอกําหนดทองถิ่นของตนเองในเรื่องการจัดการขยะมูล
ฝอยได และหากสวนทองถิ่นใดไมประสงคจะดําเนินการเองหรือศักยภาพในการจัดการไมครอบคลุมทั้งเขต
พื้นที่ของตน สวนทองถิ่นนั้นสามารถที่จะอนุญาตใหบุคคลภายนอกเขามาดําเนินการแทนได
สําหรับกฎหมายเกี่ยวกับการหามทิ้งขยะมูลฝอยนั้นมีอยูหลายฉบับ ทั้งนี้ จะขึ้นอยูกับ
บริเวณและเขตพื้นที่ตางๆ ซึ่งหากฝาฝนบทบัญญัตินั้นก็จะไดรับโทษทางอาญา โดยมีกฎหมายตางๆ ดังนี้
- พระราชบัญญัติรักษาคลอง รัตนโกสินทรศก 121
- พระราชบัญญัติการเดินเรือในนานน้ําไทย พ.ศ. 2456
- พระราชบัญญัติการชลประทานหลวง พ.ศ. 2484
- ประมวลกฎหมายอาญา
- พระราชบัญญัติอุทยานแหงชาติ พ.ศ. 2505
กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม 2-14 กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม
หลักสูตรการจัดการมลพิษ โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

- พระราชบัญญัติรักษาคลองประปา พ.ศ. 2526


- พระราชบัญญัติทางหลวง พ.ศ. 2535
- พระราชบัญญัติรักษาความสะอาดและความเปนระเบียบเรียบรอยของบานเมือง พ.ศ. 2535
ข) พระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2535
กฎหมายในการจั ด การของเสี ยอั น ตรายจากโรงงานอุ ตสาหกรรมออกตามความใน
พระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2535 ไดใหอํานาจกระทรวงอุตสาหกรรมโดยรัฐมนตรีวาการกระทรวงออก
กฎกระทรวงเพื่อกําหนดมาตรฐานและวิธีการควบคุมการปลอยของเสีย มลพิษหรือสิ่งอื่นใดที่มีผลกระทบตอ
สิ่งแวดลอม หรือกําหนดวิธีการเพื่อคุมครองความปลอดภัยในการดําเนินงานเพื่อปองกันหรือระงับอันตราย
หรือความเสียหายอันเกิดจากการประกอบกิจการโรงงาน โดยมีหลักเกณฑดังนี้
• กําหนดหลักเกณฑวากากของเสียอันตรายจากอุตสาหกรรมมีลักษณะอยางไรบาง
• การหามนําของเสียดังกลาวออกนอกบริเวณโรงงานโดยไมไดรับอนุญาตจากกรม
โรงงานอุตสาหกรรม
• การแจงรายละเอียดตางๆ เกี่ยวกับของเสียที่เกิดขึ้นหรือเก็บไว รวมทั้งวิธีการกําจัด
ทําลายฤทธิ์ ทิ้ง ฝง เคลื่อนยายและขนสง ใหกรมโรงงานอุตสาหกรรมทราบ
หลั ก เกณฑ ต ามที่ ก ล า วเป น มาตรการควบคุ ม สิ่ ง ปฏิ กู ล หรื อ วั ส ดุ ที่ ไ ม ใ ช แ ล ว จาก
ภาคอุตสาหกรรม โดยประกาศที่กําหนดหลักเกณฑและวิธีการเกี่ยวกับการจัดการ ไดแก
- ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 6 (พ.ศ. 2540) ออกตามความในพระราชบัญญัติ
โรงงาน พ.ศ. 2535 เรื่อง การกําจัดสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไมใชแลว
- ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 1 (พ.ศ. 2541) ออกตามความในพระราชบัญญัติ
โรงงาน พ.ศ. 2535 เรื่อง การกําจัดสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไมใชแลว
- ประกาศการนิคมอุตสาหกรรมแหงประเทศไทยที่ 58/2544 เรื่อง การกําจัดสิ่งปฏิกูล
หรือวัสดุที่ไมใชแลวในนิคมอุตสาหกรรม
- ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง หนาที่ของผูประกอบกิจการโรงงานหลอมตะกั่ว
จากแบตเตอรี่เกาเกี่ยวกับการดําเนินการกําจัดขยะ สิ่งปฏิกูลและวัสดุที่ไมใชแลว (พ.ศ. 2544)
- ประกาศกระทรวงอุ ต สาหกรรม เรื่ อ ง การกํ า จั ด สิ่ ง ปฏิ กู ล หรื อ วั ส ดุ ที่ ไ ม ใ ช แ ล ว
(เพิ่มเติม) พ.ศ. 2547
- ประกาศกรมโรงงานอุตสาหกรรม เรื่อง กําหนดวิธีการเก็บ ทําลายฤทธิ์ กําจัด ฝง ทิ้ง
เคลื่อนยายและการขนสงสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไมใชแลว (ฉบับที่ 1) พ.ศ. 2531
นอกจากนี้ กระทรวงอุตสาหกรรมมีนโยบายจัดการสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไมใชแลวใน
ภาคอุตสาหกรรมใหมีประสิทธิภาพและคุมคาทรัพยากรมากที่สุด โดยการกําหนดชนิดและประเภทของ
โรงงานที่ทํ าหนาที่รั บ กําจัด สิ่ง ปฏิ กูล หรื อวั ส ดุที่ ไม ใช แล ว ได แ ก โรงงานลําดับ ที่ 105 ประกอบกิ จการ
เกี่ยวกับการคัดแยกหรือฝงกลบสิ่งปฏิกูลที่ไมใชแลว และโรงงานลําดับที่ 106 ประกอบกิจการเกี่ยวกับการ
นําสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไมใชแลวมาผลิตเปนวัตถุดิบหรือผลิตภัณฑใหม
(4) อื่นๆ ที่เกี่ยวของกับการควบคุมมลพิษ
1) บุคลากรดานสิ่งแวดลอมประจําโรงงาน
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง การกําหนดชนิดและขนาดของโรงงาน วิธีการควบคุม
การปล อ ยของเสี ย มลพิ ษ หรื อ สิ่ ง ใดๆ ที่ มี ผ ลกระทบต อ สิ่ ง แวดล อ ม คุ ณ สมบั ติ ข องผู ค วบคุ ม ดู แ ล

กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม 2-15 กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม


หลักสูตรการจัดการมลพิษ โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

ผูปฏิบัติงานประจํา และหลักเกณฑการขึ้นทะเบียนผูควบคุมดูแลระบบปองกันสิ่งแวดลอมเปนพิษ พ.ศ.


2545 กํ า หนดไว ว า บุ ค ลากรด า นสิ่ ง แวดล อ มประจํ า โรงงาน หมายถึ ง ผู ไ ด รั บ ใบอนุ ญ าตให มี ห น า ที่
รับผิดชอบการดําเนินการเกี่ยวกับระบบปองกันสิ่งแวดลอมเปนพิษในโรงงาน ประกอบดวย
• ผูควบคุมดูแลระบบปองกันสิ่งแวดลอมเปนพิษ หมายถึง ผูไดรับอนุญาตใหทําการ
ตรวจสอบ ควบคุม กํากับดูแล ดําเนินการ และบํารุงรักษาระบบบําบัดมลพิษน้ํา อากาศ กากอุตสาหกรรม
หรือเครื่องจักรอุปกรณ หรือเครื่องมือ เครื่องใช สําหรับการควบคุม บําบัด หรือกําจัดมลพิษอื่นใด ที่ติดตั้ง
ระบบปองกันสิ่งแวดลอมเปนพิษภายในโรงงาน ไดแก
- ผูจัดการสิ่งแวดลอม
- ผูควบคุมระบบบําบัดมลพิษน้ํา
- ผูควบคุมระบบบําบัดมลพิษอากาศ
- ผูควบคุมระบบการจัดการมลพิษกากอุตสาหกรรม
• บริษัทที่ปรึกษา หมายถึง ผูรับจางใหบริการที่ไดรับอนุญาตใหเปนผูควบคุมระบบบําบัด
มลพิษน้ํา อากาศ หรือผูควบคุมระบบการจัดการกากของเสีย แลวแตกรณี
• ผูปฏิบัติงานประจําระบบปองกันสิ่งแวดลอมเปนพิษ หมายถึง ผูไดรับอนุญาตใหทําการ
ตรวจสอบ ควบคุม กํากับดูแล และบํารุงรักษาเครื่องมือ เครื่องใช หรืออุปกรณใดๆ ที่ติดตั้งขึ้นเพื่อการ
บํ า บั ด น้ํ า เสี ย อากาศเสี ย กากอุ ต สาหกรรม หรื อ การกํ า จั ด มลพิ ษ อื่ น ใด ซึ่ ง ต อ งอยู ป ระจํ า เครื่ อ งจั ก ร
ตลอดเวลาที่มีการเดินระบบ
2) เครื่องมือหรือเครื่องอุปกรณพิเศษ
กรมโรงงานอุตสาหกรรมไดกําหนดหลักเกณฑและวิธีการในการติดตั้งเครื่องมือหรือ
เครื่องอุปกรณเพื่อรายงานการระบายน้ําทิ้งและอากาศเสียออกนอกโรงงานอุตสาหกรรมเขากับระบบ
เครือขายคอมพิวเตอรของกรมโรงงานอุตสาหกรรม ดังนี้
ก) เครื่องตรวจวัดคาบีโอดีและซีโอดี
กรมโรงงานอุตสาหกรรมไดกําหนดชนิด/ประเภทโรงงานที่ตองติดตั้งเครื่องมือหรือ
เครื่องอุปกรณพิเศษสําหรับการตรวจวัดคาบีโอดีและซีโอดี เพื่อรายงานการระบายน้ําทิ้งออกจากโรงงาน
ตามประกาศ ดังนี้
- ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง กําหนดใหโรงงานที่ตองมีระบบบําบัดน้ําเสีย
ตองติดตั้งเครื่องมือหรือเครื่องอุปกรณพิเศษและเครื่องมือหรือเครื่องอุปกรณเพิ่มเติม พ.ศ. 2547
- ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง กําหนดใหโรงงานที่ตองมีระบบบําบัดน้ําเสีย
ตองติดตั้งเครื่องมือหรือเครื่องอุปกรณพิเศษและเครื่องมือหรือเครื่องอุปกรณเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2548
- ประกาศกรมโรงงานอุ ต สาหกรรม เรื่ อ ง หลั ก เกณฑ ก ารให ค วามเห็ น ชอบให
โรงงานที่ตองมีระบบบําบัดน้ําเสียตองติดตั้งเครื่องมือหรืออุปกรณพิเศษ และเครื่องมือหรือเครื่องอุปกรณ
เพิ่มเติม พ.ศ. 2547
ข) เครื่องตรวจวัดคุณภาพอากาศจากปลองแบบอัตโนมัติ
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง กําหนดใหโรงงานประเภทตางๆ ตองติดตั้ง
เครื่องมือหรือเครื่องอุปกรณพิเศษเพื่อตรวจสอบคุณภาพอากาศจากปลองแบบอัตโนมัติ พ.ศ. 2544 เพื่อ
ตรวจวัดความเขมขนของมลพิษทางอากาศจากปลองที่เปนแหลงกําเนิดมลพิษทางอากาศแบบอัตโนมัติ

กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม 2-16 กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม


หลักสูตรการจัดการมลพิษ โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

อยางตอเนื่อง (Continuous Emission Monitoring System: CEMS) โดยกําหนดประเภทของโรงงานที่ตอง


ทําการติดตั้งเครื่องมือดังกลาวไว
กฎหมายที่เกี่ยวของกับการควบคุมการระบายมลพิษตางๆ ที่กลาวขางตนเปนกฎหมายที่กําหนดให
เจาของหรือผูครอบครองแหลงกําเนิดมลพิษเหลานั้นตองปฏิบัติตาม โดยจัดเครื่องมือหรืออุปกรณตางๆ ที่
จะทําการบําบัดหรือกําจัดเพื่อควบคุมมลพิษสิ่งแวดลอมใหไดคามาตรฐานกอนระบายออกสูสิ่งแวดลอม
สําหรับการบังคับใชตามพระราชบัญญัติสงเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอมแหงชาติ พ.ศ. 2535 ได
กํ า หนดให มี อ งค ก รผู บั ง คั บ ใช ก ฎหมายหลายองค ก รตามที่ ไ ด ก ล า วไว ใ นส ว นของการวิ วั ฒ นาการของ
กฎหมายสิ่งแวดลอม (ตามหัวขอ 2.2.2) สามารถกลาวสรุปในเรื่องการบังคับใชกฎหมายของหนวยงานที่
รับผิดชอบเกี่ยวกับปญหาดานสิ่งแวดลอม ได 2 ลักษณะ ดังนี้
- อํานาจตามกฎหมายเฉพาะ ซึ่งเปนอํานาจของสวนราชการหรือหนวยงานตางๆ ซึ่งมีกฎหมาย
รองรับไวโดยเฉพาะใหมีอํานาจไวดําเนินการเกี่ยวกับสิ่งแวดลอม เชน อํานาจของกรมโรงงานอุตสาหกรรม
ในการกําหนดมาตรฐานควบคุมการระบายน้ําทิ้งหรือปลอยอากาศเสียออกนอกบริเวณโรงงาน โดยอาศัย
พระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2535 เปนตน
- อํานาจตามกฎหมายทั่วไป ซึ่งเปนกรณีที่ไมมีกฎหมายฉบับใดกําหนดใหสวนราชการหรือ
หนวยงานใดหนวยงานหนึ่งเปนผูรับผิดชอบแกไขปญหาเกี่ยวกับสิ่งแวดลอมในเรื่องนั้นเปนการเฉพาะ จึง
กําหนดใหคณะกรรมการสิ่งแวดลอมแหงชาติซึ่งเปนผูบังคับใชกฎหมายตามพระราชบัญญัตินี้ และกรม
ควบคุมมลพิษเปนองคกรระดับปฏิบัติการเขามามีบทบาทในการแกไขปญหาชองวางดังกลาว ทั้งนี้ เพื่อให
ปญหาสิ่งแวดลอมนั้นไดรับการแกไข
ขอสังเกตเกี่ยวกับการบังคับใชกฎหมายตามพระราชบัญญัติสงเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอม
แหงชาติ พ.ศ. 2535 เปนกฎหมายที่บังคับใชโดยทั่วไป ซึ่งหากมีบทบัญญัติหรือกฎหมายใดที่ขัดแยงกับ
พระราชบั ญ ญั ติ นี้ จํ า เป น ต อ งบั ง คั บ ใช ก ฎหมายหรื อ บทบั ญ ญั ติ ที่ เ คร ง ครั ด หรื อ สู ง กว า กล า วคื อ
พระราชบัญญัตินี้จะบังคับใชกรณีที่ไมมีกฎหมายใดบัญญัติไวเปนการเฉพาะ หากมีบังคับไวเปนการเฉพาะ
ก็ใหปฏิบัติตามนั้น และถาบทบัญญัติหรือกฎหมายที่บังคับไวเฉพาะสําหรับการนั้นขัดแยงหรือมาตรฐานต่ํา
กว า พระราชบั ญ ญั ติ นี้ จํ า เป น ต อ งปฏิ บั ติ ต ามพระราชบั ญ ญั ติ นี้ เ พื่ อ ให ก ารจั ด การด า นสิ่ ง แวดล อ มมี
ประสิทธิภาพและไดผลตามวัตถุประสงค หากเปนกรณีที่มีมาตรฐานอยูในระดับที่เทากันหรือมาตรฐานที่สูง
กวาพระราชบัญญัตินี้ ก็ใหบังคับใชตามกฎหมายเปนการเฉพาะนั้น เนื่องจากจะเปนผลดีตอการรักษา
คุณภาพสิ่งแวดลอมตอไป

2.3.3 การจัดการมลพิษสิ่งแวดลอม

(1) การจัดทํารายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม (EIA)


รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอมเปนมาตรการหนึ่งในการคุมครองสิ่งแวดลอมที่สําคัญ
ซึ่ ง กระทรวงวิ ท ยาศาสตร เทคโนโลยี แ ละสิ่ ง แวดล อ มได ป ระกาศกํ า หนดประเภท ชนิ ด และขนาดของ
โครงการหรือกิจการของสวนราชการ รัฐวิสาหกิจ หรือเอกชนที่อาจมีผลกระทบตอสิ่งแวดลอมเพื่อเสนอขอ
ความเห็ น ชอบตอ หนว ยงานที่ เกี่ ยวข อ ง ซึ่ ง การจัด ทํ ารายงานดัง กลาวจะส ง ผลต อ กระบวนการจัด การ
สิ่งแวดลอม เพราะจะเปนการปองกันปญหาที่จะเกิดผลกระทบตอสิ่งแวดลอมโดยตรงและสามารถที่จะ
คาดการณไวลวงหนาไดระดับหนึ่ง ประกาศดังกลาว ไดแก

กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม 2-17 กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม


หลักสูตรการจัดการมลพิษ โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

- ประกาศกระทรวงวิทยาศาสตร เทคโนโลยีและสิ่งแวดลอม เรื่อง กําหนดประเภทและขนาดของ


โครงการหรือกิจการของสวนราชการ รัฐวิสาหกิจ หรือเอกชนที่ตองจัดทํารายงานการวิเคราะหผลกระทบ
สิ่งแวดลอม (พ.ศ. 2535)
- ประกาศกระทรวงวิทยาศาสตร เทคโนโลยีและสิ่งแวดลอม เรื่อง กําหนดประเภทและขนาดของ
โครงการหรือกิจการของสวนราชการ รัฐวิสาหกิจ หรือเอกชนที่ตองจัดทํารายงานการวิเคราะหผลกระทบ
สิ่งแวดลอม ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2535)
- ประกาศกระทรวงวิทยาศาสตร เทคโนโลยีและสิ่งแวดลอม เรื่อง กําหนดประเภทและขนาดของ
โครงการหรือกิจการของสวนราชการ รัฐวิสาหกิจ หรือเอกชนที่ตองจัดทํารายงานการวิเคราะหผลกระทบ
สิ่งแวดลอมฉบับที่ 3 (พ.ศ. 2539)
- มติคณะรัฐมนตรีเกี่ยวกับปาอนุรักษเพิ่มเติม (13 กันยายน 2537) เรื่อง กําหนดประเภทและ
ขนาดของโครงการที่ตองเสนอรายงานการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดลอม
- ประกาศกระทรวงวิทยาศาสตร เทคโนโลยีและสิ่งแวดลอม เรื่อง กําหนดประเภทและขนาดของ
โครงการ หรือกิจการ และหลักเกณฑ วิธีการ ระเบียบปฏิบัติและแนวทางในการจัดทํารายงานผลกระทบ
สิ่งแวดลอมเบื้องตนในเขตพื้นที่คุมครองสิ่งแวดลอมบริเวณจังหวัดภูเก็ต จังหวัดกระบี่ และเมืองพัทยา
จังหวัดชลบุรี พ.ศ. 2543
(2) เขตพื้นที่คุมครองสิ่งแวดลอม
พื้นที่ที่มีความสําคัญเนื่องจากเปนตนน้ําลําธารหรือมีระบบนิเวศตามธรรมชาติที่แตกตางจากพื้นที่อื่น
ซึ่งอาจถูกทําลายหรืออาจไดรับการกระทบกระเทือนจากกิจกรรมตางๆ ของมนุษย จึงตองประกาศเปนพื้นที่
คุมครองสิ่งแวดลอม โดยออกเปนกฎกระทรวงตามคําแนะนําของคณะกรรมการสิ่งแวดลอมแหงชาติ รวมทั้ง
กําหนดมาตรการอยางใดอยางหนึ่งหรือหลายอยางไวดวย ซึ่งผูวาราชการจังหวัดที่อยูในเขตพื้นที่นั้นตอง
จัดทําแผนปฏิบัติการเพื่อจัดการคุณภาพสิ่งแวดลอมในระดับจังหวัดเพื่อกําหนดมาตรการและการดําเนินการ
แกไขใหเปนระบบตอไป ปจจุบันไดมีการประกาศเขตพื้นที่คุมครองสิ่งแวดลอมหลายแหง ดังนี้
• เขตเมืองพัทยา จังหวัดชลบุรี ประกาศภายใต
- กฎกระทรวง (พ.ศ. 2535) เรื่อง กําหนดเขตพื้นที่คุมครองสิ่งแวดลอมเมืองพัทยา
- ประกาศกระทรวงวิทยาศาสตร เทคโนโลยีและสิ่งแวดลอม เรื่อง กําหนดเขตพื้นที่และ
มาตรการคุมครองสิ่งแวดลอมในบริเวณเมืองพัทยา จังหวัดชลบุรี พ.ศ. 2535
• จังหวัดภูเก็ต ประกาศภายใต
- กฎกระทรวง ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2535) เรื่อง กําหนดเขตพื้นที่คุมครองสิ่งแวดลอม เกาะภูเก็ต
- ประกาศกระทรวงวิทยาศาสตร เทคโนโลยีและสิ่งแวดลอม เรื่อง กําหนดเขตพื้นที่และ
มาตรการคุมครองสิ่งแวดลอมในบริเวณจังหวัดภูเก็ต พ.ศ. 2535
• จังหวัดกระบี่ ประกาศภายใต
- กฎกระทรวง ฉบับที่ 3 (พ.ศ. 2535) เรื่อง กําหนดเขตพื้นที่คุมครองสิ่งแวดลอม จังหวัดกระบี่
- ประกาศกระทรวงวิทยาศาสตร เทคโนโลยีและสิ่งแวดลอม เรื่อง กําหนดเขตพื้นที่และ
มาตรการคุมครองสิ่งแวดลอมในบริเวณหมูเกาะพีพี จังหวัดกระบี่ พ.ศ. 2535
• จังหวัดมหาสารคาม ประกาศภายใต
- กฎกระทรวง ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 2539) เรื่อง กําหนดเขตพื้นที่คุมครองสิ่งแวดลอม จังหวัด
มหาสารคาม

กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม 2-18 กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม


หลักสูตรการจัดการมลพิษ โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

- ประกาศกระทรวงวิทยาศาสตร เทคโนโลยีและสิ่งแวดลอม เรื่อง กําหนดเขตพื้นที่และ


มาตรการคุมครองสิ่งแวดลอมในบริเวณปาดูนลําพูน พ.ศ. 2535
(3) เขตควบคุมมลพิษ
ตามมาตรา 59 แหงพระราชบัญญัติสงเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอมแหงชาติ พ.ศ. 2535
กลาววา ในกรณีทองที่ใดมีปญหามลพิษ ซึ่งมีแนวโนมที่จะรายแรงถึงขนาดเปนอันตรายตอสุขภาพอนามัย
ของประชาชนหรืออาจกอใหเกิดผลกระทบเสียหายตอคุณภาพสิ่งแวดลอม ใหคณะกรรมการสิ่งแวดลอม
แหงชาติมีอํานาจประกาศในราชกิจจานุเบกษากําหนดใหทองที่นั้นเปนเขตควบคุมมลพิษเพื่อดําเนินการ
ควบคุม ลด และขจัดมลพิษได
เมื่อทองที่ใดประกาศใหเปนเขตควบคุมมลพิษตองจัดทําแผนปฏิบัติการเพื่อลดและขจัดมลพิษ
เพื่อเสนอตอผูวาราชการจังหวัด โดยใหรวมไวในแผนปฏิบัติการเพื่อจัดการคุณภาพสิ่งแวดลอมในระดับ
จังหวัดดวย ปจจุบันประเทศไทยไดมีการประกาศพื้นที่ที่เปนเขตควบคุมมลพิษแลว ดังนี้
• ทองที่เขตเมืองพัทยา จังหวัดชลบุรี ตามประกาศคณะกรรมการสิ่งแวดลอมแหงชาติ ฉบับที่ 1
(พ.ศ. 2535) เรื่อง กําหนดใหทองที่เขตเมืองพัทยาเปนเขตควบคุมมลพิษ
• ทองที่เขตจังหวัดภูเก็ต ตามประกาศคณะกรรมการสิ่งแวดลอมแหงชาติ ฉบับที่ 2 (พ.ศ.
2535) เรื่อง กําหนดใหทองที่เขตจังหวัดภูเก็ตเปนเขตควบคุมมลพิษ
• ทองที่เขต อ. หาดใหญ จังหวัดสงขลา ตามประกาศคณะกรรมการสิ่งแวดลอมแหงชาติ ฉบับ
ที่ 4 (พ.ศ. 2535) เรื่อง กําหนดใหทองที่เขต อ. หาดใหญ จังหวัดสงขลาเปนเขตควบคุมมลพิษ
• ทองที่เขต อ. เมือง จังหวัดสงขลา ตามประกาศคณะกรรมการสิ่งแวดลอมแหงชาติ ฉบับที่ 5
(พ.ศ. 2535) เรื่อง กําหนดใหทองที่เขต อ. เมือง จังหวัดสงขลาเปนเขตควบคุมมลพิษ
• ทองที่เขตหมูเกาะพีพี ต. อาวนาง อ. เมือง จังหวัดกระบี่ ตามประกาศคณะกรรมการ
สิ่งแวดลอมแหงชาติ ฉบับที่ 6 (พ.ศ. 2535) เรื่อง กําหนดใหทองที่เขตหมูเกาะพีพี ต. อาวนาง อ. เมือง
จังหวัดกระบี่เปนเขตควบคุมมลพิษ
• ทองที่เขตจังหวัดสมุทรปราการ ตามประกาศคณะกรรมการสิ่งแวดลอมแหงชาติ ฉบับที่ 9
(พ.ศ. 2537) เรื่อง กําหนดใหทองที่เขตจังหวัดสมุทรปราการเปนเขตควบคุมมลพิษ
• ทองที่เขตจังหวัดนนทบุรี จังหวัดปทุมธานี จังหวัดนครปฐม และจังหวัดสมุทรสาครตาม
ประกาศคณะกรรมการสิ่งแวดลอมแหงชาติ ฉบับที่ 11 (พ.ศ. 2538) เรื่อง กําหนดใหทองที่เขตจังหวัด
นนทบุรี จังหวัดปทุมธานี จังหวัดนครปฐม และจังหวัดสมุทรสาครเปนเขตควบคุมมลพิษ
• ทองที่เขต อ. บานแหลม อ. เมืองเพชรบุรี อ. ทายาง อ. ชะอํา จังหวัดเพชรบุรี และ อ. หัวหิน
กับ อ.ปราณบุรี จังหวัดประจวบคีรีขันธ ตามประกาศคณะกรรมการสิ่งแวดลอมแหงชาติ ฉบับที่ 13 (พ.ศ.
2539) เรื่อง กําหนดใหทองที่เขต อ. บานแหลม อ. เมืองเพชรบุรี อ. ทายาง อ. ชะอํา จังหวัดเพชรบุรี และ
อ. หัวหินกับ อ.ปราณบุรี จังหวัดประจวบคีรีขันธเปนเขตควบคุมมลพิษ
• ทองที่เขตตําบลหนาพระลาน อ. เฉลิมพระเกียรติ จังหวัดสระบุรี ตามประกาศคณะกรรมการ
สิ่งแวดลอมแหงชาติ ฉบับที่ 23 (พ.ศ. 2547) เรื่อง กําหนดใหทองที่เขตจังหวัดสระบุรี เปนเขตควบคุมมลพิษ
(4) การจัดทําแผนปฏิบัติการจัดการคุณภาพสิ่งแวดลอมระดับจังหวัด
มาตรการในการดําเนินการในการบริหารจัดการนั้น นอกเหนือจากการกําหนดการปองกันปญหา
และการจัดการในพื้นที่คุมครองหรือเขตควบคุมมลพิษแลว การจัดการสิ่งแวดลอมยังตองจัดทําแผนและ
ประสานความรวมมือกับประชาชน องคกรเอกชน และองคกรปกครองสวนทองถิ่น ในการอนุรักษและ
จัดการทรัพยากรธรรมชาติและควบคุมมลพิษ ดังนี้

กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม 2-19 กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม


หลักสูตรการจัดการมลพิษ โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

1) การวางแผนจัดการสิ่งแวดลอม
หลังจากที่คณะรัฐมนตรีประกาศ แผนจัดการคุณภาพสิ่งแวดลอม ซึ่งเปนแผนระดับชาติโดย
ผานความเห็นชอบจากคณะกรรมการสิ่งแวดลอมแหงชาติแลวในราชกิจจานุเบกษา1 แตละจังหวัดที่อยูใน
เขตพื้นที่คุมครองสิ่งแวดลอมหรือเขตควบคุมมลพิษ จะตองมีหนาที่จัดทําแผนปฏิบัติการเพื่อ
จัดการคุณภาพสิ่งแวดลอมระดับจังหวัด เพื่อเสนอใหคณะกรรมการสิ่งแวดลอมแหงชาติพิจารณาให
ความเห็นชอบภายใน 120 วัน นับแตวันที่คณะกรรมการฯ แจงใหจังหวัดจัดทํา แตระยะเวลาดังกลาว
คณะกรรมการสิ่งแวดลอมแหงชาติอาจขยายออกไดตามความเหมาะสม ทั้งนี้โดยมีผูวาราชการจังหวัดใน
จังหวัดนั้น2เปนผูรับผิดชอบในการดําเนินการ และในกรณีที่มีเขตติดตอกันหลายจังหวัดใหมีการจัดทําแผน
รวมกันในระหวางจังหวัดที่เกี่ยวของ3
สํ า หรั บ จั ง หวั ด ที่ ไ ม อ ยู ใ นเขตพื้ น ที่ ที่ จ ะต อ งจั ด ทํ า แผนปฏิ บั ติ ก ารเพื่ อ จั ด การคุ ณ ภาพ
สิ่งแวดลอม กฎหมายไมบังคับใหมีหนาที่จัดทําแผนดังกลาว แตถาจังหวัดนั้นเห็นควรจัดทําเพื่อปองกัน
ปญหามลพิษที่จะเกิดในอนาคต ก็อาจจัดทําแผนปฏิบัติการเพื่อจัดการคุณภาพสิ่งแวดลอมระดับจังหวัดได
และเสนอขอความเห็นชอบจากคณะกรรมการสิ่งแวดลอมแหงชาติ4
การจัดทําแผนปฏิบัติการ ฯ ระดับจังหวัดนี้ กฎหมายกําหนดแนวคิดและแผนปฏิบัติการ
โดยมี ง านหลั ก ที่ จ ะต อ งมี ใ นแผนดั ง กล า วไว ว า จะต อ งเสนอระบบการจั ด การคุ ณ ภาพสิ่ ง แวดล อ มตาม
แนวทางที่กําหนดไวในแผนจัดการคุณภาพสิ่งแวดลอม โดยคํานึงถึงสภาพความรุนแรงของปญหาและ
เงื่อนไขตางๆ ในดานเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดลอมของจังหวัดนั้น และควรตองมีสาระสําคัญในเรื่อง
ดังตอไปนี้
• แผนการควบคุมมลพิษจากแหลงกําเนิด
• แผนการจัดหาและใหไดมาซึ่งที่ดิน วัสดุ อุปกรณ เครื่องมือ และเครื่องใชจําเปนสําหรับ
การกอสราง ติดตั้ง ปรับปรุง ดัดแปลง ซอมแซม บํารุงรักษาและดําเนินการระบบบําบัดน้ําเสียรวม หรือ
ระบบกําจัดของเสียรวมของสวนราชการหรือราชการสวนทองถิ่น
• แผนการจัดเก็บภาษีอากร และคาบริการเพื่อการดําเนินการ และบํารุงรักษาระบบบําบัด
น้ําเสียรวมหรือระบบกําจัดของเสียรวม
• แผนการตรวจสอบ ติดตาม และควบคุมการปลอยทิ้งน้ําเสีย และของเสียอยางอื่นจาก
แหลงกําเนิดมลพิษ
• แผนการบังคับใชกฎหมายเพื่อปองกันและปราบปรามการละเมิดและฝาฝนกฎหมาย
เกี่ยวกับการควบคุมมลพิษ การอนุรักษธรรมชาติ ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดลอมศิลปกรรม5
คณะกรรมการสิ่ ง แวดล อ มแห ง ชาติ จ ะพิ จ ารณาแผนปฏิ บั ติ ก ารของจั ง หวั ด ที่ ไ ด เ สนอ
งบประมาณแผนดินและเงินกองทุนสิ่งแวดลอมสําหรับการกอสรางระบบบําบัดน้ําเสียรวมหรือระบบกําจัด
ของเสียรวมไวดวย สวนจังหวัดใดที่ยังไมพรอมที่จะดําเนินการจัดใหมีระบบบําบัดน้ําเสียรวมหรือระบบ
กําจัดของเสียรวม อาจเสนอแผนสงเสริมใหเอกชนมาลงทุนกอสรางและดําเนินการ เพื่อใหบริการในการ

1
โปรดดู พระราชบัญญัติสงเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอมแหงชาติ พ.ศ. 2535 มาตรา 35
2
โปรดดู พระราชบัญญัติสงเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอมแหงชาติ พ.ศ. 2535 มาตรา 37
3
โปรดดู พระราชบัญญัติสงเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอมแหงชาติ พ.ศ. 2535 มาตรา 40
4
โปรดดู พระราชบัญญัติสงเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอมแหงชาติ พ.ศ. 2535 มาตรา 37 วรรคทาย
5
โปรดดู พระราชบัญญัติสงเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอมแหงชาติ พ.ศ. 2535 มาตรา 38
กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม 2-20 กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม
หลักสูตรการจัดการมลพิษ โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

บําบัดและกําจัดน้ําเสียและของเสียในจังหวัดนั้นได6 ซึ่งแสดงใหเห็นวากฎหมายใหความสําคัญตอการ
วางแผนจัดการที่มีการจัดสรางระบบบําบัดน้ําเสียรวมและระบบกําจัดของเสียรวมเปนอันดับแรก
การจัดทําแผนปฏิบัติการระดับจังหวัดในเขตควบคุมมลพิษนั้น กฎหมายกําหนดใหผูวา
ราชการจังหวัดนั้นตองเสนอแผนปฏิบัติการเพื่อลดและขจัดมลพิษ7 ซึ่งเจาพนักงานทองถิ่นเปนผูจัดทําแผน
ดัง กล าว โดยมี เจ าพนั ก งานควบคุ ม มลพิ ษแนะนํ าและช ว ยเหลือตามความจํ าเป น และต อ งดํ าเนิ น การ
ดังตอไปนี้
• ทําการสํารวจและเก็บขอมูลเกี่ยวกับแหลงกําเนิดมลพิษที่มีอยูในเขตควบคุมมลพิษนั้น
• จัดทําบัญชีรายละเอียดแสดง จํานวน ประเภท และขนาดของแหลงกําเนิดมลพิษ ที่
ไดทําการสํารวจและเก็บขอมูลแลวขางตน
• ทําการศึกษา วิเคราะหและประเมินสถานภาพมลพิษ รวมทั้งขอบเขตความรุนแรง
ของสภาพปญหาและผลกระทบตอคุณภาพสิ่งแวดลอม เพื่อกําหนดมาตรการที่เหมาะสมและจําเปนในการ
ลดและขจัดมลพิษในเขตควบคุมมลพิษนั้น
• เสนองบประมาณในการขอจัดสรรงบประมาณแผนดินหรือกองทุนสิ่งแวดลอมสําหรับ
การกอสรางหรือดําเนินการเพื่อใหมีระบบบําบัดน้ําเสียรวมหรือระบบกําจัดของเสียรวมของทางราชการเทาที่
จําเปน
• ในกรณีที่ไมสามารถจัดหาที่ดินในการจัดตั้งระบบบําบัดน้ําเสียหรือกําจัดของเสีย
รวมของทางราชการได ใหหาที่ดินของเอกชนพรอมดวยคําขอเสนอจัดสรรงบประมาณในการจัดซื้อ แตถา
หาไมได ใหเสนอขอเวนคืนที่ดินดังกลาวตอรัฐมนตรีตามกฎหมายวาดวยการเวนคืนตอไป
2) การดําเนินการเกี่ยวกับการจัดระบบบําบัดน้ําเสียรวมหรือระบบกําจัดของเสียรวม
กฎหมายกําหนดใหองคกรสวนทองถิ่นมีหนาที่ในการจัดใหมีระบบบําบัดน้ําเสียรวม หรือ
ระบบกําจัดของเสียรวม ซึ่งอาจดําเนินการโดยใชงบประมาณแผนดิน หรือเงินรายไดของราชการสวน
ทองถิ่นนั้น และเงินกองทุนสิ่งแวดลอม และใหมีหนาที่ดําเนินงานและควบคุมการทํางานของระบบบําบัดน้ํา
เสียรวมหรือระบบกําจัดของเสียรวมดวย หรือจะจางผูที่ไดรับอนุญาตใหบริการบําบัดน้ําเสียรวมหรือระบบ
กําจัดของเสียรวม ตามกฎหมายเขามาเปนผูดําเนินการในทองถิ่นของตนก็ได8
การใหบริการบําบัดน้ําเสียหรือกําจัดของเสียนี้ ถาองคกรสวนทองถิ่นดําเนินการเอง สามารถ
เรียกเก็บคาบริการจากบุคคลที่ใชบริการตามอัตราที่คณะกรรมการสิ่งแวดลอมแหงชาติกําหนดโดยคําแนะนํา
ของคณะกรรมการควบคุมมลพิษและประกาศในราชกิจจานุเบกษา9 แตถาเปนการใหเอกชนเปนผูดําเนินการ
เอกชนที่ไดรับอนุญาตมีสิทธิเรียกเก็บคาบริการไมเกินอัตราตามที่กําหนดไวในกฎกระทรวงได10
สวนกรณีที่เจาของแหลงกําเนิดมลพิษใดที่ไมมีระบบบําบัดน้ําเสียหรือระบบกําจัดของเสีย
ของตนเองหลีกเลี่ยงไมชํ าระคาบริการหรือไมย อมสงน้ําเสียหรือของเสียมาบําบัดในระบบรวมที่ไดจั ด
ใหบริการ หรือปลอยน้ําเสียหรือของเสียออกสูสาธารณะ ตองโทษปรับสี่เทาของอัตราคาบริการจนกวาจะ
ปฏิบัติตาม11 และในกรณีที่เจาของแหลงกําเนิดมลพิษมีระบบบําบัดน้ําเสียหรือของเสียเองแลว แตไมบําบัด

6
โปรดดู พระราชบัญญัติสงเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอมแหงชาติ พ.ศ. 2535 มาตรา 39
7
โปรดดู พระราชบัญญัติสงเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอมแหงชาติ พ.ศ. 2535 มาตรา 37 วรรคสอง
8
โปรดดู พระราชบัญญัติสงเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอมแหงชาติ พ.ศ. 2535 มาตรา 77
9
โปรดดู พระราชบัญญัติสงเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอมแหงชาติ พ.ศ. 2535 มาตรา 88
10
โปรดดู พระราชบัญญัติสงเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอมแหงชาติ พ.ศ. 2535 มาตรา 73 วรรคทาย
11
โปรดดู พระราชบัญญัติสงเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอมแหงชาติ พ.ศ. 2535 มาตรา 90
กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม 2-21 กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม
หลักสูตรการจัดการมลพิษ โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

หรือกําจัดเอง กลับมาลักลอบสงน้ําเสียหรือของเสียมาปลอยทิ้งในระบบของทางราชการ ผูนั้นตองมีโทษ


ปรับรายวันไมเกินสี่เทาของจํานวนคาใชจายประจําวันสําหรับการเปดเครื่องบําบัดนั้น และจะตองชดใช
คาเสียหายอันเกิดจากการปลอยน้ําเสียหรือของเสียลงในระบบบําบัดน้ําเสียหรือของเสียรวมนั้น12 แตถา
ปลอยออกสูสาธารณะ ผูนั้นตองรับโทษปรับรายวันไมเกินสี่เทาของจํานวนคาใชจายประจําวันสําหรับการ
เปดเครื่องบําบัดของตน13
เงินคาบริการและเงินคาปรับดังกลาว องคกรสวนทองถิ่นสามารถนํามาเปนเงินที่ชดใชคืน
กองทุนสิ่งแวดลอมตามอัตราที่คณะกรรมการกองทุนกําหนด และนํามาใชในการบํารุงรักษาระบบบําบัดน้ํา
เสียรวมหรือระบบกําจัดของเสียรวม โดยไมตองนําสงเขากระทรวงการคลัง14
3) การตรวจสอบและควบคุมระบบบําบัดน้ําเสีย ระบบบําบัดอากาศเสีย ระบบกําจัดของเสียของ
เอกชน
การตรวจสอบควบคุมการทํางานของระบบบําบัดน้ําเสีย ระบบบําบัดอากาศเสีย และระบบ
กําจัดของเสียของเจาของหรือผูครอบครองแหลงกําเนิดมลพิษ หรือผูที่ไดรับอนุญาตใหดําเนินการใหบริการ
ดังกลาวตามกฎหมาย บุคคลเหลานี้ตองมีหนาที่เก็บสถิติและขอมูลซึ่งแสดงถึงผลการทํางานของระบบและ
อุ ป กรณ และเครื่ อ งมื อ ดั ง กล า วในแต ล ะวั น และต อ งบั น ทึ ก รายละเอี ย ดไว เ ป น หลั ก ฐาน ณ สถานที่ ตั้ ง
แหลงกําเนิดมลพิษ และตองทํารายงานสรุปผลการทํางานใหแกพนักงานทองถิ่นอยางนอยเดือนละครั้ง15
เมื่อพนักงานทองถิ่นไดรับรายงานแลว อาจทําความเห็นประกอบพรอมดวยรายงานสงให
เจาพนักงานควบคุมมลพิษในเขตทองถิ่นนั้นเพื่อทราบอยางนอยเดือนละครั้ง16
อยางไรก็ดี การดําเนินการในเรื่องดังกลาวยังไมมีผลในทางปฏิบัติเพราะยังไมมีกฎกระทรวงที่ออก
ตามความในมาตรา 80 กําหนดหลักเกณฑของการรายงานในทางปฏิบัติจึงเปนการรายงานตาม
พระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2535 ซึ่งไมใชการดําเนินการตามพระราชบัญญัติฉบับนี้

2.3.4 องคกรและเจาพนักงานผูปฏิบัติงานดานสิ่งแวดลอม

มาตรการหรื อ แนวทางต า งๆ ตามที่ ก ฎหมายได กํ า หนดไว นั้ น เป น มาตรการในการคุ ม ครอง


สิ่งแวดลอมหรือการควบคุมมลพิษ ซึ่งมาตรการที่สําคัญอยางหนึ่งตามที่ไดกําหนดไวในตามพระราชบัญญัติ
สงเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอมแหงชาติ พ.ศ. 2535 ไดแก การตรวจสอบและการควบคุมใหมีการ
ดําเนินการเปนไปตามมาตรการตางๆ กฎหมายไดกําหนดใหเปนหนาที่ของเจาหนาที่ของภาครัฐโดยตรงที่
จะตองรับผิดชอบ ซึ่งอาจมีหลายฝายที่จะเขารวมในการตรวจสอบ ซึ่งในสวนนี้จะกลาวถึงอํานาจหนาที่ของ
ผูปฏิบัติงานเกี่ยวกับการควบคุมและการจัดการมลพิษสิ่งแวดลอม ดังนี้
(1) เจาพนักงานทองถิ่น
พระราชบั ญ ญั ติ ส ง เสริ ม และรั ก ษาคุ ณ ภาพสิ่ ง แวดล อ มแห ง ชาติ พ.ศ. 2535 กํ า หนดให เ จ า
พนักงานทองถิ่น หมายถึง นายกเทศมนตรี ผูวาราชการจังหวัด ผูวาราชการกรุงเทพมหานคร ปลัดเมือง

12
โปรดดู พระราชบัญญัติสงเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอมแหงชาติ พ.ศ. 2535 มาตรา 91
13
โปรดดู พระราชบัญญัติสงเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอมแหงชาติ พ.ศ. 2535 มาตรา 92
14
โปรดดู พระราชบัญญัติสงเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอมแหงชาติ พ.ศ. 2535 มาตรา 93
15
โปรดดู พระราชบัญญัติสงเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอมแหงชาติ พ.ศ. 2535 มาตรา 80
16
โปรดดู พระราชบัญญัติสงเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอมแหงชาติ พ.ศ. 2535 มาตรา 81
กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม 2-22 กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม
หลักสูตรการจัดการมลพิษ โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

พัทยา และนายกองคการบริหารสวนตําบล ซึ่งจะมีอํานาจภายในเขตทองที่ของตนในการปฏิบัติหนาที่รับ


สถิติและขอมูลซึ่งแสดงการทํางานของระบบหรืออุปกรณและเครื่องมือสําหรับควบคุมจากเจาของหรือผู
ครอบครองแหลงกําเนิดมลพิษใหแกเจาพนักงานควบคุมมลพิษ
(2) เจาพนักงานควบคุมมลพิษ
เจาพนักงานควบคุมมลพิษตามพระราชบัญญัติสงเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอมแหงชาติ
พ.ศ. 2535 หมายถึง ผูซึ่งรัฐมนตรีแตงตั้งใหปฏิบัติการเกี่ยวกับการควบคุมมลพิษตามพระราชบัญญัตินี้
และไดกําหนดอํานาจหนาที่ของเจาพนักงานควบคุมมลพิษไว ดังนี้
1) เขาไปในอาคาร สถานที่ และเขตที่ตั้งโรงงานอุตสาหกรรมหรือแหลงกําเนิดมลพิษ ระหวาง
พระอาทิตยขึ้น-พระอาทิตยตก หรือระหวางเวลาทําการ (อาจจะเปนชวงเวลากลางคืนก็ได เพราะบางแหงมี
การทํางานตลอด 24 ชั่วโมง) โดยมีวัตถุประสงค ดังนี้
- เพื่อตรวจสอบสภาพการทํางานของระบบบําบัดน้ําเสีย ระบบกําจัดของเสีย ระบบบําบัด
อากาศเสีย หรืออุปกรณและเครื่องมือตางๆ
- เพื่อควบคุมการปลอยทิ้งอากาศเสียหรือมลพิษอื่น ตรวจบันทึกรายละเอียด สถิติ ขอมูล
เกี่ยวกับการทํางานของระบบหรืออุปกรณและเครื่องมือดังกลาว
- เมื่อมีเหตุอันควรสงสัยวามีการไมปฏิบัติตามพระราชบัญญัติสงเสริมและรักษาคุณภาพ
สิ่งแวดลอมแหงชาติ พ.ศ. 2535
2) อํานาจการสั่งการหรือลงโทษ
• กรณีที่แหลงกําเนิดมลพิษนั้นไมใชโรงงานอุตสาหกรรม
- ออกคําสั่งเปนหนังสือใหเจาของหรือผูครอบครอง ผูควบคุม หรือไดรับใบอนุญาต
รับจางเดินระบบบําบัดน้ําเสียหรือกําจัดของเสีย จัดการแกไข เปลี่ยนแปลง ปรับปรุง ซอมแซมระบบบําบัด
มลพิษตางๆ เพื่อควบคุมการปลอยมลพิษ
- ออกหนังสือสั่งปรับตามกรณีที่กําหนด สวนที่ 8 คาปรับและคาบริการ พระราชบัญญัติ
สงเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอมแหงชาติ พ.ศ. 2535
- สั่งใหหยุดหรือปดกิจการ หรือเพิกถอนใบอนุญาตผูรับจางใหบริการบําบัดมลพิษตางๆ
กรณีที่ไมปฏิบัติตามกฎหมาย (ทั้งพระราชบัญญัตินี้ กฎกระทรวง ขอบัญญัติทองถิ่น ระเบียบ ประกาศ หรือ
เงื่อนไขที่ออกตามพระราชบัญญัตินี้ หรือคําสั่งของเจาพนักงานควบคุมมลพิษ)
- ออกหนังสือเพิกถอนเปนผูควบคุม กรณีที่ฝาฝนตามกฎหมายที่กลาวขางตน
• กรณีที่แหลงกําเนิดมลพิษนั้นเปนโรงงานอุตสาหกรรม
- ตองแจงใหเจาพนักงานตามกฎหมายวาดวยโรงงานดําเนินการตามอํานาจหนาที่กอน
- กรณี ที่เจาพนักงานนั้นไมปฏิ บัติตามอํานาจดังกลาว ใหเจาพนั กงานควบคุ มมลพิ ษ
ดําเนินการตามที่กําหนดไวตามพระราชบัญญัติสงเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอมแหงชาติ พ.ศ. 2535 ได
ทันทีเหมือนแหลงกําเนิดที่ไมใชโรงงานอุตสาหกรรม
3) การประสานงานกับหนวยงานราชการอื่น
- เสนอแนะการสั่งปด การพักใช หรือการเพิกถอนใบอนุญาต การสั่งใหหยุดใชหรือทํา
ประโยชนใดๆ แกแหลงกําเนิดมลพิษที่ตองถูกควบคุม หรือแหลงกําเนิดที่ตองมีระบบบําบัดมลพิษเปนของ
ตนเอง

กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม 2-23 กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม


หลักสูตรการจัดการมลพิษ โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

- เสนอแนะใหมีการบังคับใชกฎหมายแกเจาพนักงานทองถิ่นในการใหแหลงกําเนิด
มลพิษตางๆ จัดสงน้ําเสียไปทําการบําบัดหรือกําจัดในระบบที่ทางราชการจัดไวให
- ให คํ า ปรึ ก ษาแก เ จ า พนั ก งานท อ งถิ่ น หรื อ ส ว นราชการที่ เ กี่ ย วข อ งในการดู แ ล
บํารุงรักษาระบบบําบัดน้ําเสียรวมของทางราชการที่อยูในความดูแลของเจาพนักงานทองถิ่น
4) หนาที่ของเจาของหรือผูครอบครองแหลงกําเนิดมลพิษ
- ใหอํานวยความสะดวกแกเจาพนักงานควบคุมมลพิษตามสมควร
- กรณี ไ ม พ อใจคํ า สั่ ง ของเจ า พนั ก งานควบคุ ม มลพิ ษ มี สิ ท ธิ ร อ งคั ด ค านคํ าสั่ ง นั้ น ต อ
คณะกรรมการควบคุมมลพิษภายใน 30 วัน
- กรณีไมพอใจคําวินิจฉัยของคณะกรรมการควบคุมมลพิษสามารถอุทธรณคําวินิจฉัย
นั้นตอรัฐมนตรีภายใน 30 วัน คําวินิจฉัยของรัฐมนตรีถือวาสิ้นสุด
(3) พนักงานเจาหนาที่
พนักงานเจาหนาที่ตามพระราชบัญญัติสงเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอมแหงชาติ พ.ศ. 2535
หมายถึง ผูซึ่งรัฐมนตรีแตงตั้งใหมีอํานาจหนาที่ตามพระราชบัญญัติ ซึ่งการกําหนดอํานาจของพนักงาน
เจาหนาที่ที่ไดรับการแตงตั้งนั้นจะเปนอํานาจในสวนที่เกี่ยวกับการควบคุมมลพิษทางอากาศและเสียง ซึ่ง
สามารถออกคํ า สั่ ง ห า มการใช พ าหนะใดๆ โดยการติ ด เครื่ อ งหมายหรื อ ยกเลิ ก เครื่ อ งหมายห า มใช ที่
ยานพาหนะที่เปนแหลงกําเนิดมลพิษนั้น รวมถึงการสั่งใหหยุดเพื่อตรวจสอบหรือเขาไปในยานพาหนะหรือทํา
การใดๆ ที่จําเปนเพื่อตรวจสอบได และสามารถวางโทษปรับแหลงกําเนิดมลพิษนั้นไดไมเกิน 5,000 บาท
นอกจากนี้ อํานาจหนาที่ของพนักงานเจาหนาที่ ซึ่งมีตําแหนงนักวิชาการสิ่งแวดลอมระดับ 3 ขึ้นไป สังกัด
สํานักวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม มี
อํานาจเขาไปตรวจสถานที่ซึ่งเปนที่ตั้งของโครงการหรือกิจการที่เสนอขอรับความเห็นชอบรายงานการ
วิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอมไดตามความเหมาะสม ทั้งนี้ เพื่อประโยชนในการพิจารณารายงานฯ
(4) ขอบเขตการใชอํานาจของผูปฏิบัติงานดานสิ่งแวดลอม
- เจ า พนั ก งานควบคุ ม มลพิ ษ อาศั ย อํ า นาจตามพระราชบั ญ ญั ติ ส ง เสริ ม และรั ก ษาคุ ณ ภาพ
สิ่งแวดลอมแหงชาติ พ.ศ. 2535 ซึ่งครอบคลุมทั่วราชอาณาจักรทั้งแหลงกําเนิดที่เปนโรงงานอุตสาหกรรม
และแหลงกําเนิดมลพิษที่ไมใชโรงงานอุตสาหกรรม
- พนักงานเจาหนาที่จะเปนผูมีอํานาจตามที่กฎหมายแตละฉบับกําหนดไวสําหรับการปฏิบัติงาน
ตางๆ ทั้งนี้ ยอมแตกตางกันออกไปตามวัตถุประสงคของกฎหมายนั้นๆ ซึ่งในสวนที่เกี่ยวกับการจัดการ
มลพิษดานสิ่งแวดลอม เชน พนักงานเจาหนาที่ตามพระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2535 จะมีขอบเขตอํานาจ
เฉพาะภายในเขตโรงงานอุตสาหกรรม เปนตน
ดั งนั้ น การใช อํ านาจในส วนการเข าไปควบคุ มมลพิ ษตามพระราชบั ญญั ติ ส งเสริ มและรั กษา
คุณภาพสิ่งแวดลอมแหงชาติ พ.ศ. 2535 สามารถทําไดตามที่กําหนดไว ทั้งนี้ หากแหลงกําเนิดมลพิษใดที่มี
กฎหมายกําหนดไวเปนการเฉพาะ ใหเจาพนักงานควบคุมมลพิษแจงใหพนักงานเจาหนาที่ตามกฎหมายนั้นๆ
ใชอํานาจหนาที่ของตนตามกฎหมายนั้นๆ กอน หากไมมีการใชอํานาจดังกลาว เจาพนักงานควบคุมมลพิษจึง
สามารถใชอํานาจที่มีตามพระราชบัญญัติสงเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอมแหงชาติ พ.ศ. 2535 ได

กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม 2-24 กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม


หลักสูตรการจัดการมลพิษ โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

2.4 สํานักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมจังหวัด (ทสจ.)

กฎกระทรวงแบงสวนราชการสํานักงานปลัดกระทรวง กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม
(ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2547 กลาวถึงราชการบริหารสวนภูมิภาค คือ สํานักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม
จังหวัด หรือ ทสจ. ซึ่งกําหนดอํานาจหนาที่เกี่ยวกับการจัดการดานสิ่งแวดลอมในระดับจังหวัด ไดแก การ
จัดทําแผนการจัดการสิ่งแวดลอมของจังหวัด แผนปฏิบัติการเพื่อจัดการคุณภาพสิ่งแวดลอมในระดับจังหวัด
รวมทั้งติดตามประเมินผลและตรวจสอบสถานการณสิ่งแวดลอมของจังหวัด ดําเนินการตามกฎหมายวาดวย
ป าไม กฎหมายว าด ว ยป า สงวนแห ง ชาติ กฎหมายว าด ว ยสวนป า กฎหมายว าด ว ยเลื่ อ ยโซ ย นต และ
กฎหมายวาดวยการสงวนและคุมครองสัตวปาและกฎหมายอื่นที่เกี่ยวของที่ไดรับมอบหมาย
นอกจากนี้ สํานักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมจังหวัดยังมีหนาที่ในการเฝาระวัง ตรวจสอบ
กํากับดูแล สงเสริม เผยแพร และบํารุงรักษาระบบเตือนภัยเกี่ยวกับทรัพยากรน้ําในระดับจังหวัด รวมทั้ง
ประสานการจัดทําแผนปฏิบัติการและติดตามประเมินผลการดําเนินงานของหนวยงานที่เกี่ยวของ การ
กํากับ ดูแลการประกอบกิจการน้ําบาดาลตามกฎหมายวาดวยน้ําบาดาลและกิจการน้ําประปา รวมถึงการ
สงเสริม เผยแพร และสรางการมีสวนรวมของประชาชนในการสงวน อนุรักษ และฟนฟูทรัพยากรธรรมชาติ
และสิ่งแวดลอมของจังหวัด และปฏิบัติงานรวมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติการของหนวยงานอื่นที่เกี่ยวของ
หรือที่ไดรับมอบหมาย ซึ่งอํานาจหนาที่ตามที่กลาวมานั้นเปนการมุงเนนเพื่ออนุรักษทรัพยากรธรรมชาติที่
เหลืออยู และฟนฟูทรัพยากรธรรมชาติในสวนที่เสื่อมโทรมหรือถูกทําลายไปใหกลับคืนมา

2.5 การใชมาตรการทางกฎหมายในการควบคุมสิ่งแวดลอม

การใชมาตรการในการบริหารจัดการสิ่งแวดลอมนั้น เปนมาตรการในการปองกันและบริหารจัดการมิ
ใหเกิดปญหาการลดลงของทรัพยากรธรรมชาติ และการเสื่อมโทรมของสภาพแวดลอม ตามที่กฎหมาย
บัญญัติ แตในกรณีที่มีการฝาฝนกฎหมายหรือมาตรการดังกลาว เจาพนักงานหรือเจาหนาที่ในกระบวนการ
ยุติธรรมจําเปนตองใชสภาพบังคับเพื่อบังคับใหเปนไปตามกฎหมาย ซึ่งในกฎหมายสิ่งแวดลอมมีอยู 3 กรณี
คือ สภาพบังคับทางแพง ทางอาญา และทางปกครอง ดังนี้
(1) สภาพบังคับทางแพง
1) ลักษณะของความรับผิด
การกอใหเกิดมลพิษและการทําลายทรัพยากรธรรมชาติ มิใชเปนการทําลายสิทธิของปจเจก
ชน แตเปนการกระทําตอทรัพยสินหรือประโยชนสวนรวมของประชาชนดวย ดังนั้น ความเสียหายที่ผูกระทํา
ไดกอใหเกิดขึ้นจึงมีผลกระทบอยางกวางขวางและเกิดเปนเวลานาน ซึ่งอาจมีผลตอคนรุนหลังได เชน มลพิษ
ทางน้ําที่ทําใหน้ําเสียทั้งลุมน้ํา การทําลายปาไม หรือการทิ้งสารเคมีอันตราย ผลของสารกัมมันตรังสีที่รั่วไหล
เปนตน ดังนั้น การบังคับทางแพงนี้จึงมีความมุงหมายที่จะใหรัฐเปนผูดําเนินการเรียกรองคาสินไหมทดแทน
ทางละเมิ ด ในกรณี ที่ เ กิ ด ความเสี ย หายแก ท รั พ ยากรธรรมชาติ ห รื อ แก สิ่ ง แวดล อ มส ว นรวม และใน
ขณะเดียวกัน ประชาชนที่ไดรับความเสียหายเฉพาะตัวสามารถฟองเรียกรองคาเสียหายได เชน ไดรับ
สารพิษจากการปลอยน้ําเสีย หรือเจ็บปวยในระบบทางเดินหายใจเพราะเหตุโรงงานปลอยอากาศพิษออกจาก
โรงงานของตนโดยไมบําบัดตามที่กฎหมายกําหนด
ตามกฎหมายสิ่งแวดลอมนั้น มีมาตรการพิเศษในการดําเนินการเรียกรองคาสินไหมทดแทน
ทางแพง โดยการที่รัฐหรือเอกชนสามารถเรียกใหผูกอมลพิษชดใชคาเสียหายไวเปนพิเศษ เพื่อใหสอดคลอง
กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม 2-25 กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม
หลักสูตรการจัดการมลพิษ โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

กับหลักการผูกอมลพิษเปนผูจายคาขจัดหรือบําบัดมลพิษ (polluter pay principle) และเพื่อใหการบังคับให


เปนไปตามกฎหมายอยางเปนธรรมเนื่องจากมีความยากและมีขอจํากัดในการพิสูจน กฎหมายไดกําหนดให
ความรับผิดในทางแพงตามกฎหมายสิ่งแวดลอม เปนความรับผิดที่ไมตองมีเจตนา (strict liability)
กลาวคือ เจาของแหลงกําเนิดมลพิษจะตองรับผิดในความเสียหายที่เกิดขึ้นแมวามิไดกระทําโดยจงใจ หรือ
ประมาทเลินเลอ ยกเวนเปนเหตุสุดวิสัย17 เชน ฟาผาถังน้ํามันทําใหน้ํามันลุกไหมและเกิดควันพิษ เปนตน
ขอยกเวนความรับผิดอีกขอหนึ่ง คือ การกระทําตามคําสั่งของรัฐบาลหรือเจาพนักงานของรัฐ หมายถึง
ถาการกอใหเกิดความเสียหายนั้นเปนเพราะไดรับคําสั่งจากรัฐบาลใหกระทําการหรือไดรับคําสั่งจากเจา
พนักงานควบคุมมลพิษ เจาหนาที่สาธารณสุขใหดําเนินการ ดังนี้ ไดรับการยกเวนความรับผิดไมตองชดใช
คาเสียหาย
ขอยกเวนประการสุดทาย คือ การกระทําของตัวผูเสียหายเองหรือโดยออม เชน เหตุ
แหงการรั่วไหลของมลพิษ เปนเพราะตัวผูเสียหายเปนผูกอ เชน ผูเสียหายใชใหคนขุดทอสงแกส แตไมระวัง
ทําใหทอแกสรั่วเกิดมลพิษแกตัวผูเสียหายและครอบครัว หรือเปนเพราะตัวผูเสียหายเขามาในเขตอันตราย
โดยตัดชองที่กั้นมิใหคนเขาไปและแสดงปายหามเขาชัดเจน ทั้งนี้โดยประสงคจะลักเอาทรัพยในเขตดังกลาว
ไป จึงไดรับความเสียหายจากมลพิษที่รั่วไหลหรือที่อยูในบริเวณนั้น
2) ผู รั บ ผิ ด ในความเสี ย หายที่ เ กิ ด จากแหล ง กํ า เนิ ด มลพิ ษ คื อ เจ า ของหรื อ ผู ค รอบครอง
แหลงกําเนิดมลพิษ ความหมายของ "เจาของ" หมายถึง ผูเปนเจาของกรรมสิทธิ์ตามกฎหมาย เชน เปน
เจาของโรงงานหรือเจาของสถานประกอบการ สวนคําวา "ผูครอบครอง" หมายถึง ผูมีสิทธิครอบครอง
แหลงกําเนิดมลพิษนั้น เชน เปนผูเชาหรือผูที่เจาของใหดูแลแหลงกําเนิดมลพิษนั้นแทนเจาของ ดังนั้น บุคคล
ทั้งสองประเภทนี้จะเปนจําเลยที่ผูเสียหายจะฟองตอศาลแพงใหรับผิดชดใชคาเสียหาย
3) คาสินไหมทดแทนหรือคาเสียหายที่ตองชดใช หมายความวา เปนคาเสียหายที่ชดใชใหแก
ผู เ สี ย หายโดยทั่ ว ไปจะคิ ด เป น เงิ น โดยคํ า นวณจากความเสี ย หายที่ ไ ด รั บ เช น ค ารั ก ษาพยาบาลหรื อ
คาชดเชยที่สูญเสียอวัยวะตางๆ เชน เสียแขน ขา มือ เปนตน แตตองไมเกินกวาความเสียหายจริง อยางไร
ก็ดี ความเสียหายนี้อาจเปนความเสียหายในอนาคตที่ผูนั้นจะไดประโยชนจากสิ่งที่เสียไป ซึ่งศาลจะคํานวณ
ใหตามที่เห็นสมควร
นอกจากนี้ กฎหมายกําหนดใหหมายรวมถึง คือ คาใชจายที่ทางราชการตองรับภาระจายจริงใน
การขจัดมลพิษที่เกิดขึ้นดวย เชน กรณีเรือบรรทุกน้ํามันรั่ว การที่ทางราชการตองขจัดคราบน้ํามันใหหมด

17
พระราชบัญญัติสงเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอมแหงชาติ พ.ศ. 2535 มาตรา 96 ” แหลงกําเนิดมลพิษใดกอใหเกิด
หรือเปนแหลงกําเนิดของการรั่วไหลหรือแพรกระจายของมลพิษอันเปนเหตุใหผูอื่นไดรับอันตรายแกชีวิต รางกายหรือ
สุขภาพอนามัย หรือเปนเหตุใหทรัพยสินของผูอื่นหรือของรัฐเสียหายดวยประการใดๆ เจาของหรือผูครอบครองแหลงกําเนิด
มลพิษนั้น มีหนาที่ตองรับผิดชดใชคาสินไหมทดแทนหรือคาเสียหายเพื่อการนั้น ไมวาการรั่วไหลหรือแพรกระจายของ
มลพิษนั้นจะเกิดจากการกระทําโดยจงใจหรือประมาทเลินเลอของเจาของหรือผูครอบครองแหลงกําเนิดมลพิษหรือไมก็ตาม
เวนแตในกรณีที่พิสูจนไดวามลพิษเชนวานั้นเกิดจาก
(1) เหตุสุดวิสัยหรือการสงคราม
(2) การกระทําตามคําสั่งของรัฐบาล หรือเจาพนักงานของรัฐ
(3) การกระทําหรือละเวนการกระทําของผูที่ไดรับอันตรายหรือผูไดรับความเสียหายเองหรือของบุคคลอื่น ซึ่งมี
หนาที่รับผิดชอบโดยตรงหรือโดยออมในการรั่วไหลหรือการแพรกระจายของมลพิษนั้น
คา สิ น ไหมทดแทน หรื อ ค า เสี ย หาย ซึ่ ง เจ า ของหรื อ ผู ค รอบครองแหล ง กํ า เนิ ด มลพิ ษ มี ห น า ที่ ต อ งรั บ ผิ ด ตามวรรคหนึ่ ง
หมายความรวมถึงคาใชจายทั้งหมดที่ทางราชการตองรับภาระจายจริงในการขจัดมลพิษที่เกิดขึ้นนั้นดวย
กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม 2-26 กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม
หลักสูตรการจัดการมลพิษ โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

ไปโดยเสียเงินคาใชจายเทาใด หรือการทําใหรัฐตองบําบัดน้ําเสีย เปนตน ซึ่งตรงกับหลักการแลวผูกอมลพิษ


ตองเปนผูจาย (polluter pay principle)
ความเสียหายที่เรียกไดเปนพิเศษ คือ คาเสียหายที่เกิดแกทรัพยากรธรรมชาติที่เปนของรัฐหรือ
สาธารณสมบัติของแผนดิน18 ซึ่งเปนความเสียหายที่ผูกอมลพิษหรือทําลายทรัพยากรธรรมชาติตองชดใช
ใหแกรัฐ เชน การปลอยน้ําเสียทําใหปลาในลําน้ําถึงแกความตายเปนจํานวนมาก หรือการตัดไมหรือบุกรุก
เขาไปถางปาในเขตรักษาพันธุสัตวปา ทําใหสภาพปาสูญเสียไป หรือการทําใหแหลงตนน้ําลําธารเสียหาย
หรือทําลายสัตวปา เปนตน สวนสาธารณสมบัติของแผนดิน ไดแก การทําลายที่ชายตลิ่งหรือชายทะเลหรือ
ทําใหบริเวณที่เปนที่ประชาชนใชรวมกันเสียหาย ซึ่งคาเสียหายเหลานี้โดยทั่วไปแลวเอกชนหรือประชาชน
จะไมไดฟองเรียกรองคาเสียหายแมวาจะมีสวนไดเสียจากการที่ทรัพยากรธรรมชาติทําลายไปก็ตาม การ
ฟองเรียกตองในกรณีหลังนี้ เปนหนาที่ของหนวยงานของรัฐที่ดูแลรับผิดชอบ
(2) สภาพบังคับทางอาญา
1) ลักษณะของความผิดและการบังคับโทษ
กฎหมายทุ ก ฉบั บ ที่ ต ราขึ้ น หากรั ฐ ประสงค จ ะบั ง คั บ ให เ ป น ไปตามกฎหมาย รั ฐ จะต อ ง
กําหนดโทษทางอาญาใหสําหรับผูที่ฝาฝนขอหามดังกลาว กฎหมายสิ่งแวดลอมทุกฉบับใชมาตรการทาง
อาญาตามหลักขางตน โดยกําหนดบทลงโทษทางอาญาโดยเฉพาะโทษจําคุก โทษปรับ และริบ
ทรัพยสินไวในกฎหมาย เพื่อเปนมาตรการที่เขมงวดสําหรับการบังคับใหคนเชื่อฟงและปฏิบัติตาม
อยางไรก็ดี การกระทําความผิดในกฎหมายสิ่งแวดลอมมีลักษณะของการฝาฝนมาตรการคุมครองความ
ปลอดภัยในชีวิตความเปนอยูของประชาชนซึ่งไมถือวาเปนการกระทําที่รายแรงเหมือนเชนอาชญากรรม
โดยทั่วไป ดังนั้นโทษที่นํามาใชลงโทษจึงเนนโทษปรับแทนการนําไปฝกอบรมฟนฟูในเรือนจํา ดังนั้น การใช
มาตรการทางอาญาแกผูฝาฝนกฎหมายสิ่งแวดลอมสวนใหญไมเนนการฟองคดีอาญาตอศาล แตอาจบังคับ
โทษปรับโดยเจาพนักงานที่มีอํานาจเปรียบเทียบตามกฎหมายพิเศษ หรือคณะกรรมการเปรียบเทียบปรับ
ตามกฎหมายพิ เ ศษบางฉบั บ เพื่ อ ให เ กิ ด ความรวดเร็ ว และมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพในการบั ง คั บ ให เ ป น ไปตาม
กฎหมาย
นอกจากนี้ แมวากฎหมายจะไมไดกําหนดหลักเกณฑทั่วไปไวสําหรับการนํามาใชกับความผิด
ที่เกี่ยวกับการทําลายทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม แตโดยหลักทั่วไปแลวผูบังคับใชกฎหมายจะตอง
ปฏิบัติตามหลักเกณฑที่กําหนดไวในประมวลกฎหมายอาญา หากกฎหมายสิ่งแวดลอมไมไดกําหนดไวเปน
พิเศษ ไดแก การใชวิธีการเพื่อความปลอดภัยเพื่อใชปองกันการกอมลพิษสําหรับผูที่จะกอมลพิษ19 หรือการ
ใชหลักกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาเพื่อจับหรือคน หรือดําเนินการสอบสวนผูกระทําความผิด นอกจากนี้
ความรั บผิดทางอาญาซึ่ งมี หลั กว าผู กระทําความผิ ดต องกระทํ าโดยเจตนา20 เว นแต กฎหมายบั ญญั ติ ไว
โดยเฉพาะให ต องรั บผิ ดทางอาญาแม ว าไม ได กระทํ าโดยเจตนา แต ได กระทํ าโดยประมาท เป นต น ใน
กฎหมายสิ่งแวดลอมไดใชหลักการเดียวกันนี้ในการควบคุมพฤติกรรมของคนที่ฝาฝนบทบัญญัติที่ถือเปน
ความผิดอาญาตามที่กฎหมายแตละฉบับกําหนด
18
พระราชบัญญัติสงเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอมแหงชาติ พ.ศ. 2535 มาตรา 97 “ผูใดกระทําหรือละเวนการกระทํา
ดวยประการใดโดยมิชอบดวยกฎหมาย อันเปนการทําลายหรือทําใหสูญหายแกทรัพยากรธรรมชาติซึ่งเปนของรัฐหรือเปน
สาธารณสมบัติของแผนดิน มีหนาที่ตองรับผิดชอบชดใชคาเสียหายใหแกรัฐตามมูลคาทั้งหมดของทรัพยากรธรรมชาติที่ถูก
ทําลาย สูญหายหรือเสียหายไปนั้น"
19
โปรดดู ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 39
20
โปรดดู ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 59
กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม 2-27 กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม
หลักสูตรการจัดการมลพิษ โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

การบังคับใชสภาพบังคับทางอาญาตามกฎหมายสิ่งแวดลอมนี้ มุงเนนการลงโทษเพื่อให
เกิดการยับยั้งมิใหกระทําผิด (deterrent) เปนสําคัญ จึงใชการลงโทษปรับที่มีจํานวนคาปรับสูงเปน
หลัก แตหากเปนการทําลายทรัพยากรธรรมชาติที่รายแรงจะลงโทษจําคุกสูง21 แตไมถึงประหารชีวิต
เปนตน
2) เจาพนักงานที่ดําเนินคดีกับผูกระทําผิด
เจ าพนักงานผู ทําหน าที่ เป นผู ตรวจตราและดําเนิ นคดีกั บผู กระทํ าความผิ ดตามกฎหมาย
สิ่งแวดล อมนั้ นเป นหน าที่ ของพนั กงานเจาหนาที่ ที่ กฎหมายแตละฉบั บกําหนดไว โดยเฉพาะ เช น
เจาหนาที่โรงงานอุตสาหกรรม เจาพนักงานควบคุมมลพิษ เจาหนาที่สาธารณสุข เปนตน ซึ่งกฎหมายเหลานี้
มักจะระบุไววา มีฐานะเปนพนักงานฝายปกครองหรือตํารวจตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา
ซึ่งเจาพนักงานดังกลาว นอกจากจะมีหนาที่ดูแลเพื่อใหมีการปฏิบัติใหเปนไปตามกฎหมายแลว หากมีการฝา
ฝ น ก็ จ ะต อ งดํ า เนิ น คดี อ าญาโดยการจั บ หรื อ ตรวจค น ตามอํ า นาจที่ ก ฎหมายกํ า หนด อย า งไรก็ ดี ใน
พระราชบัญญัติสงเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอมแหงชาติ พ.ศ. 2535 มาตรา 82 กําหนดอํานาจหนาที่
ของพนักงานควบคุมมลพิษไว วามีอํานาจในการตรวจตราใหเปนไปตามพระราชบัญญัติดังกลาว แตหาก
พบวามีการกระทําความผิดตามกฎหมายสิ่งแวดลอม จะตองแจงใหพนักงานสอบสวนดําเนินการตาม
กฎหมาย เนื่องจากกฎหมายมิไดใหอํานาจในการจับกุมหรือปราบปรามไวดังเชนกฎหมายอื่นๆ ที่ใหอํานาจ
เจาพนักงานซึ่งมีฐานะเปนพนักงานฝายปกครองและตํารวจ22
การสอบสวนความผิดตามกฎหมายสิ่งแวดลอม ยังคงอยูกับพนักงานสอบสวนตามประมวล
กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา ซึ่งโดยสวนใหญจะเปนเจาพนักงานตํารวจระดับนายรอยตํารวจตรีขึ้นไป
ในสังกัดสํานักงานตํารวจแหงชาติ แตบางกรณีในตางจังหวัด อาจมีการหัวหนาพนักงานสอบสวนเปน
นายอําเภอหรือผูวาราชการจังหวัดได เชน ความผิดเกี่ยวกับการตัดไมทําลายปา เปนตน และในปจจุบัน
ความผิดตามกฎหมายสิ่งแวดลอมเปนความผิดหนึ่งที่ สามารถสอบสวนไดโดยเจาหนาที่ของกรมสอบสวน
คดีพิเศษ23
3) องคประกอบความผิด และเนื้อหาของความรับผิด
บางกรณีมีความซอนกันในกฎหมายแตละฉบับ และในบางเรื่องจะตองพิจารณากฎหมาย
ลําดับรองดวย เชน ประกาศหรือกฎกระทรวงตามที่กําหนดไว แลว เชนการปลอยน้ําเสียออกสูแหลงน้ํ า
สาธารณะอาจเปนความผิดตามกฎหมายหลายฉบับ ซึ่งแมวากฎหมายจะกําหนดใหศาลลงโทษบทหนักไดแต
เพียงบทเดียวก็ตาม แตการดําเนินคดี พนักงานสอบสวนจะตองแจงขอหาที่เกี่ยวของทั้งหมดกอน ดังนั้น
พนักงานสอบสวนจะตองมีหนาที่รวบรวมพยานหลักฐานที่เกี่ยวของกับความผิดที่เขาขายความผิดตาม

21
ในทางปฏิบัติ ศาลจะไมรอการลงโทษในกรณีที่เปนการกระทําอันเปนการทําลายทรัพยากรธรรมชาติ เพราะถือเปนความผิด
ที่รายแรงเปนภัยตอสาธารณะ เชน ฎีกาที่ 412/2540 ฎ.ส. เลม 2 หนา 117 และ ฎีกาที่ 534/2542 ฎ.ส. เลม 3 หนา 77
22
ขอสังเกตในเรื่องนี้ ขอใหพิจารณาดูกฎหมายที่ใหอํานาจพนักงานเจาหนาที่บังคับใหเปนไปตามกฎหมายนั้นวา หากใหมี
ฐานะเปนพนักงานฝายปกครองหรือตํารวจตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา จะมีอํานาจเชนเดียวกับพนักงาน
ตํารวจที่จะสามารถจับกุมหรือตรวจคนบุคคลไดเมื่อมีการกระทําความผิดทางอาญาขึ้น หากมีอํานาจในฐานะเปนเจาพนักงาน
ในประมวลกฎหมายอาญา ก็จะไมมีอํานาจจับกุมในความผิดอาญา แตจะไดรับการคุมครองตามประมวลกฎหมายอาญา และ
สามารถออกคําสั่งเพื่อบังคับใหเปนไปตามกฎหมายได หากผูใดฝาฝนจะเปนความผิดทางอาญาฐานขัดคําสั่งเจาพนักงานหรือ
ขัดขวางการปฏิบัติหนาที่ของเจาพนักงานซึ่งเปนความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 138,140 หรือ 367 เปนตน
23
โปรดดู พระราชบัญญัติกรมสอบสวนคดีพิเศษ พ.ศ. 2547
กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม 2-28 กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม
หลักสูตรการจัดการมลพิษ โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

พระราชบัญญัติที่เกี่ยวของทั้งหมดและสอบสวนผูตองหาโดยแจงขอกลาวหาและรายละเอียดที่เกี่ยวของ
ทั้งหมดดวย24 สวนการลงโทษนั้น ศาลจะลงโทษบทหนักเพียงบทเดียว25
การดําเนินคดีในความผิดตอสิ่งแวดลอมบางฉบับ เชน พระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2535
มาตรา 64 พระราชบัญญัติรักษาความสะอาดและความเปนระเบียบเรียบรอยของบานเมือง พ.ศ. 2535
กําหนดใหประชาชนที่อาศัยบริเวณโรงงานหรือประชาชนผูพบเห็นการกระทําความผิดเปนผูเสียหายในการ
กระทําที่โรงงานหรือมีผูทําผิดตามกฎหมายทั้งสองฉบับนี้ ซึ่งหลักการนี้เทากับเปนการขยายหลักการของ
คําวา “ผูเสียหาย” ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 2 (4) ซึ่งหมายความวา เปนผูที่
ไดรับความเสียหายโดยตรงจากการกระทําความผิดอาญาฐานนั้น แตตามกฎหมายทั้งสองฉบับ ผูที่เปน
ผูเสียหายในคดีอาญาอาจยังไมไดรับความเสียหายก็ได แตกฎหมายใหถือวาเปนผูเสียหายตามกฎหมายวิธี
พิจารณาความอาญา จึงมีสิทธิที่จะรองทุกขหรือฟองคดีอาญาในความผิดตามพระราชบัญญัตินั้นได
(3) สภาพบังคับทางปกครอง
การบั งคั บทางปกครองนี้ ถือ เป นมาตรการหลั กที่ กฎหมายสิ่ง แวดล อ มกํา หนดไวเ พื่อ ให เจ า
พนักงานที่บังคับใหเปนไปตามกฎหมายนํามาใชเพื่อกําหนดหลักเกณฑและรายละเอียดของมาตรการใน
การควบคุมมลพิษ อาทิ การออกกฎกระทรวงหรือประกาศกระทรวง กําหนดมาตรการที่นํามาใชกับการ
ควบคุมมลพิษทางน้ํา ทางอากาศ หรือเสียง เปนตน สวนในระดับทองถิ่น เชน เทศบาล เปนตน กฎหมาย
กํา หนดให ส ามารถตราข อ บั งคั บ ท อ งถิ่ น เพื่ อกํ า หนดมาตรฐานคุ มครองมลพิ ษ ที่ เข ม งวดกว า มาตรฐาน
ระดับชาติได ตามหลักเกณฑที่กฎหมายกําหนด นอกจากการตรากฎ ระเบียบหรือประกาศแลว การออก
คําสั่งทางปกครอง ยังรวมถึงการออกคําสั่งอนุญาต ไมอนุญาต ใหประทานบัตร เพิกถอนประทานบัตร การ
สั่งใหแกไขเหตุเดือดรอนรําคาญ แกไขการทํางานของระบบบําบัดหรือกําจัดของเสีย หรือการรื้อถอนสิ่งปลูก
สรางที่ทําลายทรัพยากรธรรมชาติ หรือกําจัดมลพิษ เพื่อปองกันปญหามลพิษได ซึ่งในกรณีหลังนี้ เมื่อ
ดําเนินการแลวยังสามารถเรียกคาใชจายจากผูกอมลพิษได เชน การรื้ออาคารที่กอสรางโดยไมขออนุญาต
หรือการขจัดคราบน้ํามันที่เรือบรรทุกน้ํามันปลอยน้ํามันใหรั่วไหลลงสูนานน้ําไทย เปนตน
นอกจากการออกคําสั่งทางปกครอง ซึ่งสามารถดําเนินการไดโดยไมตองนําคดีมาฟองตอศาล
เพื่อบังคับใหเปนไปตามกฎหมายแลว หากมีความเสียหายอันเกิดจากการกระทําละเมิดของหนวยราชการ
ดวยกัน การบังคับใหเปนไปตามกฎหมาย เจาพนักงานอาจใชมาตรการที่ขอใหศาลปกครองบังคับใหเปนไป
ตามกฎหมายไดดวย ตามหลักเกณฑที่กําหนดไวในพระราชบัญญัติจัดตั้งและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ.
2542 ในทางตรงกันขาม หากคําสั่งทางปกครองของเจาพนักงานที่สั่งการเพื่อบังคับใหเปนไปตามกฎหมาย
เมื่ อ สั่ ง บั ง คั บ แก ป ระชาชนหรื อ ผู ก อ มลพิ ษ แล ว บุ ค คลที่ ไ ด รั บ คํ า สั่ ง อาจโต แ ย ง โดยการอุ ท ธรณ ต อ
คณะกรรมการอุทธรณในกฎหมายแตละฉบับ หรือฟองเพิกถอน หรือฟองเรียกคาเสียหายทางละเมิดอันเกิด
จากการกระทําของเจาพนักงานได ตอศาลปกครอง
อยางไรก็ดี แมวากฎหมายสิ่งแวดลอม ไดกําหนดมาตรการทั้งสามประการไวในกฎหมายอยาง
ชั ด เจนแล ว แต ก ารบั ง คั บ ใช ก ฎหมายแก ผู ทํ า ลายทรั พ ยากรธรรมชาติ หรื อ ผู ก อ มลพิ ษ นั้ น ยั ง ไม ไ ด
ดําเนินการไดอยางทั่วถึงและมีประสิทธิภาพ ทั้งนี้เพราะมีขอจํากัดอยูหลายประการ ดังจะกลาวในขอ 4
(4) ปญหาการบังคับใชกฎหมายสิ่งแวดลอม
เหตุที่ไมอาจดําเนินการบังคับใชกฎหมายสิ่งแวดลอมไดอยางมีประสิทธิภาพนั้น พอสรุปลักษณะ

24
ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 134 และรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย มาตรา 237
25
ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 90
กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม 2-29 กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม
หลักสูตรการจัดการมลพิษ โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

ของปญหาได ดังนี้
1) การมีกฎหมายเฉพาะเรื่อง และมีอยูกระจัดกระจายไมไดเปนระบบเดียวกัน เปนปญหา
สําคัญอยางยิ่งของการบริหารจัดการสิ่งแวดลอม เพราะทําใหขาดเอกภาพในการบริหารจัดการอยางมี
ประสิทธิภาพ ทั้งนี้ เพราะกฎหมายสิ่งแวดลอมมิไดบัญญัติมาอยางเปนระบบตั้งแตแรก เพราะยังอยูในชวง
พัฒนากฎหมายสิ่งแวดลอมซึ่งเปนปญหาของทุกประเทศ ทั้งนี้ เพราะการตรากฎหมายขึ้นเพื่อใชบังคับกับ
ปญหาสิ่งแวดลอมนั้น เดิมมิไดเปนปญหาที่เกิดขึ้นในสังคมเกษตรกรรม หรือสังคมที่ไมมีความแออัดมากนัก
แต พ อมี ก ารเจริ ญ เติ บ โตทางด า นเศรษฐกิ จ จึ ง มี ผ ลต อ การเปลี่ ย นแปลงทางสั ง คม วั ฒ นธรรมและ
สภาพแวดลอมที่ดี จึงไดมีการตรากฎหมายเพื่อควบคุมพฤติกรรมของคนที่จะนําไปสูการกอใหเกิดมลพิษ
หรือการใชทรัพยากรธรรมชาติอยางฟุมเฟอย หรือสิ้นเปลือง หรือการกอใหเกิดปญหามลพิษที่มีผลกระทบ
ต อ คนจํ า นวนมากหรื อ ต อ พื้ น ที่ ที่ ก ว า งขวาง เป น ต น ดั ง นั้ น ลั ก ษณะของการตรากฎหมายจึ ง เป น การ
ตอบสนองตอการเกิดปญหามลพิษในแตละดานและเฉพาะกรณี แตลักษณะของการปองกันและควบคุม
สิ่งแวดลอมนั้น ไมสามารถที่จะแกไขโดยแกไขดานใดดานหนึ่งเพียงดานเดียวแตตองวางแผนทั้งระบบ
2) การขาดการตรากฎหมายลําดับรองในบางเรื่อง กลาวคือ การออกกฎกระทรวง ประกาศเพื่อ
บังคับใหเปนไปตามพระราชบัญญัติ เชน กฎกระทรวงในการบันทึกผล และรายงานการทํางานของระบบบําบัด
อากาศเสียหรือน้ําเสีย ตามมาตรา 80 แหงพระราชบัญญัติสงเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอมแหงชาติ พ.ศ.
2535 หรือการกําหนดเกณฑคาปรับ 4 เทาของคาใชจายในการบําบัดมลพิษ เปนตน
ปญหาทางปฏิบัติสําหรับผูใชกฎหมายและผูที่จะถูกบังคับใชกฎหมาย คือ บุคคลเหลานี้ไม
ทราบวากฎกระทรวงประกาศมีการเปลี่ยนแปลงแกไขอยางไร เพราะแมวาจะไดมีการประกาศในราชกิจจา
นุเบกษาแลวก็ตาม (ซึ่งถือวาเปนขอมูลที่ประชาชนตองรับทราบและจะปฏิเสธวาไมทราบไมได) แตเปนการ
ยากสําหรับผูที่ไมไดติดตามความเปลี่ยนแปลงของกฎหมายอยางสม่ําเสมอที่จะทราบไดทั้งหมด ดวยเหตุนี้
จึงปรากฏเสมอวาแมวาเปนเจาพนักงานของรัฐที่มีหนาที่ในการบังคับใชกฎหมายดวยกัน แตบังคับใช
กฎหมายคนละฉบับในการควบคุมมลพิษหรือทรัพยากรธรรมชาติประเภทเดียวกันอาจไมทราบและมิได
บังคับใชเปนไปตามกฎหมายเหลานั้นได เพราะความไมรูกฎหมายลําดับรองเหลานี้ นอกจากนี้ การที่แตละ
หนวยงานไดออกกฎหมายลําดับรองโดยพิจารณาถึงความจําเปนภายใตกฎหมายที่ใหอํานาจนั้น กฎหมาย
ลําดับรองดังกลาวอาจมีกฎเกณฑในการควบคุมสิ่งแวดลอมในเรื่องเดียวกันที่มีมาตรฐานแตกตางกันก็ได
เพราะมีเหตุผลในการตรากฎหมายลําดับรองที่แตกตางกัน จึงเปนปญหาการบังคับใชกฎหมายที่กอใหเกิด
ความสับสนในอนาคต
3) ความเปนระบบในการกําหนดนโยบายและมาตรการที่นํามาใชควบคุมสิ่งแวดลอมอยางเปน
เอกภาพและเชื่อมโยงกันในหนวยงานที่เกี่ยวของ กฎหมายที่ตราขึ้นในแตละเรื่องจึงมีความหลากหลายใน
เหตุผลและเจตนารมณที่ตรากฎหมายขึ้นมา กฎหมายสิ่งแวดลอมอยูในหนวยงานหรือความรับผิดของหลาย
หนวยงานแมปจจุบันกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมรับผิดชอบโดยตรง นอกจากนี้ กฎหมายที่
ตราขึ้นก็มิไดมุงประสงคจะกําหนดมาตรการที่มุงคุมครองสิ่งแวดลอมเปนหลัก หากแตเปนมาตรการที่ใหการ
คุมครองสิ่งแวดลอมในเรื่องที่เกี่ยวพันกับกฎหมายที่ตราขึ้นมาบังคับใช เชน การควบคุมการจราจรทางบก ก็มี
มาตรการในการควบคุมมลพิษทางเสียง หรืออากาศควบคูกันไป เปนตน ดังนั้น จึงควรประสานงานและกําหนด
มาตรการที่เหมาะสมมาใชปองกันปญหาสิ่งแวดลอม จึงตองมีนโยบายหรือวิสัยทัศนที่มุงตอการปองกันและ
รักษาคุ ณภาพสิ่ งแวดล อมเป นสํ าคั ญว าควรจะปรั บปรุงไปในทิ ศทางใด แตในอดีตที่ ผ านมาการคุ มครอง
สิ่งแวดลอมเป นมาตรการที่ควบคู ไปกับกฎหมายที่คุ มครองในเรื่องอื่ นๆ เท านั้ น และยังไมมี การกําหนด
นโยบายที่ชัดเจนสําหรับประเทศไทยวา การกําหนดมาตรการอนุรักษและคุมครองสิ่งแวดลอมนั้น ควรมีกรอบ
กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม 2-30 กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม
หลักสูตรการจัดการมลพิษ โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

ความคิดและทิศทางที่ควรจะเปนอยางไร และเปนนโยบายหรือแผนปฏิบัติการที่กําหนดทิศทางในการที่จะ
พัฒนามาตรการตางๆ อยางไรเพื่อใหสอดคลองกันทั่วประเทศ ในปจจุบันมีแนวทางที่จะใหพิจารณาจาก แผน
จัดการสิ่งแวดลอมแหงชาติ และแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับที่ 9 ซึ่งไดกําหนดแนวทางในการ
จัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมไว26 จึงจะเปนแนวทางใหแตละหนวยงานทั้งสวนกลาง สวนภูมิภาค
และทองถิ่นไดดําเนินการใหเปนแนวทางเดียวกัน โดยพิจารณาความเหมาะสมของสภาพปญหาและความ
จําเปนในแตละพื้นที่ดวย
4) การประสานงานระหวางหนวยงานที่รับผิดชอบตามกฎหมายแตละฉบับยังไมดีพอ เนื่องจาก
มีหลายหนวยงานรับผิดชอบดานสิ่งแวดลอมและอยูคนละกรมหรือกระทรวง ดังนั้น นโยบายที่ใชในการ
ควบคุมมลพิษแตละชนิดที่แตกตางกัน เพราะกําหนดจากองคกรที่รับผิดชอบตางกัน นอกจากนี้ กลไก
ในทางบริ ห ารที่ จ ะให มี ก ารประสานงานระหว า งหน ว ยงานนั้ น ป จ จุ บั น จะต อ งผ า นคณะรั ฐ มนตรี ห รื อ
นายกรัฐมนตรีที่จะสั่งการเพื่อการประสานงานหรือหากเปนในระดับราชการสวนภูมิภาค ก็จะมีผูวาราชการ
จังหวัดเปนผูที่จะประสานงานให แตการประสานงานดังกลาวอาจมีขอจํากัดวาไมสามารถดําเนินการได
ทุกกรณีและทุกเรื่อง นอกจากนี้ การประสานงานระหวางราชการสวนทองถิ่นและชุมชนก็จะตองมีมาตรการ
ที่แตกตางจากการประสานงานของราชการสวนกลางและสวนภูมิภาคดวย ดังนั้น การประสานงานระหวาง
หนวยงานที่เกี่ยวของกับปญหาสิ่งแวดลอมในอดีตที่ผานมาจึงถือเปนปญหาสําคัญอยางยิ่งในการบริหาร
จั ด การให เ ป น ไปตามมาตรการคุ ม ครองสิ่ ง แวดล อ มที่ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ ซึ่ ง ในป จ จุ บั น การมี ก ระทรวง
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมก็เปนนิมิตหมายที่ดีในการเริ่มตนที่จะจัดการและคุมครองสิ่งแวดลอมโดย
หนวยงานรับผิดชอบหลัก แตก็ยังมีหนวยงานอื่นที่มีภาระหนาที่เกี่ยวของกับการคุมครองสิ่งแวดลอมอีก
รวมทั้งการบริหารจัดการสิ่งแวดลอมในระดับภูมิภาคและทองถิ่น ก็ไมไดอยูภายใตการดูแลของกระทรวง
ดังกลาว แตเปนหนวยงานที่รับผิดชอบอยูที่กระทรวงมหาดไทย ดังนั้น จึงมีความจําเปนตองหามาตรการเพื่อ
ประสานความรวมมือในการพิทักษสิ่งแวดลอมใหเปนไปในทิศทางเดียวกัน ซึ่งบทบาทนี้หากพิจารณาจาก
กฎกระทรวงที่กําหนดใหมีสํานักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมจังหวัดขึ้นในทุกจังหวัด27 โดยมี
บทบาทในการประสานงานกับหนวยงานที่เกี่ยวของ จึงนาจะเปนหนวยงานที่ทําหนาที่ในการประสานการ
ทํางานนี้ในระดับจังหวัด เพื่อเชื่อมโยงการทํางานระหวางราชการสวนกลาง สวนภูมิภาค และสวนทองถิ่นได
5) ความตระหนักและองคความรูของเจาพนักงานในการบังคับใชกฎหมายสิ่งแวดลอม การ
ตระหนักในแนวคิดและวิธีการการคุมครองสิ่งแวดลอมซึ่งเจาพนักงานตามกฎหมายสิ่งแวดลอมแตละฉบับ
นั้นยังมีไมเทากัน สวนหนึ่งอาจเปนเพราะ องคความรูในดานการปองกันและควบคุมมลพิษนั้นกําลังอยูใน
กระบวนการพัฒนา และอีกสวนหนึ่งเปนเพราะ การกระจายความรูและเทคนิคในการควบคุมสิ่งแวดลอม
ของเจาพนักงานทําหนาที่บังคับใชกฎหมายยังไมครอบคลุมเทาที่ควร ทั้งนี้เพราะ แนวคิดดังกลาวเพิ่งจะ
นํามาบัญญัติไวในกฎหมายสิ่งแวดลอมในชวงเวลาไมเกิน 20 ปที่ผานมา พัฒนาการดานองคความรูทั้งใน
ดานวิชาการสิ่งแวดลอมและกฎหมายสิ่งแวดลอมยังเพิ่งจะเริ่มตน ผลของสภาพดังกลาวทําใหพนักงาน
เจาหนาที่บางหนวยหรือบางคนจะบังคับใชกฎหมายตามบทบัญญัติและบางกรณีไดใชกฎหมายที่ขัดตอ
หลักการหรือแนวคิดในการคุมครองสิ่งแวดลอมได ทั้งนี้เพราะในกฎหมายหลายๆ ฉบับเปดโอกาสใหเจา

26
โปรดดู สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ สํานักนายกรัฐมนตรี, สรุปสาระสําคัญแผนพัฒนา
เศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 9 พ.ศ. 2545-2549, (กรุงเทพฯ: สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและ
สังคมแหงชาติ, 2545), หนา 10-11
27
โปรดดู กฎกระทรวงแบงสวนราชการสํานักงานปลัดกระทรวง กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม พ.ศ. 2545,
ขอ ข. (119 ร.จ. 103 ก. วันที่ 9 ตุลาคม 2545)
กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม 2-31 กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม
หลักสูตรการจัดการมลพิษ โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

พนักงานใชดุลยพินิจในการอนุญาตโดยไมไดกําหนดกรอบการใชดุลยพินิจที่ทําใหทราบถึงมาตรการในการ
คุมครองปองกันมลพิษหรืออนุรักษทรัพยากรธรรมชาติไวอยางชัดเจน การแกไขปญหาดังกลาวอาจทําได
โดยการบัญญัติกรอบการใชดุลยพินิจไวในกฎหมายและจัดทําคูมือใหกับเจาพนักงาน และอีกกรณีหนึ่งคือ
การสรางจิตสํานึก อบรมและใหแนวคิดแกผูใชกฎหมายในทุกระดับ
6) กฎหมายสิ่งแวดลอมสวนใหญยังมีมาตรการแกไขมากกวาปองกัน และมีมาตรการที่ใหเจา
พนักงานของรัฐเปนผูบังคับใชเปนหลัก
นอกจากพระราชบัญญัติสงเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอมแหงชาติ พ.ศ. 2535 และ
กฎหมายอื่นบางฉบับที่ตราขึ้นมาภายหลัง กฎหมายสิ่งแวดลอมของไทยยังเนนการปราบปรามการกระทําที่
เปนการละเมิดตอมาตรการที่คุมครองสิ่งแวดลอมตามที่บัญญัติไวในกฎหมายแตละฉบับ โดยมักจะกําหนด
มาตรการทางอาญาและทางปกครองเพื่อใหอํานาจเจาพนักงานในการบังคับใชกฎหมาย ซึ่งมาตรการ
ดังกลาวอาจเรียกไดวาเปนมาตรการสั่งการและควบคุม (command and control) โดยมีเจาพนักงานของรัฐ
เปนผูบังคับใชกฎหมายและใชมาตรการทางอาญาและการออกคําสั่งทางปกครองเพื่อตอบโตการฝาฝน
กฎหมาย
การใชมาตรการดังกลาว แมวาจะเปนมาตรการที่ใชกันอยูโดยทั่วไปในแตละประเทศก็ตาม
แตการที่มิไดเปดโอกาสใหประชาชนหรือองคกรอื่นที่มีศักยภาพในการบังคับใชกฎหมายมีสวนในการบังคับ
ใหเปนไปตามกฎหมายหรือมีสวนในการรวมพิทักษหรือปองกันปญหาสิ่งแวดลอม จึงเปนสาเหตุที่สําคัญ
ประการหนึ่งที่ทําใหสภาพแวดลอมเสื่อมโทรมลงอยางรวดเร็ว เพราะขาดการบังคับใชอยางจริงจังและ
บุคลากรที่ทําหนาที่ในการบังคับใชมีไมเพียงพอหรือละเวนการบังคับใชเพราะมีผลประโยชนเกี่ยวของ
มาตรการที่นาจะนํามาพิจารณาก็คือ การใหประชาชนมีสวนในการพิทักษและปองกันปญหา
สิ่งแวดลอมอาจชวยลดภาระของเจาพนักงานในการดูแลตรวจตรา และการวางแผนการปองกันปญหา
สิ่งแวดลอมอาจเปนมาตรการที่ลดปญหาการกอใหเกิดมลพิษในอนาคตได แทนที่จะใชมาตรการปราบปราม
ผู ก อ ให เ กิ ด มลพิ ษ หรื อ ทํ า ลายทรั พ ยากรธรรมชาติ เ ป น หลั ก แต เ พี ย งประการเดี ย ว ซึ่ ง หลั ก การที่ จ ะให
ประชาชน ชุมชนทองถิ่น และองคกรเอกชนเขามามีสวนรวมในการพิทักษสิ่งแวดลอมนี้เปนหลักการที่
บัญญัติไวในรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทยดวย28
7) ปญหาการดําเนินคดีกับผูกอมลพิษทั้งในคดีอาญา คดีแพง และคดีปกครอง แมวากฎหมาย
ไทยปจจุบันไดแยกลักษณะและวิธีพิจารณาคดีแพง อาญา และคดีปกครองไวแตกตางกัน แตโดยลักษณะ
ของการกอใหเกิดมลพิษแลว ผลของการกอใหเกิดความรายแรงและความเสียหายที่เกิดขึ้นตลอดจนผูที่มี
สวนเกี่ยวของกับปญหามลพิษหรือการทําลายทรัพยากรธรรมชาติในปจจุบันมีความเชื่อมโยงกัน จนทําให
การแยกดําเนินคดีตามลักษณะดังกลาวมิอาจกระทําไดอยางเปนเอกเทศ กลาวคือ ผลเสียหายของการ
กอ ให เกิ ดมลพิ ษมิ ได เกิ ดขึ้ น เฉพาะตั วผู ที่ไ ดรั บ ผลเสีย หายแตอ าจกระทบตอ ทรั พยากรธรรมชาติ หรื อ
กอใหเกิดความเสียหายตอคนสวนใหญในสังคมทั้งในปจจุบันและในอนาคต เชน ผลของสารพิษบางชนิด
เปนตน อีกทั้งการดําเนินคดีกับผูกอใหเกิดมลพิษบางครั้งมิไดเปนการกระทําที่เกิดจากผูประกอบการที่เปน
เอกชน แตเปนการละเลยของผูที่เปนเจาพนักงานอีกดวย ดังนั้น การดําเนินคดีเพื่อบังคับใชเปนไปตาม
กฎหมายสิ่งแวดลอมจึงเปนความเชื่อมโยงทั้งที่เกี่ยวกับคดีแพง คดีอาญา และคดีปกครอง ซึ่งหากแยก
ดํ าเนิ น การแล ว ผลของคํ าพิ พ ากษาหรื อ การดํ า เนิ น คดี อ าจมี ค วามแตกต างกั น เพราะมี วิ ธี พิ จ ารณาที่
แตกตางกัน อีกทั้งอาจทําใหลาชาเพราะตองดําเนินการในหลายๆ ศาล

28
เชน มาตรา 56, 59 และ 69 รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2540
กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม 2-32 กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม
หลักสูตรการจัดการมลพิษ โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

นอกจากปญหาความเชื่อมโยงของศาลที่ทําหนาที่พิจารณาคดีที่เกิดจากการกอมลพิษหรือ
การทําลายทรัพยากรธรรมชาติแลว ในกระบวนการพิสูจนขอเท็จจริงเพื่อจะนําไปสูการตัดสินและการ
เยียวยาความเสียหายโดยเฉพาะอยางยิ่งในคดีแพงนั้น ยังมีขอจํากัดที่ไมสามารถบังคับใหเปนไปตาม
กฎหมายได กลาวโดยเฉพาะ ปญหาของการพิสูจนความสัมพันธระหวางการกระทําละเมิดวามีผลทําให
กอใหเกิดความเสียหายจริงหรือไม29 หรือการที่จะตองใชพยานผูเชี่ยวชาญมาพิสูจนถึงการกอใหเกิดมลพิษ
และผลเสียหายที่เกิดขึ้นตอสภาพแวดลอม ก็เปนปญหาสําคัญในการพิสูจนความรับผิดทางละเมิดในศาล
นอกจากนี้ ความเสียหายที่เกิดขึ้นอันเกิดจากการละเมิดนั้น สําหรับในปจจุบัน ศาลมีหลักในการพิจารณา
โดยถือวาผูกอใหเกิดการละเมิดจะตองชดใชใหเทาที่ผูเสียหายไดเสียหายจริงหรือที่คาดหมายไดในอนาคต
ดังนั้น คาเสียหายที่อาจจะเกิดขึ้นจากการที่เปนผลจากมลพิษในอนาคตซึ่งยังไมสามารถที่จะกําหนดไดนั้น
อาจไมไดรับการพิจารณาตามหลักดังกลาว นอกจากนี้ ความเสียหายในการกอใหเกิดมลพิษในปจจุบัน
แมวาจะไมใชเกิดตอผูเสียหายที่มาฟองคดี แตเปนที่ทราบกันแนชัดวาอาจเปนความเสียหายที่จะตองเกิดขึ้น
แน เชน การทําใหน้ําในแมน้ําเปนพิษ ซึ่งแมในปจจุบันจะมีคนไดรับอันตรายเพียงบางคน แตในอนาคตอาจ
มีคนที่ไดรับอันตรายจากสารพิษที่สะสมอยูได ดังนี้ ความเสียหายที่จะเกิดขึ้นดังกลาว หากมีการฟอง
ภายหลัง จะสามารถบังคับไดหรือไมหรือจะมีหลักประกันใดสําหรับคนที่จะไดรับอันตรายที่จะไดรับการ
ชดเชยถาความเสียหายนั้นเกิดขึ้นหลังจากที่ผูกอใหเกิดมลพิษยายไปอยูที่อื่น หรือเลิกกิจการแลว
สําหรับปญหาในการดําเนินคดีอาญาแกผูกอมลพิษมีลักษณะที่แตกตางจากคดีแพง กลาวคือ
การดําเนินคดีอาญาในคดีสิ่งแวดลอมยังคงตองมีองคประกอบภายในเปนหลัก เชน ตองกระทําโดยเจตนา
หรือประมาท ดังนั้น การพิสูจนเพื่อใหลงโทษผูกระทําความผิดจึงตองพิสูจนถึงองคประกอบภายใน อยางไรก็
ดี ในการดําเนินคดีอาญาแกผูกระทําความผิดในปจจุบันก็มีขอจํากัดในหลายประการ กลาวคือ การสอบสวน
คดีดังกลาวยังคงใชพนักงานสอบสวนที่ดําเนินคดีอาญาโดยทั่วไป ซึ่งพนักงานสอบสวนในปจจุบันยังมีความรู
ในปญหาเทคนิคการสอบสวนคดีสิ่งแวดลอมซึ่งตองอาศัยพยานที่ไดมาจากการตรวจพิสูจนทางวิทยาศาสตร
มาประกอบการวินิจฉัยขอเท็จจริงดวย ดังนั้น การสอบสวนหรือตรวจตราการกระทําความผิดจึงไมสามารถ
กระทําไดทั่วถึง นอกจากนี้ คดีที่จะฟองตอศาลก็มีจํานวนไมมากนัก เพราะขาดการประสานงานระหวางรัฐกับ
ประชาชนในการเฝาระวังการกระทําความผิดซึ่งเกิดจากสถานประกอบการหรือในแตละชุมชน30
ดวยเหตุนี้ การดําเนินคดีกับผูกระทําความผิดในศาลจึงมีอยูนอย สวนใหญจะมีการปรับโดยเจาพนักงานซึ่ง
มีอํานาจเปรียบเทียบปรับตามกฎหมายที่กําหนดไวเปนพิเศษ
สวนปญหาการไมใชอํานาจสั่งการทางปกครองที่มีอยูเพื่อบังคับใหเปนไปตามกฎหมาย สวน
หนึ่งเปนเพราะเจาพนักงานที่มีอํานาจสั่งการยังมีความไมแนใจในอํานาจของตนที่มีอยูเพราะบุคลากรสวน
ใหญเปนผูที่มีความรูทางเทคนิค แตไมไดมีความรูทางกฎหมายโดยตรง จึงอาจไมแนใจในอํานาจ หรือใน
บางกรณีอาจเปนการเลือกปฏิบัติสําหรับการกระทําแกผูมีอิทธิพลบางคนซึ่งมีอํานาจในทางการเมืองทั้งใน
ระดับชาติและทองถิ่น31
8) การมีมาตรการทางดานเศรษฐศาสตรและสังคม เพื่อชวยใหมีการรวมมือกันในการปองกัน
สิ่งแวดลอม มาตรการเหลานี้ไมใชมาตรการทางกฎหมายที่จะนํามาใชเพื่อควบคุมมิใหกอใหเกิดมลพิษ แต
29
โปรดดู รศ. ดร. อํานาจ วงศบัณฑิต , กฎหมายสิ่งแวดลอม, (กรุงเทพฯ : สํานักพิมพวิญูชน, 2545) หนา 473-475
30
โปรดดู ณรงค ใจหาญ , รายงานวิจัย เรื่อง การรวมมือในการดําเนินคดีอาญาแกผูกอมลพิษ, งานวิจัยตามหลักสูตร ผูบริหาร
กระบวนการยุติธรรมระดับสูง รุนที่ 6 , วิทยาลัยการยุติธรรม สํานักงานศาลยุติธรรม , 2546, บทที่ 5-6 , หนา 42-50
31
โปรดดู ณรงค ใจหาญ, "การดําเนินการทางกฎหมายกับผูกระทําความผิดตามพระราชบัญญัติปาสงวนแหงชาติ พ.ศ.
2507" ใน วารสารนิติศาสตร ปที่ 21 ฉบับที่ 2 มิถุนายน 2534, หนา 199-202
กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม 2-33 กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม
หลักสูตรการจัดการมลพิษ โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

เปนมาตรการในการที่จะปองกันปญหาการเกิดมลพิษ โดยใหมีแรงจูงใจในการที่เจาของหรือผูประกอบการ
จะไดรวมในการปองกันปญหามลพิษที่เกิดจากแหลงกําเนิดของตน เชน จัดใหมีระบบบําบัดมลพิษเปนของ
ตนเอง และมีกระบวนการตรวจสอบมลพิษดวยตนเอง (environmental self-auditing)32 หรือกระบวนการ
จัดการที่จะนํากลับมาใชใหม (recycle) โดยกําหนดใหขยะมีคา เปนตน มาตรการเหลานี้จะชวยแบงเบา
ภาระของการที่เจาพนักงานจะตองควบคุมตรวจสอบการกอมลพิษ และในขณะเดียวกันเปนการรวมมือกับผู
ที่เกี่ยวของกับการเกิดมลพิษโดยการรวมกันกําจัดและปองกันมลพิษดวยตนเอง นอกจากนี้ การมีมาตรการ
สรางแรงจูงใจในการลดภาษี เครื่องมือที่นําเขาเพื่อการปองกันมลพิษ33 หรือการใชอุปกรณที่กอใหเกิด
มลพิษนอย ก็เปนอีกมาตรการหนึ่งที่จะทําใหปญหามลพิษลดลง เพราะเปนการสงเสริมใหผูที่กอมลพิษหรือ
ประชาชนโดยทั่วไปรวมมือกับเจาพนักงานในการทําหนาที่พิทักษสิ่งแวดลอมโดยชวยกันปองกันปญหาที่จะ
เกิ ด ขึ้ น มากกว า จะเป น ผู ก อ ป ญ หาและใช ม าตรการทางอาญามาลงโทษ ซึ่ ง อาจทํ า ให ก ารแก ไ ขป ญ หา
สิ่งแวดลอมไรผลเพราะเกิดความเสียหายจนเกินกวาที่จะแกได เชน การรวมมือกันในการปองกันมิใหเกิด
ความเสื่อมโทรมตอทรัพยากรชายฝง แทนที่จะปลอยใหมีการทําลายหรือทิ้งของเสียลงในทะเลแลวจึงมา
แกไข ซึ่งอาจจะสายเกินไปก็ได
จากปญหาการบังคับใชกฎหมายดังกลาว ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมจังหวัด จึง
ตองคิดถึงมาตรการในการประสานความรวมมือ สรางความตระหนัก และจัดทําแผนจัดการ การสราง
จิตสํานึกเพื่อใหทุกหนวยงานที่เกี่ยวของตลอดจนประชาชน ชุมชน และองคกรปกครองสวนทองถิ่นไดมี
สวนในการรวมมือ และบังคับใชกฎหมายหรือมาตรการทั้งในดานการปองกันและควบคุม ฟนฟู คุณภาพ
สิ่งแวดลอมในแตละจังหวัดหรือในแตละภูมิภาคตอไป

32
ดูรายละเอียดใน United Nations Environment Programmer Industry and Environment Office, Environmental
Auditing, (United Nation Publication, 1990)]pp. 1-4
33
โปรดดู พระราชบัญญัติสงเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอมแหงชาติ พ.ศ. 2535 มาตรา 94-95
กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม 2-34 กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม
“การจัดการมลพิษทางน้ํา”

“น้ําทิ้ งหรื อน้ําเสีย หลังจากการใช ประโยชนจากชุ มชนแลว มักจะถูกระบายกลับลงสู แหล งน้ํานั้น ๆ


หากแตชุมชนในอดีตยังคงมีขนาดเล็ก จึงมีปริมาณน้ําเสียและความสกปรกระบายลงสูแหลงน้ําไมมากนัก
ในขณะที่แหลงน้ําเองก็มีศักยภาพเพียงพอที่จะฟอกตัวเองได (self-purification) ทําใหในอดีตจึงยังไมพบปญหา
มลพิษทางน้ํากับแหลงน้ําตางๆ แตประมาณ 20 ปที่ผานมา ประเทศไทยมีการเติบโตทางดานเศรษฐกิจอยาง
รวดเร็วและตอเนื่อง ทําใหชุมชนมีการขยายตัวและมีความหนาแนนเพิ่มขึ้นตามมาดวย รวมทั้งมีการขยายตัว
ของโรงงานอุตสาหกรรม (ทั้งขนาดเล็กและขนาดใหญ) เพิ่มขึ้นอยางรวดเร็ว จึงทําใหปริมาณน้ําเสียและความ
สกปรกที่ระบายลงสูแหลงน้ําเพิ่มสูงขึ้นมาก จนเกินความสามารถของแหลงน้ําบางแหงที่จะฟนฟูไดดวยตัวเอง

แนวทางหนึ่งที่มีความสําคัญมากซึ่งเปนการปองกันการเสื่อมโทรมของแหลงน้ํา พรอมทั้งเปนการฟนฟู
คุณภาพน้ําของแหลงน้ําตางๆ คือ การจัดการน้ําเสียหรือบําบัดน้ําเสียที่เกิดขึ้นจากแหลงกําเนิดตางๆ ใหมี
คุณภาพไดตามมาตรฐานกอนจะระบายลงสูแหลงน้ํา ซึ่งการจัดน้ําเสียชุมชนที่เหมาะสมขึ้นอยูกับปจจัยตางๆ
เชน ลักษณะน้ําเสีย สภาพแวดลอมของชุมชน เปนตน ดังนั้น หลักสูตรการจัดการมลพิษนี้จะกลาวถึงความรู
ดานการจัดการมลพิษทางน้ํา ระบบบําบัดน้ําเสียที่เหมาะสมสําหรับชุมชน”
หลักสูตรการจัดการมลพิษ โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

บทที่ 3
การจัดการมลพิษทางน้ํา

3.1 ความรูทั่วไป

3.1.1 ตัวบงชี้คุณภาพน้ํา

ตัวบงชี้คุณภาพน้ําที่สําคัญประกอบดวยคาตางๆ เชน ความเปนกรด-ดาง อุณหภูมิ สี ความขุน ของแข็ง


แขวนลอย ของแข็งละลายทั้งหมด บีโอดี ซีโอดี ดีโอ แบคทีเรียกลุมฟคัลโคลิฟอรม ไนโตรเจน ฟอสฟอรัส เปนตน
(1) บีโอดี (Biochemical Oxygen Demand; BOD)
บีโอดี (หนวยมิลลิกรัม/ลิตร หรือพีพีเอ็ม) คือ ความตองการออกซิเจนทางชีวเคมี ซึ่งเปนตัวบงชี้ถึง
ความสกปรกหรือปริมาณสารอินทรียที่ปนเปอนอยูในน้ํา โดยตรวจวัดในรูปความตองการใชออกซิเจนของจุล
ชีพที่ใชในการยอยสลายสารอินทรีย เปนที่สังเกตวาคาบีโอดีที่กลาวถึงนั้นเปนตัวบงชี้โดยทางออมเทานั้น
เนื่องจากมิไดเปนการตรวจปริมาณสารอินทรียโดยตรง แตเปนการตรวจวัดปริมาณออกซิเจนที่จุลชีพตองการ
ดังนั้น หากพบวาในน้ําเสียหรือแหลงน้ําใดมีคาบีโอดีสูง ก็บงชี้ไดวาน้ําดังกลาวมีการปนเปอนสารอินทรียใน
ปริมาณสูงเชนกัน โดยปกติการวิเคราะหคาบีโอดีจะกระทําในหองปฏิบัติการ ซึ่งใชเวลาในการวิเคราะห 5 วัน
(ที่อุณหภูมิ 20 องศาเซลเซียส)
(2) ซีโอดี (Chemical Oxygen Demand; COD)
ซีโอดี (หนวยมิลลิกรัม/ลิตร หรือพีพีเอ็ม) คือ ความตองการออกซิเจนเชิงเคมี ซึ่งเปนตัวบงชี้ถึง
ความสกปรกหรือปริมาณสารอินทรียที่ปนเปอนในน้ําอีกตัวหนึ่งคลายกับบีโอดี เพียงแตวาวิธีนี้จะใชสารเคมี
เชน โปตัสเซียมไดโครเมต เปนตน ทําหนาที่ออกซิไดสสารอินทรียแทนการยอยสลายโดยจุลชีพ แลวคอยเทียบ
ปริมาณการใชสารเคมีที่ใชในการออกซิไดสกลับมาอยูในรูปความตองการออกซิเจนแทน ซึ่งหากพบวาในน้ํามี
คาซีโอดีสูง ก็บงชี้ไดวาน้ําดังกลาวมีการปนเปอนสารอินทรียในปริมาณสูงเชนกัน
คาซีโอดีจะบงชี้ไดเฉพาะปริมาณสารอินทรียที่ปนเปอนอยูในน้ําเทานั้น แตไมสามารถบงชี้ไดวาจุลชีพ
สามารถยอยสลายสารอินทรียไดมากนอยเทาไร เนื่องจากสารอินทรียบางชนิดยากที่จะถูกยอยสลายดวยจุลชีพ
เชน ลิกนิน เปนตน ดังนั้น มักพบวาคาซีโอดีมักมีคาสูงกวาบีโอดี (หากตรวจวัดตัวอยางน้ําเดียวกัน) อยางไรก็
ตาม น้ําเสียหรือแหลงน้ําหนึ่งๆ มักมีอัตราสวนระหวางคาบีโอดีตอคาซีโอดีคอนขางคงที่เสมอ ตัวอยางเชน น้ํา
เสียชุมชนมักมีอัตราสวนระหวางคาบีโอดีตอซีโอดีประมาณ 0.8 เปนตน ดังนั้น หากมีการตรวจวัดเฉพาะคาซีโอ
ดีเพียงดัชนีเดียว ก็สามารถทํานายคาบีโอดีไดอยางคราวๆ เชนกัน โดยการคํานวณดวยอัตราสวนระหวางคาบี
โอดีตอซีโอดีนั่นเอง อีกทั้ง การตรวจวัดคาซีโอดีจะใชเวลาเพียง 2-3 ชั่วโมงเทานั้น จึงทําใหซีโอดีเปนตัวบงชี้ที่
สําคัญและนิยมใชสําหรับในการวิเคราะหน้ําเพื่อควบคุมหรือหาประสิทธิภาพของระบบบําบัดน้ําเสีย
(3) ดีโอ (Dissolved Oxygen; DO)
ดีโอ (หนวยมิลลิกรัม/ลิตร หรือพีพีเอ็ม) คือ คาออกซิเจนละลายน้ํา ซึ่งจําเปนอยางยิ่งสําหรับสิ่งมีชีวิตใน
น้ํา หากแหลงน้ําที่มีคาออกซิเจนละลายต่ํา สิ่งมีชีวิตสวนใหญก็จะไมสามารถอาศัยอยูได โดยทั่วไปความสามารถ
ของกาซออกซิเจนที่ละลายน้ําขึ้นอยูกับปจจัยตางๆ เชน อุณหภูมิ ปริมาณของแข็งละลายทั้งหมด เปนตน หาก
อุณหภูมิในน้ําหรือมีปริมาณของแข็งละลายทั้งหมดสูงจะทําใหความสามารถการละลายน้ําของออกซิเจนต่ําลง
อยางไรก็ตาม ในแหลงน้ําสะอาดทั่วไป มักมีคาออกซิเจนละลายน้ําอิ่มตัวประมาณ 7-8 มิลลิกรัม/ลิตร
นอกจากค า ออกซิ เ จนละลายจะใช เ ป น ตั ว บ ง ชี้ ถึ ง คุ ณ ภาพของแหล ง น้ํ า แล ว ยั ง สามารถบ ง ชี้ ถึ ง
กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม 3-1 กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม
หลักสูตรการจัดการมลพิษ โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

ปริมาณสารอินทรียที่ระบายลงสูแหลงน้ําไดอีกดวย กลาวคือ หากระบายสารอินทรียลงในแหลงน้ําจะทําให


จุล ชี พ ที่อ ยู ใ นแหล ง น้ํ าใช อ อกซิ เ จนละลายในน้ํ า บางส ว นเพื่ อ ย อ ยสลายสารอิน ทรี ย หากความต อ งการใช
ออกซิเจนของจุลชีพมากกวาอัตราการละลายออกซิเจนจากอากาศเขาสูแหลงน้ํา จะทําใหคาออกซิเจนละลาย
น้ําในแหลงน้ําลดลงนั่นเอง แตถาอัตราการละลายออกซิเจนเขาสูแหลงน้ําสูงกวาความตองการใชออกซิเจนโดย
จุลชีพ ก็จะไมสงผลกระทบตอคาออกซิเจนละลายน้ําในแหลงน้ํา ดวยเหตุผลขางตนจึงสามารถอธิบายไดวา
เพราะเหตุใดชุมชนในอดีตที่มีการระบายน้ําเสียลงแหลงน้ําโดยตรงก็ยังทําใหคุณภาพน้ําในแหลงน้ําอยูใน
เกณฑดี ทั้งนี้ เนื่องจากชุมชนในอดีตยังคงมีขนาดเล็ก มีปริมาณน้ําเสียที่ระบายลงแหลงน้ําไมมากนัก ดังนั้น
อัตราการละลายออกซิเจนเขาสูแหลงน้ําสูงเพียงพอหรือทันตอการใชออกซิเจนโดยจุลชีพ จึงยังทําใหคุณภาพ
น้ําของแหลงน้ําอยูในเกณฑดี ซึ่งปรากฏการณขางตนมักเรียกวา แหลงน้ําสามารถฟอกตัวเองได
(4) โลหะหนัก (heavy metal)
แหลงกําเนิดของโลหะหนักสวนใหญจะมาจากโรงงานอุตสาหกรรม เชน ตะกั่ว โครเมียม แคดเมียม
หรือปรอท เปนตน ซึ่งเปนโลหะหนักที่ทําใหเกิดความเปนพิษคอนขางสูง
(5) ธาตุอาหาร (nutrient)
หากในน้ํามีปริมาณธาตุอาหาร (ไนโตรเจนและฟอสเฟต) ในปริมาณสูง จะทําใหสาหรายสามารถ
เจริญเติบไดดี จนอาจทําใหเกิดปรากฏการณที่เรียกวา ยูโทรฟเคชัน (eutrophication) ซึ่งจะทําใหออกซิเจน
ละลายน้ําในตอนกลางคืนลดลงและอาจมีผลตอสิ่งมีชีวิตในน้ําได (เนื่องจากสาหรายจะใชออกซิเจนในตอน
กลางคื น แต จ ะคายออกซิ เ จนในตอนกลางวั น ) นอกจากนี้ ซากของสาหร ายที่ ต ายอาจเป น สาเหตุ ห นึ่ ง ที่
กอใหเกิดน้ําเนาไดอีก ดังนั้น ถึงแมวาน้ําเสียที่ถูกบําบัดจนไดน้ําทิ้งที่มีคาบีโอดี หรือสารอินทรียอยูในมาตรฐาน
แลวก็ตาม แตถาในน้ําทิ้งยังคงมีธาตุอาหารในปริมาณสูง ก็อาจทําใหคุณภาพน้ําในแหลงน้ําอยูในเกณฑเสื่อม
โทรมหรือเกิดน้ําเนาไดหากเกิดปรากฏการณยูโทรฟเคชัน
(6) แบคทีเรียกลุมฟคัลโคลิฟอรม (fecal coliforms)
เปนแบคทีเรียชนิดหนึ่งซึ่งโดยปกติจะอาศัยอยูในลําไสของสิ่งมีชีวิตหรือในอุจจาระ โดยที่ฟคัล
โคลิฟอรมไมใชแบคทีเรียที่ทําใหเกิดโรคโดยตรง เพียงแตใชเปนดัชนีบงชี้ที่สําคัญมากในการใชตรวจวัดสาร
มลพิษหรือสิ่งปฏิกูลที่ปนเปอนในน้ํา เชน น้ําเสียจากสวม เปนตน

3.1.2 ความหมายที่เกี่ยวของ

(1) น้ําเสีย
ตามนิยามของศัพทบัญญัติและนิยามสิ่งแวดลอมน้ํา โดย สวสท. และกรมควบคุมมลพิษ (2544) ให
นิยามไววา น้ําที่ไมตองการหรือน้ําใชแลว และระบายทิ้ง; น้ําใชแลวจากชุมชน อาจประกอบดวยสิ่งปะปนที่ติด
มาจากกิจกรรมที่อยูอาศัย ธุรกิจ โรงงานอุตสาหกรรม และสถาบันตางๆ รวมกับน้ําใตดิน น้ําผิวดิน น้ําฝน ทั้งนี้
“สิ่งปะปน” ดังกลาวหมายถึง สารมลพิษอยางใดอยางหนึ่งซึ่งอาจทําใหคุณภาพของแหลงรับน้ําเสื่อมโทรมได
เชน สารอินทรีย ธาตุอาหาร โลหะหนัก เปนตน สารมลพิษทางน้ําอาจเกิดจากสารเคมีหรือวัตถุตางๆ ปนเปอน
ลงสูแหลงน้ํา ซึ่งบางประเภททําใหเกิดมลพิษในระดับที่ไมกอใหเกิดผลกระทบมากนัก ขณะที่บางประเภทแมมี
ปริมาณเพียงเล็กนอย แตทําใหเกิดเปนมลพิษซึ่งกอใหเกิดผลกระทบมากมาย
(2) มลพิษทางน้ํา
ตามพระราชบัญญัติสงเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอมแหงชาติ พ.ศ. 2535 ใหคําจํากัดความของ
มลพิษทางน้ําไววา สภาพน้ําที่เสื่อมคุณภาพ น้ําจะมีคุณสมบัติเปลี่ยนไปจากสภาพธรรมชาติ เนื่องจาก มีสาร
มลพิษเขาไปปะปนอยูมาก น้ําในสภาพเชนนี้ไมเหมาะตอการดํารงชีวิตของสัตวน้ํา ไมเหมาะตอการบริโภคและ
กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม 3-2 กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม
หลักสูตรการจัดการมลพิษ โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

อุปโภคของมนุษย เชน น้ําที่มีสีผิดปกติ มีกลิ่นเหม็น ที่มีสารเคมีที่เปนพิษหรือเชื้อโรคปะปนอยู รวมทั้งน้ําที่มี


อุณหภูมิสูงผิดปกติ เปนตน
มลพิษทางน้ําไมใชเกิดเฉพาะน้ําเนา มีสีผิดปกติ และมีกลิ่นเหม็นเทานั้น แตถามีสารพิษ (เชน โลหะ
หนัก สารกําจัดศัตรูพืช เปนตน) ในปริมาณที่สูงจนมีผลกระทบตอระบบนิเวศนและไมเหมาะสมตอการบริโภค
และอุปโภคของมนุษยก็ถือวาเปนมลพิษทางน้ําเชนกัน (แมน้ําจะไมมีสีดําหรือมีกลิ่นเหม็นก็ตาม)
(3) น้ําเนาเสีย
น้ําเนาเสียโดยสวนใหญมักมีปริมาณสารอินทรียในแหลงน้ําสูง ทําใหมีภาวะขาดออกซิเจนละลาย มี
กลิ่นเหม็น และมีสีดํา ซึ่งสาเหตุที่ทําใหเกิดสภาพเชนนั้นสามารถอธิบายได คือ หากมีการระบายความสกปรก
หรือบีโอดีลงแหลงรับน้ําในปริมาณสูง จนทําใหความตองการใชออกซิเจนของจุลชีพในน้ําสูงกวาอัตราการ
ละลายออกซิเจนจากอากาศลงสูแหลงน้ํา จะทําใหคาออกซิเจนละลายในแหลงน้ําลดลงเรื่อยๆ จนเขาสูสภาวะไร
ออกซิเจน (anaerobic) ซึ่งในสภาวะดังกลาวจะทําใหจุลชีพอีกกลุมหนึ่งสามารถดํารงชีพไดแมไมมีออกซิเจน
โดยจะเจริญเติบโตพรอมทั้งยอยสลายสารอินทรียในน้ําตอไป (หากยังมีสารอินทรียหลงเหลืออยู) กระบวนการ
ยอยสลายสารอินทรียแบบไรอากาศนี้สามารถเปลี่ย นซัลเฟตบางสวนในน้ําใหกลายเปนซัลไฟดได อีกทั้ ง
ซัลไฟดบางสวนจะรวมตัวกับไฮโดรเจนแลวกลายเปนกาซไฮโดรเจนซัลไฟต (H2S) หรือกาซไขเนานั่นเอง (ทํา
ใหเกิดกลิ่นเหม็น) นอกจากนี้ ซัลไฟดอีกบางสวนอาจจับตัวกับโลหะตางๆ ที่อยูในน้ํา เชน เกิดเปนเหล็ก
ซัลไฟด (FeS) ซึ่งเกิดเปนผลึกสีดํา จึงทําใหน้ําเนามีสีดํานั่นเอง

3.1.3 ผลกระทบจากน้ําเสีย

ปกติแหลงน้ําธรรมชาติมีความสามารถในการฟอกตัวเองไดระดับหนึ่ง แตถามีการระบายสารมลพิษลงสู
แหลงน้ํามากเกินไปหรือระบายสารพิษลงสูแหลงน้ํา ยอมมีผลกระทบโดยตรงตอคุณภาพน้ําและระบบนิเวศน
ของแหลงน้ํ า ซึ่ง อาจมี ผลตอ เนื่อ งถึงระบบเศรษฐกิจและความเปน อยูของชุม ชนดว ย เช น กระทบต อการ
ทองเที่ยว กระทบตอผูที่มีอาชีพเปนชาวประมงเนื่องจากปริมาณสัตวน้ําลดลง ชุมชนไมสามารถนําน้ําในแหลง
น้ําไปใชประโยชนไดทั้งในการอุปโภคและบริโภค หรือหากตองการนํามาใชประโยชนก็ตองเสียคาใชจายสูงขึ้น
เพื่อปรับปรุงคุณภาพน้ําใหเหมาะสมกอนนํามาใชงาน เปนตน นอกจากนี้ อาจมีผลตอสุขภาพของมนุษยอีก
ดวย โดยเฉพาะเมื่อมีการปนเปอนเชื้อโรคบางชนิดที่กอใหเกิดโรค หรือมีสารพิษบางประเภทที่สามารถสะสมใน
หวงโซอาหารได เชน การสะสมในสัตวหรือในพืชน้ํา เปนตน หากมนุษยหรือสัตวบริโภคน้ําที่มีการจะทําใหเกิด
การเจ็บปวยไดทั้งในระยะสั้นและระยะยาว

3.2 แหลงกําเนิด

น้ําเสียเกิดขึ้นไดจากทุกกิจกรรมที่มีการนําน้ําใชเขาไปเกี่ยวของ โดยทั่วไปสามารถแบงแหลงกําเนิดของ
น้ําเสียไดเปน 3 ประเภทหลักๆ ไดแก
(1) น้ําเสียชุมชน
น้ําเสียจากชุมชน คือ น้ําทิ้งจากการใชน้ําในกิจกรรมตางๆ ภายในชุมชนและระบายสูทอระบายน้ํา
เสีย ซึ่งน้ําเสียแหลงใหญและมีอิทธิพลมากตอคุณภาพน้ําของแหลงรับน้ํา เชน บานพักอาศัย อาคารชุด ตลาด
สด สถานบริการ โรงเรียน แหลงพาณิชย ภัตตาคาร รานอาหาร โรงพยาบาล เปนตน สารมลพิษหลักที่เปน
องคประกอบในน้ําเสียชุมชน ไดแก บีโอดี ไขมัน/น้ํามัน ของแข็งแขวนลอย และธาตุอาหาร จึงทําใหระบบ
บําบัดน้ําเสียชุมชนมักเปนการบําบัดดวยกระบวนการทางกายภาพและกระบวนการทางชีวภาพเปนหลัก
กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม 3-3 กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม
หลักสูตรการจัดการมลพิษ โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

(2) น้ําเสียอุตสาหกรรม
น้ําเสียอุตสาหกรรมมีความหลากหลายขึ้นอยูกับประเภทของอุตสาหกรรมแตละชนิด เชน มีคาความ
เปนกรด/ดางหรือมีฤทธิ์กัดกรอนอยางรุนแรง มีคาบีโอดี ของแข็งแขวนลอย และอุณหภูมิสูง รวมทั้งมีสี กลิ่น
โลหะหนัก หรือสารพิษอื่นๆ ปนเปอน เปนตน ระบบบําบัดน้ําเสียอุตสาหกรรมมีความหลากหลายขึ้นอยูกับสาร
มลพิษในน้ําเสีย ซึ่งมีทั้งกระบวนการทางกายภาพ (กําจัดของแข็งแขวนลอยหรือน้ํามัน/ไขมัน) กระบวนการ
ชีวภาพ (การกําจัดบีโอดี) และกระบวนการทางเคมี (ปรับสภาพใหเปนกลางหรือกําจัดโลหะหนัก)
(3) น้ําเสียจากเกษตรกรรม
กิจกรรมการเกษตรสามารถแบงเปน 2 ประเภทหลักๆ คือ การเพาะปลูกและการเลี้ยงสัตว สําหรับ
การเพาะปลูกพืชถือวามีความสําคัญมาก เนื่องจากมีการใชน้ําและสารเคมีเปนจํานวนมาก เชน ยาฆาแมลง
สารเรงการเจริญเติบโต หรือปุยเคมี เปนตน ในกรณีที่ฝนตกอาจทําใหเกิดน้ําทาชะเอาสารเคมีเหลานั้นลงสู
แหลงน้ําได สวนการเลี้ยงสัตวซึ่งรวมทั้งสัตวบกและสัตวน้ํา โดยน้ําเสียสวนใหญเกิดจากการขับถายและการลาง
มูลสัตว รวมทั้งอาหารสัตวและยารักษาโรคอีกดวย

3.3 การจัดการน้ําเสีย

การจัดการน้ําเสียเปนการลดสารมลพิษในน้ําเสียใหมีปริมาณต่ํากอนระบายลงสูแหลงรับน้ํา ทั้งนี้ เพื่อ


ปองกันการเกิดปญหามลพิษทางน้ํา ในการจัดการน้ําเสียจําเปนตองพิจารณาถึง อัตราการเกิดน้ําเสีย ลักษณะ
น้ําเสีย และองคประกอบของการบําบัด ดังนี้
(1) อัตราการเกิดน้ําเสีย
ขอมูลอัตราการเกิดน้ําเสียมีประโยชนอยางมากตอการพิจารณาในการจัดการน้ําเสีย โดยที่อัตราการ
เกิดน้ําเสียของชุมชนสามารถคาดการณไดโดยตรงจากปริมาณการใชน้ําสําหรับอุปโภคบริโภคของชุมชน ซึง่ ปจจัย
ที่มีผลตออัตราการใชน้ําของแตละชุมชน เชน ลักษณะเศรษฐกิจของแตละชุมชน รายไดของประชาชน คุณภาพน้ํา
อุปโภคบริโภค สภาพแวดลอมของชุมชน ความเพียงพอของน้ําใช เปนตน
โดยปกติอัตราน้ําเสียชุมชนมักเทากับรอยละ 80 ของอัตราการใชน้ํา โดยที่อัตราการใชน้ําของชุมชน
ตางๆ ในประเทศไทยอยูในชวง 100-340 ลิตร/คน-วัน หรือมีอัตราการใชน้ําโดยเฉลี่ยประมาณ 220 ลิตร/คน-
วัน (สมาคมวิศวกรรมสิ่งแวดลอมแหงประเทศไทยและกรมควบคุมมลพิษ, 2546) นอกจากนี้ หากแยกแยะ
อัตราการเกิดน้ําเสียตามกิจกรรมตางๆ ภายในชุมชนแสดงดังตารางที่ 3.3-1
(2) ลักษณะน้ําเสีย
ลักษณะน้ําเสียเปนปจจัยสําคัญอีกประการหนึ่งที่มีผลตอการพิจารณาการจัดการน้ําเสียที่เกิดขึ้น โดย
ที่ลักษณะน้ําเสียรวมของชุมชนในประเทศไทยแสดงดังตารางที่ 3.3-2 และ 3.3-3 นอกจากนี้ ลักษณะน้ําเสียที่
แยกตามกิจกรรมตางๆ ของชุมชนอางถึงตารางที่ 3.3-1
(3) องคประกอบของการบําบัด
องคประกอบของการบําบัดน้ําเสียแบงออกเปน 2 สวนหลัก คือ ระบบรวบรวมน้ําเสียและระบบ
บําบัดน้ําเสีย
1) การรวบรวมน้ําเสีย
ระบบรวบรวมน้ําเสียสามารถแบงออกเปน 2 ประเภท ไดแก ระบบระบายรวมและระบบระบาย
แยก (ดังรูปที่ 3.3-1 และ 3.3-2 ตามลําดับ) โดยที่ระบบระบายรวม หมายถึง การออกแบบทอระบาย

กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม 3-4 กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม


หลักสูตรการจัดการมลพิษ โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

น้ําเสียใหสามารถรับน้ําฝนไดดวยในกรณีฝนตก สวนระบบระบายแยก หมายถึง มีการแยกทอระบายน้ําเสีย


และระบบน้ําฝนออกจากกันอยางชัดเจน
ระบบรวบรวมน้ําเสียของอาคารชุด บานพักอาศัย และหมูบาน (บางแหง) มักออกแบบระบบทอ
ระบายน้ําเสียเปนระบบแยก โดยที่ทอรวบรวมน้ําเสียมีหนาที่รับน้ําเสียที่เกิดจากกิจกรรมตางๆ (เชน น้ําทิ้งจาก
การอาบน้ํา น้ําทิ้งจากสวม เปนตน) เขาสูระบบบําบัดน้ําเสีย (เชน บอเกรอะ เปนตน) สวนน้ําทิ้งที่ผานการ
บําบัดแลวจะถูกระบายลงสูระบบระบายน้ําเสียของชุมชนตอไป สําหรับทอระบายน้ําฝนมีหนาที่รวบรวบเฉพาะ
น้ําฝนในพื้นที่เพื่อระบายออกสูภายนอก
ตารางที่ 3.3-1
สมมูลประชากรและลักษณะน้ําเสียชุมชน

ลักษณะน้ําเสีย (มิลลิกรัม/ลิตร)
กิจกรรม ปริมาณน้ําเสีย ปริมาณบีโอดี ของแข็ง น้ํามันและ ทีเคเอ็น
บีโอดี
แขวนลอย ไขมัน (ไนโตรเจน)
อาคารชุดและ 520 48
151* 63* 473* 33*
บานพัก ลิตร/คน/หอง, หลัง กรัม/คน/หอง, หลัง
1,061 123
โรงแรม 190 84 563 23
ลิตร/วัน/หอง กรัม/วัน/หอง
78 76
หอพัก 723** 660** 377** 329**
ลิตร/วัน/หอง กรัม/วัน/หอง
800 94
โรงพยาบาล 238 87 631 15
ลิตร/วัน/เตียง กรัม/วัน/เตียง
25 53
ภัตตาคาร 1,759 913 1,570 63
ลิตร/วัน/ตารางเมตร กรัม/วัน/ตารางเมตร
69 21
ตลาด 1,172 660 897 76
ลิตร/วัน/ตารางเมตร กรัม/วัน/ตารางเมตร
4.6 0.27
หางสรรพสินคา 81 61 577 66
ลิตร/วัน/ตารางเมตร กรัม/วัน/ตารางเมตร
2.54 0.09
สํานักงาน 180 158 450 44
ลิตร/วัน/ตารางเมตร กรัม/วัน/ตารางเมตร
หมายเหตุ: * หมายถึง บําบัดแลวบางสวน
** หมายถึง น้ําเสียจากสวม
ที่มา: ธงชัย พรรณสวัสดิ์, 2530

กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม 3-5 กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม


หลักสูตรการจัดการมลพิษ โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

ตารางที่ 3.3-2
ลักษณะน้ําเสียในชุมชนตางๆ ของประเทศไทย

บีโอดี5 ของแข็งแขวนลอย ทีเคเอ็น ฟอสฟอรัส


ชุมชน
(มิลลิกรัม/ลิตร) (มิลลิกรัม/ลิตร) (มิลลิกรัม/ลิตร) (มิลลิกรัม/ลิตร)
เทศบาลเมืองอางทอง1/ 29-45 (35) 33-69 (55) 30-38 (34) 4.8-6.0 (5.5)
เทศบาลเมืองอางทอง2/ 38-43 (41) 75-98 (86) 27-29 (28) 7.0
1/
เทศบาลนครอุบลราชธานี 44-49 (46) 27-88 (52) - 2.5
1/
เทศบาลตําบลบางแสน 22-32 (26) 14-31 (25) 18-21 (19) 4.1-5.3 (4.5)
1/
เทศบาลเมืองภูเก็ต 84-119 (112) 181-252 (217) 18-24 (20) 2.2
2/
เทศบาลเมืองภูเก็ต 48 145 17 4.0
เมืองพัทยา1/ 32-33 (32) 33-42 (38) 21-22 (21) 2.7-3.5 (3.2)
เทศบาลเมืองพนัสนิคม2/ 22-32 (27) 18-23 (21) 19-21 (20) 2.0
เทศบาลเมืองเพชรบุร2/ี 38-43 (41) 17-33 (25) 18 2.4-4.3 (3.4)
2/
เทศบาลเมืองชัยภูมิ 18-29 (24) 11-15 (13) 18 5-9 (7)
2/
เทศบาลตําบลหัวขวาง 49-78 (64) 56 23-26 (25) 8-10 (9)
2/
เทศบาลตําบลบัวใหญ 22-31 (27) 10-20 (15) 16 1.6
2/
เทศบาลเมืองสกลนคร 21-39 (31) 21-36 (28) 18 1.5-6 (3.7)
เฉลี่ย 42 60 21 4.3
ที่มา: 1/สมาคมวิศวกรรมสิ่งแวดลอมแหงประเทศไทยและกรมควบคุมมลพิษ, 2546
2/
กรมควบคุมมลพิษ, 2543
ตารางที่ 3.3-3
ลักษณะน้ําเสียชุมชนของประเทศไทย

ประเภทของระบบ ลักษณะน้ําเสีย (มิลลิกรัม/ลิตร)


รวบรวมน้ําเสีย บีโอดี5 ของแข็งแขวนลอย ทีเคเอ็น ฟอสฟอรัส
ทอระบายรวม 65 – 110 (80) 40 – 110 (80) 10 – 40 (30) 1 – 6 (4)
ทอระบายแยก (160) (160) 10 – 40 (30) 1 – 6 (4)
หมายเหตุ: ( ) เปนคาที่แนะนํา
ที่มา: สมาคมวิศวกรรมสิ่งแวดลอมแหงประเทศไทยและกรมควบคุมมลพิษ, 2546
ชุมชนที่ยังไมมีระบบบําบัดน้ําเสียสวนกลางในปจจุบัน (ระดับเทศบาลหรือองคการบริหารสวน
ตําบล) มักออกแบบใหเปนทอระบายน้ํารวม (ดังรูปที่ 3.3-3) มีจุดประสงคเพื่อระบายน้ําฝนออกสูพื้นที่ชุมชนเปน
หลัก (ปองกันน้ําทวมในกรณีฝนตก) แตทอระบายดังกลาวยังมีหนาที่ระบายน้ําเสียออกจากพื้นที่อีกดวย
(ปองกันปญหาสุขภาพอนามัย) ซึ่งในกรณีนี้จะระบายน้ําเสียลงสูแหลงรับน้ําโดยตรง แตถาชุมชนดังกลาวมี
โครงการกอสรางระบบบําบัดน้ําเสียสวนกลาง มักออกแบบใหมีเพียงทอดักน้ําเสียและซีเอสโอเชื่อมตอกับระบบ
ระบายน้ํ าเดิมของชุมชน เพื่อรวบรวมน้ําเสียเขาสูระบบบํ าบัดน้ําเสียสวนกลาง ทั้ งนี้ เพื่อเปนการประหยั ด
กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม 3-6 กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม
ที่มา : สมาคมวิศวกรรมสิ่งแวดลอมแหงประเทศไทยและกรมควบคุมมลพิษ, 2546
รูปที่ 3.3-1 แผนภาพทอการไหลของระบบทอระบายรวม

ที่มา : สมาคมวิศวกรรมสิ่งแวดลอมแหงประเทศไทยและกรมควบคุมมลพิษ, 2546


รูปที่ 3.3-2 แผนภาพการไหลของทอระบบแยก
3-7
หลักสูตรการจัดการมลพิษ โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

งบประมาณโดยไมตองกอสรางทอใหมทั้งหมด จึงทําใหระบบรวบรวมน้ําเสียรวมของชุมชนในประเทศไทย (ทุกแหง)


เปนระบบระบายรวมทั้งหมด สําหรับซีเอสโอจะมีหนาที่ผันน้ําฝนสวนหนึ่ง (ที่มาจากทอระบายเดิมของชุมชน) ทิ้ง
ลงสูแหลงรับน้ําโดยตรงในกรณีฝนตก แตจะดักน้ําเสียปนน้ําฝนเพียงบางสวนเขาสูทอดักน้ําเสียเพื่อรวบรวมเขา
สูระบบบําบัดน้ําเสียสวนกลาง โดยสวนใหญมักออกแบบใหซีเอสโอและทอดักน้ําเสียรวบรวมน้ําฝนปนน้ําเสีย
(ในกรณีฝนตก) เขาสูระบบบําบัดน้ําเสียสวนกลางดวยปริมาณเทากับ 3-5 เทาของอัตราน้ําเสียเฉลี่ย

ที่มา : สมาคมวิศวกรรมสิ่งแวดลอมแหงประเทศไทยและกรมควบคุมมลพิษ, 2546


รูปที่ 3.3-3 ระบบรวบรวมน้าํ ทิ้งแบบเดิมของชุมชน
2) การบําบัดน้ําเสีย
การบําบัดน้ําเสียสามารถแบงขั้นตอนการบําบัดออกเปน 4 ขั้นตอน ไดแก การบําบัดขั้น
เตรียมการ การบําบัดขั้นตน การบําบัดขั้นสอง และการบําบัดขั้นสาม โดยมีรายละเอียดดังนี้
• การบําบัดขั้นเตรียมการ (preliminary treatment)
ความสําคัญของการบําบัดขั้นตอนนี้เปนการเตรียมน้ําเสียใหเหมาะสมหรือปองกันความ
เสียหายของเครื่องจักรกอนนําเขาบําบัดในขั้นตอนตอไป รวมทั้งลดความแปรผันของอัตราไหลและลักษณะน้ํา
เสียกอนปอนเขาสูหนวยบําบัดในขั้นตอนตอไป โดยการบําบัดในขั้นตอนนี้มักใชกระบวนการทางกายภาพเปน
หลัก ไดแก
- ตะแกรงดักขยะ (screen) เพื่อดักขยะขนาดใหญที่ปนเปอนมากับน้ําเสียออก ทั้งนี้เพื่อ
ปองกันการอุดตันในเครื่องมือวัดตางๆ หรือในระบบทอ
- ถังดักกรวดทราย (grit chamber) เพื่อดักกรวดทรายที่ปนมากับน้ําเสียออก ทั้งนี้เพื่อ
ปองกันระบบทออุดตันและเพื่อลดการสะสมในหนวยบําบัดอื่นๆ ในขั้นตอนตอไป
- ถังปรับเสมอ (equalization tank) เปนถังหรือบอรับน้ําเสียขนาดใหญเพื่อหนวงพักน้ําเสีย
ไวระยะหนึ่งเพื่อลดความแปรผันของลักษณะน้ําเสียและอัตราไหลน้ําเสีย กอนปอนเขาสูระบบบําบัดน้ําเสีย
(เนื่องจากในบางครั้งอัตราไหลและลักษณะน้ําเสียที่เขาระบบอาจมีการแปรผันสูง) จึงชวยทําใหหนวยบําบัดน้ํา
กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม 3-8 กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม
หลักสูตรการจัดการมลพิษ โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

เสียในขั้นตอนตอไปสามารถทํางานไดอยางเสถียรภาพและทํางานไดอยางนาเชื่อถือขึ้น
• การบําบัดขั้นตน (primary treatment)
การบําบัดขั้นตนมีจุดประสงคเพื่อกําจัดอนุภาคของสารอินทรียหรือน้ํามัน/ไขมันออกจากน้ํา
เสียกอนนําไปบําบัดในขั้นตอนตอไป ทั้งนี้เพื่อลดภาระอินทรียหรือปริมาตรของหนวยบําบัดน้ําเสียในการบําบัด
ขั้นสอง ซึ่งการบําบัดในขั้นตอนนี้มักเปนกระบวนการทางกายภาพเปนหลัก ไดแก
- ถังตกตะกอนขั้นตน (primary settling tank) มีหนาที่กําจัดของแข็งแขวนลอยที่อยูในรูป
สารอินทรีย โดยสวนใหญมักออกแบบใหอยูกอนหนาระบบขั้นที่สอง (เชน ระบบเอเอส เปนตน) ทั้งนี้ เพื่อลด
ขนาดของถังเติมอากาศในการบําบัดขั้นสอง
- การลอยตัวดวยอากาศลอย (Dissolved Air Flotation; DAF) เปนกระบวนการกําจัดสาร
เบาในน้ําเสีย เชน ไขมัน น้ํามัน เปนตน ซึ่งหากน้ํามัน/ไขมันเขาสูการบําบัดขั้นสอง (บางระบบ) อาจมีผลตอ
การทํางานของจุลชีพในระบบได
• การบําบัดขั้นสอง (secondary treatment)
การบําบัดขั้นสองเปนกระบวนการหลักที่จะบําบัดหรือกําจัดสารมลพิษในน้ําเสีย หากเปนน้ํา
เสียชุมชนมักมุงเนนการกําจัดสารอินทรียในน้ําเสียเปนหลัก จึงมักใชการบําบัดดวยกระบวนการชีวภาพเปนสวน
ใหญ กระบวนการทางชีวภาพสามารถแบงไดเปน 3 กระบวนการหลัก ไดแก กระบวนการใชอากาศ
กระบวนการไรอากาศ และกระบวนการแฟคัลเททีฟ โดยรายละเอียดดังนี้
- กระบวนการใชอากาศ (aerobic process) อาศัยแบคทีเรียที่ใชอากาศในการดํารงชีพชวย
ยอยสลายสารอินทรีย ดังนั้น ภายในถังปฏิกิริยาจําเปนตองเติมอากาศลงไปดวย ซึ่งโดยทั่วไปควรควบคุมคา
ออกซิเจนละลายน้ําใหมากกวา 2 มิลลิกรัม/ลิตร ตัวอยางของระบบบําบัดน้ําเสียที่มีกระบวนการบําบัดแบบนี้
ได แ ก ระบบเอเอส ระบบสระเติ ม อากาศ เป น ต น ส ว นผลที่ ไ ด จ ากการย อ ยสารอิ น ทรี ย ได แ ก ก า ซ
คารบอนไดออกไซด น้ํา แอมโมเนีย ไนเทรต ฟอสเฟต เปนตน
- กระบวนการไรอากาศ (anaerobic process) อาศัยแบคทีเรียที่ดํารงชีพแบบไมใชอากาศ
หรือออกซิเจน (หากมีออกซิเจนจะทําใหตายหรือไมเจริญเติบโต) ชวยยอยสลายสารอินทรีย โดยที่กระบวนการนี้
ไมจําเปนตองเติมอากาศลงไป ทําใหมีคาใชจายในการเดินระบบต่ํากวา นอกจากนี้ ผลพลอยไดจากกระบวนการ
นี้ ไดแก กาซชีวภาพ ซึ่งสามารถนําไปเปนเชื้อเพลิงหรือผลิตกระแสไฟฟาไดอีกดวย อยางไรก็ตาม กระบวนการ
นี้มักใชกับน้ําเสียที่มีคาบีโอดีคอนขางสูงและมักใชเปนหนวยบําบัดกอนหนา (pre-treatment) ตัวอยางของระบบ
บําบัดน้ําเสียที่มีกระบวนการบําบัดแบบนี้ ไดแก บอเกรอะ (septic tank) ระบบยูเอเอสบี (upflow anaerobic
sludge blanket) ระบบกรองไรอากาศ (anaerobic filter) บอแอนแอโรบิก (anaerobic pond) เปนตน
- กระบวนการแฟคัลเททีฟ (facultative process) อาศัยแบคทีเรียที่สามารถดํารงชีพไดทั้ง
2 สภาวะ (ทั้งมีอากาศและไรอากาศ) ชวยในการยอยสลายสารอินทรีย ตัวอยางของระบบบําบัดน้ําเสียที่มี
กระบวนการบําบัดแบบนี้ ไดแก บอแฟคัลเททีฟ (facultative pond) เปนตน
• การบําบัดขั้นสาม (tertiary treatment)
การบําบัดขั้นตอนนี้มีจุดประสงคเพื่อทําใหน้ําทิ้งจากการบําบัดขั้นสองมีคุณภาพดีขึ้นหรือ
เพื่อตองนําน้ําทิ้งกลับไปใชประโยชนใหม หรือเปนการกําจัดธาตุอาหารที่เหลือออกจากน้ําทิ้ง โดยที่การบําบัด
ดวยกระบวนการนี้อาจเปนทั้งกระบวนการทางกายภาพ ทางเคมี หรือชีวภาพก็ได เชน ระบบกรองทราย (sand
filter) อารโอ (Reverse Osmosis, RO) โอโซน (ozone) บึงประดิษฐ (constructed wetland) เปนตน
ถึงแมว าการบําบัด น้ําเสี ยแบง เปน 4 ขั้นตอน แตระบบบําบัด น้ําเสี ยในแตละแหงอาจ
ประกอบดวยการบําบัดเพียงขั้นตอนเดียวหรืออาจมีครบทั้ง 4 ขั้นตอนก็ได ทั้งนี้ขึ้นอยูกับลักษณะน้ําเสียและ
คุณภาพน้ําทิ้งที่ตองการ

กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม 3-9 กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม


หลักสูตรการจัดการมลพิษ โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

3.4 ระบบบําบัดน้ําเสีย

ระบบบํ า บั ด น้ํ า เสี ย ที่ เ หมาะสมกั บ น้ํ า เสี ย ชุ ม ชนของประเทศไทยที่ เ สนอแนะโดยสมาคมวิ ศ วกรรม
สิ่งแวดลอมแหงประเทศไทยและกรมควบคุมมลพิษ (2546) มี 3 ระบบ คือ ระบบบอปรับเสถียร ระบบสระเติม
อากาศ และระบบเอเอส สวนปจจัยที่มีผลตอการเลือกระบบบําบัดน้ําเสีย ไดแก ขนาดของพื้นที่กอสราง ราคา
ที่ดิน งบประมาณในการกอสราง งบประมาณในการเดินระบบ สภาพของพื้นที่ เปนตน โดยที่ความแตกตาง
ของแตละระบบแสดงดังตารางที่ 3.4-1
ตารางที่ 3.4-1
เปรียบเทียบขอแตกตางของระบบบําบัดน้ําเสียชุมชน

ระบบบําบัดน้าํ เสีย
ปจจัยที่มีผลตอการเลือกระบบบําบัดน้ําเสีย
SP AL AS
ประสิทธิภาพการบําบัด นอย ปานกลาง มาก
งบประมาณการกอสรางและดําเนินการ นอย ปานกลาง มาก
ความตองการเครื่องจักร นอย ปานกลาง มาก
ความตองการผูดูแลอยางใกลชิด นอย ปานกลาง มาก
ความตองการพื้นที่กอสราง มาก ปานกลาง นอย
ความงายในการควบคุมระบบ งาย ปานกลาง ยาก
ระยะเวลาที่ใชในการเดินระบบ มาก ปานกลาง นอย
หมายเหตุ: SP = Stabilization Pond (ระบบบอปรับเสถียร)
AL = Aerated Lagoon (ระบบสระเติมอากาศ)
AS = Activated Sludge (ระบบเอเอส)

3.4.1 ระบบบอปรับเสถียร (Stabilization Pond; SP)

ระบบบอปรับเสถียรเปนระบบที่ตองการเครื่องจัก รนอยมากหรืออาจไมมีเ ครื่องจักรเลยหากน้ําเสี ย


สามารถไหลเข าสูบอ บําบัด ดวยแรงโนมถวงของโลกโดยไมมีก ารสูบยก ดั งนั้น ระบบนี้จึง ไมจํ าเปน ตอ งมี
ผูควบคุมระบบที่มีความเชี่ยวชาญหรือการดูแลบํารุงรักษาระบบมากนัก แตระบบนี้ตองการพื้นที่มาก จึงเหมาะ
ที่จะใชสําหรับชุมชนขนาดเล็กหรือชุมชนที่ไมมีขอจํากัดในเรื่องพื้นที่หรือมีราคาที่ดินไมแพง อีกทั้งระบบนี้จะมี
ประสิทธิภาพสูงหากมีอุณหภูมิสูงและแดดจัด ซึ่งเหมาะกับสภาวะของประเทศไทยอยูแลว (เนื่องจากมีอุณหภูมิ
สูงและแดดจัดเกือบทั้งป)
บอปรับเสถียรสามารถแบงตามกระบวนการในการยอยสลายสารอินทรีย ได 3 ประเภท ไดแก
(1) บอแอนแอโรบิก (anaerobic pond)
บอแอนแอโรบิกมีความลึกประมาณ 3-4 เมตร เปนบอที่มีการยอยสลายสารอินทรียดวยกระบวนการ
ไรอากาศ ซึ่งอาจกอใหเกิดปญหาเรื่องมีกลิ่นเหม็นไดหากควบคุมระบบอยางไมเหมาะสม โดยที่บอแบบนี้เหมาะ
กับน้ําเสียที่มีสารอินทรียหรือบีโอดีสูง และมักออกแบบใหเปนบอบําบัดกอนหนา (pre-treatment) หรือตองนํา
น้ําทิ้งจากบอนี้ไปบําบัดยังหนวยบําบัดตอไป เชน บอแฟคัลเททีฟ สระเติมอากาศ ระบบเอเอส เปนตน

กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม 3-10 กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม


หลักสูตรการจัดการมลพิษ โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

(2) บอแฟคัลเททีฟ (facultative pond)


บอแฟคัลเททีฟมีความลึกประมาณ 1-2 เมตร เปนบอที่มีการกําจัดสารอินทรียดวยแบคทีเรียที่
สามารถดํารงชีพไดทั้งสภาวะไรอากาศและมีอากาศ หรือมักเรียกวา “บอเขียว” เนื่องจากสวนบนของบอจะมีการ
เลี้ยงสาหรายไวสวนหนึ่งดวย และเมื่อสาหรายสังเคราะหแสงก็จะคายออกซิเจนออกมา จึงทําใหสวนบนของบอมี
สภาวะแบบมีอากาศนั่นเอง ในขณะที่สวนที่ต่ํากวาระดับผิวน้ํา (มากกวา 50 เซนติเมตร) แสงแดดไมสามารถ
สองถึงได ทําใหสาหรายก็ไมสามารถสังเคราะหแสงและไมสามารถเจริญเติบได จึงทําใหสวนลางของบอมี
สภาวะไรออกซิเจนนั่นเอง
(3) บอบม (maturation pond)
โดยสวนใหญมักออกแบบใหบอแบบนี้รับน้ําทิ้งจากหนวยบําบัดอื่นๆ เชน รับน้ําทิ้งจากบอแฟคัลเท
ทีฟหรือระบบเอเอส เปนตน หรือเหมาะกับน้ําทิ้งที่มีคาความสกปรกต่ํานั่นเอง เนื่องจากบอแบบนี้มิไดมุงเนนใน
การกําจัดสารอินทรีย แตมีจุดประสงคหลักเพื่อฆาเชื้อโรคในน้ําทิ้งกอนระบายน้ําทิ้งลงสูแหลงรับน้ํา บอแบบนี้
มักมีความลึกไมมากนัก (ประมาณ 1.0-1.5 เมตร) เพราะตองการใหภายในบอจะมีสภาพเปนแอโรบิกหรือมี
อากาศ
อยางไรก็ตาม ในทางปฏิบัติมักออกแบบใหบอเหลานี้ทํางานรวมกันมากกวา 1 ประเภท หรือบางครั้งอาจ
เลือกใชรวมกันทั้ง 3 บอก็ได ขึ้นอยูกับลักษณะน้ําเสียและคุณภาพน้ําทิ้งที่ตองการ นอกจากนี้ ระบบนี้ไม
จําเปนตองมีการบําบัดขั้นเตรียมการและการบําบัดขั้นตนกอนหนา ตัวอยางแผนภาพการไหลของระบบบอปรับ
เสถียรแสดงในรูปที่ 3.4.1-1

3.4.2 ระบบสระเติมอากาศ (Aerated Lagoon; AL)

ระบบสระเติมอากาศมีความตองการใชพื้นที่นอยกวาบอปรับเสถียร แตมีคาใชจายในการเดินระบบสูงกวา
เนื่องจากตองเสียคาใชจายสําหรับกระแสไฟฟาในการเดินเครื่องเติมอากาศนั่นเอง โดยที่ระบบสระเติมอากาศ
ประกอบดวย 2 สวนหลัก คือ สระเติมอากาศและบอขัดแตง (ดังรูปที่ 3.4.2-1) โดยที่สระเติมอากาศมีหนาที่เลี้ยง
แบคทีเรียที่ใชอากาศในการดํารงชีพเพื่อยอยสลายสารอินทรียในน้ําเสีย โดยทั่วไปสระเติมอากาศจะมีความลึก
ประมาณ 2-5 เมตร และตองติดตั้งเครื่องเติมอากาศไวดวยเพื่อเติมอากาศใหกับแบคทีเรีย สวนบอขัดแตงจะวาง
ตอจากสระเติมอากาศมีหนาที่ตกตะกอนอนุภาคตางๆ ที่ปนเปอนมาจากสระเติมอากาศ (อนุภาคโดยสวนใหญเปน
อนุภาคของแบคทีเรีย) โดยสวนใหญมักออกแบบบอขัดแตงใหมีเวลากักน้ําไดอยางนอย 1-2 วัน นอกจากนี้ ระบบ
สระเติมอากาศนี้ไมจําเปนตองมีการบําบัดขั้นเตรียมการและการบําบัดขั้นตนกอนหนาเชนกัน

3.4.3 ระบบเอเอส (Activated Sludge; AS)

ระบบเอเอสเปนระบบที่ตองการพื้นที่นอยที่สุด (หากเปรียบเทียบกับ 2 ระบบขางตน) เพียงแตวาระบบนี้


ตองการเครื่องจักรจํานวนมาก มีงบประมาณการลงทุนและการเดินระบบสูง อีกทั้งยังเปนระบบที่มีการความ
ซับซอนในการควบคุมระบบ จึงตองมีผูควบคุมระบบที่มีความเชี่ยวชาญเปนพิเศษ ดังนั้น จึงเหมาะกับชุมชน
ขนาดใหญที่มีขอจํากัดเรื่องพื้นที่หรือมีราคาที่ดินแพงนั่นเอง
ระบบเอเอสมักประกอบดวยสวนหลักๆ (ดังรูปที่ 3.4.3-1) ไดแก บอปรับเสมอ ถังตกตะกอนขั้นตน ถังเติม
อากาศ และถังตกตะกอนขั้นสอง โดยมีรายละเอียดดังนี้
(1) ถังปรับเสมอ
โดยสวนใหญมักออกแบบใหถังปรับเสมอมีเวลากักน้ําอยูในชวง 6-12 ชั่วโมง หากเปนระบบบําบัด
น้ําเสียชุมชนสวนกลางที่พื้นที่บริการขนาดใหญ (ระดับเทศบาลหรือองคการบริหารสวนตําบล) มักมีการแปรผัน

กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม 3-11 กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม


แบบที่ 1 ทอน้ําเสียเขา แฟคัลเททีฟ 1 แฟคัลเททีฟ 2 บอบม ทอน้ําทิ้ง

แบบที่ 2 ทอน้ําเสียเขา บอแอนแอโรบิก แฟคัลเททีฟ บอบม ทอน้ําทิ้ง

รูปที่ 3.4.1-1 ตัวอยางแผนภาพการไหลของระบบบอปรับเสถียร

แบบที่ 1 ทอน้ําเสียเขา สระเติมอากาศ บอขัดแตง ทอน้ําทิ้ง

แบบที่ 2 ทอน้ําเสียเขา สระเติมอากาศ 1 สระเติมอากาศ 2 บอขัดแตง ทอน้ําทิ้ง

รูปที่ 3.4.2-1 ตัวอยางแผนภาพการไหลของระบบสระเติมอากาศ

ถังตกตะกอน ถังตกตะกอน
ทอน้ําเสียเขา ตะแกรง ถังปรับเสมอ ถังเติมอากาศ ทอน้ําทิ้ง
ขั้นตน ขั้นที่สอง

สลัดจเวียน สลัดจสวนเกิน

หมายเหตุ : - ถังดักกรวดทรายไมจําเปนตองใชหากมีระบบรวบรวมน้ําเสียเปนแบบระบบแยก
- ถังตกตะกอนขั้นตนไมจําเปนตองใชหากออกแบบใหเปนระบบเอเอสแบบเติมอากาศยืดเวลา

รูปที่ 3.4.3-1 ตัวอยางแผนภาพการไหลของระบบเอเอส

3-12
หลักสูตรการจัดการมลพิษ โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

ของอัตราไหลไมมากนัก อาจไมจําเปนตองมีถังหรือบอปรับเสมอก็ได แตในทางกลับกันหากเปนระบบบําบัดน้ํา


เสียที่มีพื้นที่บริการไมมากนัก เชน ระบบบําบัดน้ําเสียจากหมูบาน อาคารชุด เปนตน มักมีการแปรผันของ
อัตราไหลสูง (อาจมากถึง 3 เทาของอัตราไหลเฉลี่ย) จึงควรพิจารณาใหมีถังปรับเสมอดวย
(2) ถังตกตะกอนขั้นตน
โดยสวนใหญมักใชสําหรับระบบเอเอสแบบธรรมดา (conventional activated sludge) เพื่อดักอนุภาค
อินทรียออกจากน้ําเสียและกอนปอนน้ําเสียเขาสูถังเติมอากาศตอไป ทั้งนี้เพื่อลดภาระหรือลดขนาดของถังเติม
อากาศ อยางไรก็ตาม ระบบเอเอสบางประเภทไมจําเปนตองมีถังตกตะกอนขั้นตนก็ได แตตองออกแบบถังเติม
อากาศใหมีขนาดใหญกวาปกติ เพื่อทําใหมีเวลากักมากพอที่จะยอยสลายอนุภาคอินทรียได มักเรียกระบบเอ
เอสแบบนี้วา “ระบบเอเอสแบบเติมอากาศยืดเวลา” (extended aeration)
(3) ถังเติมอากาศ
ถังเติมอากาศเปนหนวยหลักที่ใชกําจัดสารอินทรียในน้ําเสีย โดยเลี้ยงแบคทีเรียที่ใชอากาศหรือ
ออกซิเจนในการดํารงชีพชวยในการยอยสลายสารอินทรีย ซึ่งคลายกับสระเติมอากาศ เพียงแตวาในถังเติม
อากาศจะมีปริมาณแบคทีเรียหนาแนนมากกวาในสระเติมอากาศหลายเทาตัว (โดยใชเทคนิคการเวียนสลัดจ
จากกนถังตกตะกอนกลับมายังถังเติมอากาศ) ทําใหใชเวลาในการยอยสลายสารอินทรียสั้นกวาดวย ทําใหถัง
เติมอากาศมีขนาดเล็กกวาสระเติมอากาศ
(4) ถังตกตะกอนขั้นสอง
มีจุดประสงคหลัก 2 ประการ ประการแรกเพื่อแยกของแข็งแขวนลอยหรืออนุภาคของแบคทีเรียที่
ปนเปอนมากับน้ําทิ้ง (จากถังเติมอากาศ) โดยการตกตะกอนสูกนถัง ซึ่งน้ําใสสวนบนจะถูกระบายทิ้งตอไป
สําหรับจุดประสงคประการที่สองเพื่อทําใหของแข็งแขวนลอยหรือสลัดจกนถังตกตะกอนมีความหนาแนนขึ้น
และจะสูบสลัดจบางสวนเวียนกลับไปยังถังตกตะกอนขั้นตน สําหรับสลัดจอีกสวนหนึ่งจะถูกระบายทิ้งออกนอก
ระบบ ทั้งนี้ เพื่อควบคุมปริมาณสลัดจหรือจํานวนแบคทีเรียในระบบใหคงที่ กลาวคือ เมื่อแบคทีเรียยอยสลาย
สารอินทรียแลว จะทําใหมีการแบงเซลหรือเจริญเติบโตขึ้นอยางตอเนื่องเชนกัน หากไมระบายทิ้งบางจะทําใหมี
ปริมาณสูงขึ้นเรื่อยๆ และจะทําใหความสามารถในการตกตะกอนของสลัดจหรือของแข็งแขวนลอยต่ําลงดวย
หากเปนเชนนั้นจะทําใหของแข็งแขวนลอยหรือแบคทีเรียปนเปอนไปกับน้ําทิ้งมากขึ้น โดยสวนใหญมักเรียก
สลัดจที่ระบายทิ้งวา “สลัดจสวนเกิน” (excess sludge)
(5) การจัดการสลัดจสวนเกิน
ระบบเอเอส (ทุกแบบ) จําเปนตองระบายสลัดจสวนเกินทิ้งบางอยางตอเนื่อง ดังนั้น ระบบเอเอสจึง
ตองมีหนวยบําบัดสลัดจสวนเกินนี้ดว ย ถามีการจัดการอยางไมเหมาะสมอาจกอใหเกิดปญหาหรือผลกระทบตอ
ชุมชนเชนกัน เชน อาจเกิดปญหากลิ่นเหม็นเนื่องจากการเนาของสลัดจ เปนตน โดยปกติการบําบัดสลัดจ
ประกอบดวยหลายหนวยขึ้นอยูกับจุดประสงคและลักษณะของสลัดจสวนเกิน รายละเอียดดังนี้
1) การทําขนสลัดจ (sludge thickening) เปนการเพิ่มความเขมขนของสลัดจสวนเกินใหสูงขึ้น
เพื่อใหมีสภาพเหมาะสมในการบําบัดในขั้นตอนตอไป เชน การปรับเสถียรสลัดจ การแยกน้ําจากสลัดจ เปนตน
โดยปกติความเขมขนของสลัดจกนถังตกตะกอนอาจอยูในชวงรอยละ 0.8-1.0 ซึ่งถาผานการทําขนแลวจะมี
ความเขมขนเพิ่มขึ้นเปนรอยละ 2-3
2) การปรับเสถียรสลัดจ (sludge stabilization) เปนการยอยสลัดจสวนเกินใหมีความคงรูป
กลาวคือ สลัดจสวนเกินมักมีปริมาณสารอินทรียหลงเหลืออยู (โดยเฉพาะเซลลแบคทีเรียเอง) หากไมผานการ
ยอยสลายใหคงรูปกอน จะกอใหเกิดปญหาการเนาเหม็นไดในภายหลัง อยางไรก็ตาม หากสามารถนําสลัดจไป
ฝงกลบที่บอฝงกลบแบบถูกหลักสุขาภิบาลหรือเขาเตาเผาได อาจไมจําเปนตองมีการยอยสลัดจก็ได หรือหาก
ออกแบบระบบเอเอสใหเปนแบบเติมอากาศยืดเวลา ก็อาจจําเปนตองมีการปรับเสถียรสลัดจเชนกัน เนื่องจาก
กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม 3-13 กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม
หลักสูตรการจัดการมลพิษ โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

สลัดจสวนเกินที่ไดจากระบบแบบนี้มักมีความคงรูปอยูแลว
3) การแยกน้ําจากสลัดจ (sludge dewatering) มีจุดประสงคเพื่อลดปริมาตรสลัดจสวนเกินใหมี
ความเขมขนสูง (ประมาณรอยละ 30-50) กอนนําไปกําจัดหรือทิ้งตอไป ทั้งนี้ เพื่อใหงายตอการขนสง รวมทั้ง
เปนการลดงบประมาณในการขนสงและกําจัดไดอีกดวย

3.4.4 ระบบบึงประดิษฐ (wetland)

เปนระบบบําบัดน้ําเสียที่อาศัยกระบวนการทางธรรมชาติซึ่งกําลังเปนที่นิยมในปจจุบัน โดยเฉพาะอยาง
ยิ่งในการใชปรับปรุงคุณภาพน้ําทิ้งที่ผานการบําบัดแลว แตตองการลดปริมาณไนโตรเจนและฟอสฟอรัสกอน
ระบายออกสูแหลงรองรับน้ําทิ้ง นอกจากนี้ ระบบบึงประดิษฐยังสามารถใชเปนระบบบําบัดน้ําเสียในขั้นที่ 2
(secondary treatment) สําหรับบําบัดน้ําเสียจากชุมชนไดอีกดวย ขอดีของระบบนี้ คือ ไมซับซอนและไมตองใช
เทคโนโลยีในการบําบัดสูง
บึงประดิษฐมี 2 ประเภท ไดแก แบบ Free Water Surface (FWS) ซึ่งมีลักษณะใกลเคียงกับบึงธรรมชาติ
และแบบ Vegetated Submerged Bed System (VSB) ซึ่งจะมีชั้นดินปนทรายสําหรับปลูกพืชน้ําและชั้นหินรอง
กนบอเพื่อเปนตัวกรองน้ําเสีย
(1) หลักการทํางานของระบบ
เมื่อน้ําเสียไหลเขามาในบึงประดิษฐสวนตน สารอินทรียสวนหนึ่งจะตกตะกอนจมตัวลงสูกนบึง และ
ถูกยอยสลายโดยจุลินทรีย สวนสารอินทรียที่ละลายน้ําจะถูกกําจัดโดยจุลินทรียที่เกาะติดอยูกับพืชน้ําหรือชั้น
หินและจุลินทรียที่แขวนลอยอยูในน้ํา ระบบนี้จะไดรับออกซิเจนจากการแทรกซึมของอากาศผานผิวน้ําหรือชั้น
หินลงมา ออกซิเจนบางสวนจะไดจากการสังเคราะหแสงแตมีปริมาณไมมากนัก สําหรับสารแขวนลอยจะถูก
กรองและจมตัวอยูในชวงตน ๆ ของระบบ การลดปริมาณไนโตรเจนจะเปนไปตามกระบวนการไนทริฟเคชัน
(nitrification) และดีไนทริฟเคชั่น (denitrification) สวนการลดปริมาณฟอสฟอรัสสวนใหญจะเกิดที่ชั้นดินสวน
พื้นบอ และพืชน้ําจะชวยดูดซับฟอสฟอรัสผานทางรากและนําไปใชในการสรางเซลล นอกจากนี้ ระบบบึง
ประดิษฐยังสามารถกําจัดโลหะหนักไดบางสวนอีกดวย

(2) สวนประกอบของระบบ
1) ระบบบึงประดิษฐแบบ Free Water Surface Wetland (FWS) เปนแบบที่นิยมใชในการปรับปรุง
คุณภาพน้ําทิ้งหลังจากผานการบําบัดจากบอปรับเสถียร (stabilization pond) แลว ลักษณะของระบบแบบนี้จะเปน
บอดินที่มีการบดอัดดินใหแนนหรือปูพื้นดวยแผนพลาสติกประเภทความหนาแนนสูง (HDPE) ใหไดระดับเพื่อให
น้ําเสียไหลตามแนวนอนขนานกับพื้นดิน บอดินจะมีความลึกแตกตางกันเพื่อใหเกิดกระบวนการบําบัดตาม
ธรรมชาติอยางสมบูรณ โครงสรางของระบบแบงเปน 3 สวน (อาจเปนบอเดียวกันหรือหลายบอขึ้นอยูกับการ
ออกแบบ) ดังนี้ (ตารางที่ 3.4.4-1)
- สวนแรก เปนสวนที่มีการปลูกพืชที่มีลักษณะสูงโผลพนน้ําและรากเกาะดินปลูกไว เชน กก
แฝก ธูปฤาษี เปนตน เพื่อชวยในการกรองและตกตะกอนของสารแขวนลอยและสารอินทรียที่ตกตะกอนได ทํา
ใหกําจัดสารแขวนลอยและสารอินทรียไดบางสวน เปนการลดสารแขวนลอยและคาบีโอดีไดสวนหนึ่ง
- สวนที่สอง เปนสวนที่มีพืชชนิดลอยอยูบนผิวน้ํา เชน จอก แหน บัว รวมทั้งพืชขนาดเล็กที่
แขวนลอยอยูในน้ํา เชน สาหราย จอก แหน เปนตน พื้นที่สวนที่สองนี้จะไมมีการปลูกพืชที่มีลักษณะสูงโผลพน
น้ําเหมือนในสวนแรกและสวนที่สาม น้ําในสวนนี้จึงมีการสัมผัสอากาศและแสงแดดทําใหมีการเจริญเติบโตของ
สาหรายซึ่งเปนการเพิ่มออกซิเจนละลายน้ํา (DO) ทําใหจุลินทรียชนิดที่ใชออกซิเจนยอยสลายสารอินทรียที่
ละลายน้ําไดเปนการลดคาบีโอดีในน้ําเสีย และยังเกิดสภาพไนทริฟเคชันดวย
กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม 3-14 กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม
หลักสูตรการจัดการมลพิษ โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

- สวนที่สาม มีการปลูกพืชในลักษณะเดียวกับสวนแรก เพื่อชวยกรองสารแขวนลอยที่ยัง


เหลืออยู และทําใหเกิดสภาพดิไนทริฟเคชัน เนื่องจากออกซิเจนละลายน้ําลดลง ซึ่งสามารถลดสารอาหาร
จําพวกสารประกอบไนโตรเจนได
ตารางที่ 3.4.4-1
ตัวอยางเกณฑการออกแบบระบบบึงประดิษฐแบบ Free Water Surface Wetland
พารามิเตอร คาที่ใชออกแบบ
Maximum BOD Loading
- กรณีที่ตองการคา BOD ของน้ําทิ้ง 20 มิลลิกรัม/ลิตร 4.5 กรัม/ตารางเมตร/วัน
- กรณีที่ตองการคา BOD ของน้ําทิ้ง 30 มิลลิกรัม/ลิตร 6.0 กรัม/ตารางเมตร/วัน
Maximum TSS Loading
3.0 กรัม/ตารางเมตร/วัน
- กรณีที่ตองการคา TSS ของน้ําทิ้ง 20 มิลลิกรัม/ลิตร
5.0 กรัม/ตารางเมตร/วัน
- กรณีที่ตองการคา TSS ของน้ําทิ้ง 30 มิลลิกรัม/ลิตร
ขนาดบอ (ความยาว : ความกวาง) 3 : 1 - 5 :1
ความลึกน้ํา
- สวนที่ 1 และ 3 0.6-0.9 เมตร
- สวนที่ 2 1.2-1.5 เมตร
Minimum HRT (at Qmax) ของสวนที่ 1 และ 3 2 วัน
Maximum HRT (at Qave) ของสวนที่ 2 2-3 วัน
หมายเหตุ : TSS = คาของแข็งแขวนลอยทั้งหมด (Total Suspended Solids),
Qmax = Maximum monthly flow และ Qave = Average flow,
HRT = เวลาเก็บกักน้ํา (Hydraulic Retention Time)
ที่มา : Constructed Wetlands Treatment of Municipal Wastewater, EPA/625/R-99/010
2) ระบบบึงประดิษฐแบบ Vegetated Submerged Bed System (VSB)
ระบบบึงประดิษฐแบบนี้จะมีขอดีกวาแบบ Free Water Surface Wetland คือ เปนระบบที่แยก
น้ําเสียไมใหถูกรบกวนจากแมลงหรือสัตว และปองกันไมใหจุลินทรียตางๆ ที่ทําใหเกิดโรคมาปนเปอนกับคนได
ในบางประเทศใชระบบบึงประดิษฐแบบนี้ในการบําบัดน้ําเสียจากบอเกรอะ (septic tank) และปรับปรุงคุณภาพ
น้ําทิ้งจากระบบบอปรับเสถียร (stabilization pond) หรือใชในการปรับปรุงคุณภาพน้ําทิ้งจากระบบเอเอส
(activated sludge) และระบบอารบีซี (RBC) หรือใชในการปรับปรุงคุณภาพน้ําที่ระบายออกจากอาคารดักน้ํา
เสียหลังซีเอสโอ (CSO) เปนตน
สวนประกอบที่สําคัญในการบําบัดน้ําเสียของระบบบึงประดิษฐแบบนี้ คือ (ตารางที่ 3.4.4-2)
• พืชที่ปลูกในระบบ จะมีหนาที่สนับสนุนใหเกิดการถายเทกาซออกซิเจนจากอากาศเพื่อเพิ่ม
ออกซิเจนใหแกน้ําเสียและยังทําหนาที่สนับสนุนใหกาซที่เกิดขึ้นในระบบ เชน กาซมีเทน จากการยอยสลายแบบ
แอนแอโรบิคสามารถระบายออกจากระบบไดอีกดวย นอกจากนี้ ยังสามารถกําจัดไนโตรเจนและฟอสฟอรัสได
โดยการนําไปใชในการเจริญเติบโตของพืช
• ตัวกลาง (media) จะมีหนาที่สําคัญ คือ
- เปนที่สําหรับใหรากของพืชที่ปลูกในระบบยึดเกาะ
- ชวยใหเกิดการกระจายของน้ําเสียที่เขาระบบและชวยรวบรวมน้ําทิ้งกอนระบายออก
- เปนที่สําหรับใหจุลินทรียยึดเกาะ
- สําหรับใชกรองสารแขวนลอยตางๆ
กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม 3-15 กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม
หลักสูตรการจัดการมลพิษ โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

(3) ปญหาที่เกิดจากการใชระบบบึงประดิษฐ
ปญหาทางดานเทคนิคมีนอย เนื่องจากเปนระบบที่อาศัยธรรมชาติเปนหลัก แตอาจมีปญหาที่พบคือ
พืชที่นํามาปลูกไมสามารถเจริญเติบโตเพิ่มปริมาณตามที่ตองการได อาจเนื่องมาจากการเลือกใชชนิดของพืช
ไมเหมาะสม สภาพของดินไมเหมาะสม หรือถูกรบกวนจากสัตวที่กินพืชเหลานี้เปนอาหาร เปนตน
(4) ประโยชนที่ไดจากบึงประดิษฐ
- ประโยชนทางตรง สามารถลดปริมาณสารอินทรีย ของแข็งแขวนลอย และสารอาหารไดอยางมี
ประสิทธิภาพ ทําใหคุณภาพแหลงรองรับน้ําทิ้งดีขึ้น
- ประโยชนทางออม ทําใหเกิดความสมดุลของระบบนิเวศและสภาพแวดลอม เปนที่อยูอาศัยและ
แหลงอาหารของสัตวและนกชนิดตางๆ และเปนแหลงพักผอนหยอนใจและศึกษาทางธรรมชาติ
(5) ตัวอยางระบบบึงประดิษฐที่ใชในประเทศไทย
แหลงชุมชนระดับเทศบาลหลายแหงใชระบบบึงประดิษฐแบบ Free Water Surface Wetland
โดยตรงเพื่อรับน้ําทิ้งหลังบําบัดจากระบบบอปรับเสถียรแลว เชน
- เทศบาลเมืองสกลนคร ขนาดของระบบบึงประดิษฐสามารถรองรับน้ําเสียได 16,200 ลูกบาศก
เมตร/วัน ใชพื้นที่ 184.5 ไร
- เทศบาลนครหาดใหญ ขนาดของระบบบึงประดิษฐสามารถรองรับน้ําเสียได 138,600 ลูกบาศก
เมตร/วัน ใชพื้นที่ 515 ไร
- เทศบาลเมืองเพชรบุรี ขนาดของระบบบึงประดิษฐสามารถรองรับน้ําเสียได 10,000 ลูกบาศก
เมตร/วัน ใชพื้นที่ 22 ไร
ตารางที่ 3.4.4-2
ตัวอยางเกณฑการออกแบบระบบบึงประดิษฐแบบ Vegetated Submerged Bed System (VSB)

พารามิเตอร คาที่ใชออกแบบ
Area loading rate
- กรณีที่ตองการคา BOD ของน้ําทิ้ง 20 มิลลิกรัม/ลิตร 1.6 กรัม/ตารางเมตร/วัน
- กรณีที่ตองการคา BOD ของน้ําทิ้ง 30 มิลลิกรัม/ลิตร 6 กรัม/ตารางเมตร/วัน
- กรณีที่ตองการคา TSS ของน้ําทิ้ง 3 มิลลิกรัม/ลิตร 20 กรัม/ตารางเมตร/วัน
ความลึก
- ตัวกลาง (media) 0.5-0.6 เมตร
- น้ํา 0.4-0.5 เมตร
ความกวาง ไมมากกวา 61 เมตร
ความยาว ไมนอยกวา 15 เมตร
ความลาดเอียง (slope) ของกนบอ รอยละ 0.5-1
ขนาดของตัวกลาง (media)
- สวนรับน้ําเสีย (inlet zone) 1.5-3.0 นิ้ว
- สวนที่ใชในการบําบัด (treatment zone) 3/4-1 นิ้ว
- สวนระบายน้ําทิ้ง (outlet zone) 1.5-3.0 นิ้ว
- สวนสําหรับปลูกพืชน้ํา (planting media) 1/4-3/4 นิ้ว
ที่มา : Constructed Wetlands Treatment of Municipal Wastewater, EPA/625/R-99/010

กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม 3-16 กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม


“การจัดการมลพิษทางอากาศและเสียง”

“มลพิษทางอากาศ หมายถึง สภาวะที่มีสารมลพิษหรือสารเจือปนอยูในอากาศในปริมาณและมีเวลาสัมผัส


นานพอที่จะทําใหเกิดผลเสียตอสุขภาพอนามัยได ซึ่งสารมลพิษขางตนอาจเกิดขึ้นเองตามธรรมชาติหรือจากการ
กระทําของมนุษยก็ได สารมลพิษที่สําคัญ คือ ฝุนละออง กาซซัลเฟอรไดออกไซด กาซออกไซดของไนโตรเจน
กาซคารบอนมอนอกไซด กาซไฮโดรเจนซัลไฟด และกาซสารประกอบอินทรียระเหยงายหรือวีโอซี
สําหรับมลพิษทางเสียงนั้นโดยธรรมชาติไมเปนอันตรายแกมนุษย หากแตเปนผลกระทบตอรางกาย เชน
รบกวนการนอนหลับ รบกวนการสนทนาหรือติดตอสื่อสาร สงผลตอประสิทธิภาพการทํางาน เปนตน แตการได
ยินเสียงดังนานๆ จะเปนอันตรายแกการไดยินของมนุษย ซึ่งเปนสาเหตุที่ทําใหระบบประสาทการไดยินคอยๆ
เสื่อมลงและอาจเกิดการสูญเสียการไดยินได
เนื้อหาในบทนี้กลาวถึงความรูโดยทั่วไปเกี่ยวกับเทคโนโลยีในการควบคุมมลพิษทางอากาศและเสียง โดย
แนะนํารวมถึงปจจัยในการคัดเลือกเทคโนโลยีที่เหมาะสมในการควบคุมและปองกันมลพิษทางอากาศและเสียง”

****************************
หลักสูตรการจัดการมลพิษ โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

บทที่ 4
การจัดการมลพิษทางอากาศและเสียง

4.1 การควบคุมมลพิษทางอากาศ

4.1.1 มลพิษทางอากาศ

มลพิษทางอากาศ หมายถึง สภาวะที่มีสารมลพิษหรือสารเจือปนอยูในอากาศในปริมาณและมีเวลาสัมผัสนาน


พอที่จะทําใหเกิดผลเสียตอสุขภาพอนามัย ซึ่งสารมลพิษขางตนอาจเกิดขึ้นเองตามธรรมชาติหรือจากการกระทํา
ของมนุษยก็ได ตัวอยางแหลงกําเนิดมลพิษทางอากาศโดยธรรมชาติ เชน ภูเขาไฟ ไฟไหมปา การเนาเปอยและการ
หมัก การฟุงกระจายของดินหรือเมล็ดพืช เปนตน สวนตัวอยางแหลงกําเนิดที่เกิดจากการกระทําของมนุษย เชน
การเผาไหมเชื้อเพลิงทั้งจากบานเรือน โรงงานอุตสาหกรรม และยานพาหนะ กระบวนการผลิตหรือแปรรูปบาง
ประเภท เปนตน
สารมลพิษทางอากาศที่สําคัญ คือ ฝุนละออง กาซซัลเฟอรไดออกไซด กาซออกไซดของไนโตรเจน กาซ
คารบอนมอนอกไซด กาซไฮโดรเจนซัลไฟด และกาซสารประกอบอินทรียระเหยงายหรือวีโอซี อยางไรก็ตาม
สารมลพิษทางอากาศขางตนอาจแบงไดเปน 2 กลุมหลัก คือ อนุภาค (หรือฝุนละออง) และกาซ (หรือไอ) โดยที่
กาซอาจแบงยอยไดเปนกาซอินทรียและกาซอนินทรียอีกดวย สําหรับเทคโนโลยีการควบคุมสารมลพิษแตละกลุม
หรือแตละชนิดนั้นก็มีความแตกตางกันออกไป ซึ่งสามารถอธิบายไดดังตารางที่ 4.1.1-1
โดยทั่วไปแล วการติดตั้ง อุปกรณควบคุมมลพิษทางอากาศก็เพื่ อลดอั ตราการระบายมลพิษใหอยูใ น
มาตรฐานตามที่กฎหมายกําหนดไว อยางไรก็ตาม มักจะมีทางเลือกอื่นที่เปนไปไดในการจะลดอัตราการระบาย
มลพิษ เชน การเปลี่ยนแปลงชนิดของเชื้อเพลิงที่ใช การแกไขหรือการเปลี่ยนชนิดหรือคุณภาพวัตถุดิบ เปนตน
ทางเลือกดังกลาวอาจจะลดอัตราการระบายมลพิษโดยไมมีความจําเปนตองเพิ่มอุปกรณควบคุมก็ได ซึ่งปกติ
ควรจะมีการพิจารณาวิธีเหลานี้กอนการติดตั้งอุปกรณควบคุมที่มีราคาคอนขางแพง
การติดตั้งและใชงานอุปกรณเพื่อควบคุมมลพิษทางอากาศทั้งฝุนละอองและกาซจากแหลงกําเนิดมี
มาแลวเปนเวลาหลายสิบปในอุตสาหกรรมหลายประเภท โดยการเลือกใชไซโคลน (cyclone) ถุงกรอง (bag
house) อีพี (electrostatic precipitator; EP) และเครื่องพนจับแบบเปยก (wet scrubber) เปนอุปกรณลดอัตรา
การระบายฝุนละออง ขณะที่หองตกสะสม (gravity settling chamber) หอดูดซับ (absorber tower) หอบรรจุ
ตัวกลาง (packed tower) เตาเผา (incinerator) และเครื่องควบแนน (condenser) เปนอุปกรณที่ถูกนํามา
ควบคุมอัตราการระบายมลพิษประเภทกาซและไอ โดยอุปกรณควบคุมมลพิษทางอากาศดังกลาวนี้ ใชหลักการ
ทางฟสิกสและทางเคมี พรอมทั้งคุณสมบัติของสารมลพิษและอากาศเสียที่ระบายออก

4.1.2 อุปกรณบําบัดฝุน

ประสิทธิภาพของอุปกรณควบคุมฝุนแตละประเภทขึ้นอยูกับขนาดของฝุน เนื่องจากขนาดของฝุนเปนตัว
แปรสําคัญที่ใชในการคํานวณออกแบบอุปกรณและยังทําใหสามารถทํานายฟงกชันของประสิทธิภาพของ
อุปกรณควบคุมที่แปรผันตามขนาดของฝุน (grade efficiency) ไดอีกดวย ซึ่งจะขึ้นอยูกับหลายปจจัย เชน
อัตราการไหล ปริมาณฝุน คุณสมบัติของฝุน ลักษณะและขนาดของอุปกรณ เปนตน

กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม 4-1 กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม


หลักสูตรการจัดการมลพิษ โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

ตารางที่ 4.1.1-1
เทคโนโลยีการควบคุมสารมลพิษ

สารมลพิษทางอากาศ เทคโนโลยีในการควบคุม
1. อนุภาคหรือฝุนละออง - หองตกสะสม (gravity settling chamber)
- เครื่องดักฝุนแบบไซโคลน (cyclone)
- เครื่องพนจับแบบเปยก (wet scrubber)
- อุปกรณดักฝุนแบบถุงกรอง (bag house)
- เครื่องดักจับอนุภาคดวยไฟฟาสถิต (electrostatic precipitator)
2. กาซหรือไอ - หอดูดซับ (absorber tower)
- หอบรรจุตัวกลาง (packed tower)
- เตาเผา (incinerator)
- เครื่องควบแนน (condenser)

การกําจัดฝุนออกจากอากาศเสียดวยอุปกรณบําบัดฝุนโดยทั่วไปจะอาศัยกลไกที่ฝุนตกกระทบกับวัตถุ
เปาหมายเพื่อใหสามารถแยกอนุภาคฝุนออกจากการไหลของกระแสอากาศ รูปแบบของอุปกรณที่ใชจะขึ้นกับ
แรงที่ใชในการเก็บฝุนหรือการดักเก็บที่ผิวของวัตถุเปาหมาย โดยจะมี 2 รูปแบบ สําหรับอุปกรณรูปแบบแรก
วัตถุเปาหมายจะเปนผิวเรียบธรรมดาซึ่งควบคุมการไหลของกระแสอากาศ เชน หองตกสะสม ไซโคลน เปนตน
สวนอีกแบบหนึ่งวัตถุเปาหมายจะเปนผิวภายนอกของฉาก (target) เชน ทรงกระบอก (เสนใย) ทรงกลม (หยด
ของเหลว) เปนตน ฉากของอุปกรณควบคุม ประกอบดวย การนําเอาฉากยอยๆ หลายๆ อันมารวมกัน เชน
เสนใยในแผนกรองหรือหยดของเหลวในเครื่องพนจับแบบเปยก เปนตน โดยที่ขอดีและขอเสียของอุปกรณ
บําบัดฝุนในแตละประเภทแสดงดังตารางที่ 4.1.2-1
ปจจัยที่มีอิทธิพลตอการเลือกใชอุปกรณควบคุมสารมลพิษทางอากาศมีหลายปจจัย ไดแก ความเชื่อถือ
(อุปกรณควบคุมอาจจะออกแบบใหมีราคาต่ําแตมีความเชื่อถือสูง) พื้นฐานทางการคา ประสิทธิภาพ ความดัน
ลด (pressure drop) งบประมาณในการติดตั้ง และคาใชจายในการใชงาน หลักการหนึ่งที่มีความสําคัญในการ
ออกแบบอุปกรณควบคุมฝุน คือ ความสอดคลองระหวางประสิทธิภาพและความดันลด (ซึ่งสามารถแสดงถึง
กําลังไฟฟาที่ตองการ) โดยที่ประสิทธิภาพ (โดยน้ําหนัก) สามารถหาไดจากสมการ

collection efficiency = inlet loading – outlet loading X 100%


inlet loading

ความดันลด หมายถึง ความดันที่สูญเสียในระหวางสวนที่เขาและออกจากอุปกรณ อุปกรณที่มีความดันลดสูง


ตองการพัดลมที่มีขนาดใหญ (และตองการกําลังไฟฟามาก) เพื่อดึงหรือผลักใหกาซผานเขาระบบควบคุม เชน
เครื่องพนจับเวนจูรี (venturi scrubber) ซึ่งถูกออกแบบขึ้นมาใหทํางานที่ความดันลดสูง (มากกวา 10 นิ้วน้ํา) ในทาง
ตรงกั นข ามเครื่ องดั กจั บอนุ ภาคด วยไฟฟ าสถิ ตมี ความดั นลดต่ํ า หากแต อุ ปกรณ ทั้ งสองชนิ ดข างต นอาจมี
ประสิทธิภาพในการบําบัดเทากัน

กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม 4-2 กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม


หลักสูตรการจัดการมลพิษ โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

ตารางที่ 4.1.2-1
การเปรียบเทียบระบบควบคุมฝุนชนิดตางๆ

ระบบกําจัดฝุน ขอดี ขอเสีย


- โครงสรางงาย บํารุงรักษางาย ทนทาน - ตองใชพื้นที่มาก มักมีขนาดใหญ
หองตกสะสม - ความดันลดต่ํา - ประสิทธิภาพในการเก็บฝุนต่ํา
- ใชพลังงานต่ํา
- โครงสรางงาย ไมมีสวนเคลื่อนที่ - ประสิทธิภาพไมดีนักเมื่อใชกับฝุนขนาดเล็ก
เครื่องดักฝุน - บํารุงรักษางายและใชพื้นที่ติดตั้งนอย (เล็กกวา 5 ไมครอน)
แบบไซโคลน - สรางดวยวัสดุที่ทนตออุณหภูมิสูงได - ไวต อ การเปลี่ ย นแปลงของปริ ม าณฝุ น และ
- ความดันลดไมสูงนัก อัตราการไหลของกระแสไหลเขา
- คาใชจายในการติดตั้งต่ํา - คาใชจายในการใชงานสูง เนื่องจากคาความ
- ใชพื้นที่นอย ดันสูญเสียสูง
- ใช ดั ก จั บ ฝุ น ที่ เ หนี ย ว ติ ด ไฟได และฝุ น ที่ กั ด - โดยเฉพาะเมื่อจับฝุนขนาดเล็ก (เล็กกวา 1
เครื่องพนจับ
กรอนได ไมครอน)
แบบเปยก
- จับฝุนและกาซไดในขั้นตอนเดียว - มีน้ํา เสียเกิดขึ้นและมีคาใชจายเพิ่ม ขึ้น เพื่อ
(เวนจูรี)
- ประสิทธิภาพการจับฝุนไมขึ้นกับสภาพ บําบัดน้ําเสีย
ตานทานไฟฟาของฝุน
- งายตอการเดินเครื่อง มีสวนเคลื่อนที่นอย
- ประสิทธิภาพในการจับฝุนที่มีขนาดเล็กสูงมาก - ใชจับฝุนในกระแสกาซที่มีอุณหภูมิสูง (สูงกวา
(มากกวารอยละ 99) 290 องศาเซลเซียส) ไมได นอกจากลด
- ใชดักจับฝุนที่มีความตานทานไฟฟาสูง อุณหภูมิดวย pre-cooler หรือใชผากรอง
- ประสิทธิภาพการจับฝุนไมขึ้นอยูกับปริมาณฝุน ชนิดพิเศษ
อุปกรณดักฝุน
ที่เขาสูเครื่อง - จับฝุนในกระแสกาซที่มีความชื้นสูงไมได
แบบถุงกรอง
- เดินเครื่องงาย - ไมเหมาะสําหรับดักจับฝุนขนาดใหญ
- ตนทุนต่ําเมื่อเทียบกับ EP - สํ า หรั บ ฝุ น ที่ กั ด กร อ นได จ ะต อ งใช ผ า กรอง
ชนิดพิเศษ
- มีขนาดใหญ ตองใชพื้นที่ติดตั้งมาก
- สามารถดักจับฝุนที่มีขนาดเล็ก (0.1 ไมครอน) - ตนทุนสูง
ดวยประสิทธิภาพสูง (รอยละ 99) - ไมสามารถปรับเดินเครื่องในสภาวะที่เปลี่ยน
- คาใชจายในการเดินเครื่องต่ํา เนื่องจากความ แปรได
ดันลดต่ํา - ไวตอปริมาณฝุนที่เขาสูเครื่อง ขนาดของฝุน
เครื่องดักจับ
- ดักจับฝุนที่มีฤทธิ์กัดกรอน หรือ Tar Mist ได และสภาพความตานทานเมื่อเปรียบเทียบกับ
อนุภาคดวย
- ใชกับกาซที่มีอัตราไหลสูงๆ ไดดี อุปกรณดักฝุนแบบถุงกรอง
ไฟฟาสถิต
- ในบางกรณี ต อ งใช ส ารปรั บ สภาพความ
ตานทานไฟฟาของฝุน
- มักผลิตกาซโอโซนขณะใชงาน
- ใชไมไดกับฝุนที่ระเบิดหรือติดไฟไดงาย
ที่มา: ปรับปรุงจาก “ตําราบําบัดมลพิษอากาศ”, กรมโรงงานอุตสาหกรรม, 2547

กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม 4-3 กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม


หลักสูตรการจัดการมลพิษ โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

(1) หองตกสะสม (gravity settling chamber)


หลักการที่ใช คือ ใชการตกเนื่องจากน้ําหนักฝุนจากแรงโนมถวงของโลกเพื่อแยกฝุนออกจากกระแส
อากาศ โดยการเพิ่มพื้นที่หนาตัดของหองตกสะสมในทิศทางการไหลของกระแสอากาศ ซึ่งจะมีผลใหความเร็ว
ของกระแสอากาศลดลง ทําใหเวลาที่ฝุนใชในการตกลงสูพื้น (settling time) ในแนวดิ่งนอยกวาเวลาที่อากาศอยู
ในหองตกสะสม (residence time) ดังรูปที่ 4.1.2-1

GAS EXIT GAS INLET

W = ความกวางของหองตกสะสม
H = ความสูงของหองตกสะสม
L = ความยาวของหองตกสะสม
รูปที่ 4.1.2-1 หองตกสะสม

หองตกสะสมถูกออกแบบใหความเร็วของอากาศในหองตกสะสมมีคาต่ํา (0.3-3.0 เมตร/วินาที) โดย


ปกติหากเปนฝุนเบามักจะใชกับฝุนที่มีขนาดใหญกวา 50 ไมครอน และหากเปนฝุนหนักอาจจะใชไดกับฝุนที่มี
ขนาดเล็กถึง 10 ไมครอน สําหรับฝุนที่มีขนาดเล็กกวานี้ก็จะตองการความยาวของหองสะสมมากขึ้นเพื่อให
เพียงพอหรือใหฝุนตกได ซึ่งก็หมายถึงจะทําใหขนาดของหองสะสมใหญขึ้นดวย จึงทําใหอุปกรณประเภทนี้ถูก
ใชในการบําบัดเริ่มตนกอนที่จะเขาหนวยบําบัดอื่นที่มีประสิทธิภาพดีกวา
(2) ไซโคลน (cyclone)
เปนอุปกรณที่ใชหลักการทางกลศาสตรอยางงายในการดักฝุนขนาดใหญที่มีเสนผานศูนยกลาง
ประมาณ 5-10 ไมครอน ดังรูปที่ 4.1.2-2 ไซโคลนมีรูปแบบเฉพาะและถูกใชมากในอุตสาหกรรมที่เกี่ยวกับ
ผลิตภัณฑจากไม โรงงานผลิตซีเมนต โรงงานหลอมโลหะ และอุตสาหกรรมอื่นๆ อีกมาก ไซโคลนที่ใชอาจเปน
แบบไซโคลนเดี่ยวหรือชุดของไซโคลนขนาดเล็ก (multi-cyclones) ไซโคลนเปนหนึ่งในอุปกรณที่ราคาถูกเมื่อ
เปรียบเทียบกับอุปกรณบําบัดฝุนขนาดใหญดวยกันและมีงบประมาณในการดําเนินการต่ํา ไซโคลนใชไดกับฝุน
จากอากาศเสียเกือบทุกชนิด สามารถใชกับอากาศเสียที่มีอุณหภูมิสูงกวา 1,000 องศาเซลเซียส โดยการใช
สารทนความรอนเคลือบทับที่ผิวของไซโคลนและสามารถใชไดในสภาวะความดันสูง
ไซโคลนใชแรงหนีศูนยกลางที่เกิดจากการทําใหกระแสอากาศหมุนเปนวงเพื่อแยกฝุนออกจาก
กระแสอากาศ โดยกระแสอากาศที่มีฝุนปะปนอยูจะผานเขาสูดานบนของไซโคลนในทิศทางที่ตั้งฉากกับรัศมี
ของไซโคลน หรือในทิศทางการไหลที่ขนานกับเสนรอบวงของสวนที่เปนทรงกระบอกของไซโคลน รูปรางของ
ไซโคลนจะบังคับใหกระแสอากาศไหลวนลงสูดานลางของไซโคลน แรงหนีศูนยกลางทําใหฝุนเคลื่อนที่เบนออก
จากกระแสอากาศและชนกั บผนังของไซโคลน แลวเคลื่ อนตั วไหลลงสูด านลาง สํ าหรั บกระแสอากาศจะไหล
ยอนกลับขึ้นสูดานบน สวนฝุนจะถูกลําเลียงออกจากไซโคลนทางดานลางทางสายพานรูปเกลียว
ลักษณะการไหลของกระแสอากาศในไซโคลนจะทําใหฝุนมีแรงหนีศูนยกลางเกิดขึ้น ขนาดของแรง
ดังกลาวจะขึ้นกับขนาดเสนผานศูนยกลางของไซโคลนและลักษณะของการหมุนวน (เชน ความเร็ว และรัศมีของ
วงหมุน เปนตน) ซึ่งผูออกแบบจะเปนผูตัดสิน อยางไรก็ตาม ในทายที่สุดขนาดของแรงหนีศูนยกลางจะมากกวา
แรงโนมถวงของโลก จึงเปนปจจัยที่ทําใหประสิทธิภาพการบําบัดฝุนมีมากขึ้นจนถึงระดับที่ตองการ

กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม 4-4 กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม


หลักสูตรการจัดการมลพิษ โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

D
b De

สัญลักษณ ความหมาย
a
S D Body diameter
h a Inlet height
b Inlet width
S Outlet length
H
De Gas outlet diameter
h Cylinder height
H Overall height
B Outlet diameter

รูปที่ 4.1.2-2 เครื่องดักฝุนแบบไซโคลน


ประสิทธิภาพของไซโคลนสําหรับควบคุมฝุนแตละขนาดจะขึ้นอยูกับขนาดเสนผานศูนยกลางของ
ไซโคลนเปนสําคัญและความสูงทั้งหมดของไซโคลน ซึ่งจํานวนรอบของการหมุนของกระแสอากาศหรือ จํานวน
รอบของการหมุนที่มากขึ้น จะแสดงถึงประสิทธิภาพที่สูงขึ้น สวนความยาวและความกวางของทางเขาก็เปน
ปจจัยสําคัญ เพราะถาขนาดของทางเขายิ่งเล็กก็ยิ่งมีความเร็วสูง ซึ่งทําใหประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น อยางไรก็ตาม
หากเสนผานศูนยกลางและทางเขายิ่งเล็กลงก็จะทําใหความดันลดยิ่งเพิ่มขึ้นดวย
(3) เครื่องพนจับแบบเปยก (wet scrubber)
หลักการ คือ การใชของเหลว (โดยทั่วไป คือ น้ํา) จับฝุนหรือเพื่อทําใหขนาดของฝุนใหญขึ้นซึ่งทําให
สามารถขจัดฝุนออกจากกระแสอากาศไดงายขึ้น โดยปกติขนาดฝุน (ทั้งของแข็งและของเหลว) ตั้งแต 0.1-20
ไมครอน จะสามารถถูกขจัดไดโดยเครื่องพนจับแบบเปยก สําหรับหลักการในการออกแบบเครื่องพนจับแบบ
เปยก คือ พยายามใหของเหลวกระจายไปจับกับฝุนเพื่อใหมีการสัมผัสกันไดดีที่สุดระหวางฝุนกับของเหลว
อยางไรก็ตาม เครื่องพนจับแบบเปยกอาจแบงเปนกลุมใหญๆ ได 3 กลุม คือ
• Spray chamber scrubbers
เปนอุปกรณที่งายและพบบอยที่สุด กระแสอากาศจะไหลเขาทางดานลางของหอรูปสี่เหลี่ยมหรือ
รูปทรงกระบอก โดยมีของเหลวหรือน้ําฉีดเปนฝอยทางดานบนหอ ถากระแสหรืออัตราการไหลของอากาศไมสูง
เกินไป หยดน้ําหรือของเหลวสามารถตกลงดานลางโดยแรงโนมถวง (รูปที่ 4.1.2-3) อยางไรก็ตาม สวนบนของ
หอมักจะติดตั้ง "mist eliminator" เพื่อปองกันหยดน้ําหรือของเหลวที่หลุดลอยตามออกไปกับกระแสอากาศ
นอกจากนี้ จะมี spray chamber scrubber อีกแบบหนึ่ง ซึ่งมีการพนน้ําเปนฝอยตัดทิศทางการไหลของกระแส
อากาศ (cross flow) ซึ่งมักจะมี "baffle" บังคับทิศทางการไหลของกระแสอากาศดวย
อัตราการใชน้ําที่ใชฉีดดานบนหออยูในชวง 2-10 แกลลอน/ 1,000 ลูกบาศกฟุต/นาที ซึ่งจะตองมี
การเติมน้ําเพิ่มอยูเสมอเนื่องจากการระเหยและการระบายน้ําทิ้งบางสวนออกจากระบบ (เพื่อควบคุมความเขมขน

กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม 4-5 กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม


หลักสูตรการจัดการมลพิษ โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

ของน้ําที่หมุนเวียนอยูในระบบ) มีความดันลดคอนขางต่ําประมาณ 1-2 นิ้วน้ํา ประสิทธิภาพดีเมื่อใชกับฝุนที่ใหญ


กวา 10 ไมครอน โดยมีประสิทธิภาพของการขจัดฝุนที่มีขนาด 5 ไมครอน ประมาณรอยละ 94 และเมื่อใชกับฝุนที่
มีขนาด 2 ไมครอนจะมีประสิทธิภาพเทากับรอยละ 99 อยางไรก็ตาม หากมีการใช baffles ก็จะทําใหประสิทธิภาพ
เพิ่มขึ้น ปญหาของระบบนี้ คือ การขจัด "wet sludge" และการกัดกรอน

รูปที่ 4.1.2-3 Spray chamber scrubber


• Cyclonic scrubbers (wet cyclones)
เปนการติดตั้งหัวฉีดน้ําหรือของเหลวเปนรูปวงกลมตรงแกนกลางของหอ (รูปที่ 4.1.2-4) โดย
ฉีดน้ําในแนวรัศมีตัดกระแสอากาศที่หมุนวนจากดานลางสูดานบน และอาจจะมีการติดตั้ง demister เพื่อ
ปองกันหยดของเหลวหลุดตามกระแสอากาศไปดวย อัตราการฉีดพนน้ํา 1- 8 แกลลอน/ 1,000 ลูกบาศกฟุต/
นาที และมีความดันลดประมาณ 1-4 นิ้วน้ํา หากใชกับฝุนที่มีขนาด 100 ไมครอน 50-100 ไมครอน และ 5.5
ไมครอน จะมีประสิทธิภาพการกําจัดประมาณรอยละ 100, 99 และ 90-98 ตามลําดับ นอกจากนี้ มักติดตั้ง wet
cyclone รวมกับ venturi scrubber

CLEAN GAS

SPRAY MANIFOLD

DIRTY GAS

รูปที่ 4.1.2-4 Cyclonic scrubber

กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม 4-6 กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม


หลักสูตรการจัดการมลพิษ โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

• เครื่องพนจับเวนจูรี (venturi scrubber)


เปนหอทรงสี่เหลี่ยมหรือทรงกลมที่จะทําใหทางเดินของอากาศแคบลงแลวขยายกลับไปที่ขนาด
เดิม โดยปกติพื้นที่จะลดลงประมาณ 4 : 1 โดยมุมของการลดลงของพื้นที่จะประมาณ 5 ถึง 7 องศา (รูปที่ 4.1.2-5)
ทําใหความเร็วของกระแสกาซที่ตําแหนงคอคอดเพิ่มขึ้น โดยปกติจะมีคาอยูในชวง 160-600 ฟุต/วินาที การ
ขจัดฝุนกระทําไดโดยผานน้ําไปที่ตําแหนงคอคอด ความเร็วของกาซจะทําใหน้ําแตกเปนฝอย ซึ่งจะทําใหมีการ
สัมผัสระหวางหยดน้ํากับฝุนเมื่อพื้นที่ถูกขยายออกจะทําใหกระแสอากาศมีความเร็วต่ําลงจนกระทั่งตกลงและ
ถูกวนกลับไปใชอีก เนื่องจากประสิทธิภาพการจับฝุนจะเพิ่มขึ้นเมื่อความเร็วกาซเพิ่ม ดังนั้น ความเร็วกาซจึง
เปนปจจัยสําคัญสําหรับระบบนี้

DIRTY GAS CLEAN GAS

CYCLONIC
SEPARATOR
WATER SPRAYS

รูปที่ 4.1.2-5 Venturi scrubber


อัตราการใชน้ําของเครื่องพนจับเวนจูรีจะอยูในชวง 2-12 แกลลอน/1,000 ลูกบาศกฟุต/นาที แต
สิ่งที่แตกตางมาก คือ ความดันลด ซึ่งอาจจะเปนไปไดตั้งแต 3-100 นิ้วน้ํา (ขึ้นอยูกับประสิทธิภาพที่ตองการ)
หากตองการประสิทธิภาพสูงก็ตองการกําลังงานมาก ประสิทธิภาพการกําจัดฝุนที่มีขนาดต่ํากวา 1 และ 5
ไมครอน อาจจะถึงรอยละ 99 และ 99.5 ตามลําดับ
(4) อุปกรณดักฝุนแบบถุงกรอง (bag house)
การกรองเปนกระบวนการที่เกาแกและยังใชงานไดดีในการแยกฝุนออกจากอากาศ อุปกรณที่ใชใน
การกรองเปนวัตถุที่มีลักษณะพรุน อาจเปนวัตถุที่เปนลักษณะเสนใย การติดตั้งอาจจะเปนชิ้น แผน หรือเปนถุง
กรอง ชิ้นหรือแผนกรองมักจะใชสําหรับฝุนที่เบาหรือเล็กและมีการออกแบบใหใชงานไดนาน (เนื่องจากยากใน
การทําความสะอาด) แตถาตองการทําความสะอาดไดงายและใชเวลาสั้น ถุงกรองจะใหขอไดเปรียบมากที่สุด
ถุงกรองมักทําดวยเสนใยรูปทรงกระบอกแขวนเปนแถวเรียงขนานกันเพื่อเพิ่มพื้นที่ใหอากาศผานถุงกรอง (ดัง
รูปที่ 4.1.2-6) ซึ่งจะใหประสิทธิภาพรอยละ 99 หรือมากกวาในการดักฝุนขนาด 0.5 ไมครอน และยังสามารถดัก
ฝุนขนาด 0.01 ไมครอน ได โดยจะสามารถจับฝุนที่มีความเขมขน 0.23-23 กรัม/ลูกบาศกเมตร
เสนใยผาที่ใชทําถุงกรองแบงเปน 2 ชนิด คือ แบบ felted และแบบ woven สําหรับเสนใยแบบfelted
มีลักษณะของเสนใยที่จัดเรียงตัวกันอยางไมเปนระเบียบ ในขณะที่เสนใยแบบ woven มีการจัดเรียงของเสนใย
อยางเปนระเบียบเนื่องจากการถักหรือทอ

กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม 4-7 กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม


หลักสูตรการจัดการมลพิษ โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

ถุงกรองอาจทําจากขนสัตว ฝาย ไนลอน ใยแกว หรือ โพลีเอสเทอร การเลือกชนิดของถุงกรอง


ขึ้นอยูกับองคประกอบทางเคมี อุณหภูมิ และความชื้นของกระแสอากาศ รวมทั้งลักษณะทางฟสิกสและเคมีของ
ฝุน ซึ่งจะตองพิจารณารวมไปถึงราคาของถุงกรองดวย และจะตองมีพื้นที่ผิวของถุงสูงมากพอ โดยขอกําหนดนี้
จึงมีการออกแบบที่เรียกวา bag house ซึ่งมักมีลักษณะเปนถุงทรงกระบอกเสนผานศูนยกลางประมาณ 5-14
นิ้ว และสูงประมาณ 40 ฟุต ในแนวตั้ง จํานวนถุงขึ้นกับอัตราการไหลของกาซ

Clean air exhaust

Shake cable
Weatherproof 2 Hp
intermittent duty
Bag support grid shaker shaft motor

Access platform

Woven fabric bags


Access platform
Tube sheet
Clamps around open lower Baffed
tube sheet collars dust-laden gas
stream entry

Dust hopper

Outlet
Slide gate
รูปที่ 4.1.2-6 อุปกรณดักฝุน แบบถุงกรอง
ขอเสียของถุงกรอง คือ ตองการทําความสะอาดเปนชวงๆ เพื่อปองกันการเพิ่มความดันลด ดังนั้น
จึงออกแบบใหมีการทําความสะอาดตัวเองเปนจังหวะ การทําความสะอาดถุงกรองนี้ขึ้นอยูกับขอจํากัดบางอยาง
ที่บังคับ เชน ชนิดของถุงกรองที่ใช โดยทั่วไป วิธีการทําความสะอาดถุงกรองแบงเปน 3 วิธี คือ (รูปที่ 4.1.2-7
ถึง 4.1.2-9)
• แบบ reverse air filter การทําความสะอาดดวยวิธีนี้ตองหยุดการทํางานในสวนที่จะทํา
ความสะอาด เชน ปดวาลวทางเขาของอากาศเสีย (โดยมักใชงานสวนคูขนานแทน) จากนั้นก็จะปอนอากาศที่
สะอาดไหลยอนสวนทางกับทิศทางเดิม (ขณะใชในการดักฝุน) อากาศที่ไหลยอนสวนทางมีความดันไมสูง (ปกติ
จะมีความดันพอๆ กับอากาศเสีย) การทําความสะอาดดวยวิธีนี้จะมีประสิทธิภาพต่ํา แตเหมาะกับถุงกรองที่มี
ลักษณะเปราะหรือแตกหักงาย เชน ถุงกรองที่ทนความรอนสูงซึ่งทําดวยเสนใยโลหะ เปนตน
• แบบ shaking การทําความสะอาดแบบนี้ตองมีถุงกรองคูขนานเชนเดียวกันกับแบบ
reverse air คือ ถุงกรองในสวนที่จะทําความสะอาดจะตองหยุดใชงาน จากนั้นก็จะใชการสั่น เขยา หรือ เคาะ
ใหฝุนที่ติดอยูกับถุงกรองหลุดออก การสั่นหรือเขยามีหลายแบบ เชน ใชการสั่นดวยความถี่สูง การสั่นในแนว
ระดับหรือแนวดิ่ง เปนตน การทําความสะอาดดวยวิธีนี้เปนวิธีที่งายที่สุด แตจะมีประสิทธิภาพปานกลาง โดย
สวนใหญถุงกรองขนาดเล็กมักจะใชวิธีนี้
• แบบ pulse-jet การทําความสะอาดดวยวิธีนี้จะมีลักษณะพิเศษตางจาก 2 วิธีแรก คือ จะทํา
ความสะอาดโดยไมตองปดวาลวทางเขาของอากาศเสียและไมจําเปนตองใชถุงกรองคูขนานแทน จากนั้นก็จะ
ปอนอากาศที่สะอาดไหลยอนสวนทางกับทิศทางเดิม (ขณะใชในการดักฝุน)
กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม 4-8 กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม
หลักสูตรการจัดการมลพิษ โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

รูปที่ 4.1.2-7 การทําความสะอาดถุงกรองแบบ reverse air filter

รูปที่ 4.1.2-8 การทําความสะอาดถุงกรองแบบ shaking

รูปที่ 4.1.2-9 การทําความสะอาดถุงกรองแบบ pulse-jet

(5) เครื่องดักจับอนุภาคดวยไฟฟาสถิต (Electrostatic precipitator; EP หรือ อีพี)


หลักการ คือ การใหประจุกับฝุน แลวดักไวดวยขั้วไฟฟาที่ตรงกันขาม ขอดีของวิธีนี้ คือ สามารถใช
กับกาซที่มีอัตราการไหลสูงๆ ได ใชไดดกี ับฝุนที่มีขนาดเล็ก ใชพลังงานไมสูงและใชงานไดกับกาซที่อุณหภูมิสูง
(ดังรูปที่ 4.1.2-10 และรูปที่ 4.1.2-11) โดยมีขั้นตอนการทํางาน คือ

กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม 4-9 กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม


หลักสูตรการจัดการมลพิษ โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

- Gas ionization เปนปรากฏการณที่เรียกวา blue corona effect เกิดจากกาซไหลผานแผน


อิเลคโทรด 2 แผน ที่มีความตางศักยสูงๆ อิเลคตรอนจะกระโดดผานอากาศและชนกับโมเลกุลของกาซทําให
เกิดอิออนลบ บางครั้งเกิดขึ้นรุนแรงมากจะเปนประกายสีฟา ซึ่งจะใชพลังงานประมาณ 0.05-0.5 กิโลวัตต/1000
ลูกบาศกเมตร/นาที
- Charging the dust particle เกิดจากอิออนลบวิ่งชนกับฝุน ซึ่งเปนปรากฏการณที่เกิดขึ้นงาย
มากเนื่องจากขนาดของฝุนซึ่งใหญกวาขนาดของอิออนลบของกาซ
- Migration of the charged dust particles to plate electrodes เปนปกติที่ประจุลบจะวิ่งไปยัง
แผนอิเลคโทรด

รูปที่ 4.1.2-10 Electrostatic precipitator

รูปที่ 4.1.2-11 สนามไฟฟาใน EP

กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม 4-10 กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม


หลักสูตรการจัดการมลพิษ โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

4.1.3 การควบคุมกาซและไอ

โดยทั่วไปมีแนวความคิดกวางๆ สําหรับการควบคุมกาซและไอที่มีใชโดยทั่วไป 3 ระบบ คือ


• สารมลพิษทางอากาศสามารถถูกดูดซับไวไดโดยสารดูดซับที่เปนของแข็ง
• สารมลพิษทางอากาศสามารถถูกดูดซึมไวไดโดยสารละลายบางชนิด
• สารมลพิษอาจเปลี่ยนรูปไปไดโดยใชตัวเรงปฏิกิริยาหรือใชการเผาทําลายหรือเปลี่ยนรูปเปน
สารอื่นที่ไมเปนอันตราย
(1) การดูดซับ (adsorption)
โมเลกุลของกาซจะถูกดูดซับออกจากกระแสอากาศ โดยการจับติดกับผิววัตถุของแข็ง โมเลกุลของ
กาซที่ถูกดูดซับ เรียกวา adsorbate ในขณะที่ของแข็งที่ทําการดูดซับกาซ เรียกวา adsorbent ซึ่งจะเปนกอน
ของแข็งที่มีลักษณะรูพรุน
การดูดซับใชในการควบคุมสารมลพิษที่เกิดขึ้นจากกระบวนการผลิตตางๆ ที่มีการใชสารทําละลาย
(solvent) เชน กระบวนการซักแหง การขจัดไข การเคลือบผิว กระบวนการผลิตยาง การพิมพ เปนตนระบบ
การดูดซับนี้ยังสามารถใชในการควบคุมสารพิษหรือกลิ่นไอที่ถูกปลอยออกมาจากกระบวนการผลิตอาหาร
ระบบบําบัดน้ําเสีย และกระบวนการผลิตตางๆ ที่มีการใชสารเคมี เชน การผลิตเชื้อเพลิง ผลิตปุย ยา เปนตน
สารดูดซับสวนใหญที่ใชในอุตสาหกรรม คือ activated carbon, silica gel, activated alumina (alumina oxide)
และ zeolites (molecular sieves) สารดูดซับสวนใหญจะมีคุณสมบัติทางเคมีตามธรรมชาติของสารที่นํามาผลิต
(พื้นที่ผิวของสาร รูปรางและขนาดของชองวาง ปริมาตรของชองวาง) คุณสมบัติที่สําคัญในการดูดซับของสาร
ดูดซับ คือ ประจุไฟฟาที่ผิวสัมผัส ถาสารดูดซับมีประจุไฟฟาจะทําใหไอน้ําเขามาเกาะและรบกวนกระบวนการ
ดู ด ซั บ ดั ง นั้ น การใช ส ารดู ด ซั บ ที่ มี ป ระจุ จึ ง มั ก ใช ไ ม ไ ด ผ ลสํ า หรั บ ระบบการควบคุ ม มลพิ ษ ทางอากาศ แต
activated carbon เปนสารดูดซับที่ไมมีประจุ จึงถูกนํามาใชอยางกวางขวาง
Activated carbon อาจทําขึ้นจากวัตถุดิบที่มีคารบอน เชน ไม ถานหิน ผลิตภัณฑปโตรเลียม เปน
ตน คําวา “activated’’ ใชกับสารดูดซับที่ไดรับการเพิ่มพื้นที่ผิวทั้งภายในและภายนอก โดยกระบวนการเทคนิค
พิเศษ กลาวคือ เปนการใหความรอนในสภาวะที่ไมมีออกซิเจนและมีความดันสูง ซึ่งจะทําใหสวนที่ระเหยได
ของวัตถุดิบหลุดออกจากผิววัตถุ จึงทําใหพื้นที่ผิวเพิ่มขึ้น โดยอุณหภูมิ ความดัน และประเภทของวัตถุดิบจะมี
ผลตอประสิทธิภาพการดูดซับ
สําหรับกลไกของการดูดซับ จะเกิดขึ้นอยางเปนขั้นตอน ดังแสดงในรูปที่ 4.1.3-1
- ขั้นตอนแรก การแพรกระจายของโมเลกุลของกาซและไอสารมลพิษเขาสูผิวนอกของสารดูดซับ
- ขั้นตอนที่สอง โมเลกุลของสารมลพิษจะเคลื่อนที่จากพื้นที่เล็กๆ ของผิวนอก ไปยังโพรงชองวาง
ภายในของสารดูดซับ การดูดซับจะเกิดในโพรงชองวางเหลานี้ เพราะความเหมาะสมระหวางรูปรางของโมเลกุล
ของกาซและไอกับลักษณะของพื้นที่ผิวของสารดูดซับ
- ขั้นตอนที่สาม โมเลกุลของสารมลพิษจะเกาะติดที่ผิวในโพรงชองวาง
(2) การดูดซึม (absorption)
การดูดซึมเปนวิธีที่แพรหลายสําหรับใชบําบัดกาซอนินทรีย การดูดซึมกาซดวยของเหลวจะเกิดขึ้น
เมื่อมีปริมาณสารมลพิษในของเหลวนอยกวาปริมาณที่ทําใหเกิดสมดุลความเขมขนของกาซ ความแตกตาง
ระหวางความเขมขนจริงกับความเขมขนสมดุล ทําใหเกิดแรงขับเคลื่อนของการดูดซึม อัตราการดูดซึมขึ้นอยู
กับคุณสมบัติทางกายภาพของกาซหรือของเหลว (เชน การแพรกระจาย ความเร็ว และความหนาแนน เปนตน)

กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม 4-11 กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม


หลักสูตรการจัดการมลพิษ โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

และสภาวะของตัวดูดซึม (เชน อุณหภูมิ อัตราการไหลของกาซและของเหลว เปนตน) กลาวคือ เมื่ออุณหภูมิ


ต่ําลง พื้นผิวสัมผัสมากขึ้น สัดสวนระหวางของเหลวและกาซสูงขึ้น ความเขมขนของกระแสกาซมากขึน้ การดูดซึม
จะเกิดไดดีขึ้น
การดูดซึมเกิดขึ้นไดทั้งแบบกายภาพและแบบเคมี การดูดซึมแบบกายภาพเกิดขึ้นเมื่อกาซที่ถูกดูดซึม
ละลายอยูในตัวทําละลาย และหากเกิดปฏิกิริยาระหวางกาซที่ถูกดูดซึมกับตัวทําละลาย นั่นคือ เกิดการดูดซึมแบบ
เคมี การเลือกคุณสมบัติของของเหลวที่ใชดูดซึมควรพิจารณาถึงประสิทธิภาพที่ตองการและราคาของสารเคมี ซึ่ง
โดยทั่วไปมักใชน้ํา เนื่องจากกาซที่ปนเปอนสามารถละลายในน้ําได อีกทั้งน้ํายังสามารถหาไดงายและราคาถูก

รูปที่ 4.1.3-1 กลไกการดูดซับ


หอบรรจุตัวกลาง (packed tower) เปนเครื่องพนจับแบบพื้นฐานที่ถูกนํามาใชสําหรับการดูดซึม
กาซ หอบรรจุตัวกลางจะทําการกระจายของเหลวที่เปนตัวดูดซึมเหนือวัสดุตัวกลางที่เปนตัวทําใหเกิดพื้นที่ผิว
สําหรับใหกาซและของเหลวสัมผัสกันอยางตอเนื่อง กระแสของกาซปนเปอนจะถูกปลอยเขามาทางดานลางของ
หอและไหลผานตัวกลางขึ้นสูดานบน สวนของเหลวที่เปนตัวดูดซึมจะถูกนําเขาทางดานบนของหอ โดยวิธีการ
สเปรย และไหลลงสูวัสดุตัวกลาง ดังแสดงในรูปที่ 4.1.3-2 โดยทฤษฎีแลว หากทําการเจือจางกาซปนเปอนและ
เพิ่มเวลาสัมผัสระหวางกาซกับของเหลวที่เปนตัวดูดซึมใหมากเพียงพอ รวมทั้งทําใหกระบวนการทั้งหมดเกิดใน
หอที่มีความสูงเพียงพอ ก็จะทําใหหอบรรจุตัวกลางมีประสิทธิภาพในการบําบัดสูง อยางไรก็ตาม ปจจัยหลักของ
การออกแบบหอบรรจุตัวกลาง คือ การกําหนดชนิดและอัตราการไหลของของเหลวที่ใชในการดูดซึม รวมทั้งการ
คํานวณหาขนาดของอุปกรณ (เสนผานศูนยกลางและความสูงของหอ) และการเลือกวัสดุตัวกลางใหเหมาะสม
วัสดุตัวกลาง (packing material) เปนหัวใจสําคัญของเครื่องดูดซึม ทําใหเกิดพื้นที่ผิวสําหรับการ
ดูดซึม รูปที่ 4.1.3-3 แสดงภาพของวัสดุตัวกลางแบบตางๆ ซึ่งอาจทําจากหินหรือกระเบื้อง แตปจจุบันมักทํา
จากพลาสติกทนความรอนที่มีความหนาแนนสูง (โพลีเอทิลีน และโพลีโพรพีลีน) อยางไรก็ตาม วัสดุตัวกลางแต
ละชนิดจะมีลักษณะเฉพาะ เชน วัสดุตัวกลางแบบ Raschig rings มักมีขนาด 50.8 มิลลิเมตร หรือแบบ
Tellerettes มักมีขนาด 25.4 มิลลิเมตร โดยทั่วไปแลว วัสดุตัวกลางมักมีขนาดตั้งแต 6.35 -101.6 มิลลิเมตร

กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม 4-12 กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม


หลักสูตรการจัดการมลพิษ โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

รูปที่ 4.1.3-2 หอบรรจุตัวกลาง

Berl Saddle Intalox Saddle Raschig Ring Ressing Ring Pall Ring Tellerette
รูปที่ 4.1.3-3 วัสดุตัวกลาง
(3) การเผาทําลาย (incineration)
เตาเผา คือ อุปกรณควบคุมมลพิษชนิดหนึ่งมีหลักการทํางาน คือ ใหความรอนแกกาซของเสียจนทํา
ใหอุณหภูมิสูงขึ้นจนเพียงพอใหสารอินทรียในกาซของเสียสามารถรวมตัวกับออกซิเจนได หรือเกิดการสันดาป
นั่นเอง ซึ่งจะทําใหสารอินทรียเปลี่ยนรูปเปนแรธาตุอยางสมบูรณ ประสิทธิภาพการทํางานของเตาเผาขึ้นอยูกับ
อุณหภูมิและระยะเวลาที่ใชในการเผา ซึ่งเปนลักษณะเฉพาะของชนิดของเตาเผาและสารอินทรียที่ถูกเผา ใน
ปจจุบันเตาเผาที่ใชเผาสารอินทรียมีใชอยางแพรหลาย แบงออกไดเปน 2 ชนิด ไดแก เตาเผาที่ใชความรอน
โดยตรง (thermal incinerator) และเตาเผาแบบมีสารเรงปฏิกิริยา (catalytic incinerator) โดยมีรายละเอียดดังนี้
- เตาเผาที่ใชความรอนโดยตรง อาจประกอบดวยหองเผาไหมเพียงหนึ่งหองหรือมากกวาก็ได โดย
อาศัยความรอนจากเปลวไฟที่ใหแกหองเผาไหม จนมีอุณหภูมิสูงถึงระดับที่ตองการ อีกทั้งตองมีระยะเวลาเผา
ไหมเพียงพอที่ทําใหเกิดการเผาไหมอยางสมบูรณ โดยปกติเตาเผาชนิดนี้ตองการอุณหภูมิที่ใชในการเผาไหม
อยูในชวง 650-800 องศาเซลเซียส และมีระยะเวลาที่ใชในการเผาไหม 0.3-0.5 วินาที
- เตาเผาแบบมีสารเรงปฏิกิริยา โดยทั่วไปแลวหลักการจะคลายกับการเผาไหมแบบแรก แตใช
อุณหภูมิในการเผาและปริมาณเชื้อเพลิงต่ํากวา เนื่องจากมีสารเรงปฏิกิริยาเปนตัวชวยใหเกิดการสันดาป
อยางไรก็ตาม แมวาเตาเผาแบบนี้ใชเชื้อเพลิงนอยและมีตนทุนต่ํากวา แตตองมีคาใชจายในการควบคุมดูแล
ระบบและคาใชจายในการใชสารเรงปฏิกิริยาดวย ซึ่งอาจทําใหคาใชจายโดยรวมสูงกวาเตาเผาแบบแรกก็ได
สําหรับสารเรงปฏิกิริยานั้นอาจเปนวัสดุพรุนที่มีลักษณะเปนทรงกระบอกหรือทรงกลม ขนาดเสนผานศูนยกลาง
1.5-12.5 มิลลิเมตร หรืออาจมีลักษณะเปนรวงผึ้ง ริบบิ้น หรือตาขายก็ได สารเรงปฏิกิริยาสวนมากมักเปนโลหะ
กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม 4-13 กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม
หลักสูตรการจัดการมลพิษ โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

หรือเกลือของโลหะ เชน พลาตินัม พัลลาเดียม โคบอลท ทองแดง โครเมียม โมลิบดินัม เปนตน สําหรับโลหะ
จําพวกอลูมิเนียมหรือเหล็กจะสัมผัสและทําปฏิกิริยากับออกซิเจนโดยตรง ทําใหเกิดชั้นของออกไซดขึ้นที่ผิว จึง
ไมเหมาะตอการเปนสารเรงปฏิกิริยา ขณะที่โลหะจําพวกพลาตินัมเปนสารเรงปฏิกิริยาไดดีเนื่องจากไมทํา
ปฏิกิริยาและเกิดเปนออกไซด ทําใหคุณสมบัติการเปนสารเรงปฏิกิริยาไมสูญเสียไป อยางไรก็ตาม ความ
เสียหายหรือการปนเปอนที่ผิวของสารเรงปฏิกิริยาอาจเปนปญหาไดเมื่อเดินระบบในสภาวะที่อุณหภูมิของ
ตัวเรงปฏิกิริยาไมอยูในระดับที่ออกแบบไว ทําใหสารมลพิษ (ที่เผาไหมไมสมบูรณ) เกาะเคลือบผิวหนาของสาร
เรงปฏิกิริยา สงผลใหการทํางานของสารเรงปฏิกิริยาดอยประสิทธิภาพลง นอกจากนี้ ปญหาที่เกิดขึ้นที่ผิวของ
สารเรงปฏิกิริยาอาจเกิดไดอีกแบบหนึ่ง คือ ขณะที่เกิดการเผาไหมอาจสราง solid oxides เคลือบอยูที่ผิวของ
สารเรงปฏิกิริยา โดยทั่วไปถาปญหาที่เกิดขึ้นจากของแข็งที่มีองคประกอบเปนสารอินทรีย สามารถแกไขไดโดย
การเผาแบบควบคุมอุณหภูมิ แตถาเปนสารอนินทรีย จําเปนตองนําเอาสารเรงปฏิกิริยาออกจากระบบและ
เปลี่ยนใหม (ดังรูปที่ 4.1.3-4)

รูปที่ 4.1.3-4 องคประกอบของเตาเผาแบบมีสารเรงปฏิกิริยา

4.2 การควบคุมมลพิษทางเสียง

4.2.1 ความรูทั่วไปเกี่ยวกับมลพิษทางเสียง

(1) เสียงรบกวน
เสียงเพลงที่เปดในครอบครัวหนึ่งและเปนที่ชื่นชอบของครอบครัวหนึ่ง อาจจะรบกวนและทําความ
รําคาญใหกับครอบครัวขางเคียงได เพราะอาจกําลังพยายามนอนหลับจึงไมตองการไดยินเสียงนั้น นั่นคือ เสียง
รบกวน ดังนั้น โดยนิยาม เสียงรบกวน คือ เสียงที่เราไมตองการ
(2) คลื่นเสียง
คลื่นเสียงเกิดจากการสั่นของวัตถุหรือการแปรปรวนของอากาศ โดยคลื่นเสียงจะเดินทางผาน
ตัวกลางที่มีทั้งมวลและความยืดหยุน ความเร็วของการเดินทางของคลื่นขึ้นกับปจจัยสองประการ คือ ความ
ยืดหยุนและความหนาแนนของสารตัวกลาง
(3) หูกับการไดยิน
หู คือ อวัยวะที่ใชรับเสียงที่เกิดขึ้นรอบๆ หู แบงเปน 3 สวน คือ (ดังรูปที่ 4.2.1-1)
- หูชั้นนอก เปนอวัยวะรับเสียงแลวเปลี่ยนเปนการสั่นสะเทือนที่เยื่อแกวหู
- หูชั้นกลาง เปนการนําสัญญาณความสั่นสะเทือนจากเยื่อแกวหูไปสูของเหลวในหูชั้นใน
- หูชั้นใน เปนบริเวณที่สัญญาณจากหูชั้นกลางจะถูกสงเขาระบบประสาทกอนจะถูกสงไปยังสมอง

กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม 4-14 กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม


หลักสูตรการจัดการมลพิษ โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

เยื่อแกวหู
หูชั้นกลาง
คลอเคียร

ทอยูสเตเชี่ยน

รูปที่ 4.2.1-1 สวนประกอบของหู

หูชั้นใน ประกอบดวย โพรงที่บรรจุดวยของเหลวที่ฝงอยูในกระดูก ซึ่งมีเสนประสาททําหนาที่รับรู


ความรูสึกของการไดยินและการทรงตัว ปลายเสนประสาทการไดยินจะอยูภายใน "คลอเคลียร" ซึ่งเปนกระดูก
รูปกนหอยขนาด 2.5 วง (ถาคลี่ออกจะมีความยาวประมาณ 35 มิลลิเมตร) ตลอดแนวของคลอเคลียรจะมีเยื่อ
รูปรางเปนเสนยืดหยุนซึ่งมีความไวตอการรับรูการไดยิน ซึ่งเยื่อนี้จะเคลื่อนไหวโดยพลังงานจากคลื่นเสียงและ
ความถี่ของเสียง
(4) ความสามารถในการรับฟงเสียง
เนื่องจากชวงความดังเสียงและความถี่ที่หูไดยินนั้นมีชวงกวางมาก ดังรูปที่ 4.2.1-2 โดยสรุปแลว
ความสามารถในการรับฟงเสียงของมนุษยอยูในชวง 20 ถึง 20,000 เฮิรตซ หากความถี่ต่ํากวา 20 เฮิรตซ จะ
รูสึกไดในรูปของความสั่นสะเทือน

ระดับทนไมได

ระดับเริ่มเจ็บปวด

150+ ผลสํารวจโดย Munson


ผลสํารวจโดย Robinson และ Dagson

ระดับเริ่มไดยิน

รูปที่ 4.2.1-2 อาณาเขตของความสามารถในการรับฟงเสียง

กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม 4-15 กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม


หลักสูตรการจัดการมลพิษ โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

4.2.2 วิธีการตรวจวัดและดัชนีที่ใชวัดระดับเสียง

(1) การวัดเสียงใหอยูในรูปที่อธิบายได
คลื่นเสียงมีทั้งพลังงานจลนและพลังงานศักย (เพราะมีทั้งความเร็วและมีความดัน) ซึ่งสามารถ
ถายเทเปนพลังงานกลได ซึ่งมนุษยสามารถรับรูไดในรูปพลังงานเสียงที่ผานเขามาที่จุดนั้น โดยที่พลังงานเสียง
ที่ไดรับตอหนวยพื้นที่ (ตั้งฉากกับทิศทางการเดินทางของเสียง) มักเรียกความเขมของเสียงในหนวย “วัตต/
ตารางเมตร” โดยปกติแลว ระดับความเขมเสียงที่มนุษยสามารถไดยินเสียงมีชวงกวางมาก (ระหวาง 10-12 ถึง
100 วัตต/ตารางเมตร) ดังนั้น เพื่อใหหนวยการวัดความเขมเสียงแคบลง จึงมีการสรางมาตรวัดความเขมเสียง
ในรูป Log ของอัตราสวนระหวางความเขมเสียงนั้นกับความเขมเสียงที่จุดอางอิง (10-12 วัตต/ตารางเมตร) แลว
เรียกวา หนวยเดซิเบล (dB) นอกจากนี้ เหตุผลอีกอยางหนึ่งสําหรับการสรางหนวยเดซิเบล คือ การตอบสนอง
ของหูมนุษยมิไดเปนสัดสวนโดยตรงตามคาความเขมเสียง แตจะสอดคลองกับ Log ของสัดสวนดังกลาว ทําให
การบวกค าของระดับเสียงเมื่อ มีแ หลงกํ าเนิ ดเสี ยงมากกว า 1 แหลง ไมสามารถจะบวกกัน อยางเลขคณิ ต
โดยตรงได กลาวคือ จะตองบวกกันแบบสเกล Log ทําใหเกิดลักษณะสําคัญ คือ ถามีแหลงกําเนิดเสียง 2 แหลง
จะสามารถทําใหระดับเสียงมากกวาคาที่มากกวาไมเกิน 3 เดซิเบล โดยคาที่เพิ่มขึ้นสูงสุด 3 เดซิเบล เกิดขึ้นใน
กรณีที่เสียงทั้งสองมีระดับเสียงเทากันเทานั้น สําหรับในกรณีอื่นระดับเสียงที่เพิ่มขึ้น ขึ้นอยูกับความแตกตาง
ของเสียงทั้งสอง ดังแสดงในตารางที่ 4.2.2-1 และในกรณีที่เสียงทั้งสองตางกันมากกวา 10 เดซิเบล ระดับเสียง
รวมจะเทากับระดับเสียงที่มีคามากกวา

ตารางที่ 4.2.2-1
ผลตางของแหลงกําเนิดเสียงและระดับเสียงรวมที่เพิ่มขึ้น

ความแตกตางระหวางเสียงทั้งสอง ระดับเสียงที่เพิ่มจากคามาก
(เดซิเบล) (เดซิเบล)
0 3.0
1 2.6
2 2.1
3 1.8
4 1.5
5 1.2
6 1.0
7 0.8
8 0.6
10 0.4
12 0.3
14 0.2
16 0.1

กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม 4-16 กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม


หลักสูตรการจัดการมลพิษ โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

(2) เครื่องมือวัดเสียงรบกวน
รูปที่ 4.2.2-1 แสดงโครงสรางคราวๆ ของเครื่องวัดระดับเสียง โดยที่ไมโครโฟนจะทําหนาที่เปลี่ยน
เสียงเปนสัญญาณไฟฟา และขยายสัญญาณดังกลาวผานวงจรที่จะจัดใหสัญญาณอยูในขนาดที่อานได เรียกวา
วงจรตัดสัญญาณ ซึ่งจะลดวงจรขยายลงมาทีละ 10 เดซิเบล (โดยปกติ) จึงทําใหสามารถใชวัดเสียงไดหลาย
ระดับ โดยมากเครื่องวัดระดับเสียงมักจะมีชองสัญญาณออกเพื่อตอกับอุปกรณอื่นถาตองการ เชน เครื่องแสดง
สัญญาณซึ่งทําหนาที่ขยายเสียงใหเพียงพอตอการแสดงผล เปนตน
วงจรขยายของเครื่องวัดระดับเสียงมีหนาที่ ดังนี้
• สามารถขยายสัญญาณที่สงมาจากไมโครโฟนไดแมจะเปนสัญญาณเล็กๆ
• สามารถขยายสัญญาณในชวงความถี่ที่กวางมาก เชน 20-20,000 เฮิรตซ
• มีสัญญาณรบกวนภายในนอย
• อัตราการขยายจะตองคงที่ตลอดชวงการใชงานที่กําหนด ซึ่งโดยปกติจะตองมีการปรับแตงให
อัตราขยายถูกตอง
วงจรขยายของเครื่องวัดระดับเสียงทั้งหมด ใชกําลังไฟจากถานซึ่งจะตองมีการอัดประจุไฟฟาหรือมี
อายุการใชงาน ซึ่งทุกๆ เครื่องมือจะมีวงจรสําหรับตรวจสอบสภาพของถานทั้งสิ้น

รูปที่ 4.2.2-1 เครื่องมือวัดระดับเสียง


(3) วงจรถวงน้ําหนัก
การขยายสัญ ญาณใหส อดคลอ งกับ สัญ ญาณเสีย งที่ม าจากไมโครโฟนโดยไม คํานึ งลัก ษณะของ
ความถี่จะเรียกวา การขยายแบบ "ไมคํานึงถึงความถี่" อยางไรก็ตาม เนื่องจากการตอบสนองของหูมนุษยในแต
ละความถี่ยังไมเทากัน จึงจะตองมีวงจรซึ่งปรับคาเนื่องจากความถี่ดวย โดยที่วงจรถวงน้ําหนัก A เปนวงจรปรับ
คาเนื่องจากความถี่ที่นิยมใชกันมากที่สุด จึงมักจะเรียกหนวยระดับเสียงที่ผานวงจรถวงน้ําหนัก A แลววา “เดซิ
เบลเอ” ตัวอยางของการถวงน้ําหนักแสดงในตาราง 4.2.2-2 นอกจากนี้ ยังมีวงจรถวงน้ําหนัก B,C,D ดวย แต
มักจะไมนํามาใช วงจร D มักใชท่คี วามถี่สูงๆ เชน การวัดเสียงจากเครื่องบิน เปนตน

ตารางที่ 4.2.2-2
การถวงน้ําหนักของเครื่องมือวัดระดับเสียง

ความถี่ (Hz) 31.5 63 125 250 500 1,000 2,000 4,000 6,000 หมายเหตุ
A - 39 - 26 -16 -9 -3 0 +1 +1 - 1 ระดับเสียง
การถวง
C -3 -1 0 0 0 0 0 -1 - 3 ระดับความ
น้ําหนัก
F 0 0 0 0 0 0 0 0 0 ดันเสียง

กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม 4-17 กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม


หลักสูตรการจัดการมลพิษ โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

เครื่องมือวัดระดับเสียงบางเครื่องจะมีสัญญาณ "แฟลต, flat (F)" ซึ่งเปนสัญญาณที่วัดระดับเสียงที่ยัง


ไมปรับเทียบสูหนวยเดซิเบลเอ ซึ่งมักจะใชในการปอนสัญญาณเขาไปสูเครื่องมือวิเคราะหชนิดอื่น ผลการวัดโดย
ใชวงจรถวงน้ําหนักตางๆ ดังกลาว เรียกวา วงจรถวงน้ําหนัก A (หรือ B หรือ C) โดยปกติเครื่องวัดระดับเสียง
ทั่วไปอยางนอยจะตองมีวงจร A ประกอบอยู หลังจากที่สัญญาณจากไมโครโฟนจะปรับเทียบกัน จะมีหนวยหนึ่ง
ที่ทําหนาที่เฉลี่ยคาที่วัดไดในรูปของรากกําลังที่สองเฉลี่ยแลวใชคา Log เปรียบเทียบกับคาที่ 20 ไมโครปาสกาล
(ซึ่งเปนคาความดันเสียงอางอิง) คาที่ไดเปนคาที่ใชในการวัดเสียงรบกวนจริงๆ (ดังรูปที่ 4.2.2-2)

รูปที่ 4.2.2-2 ระดับเสียงและการถวงน้ําหนัก


เครื่องมือวัดเสียงจะมีเครื่องแสดงผลที่แตกตางกัน เชน เปนเข็มเคลื่อนไหวบนหนาเครื่องวัด เครื่อง
แสดงผลแบบนี้เปนแบบงายที่สุดโดยมักจะมีเวลาที่ใชในการแสดงผลเปน 2 แบบ คือ
• "เร็ว (fast)" ใชเวลาในการแสดงผลราว 1/8 วินาที และแบบ "ชา (slow)" ซึ่งใชเวลาในการ
แสดงผลราว 1 วินาที การใชเครื่องมือแสดงผลแบบชาจะมีผลดีเมื่อใชวัดเสียงที่เปลี่ยนแปลงมากๆ เครื่องวัด
เสียงบางเครื่องเปนแบบตัวเลขซึ่งไดผลดีมากถาตองการวัดเสียงดังสูงสุด อยางไรก็ตาม หากระดับเสียงมีการ
เปลี่ยนแปลงตามเวลา ซึ่งในบางกรณีมีการเปลี่ยนแปลงเร็วมากจนไมสามารถจะอานคาที่สมควรอานได จึงมัก
มีการวัดคาระดับสูงสุดคาหนึ่งไวตามตองการ
• เสียงกระแทก บางครั้งเราตองการวัดเสียงสั้นๆ จึงตองการเครื่องที่ตอบสนองเสียงดวย
ความเร็วมากๆ (และลดลงคอนขางชา) เชน ตองการวัดเสียงจากการกระแทก เสียงปน เปนตน จึงตองมีระบบ
การวัด "impulse" ซึ่งจะตองมีอัตราการตอบสนองประมาณ 0.035 วินาที
(4) เสียงภายนอกอาคารและชุมชน
รูปที่ 4.2.2-3 แสดงลักษณะของเสียงแถวชานเมือง โดยวางไมโครโฟนหางจากถนน 6 เมตร จะเห็น
ระดับเสียงที่เปลี่ยนแปลงไปในชวง 8 นาที โดยมีเสียงจากเครื่องบินเขามาประมาณ 8 วินาที และเสียงจาก
รถยนต 5-20 วินาที พบวา เสียงจากเครื่องบินเปนเสียงที่รบกวนมากที่สุดทั้งระดับเสียงและเวลา ระดับของการ
รบกวนก็ยังขึ้นอยูกับจํานวนครั้งที่มีเสียงนี้เกิดขึ้นในรอบ 24 ชั่วโมง โดยเฉพาะอยางยิ่งในตอนกลางคืน

กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม 4-18 กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม


หลักสูตรการจัดการมลพิษ โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

Aircraft Over flight


Distant Car
Source Car
Cars on nearby boulevard
ระดับเสียง, เดซิเบลเอ 80 Family Car
70
60
Dog Barks
50
40
30
0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10
เวลา, วินาที
รูปที่ 4.2.2-3 ลักษณะของเสียงบริเวณชานเมือง

คํานิยามที่สําคัญ ประกอบดวย
• เสียงในบรรยากาศ (ambient noise) เปนเสียงทั้งหมดในสภาพแวดลอมนั้น ทั้งแหลงกําเนิดที่
อยูใกลหรือไกลออกไป
• เสียงที่มีอยูเดิม (background noise) เปนเสียงที่ไมรวมถึงแหลงกําเนิดที่เราสนใจ
• ระดับเสียงคงที่ (steady-state noise) เปนระดับเสียงที่แปรเปลี่ยนไปมากกวา 6 เดซิเบล โดยใช
การตอบสนองชนิดชา ซึ่งคาเฉลี่ยที่จะอานไดจากเครื่องวัดหลังจากวัดได 10 วินาที
• L10 ระดับเสียงที่รอยละ 10 ของเวลาที่ตรวจวัด จะมีระดับเสียงเกินระดับนี้
• L50 ระดับเสียงที่รอยละ 50 ของเวลาที่ตรวจวัด จะมีระดับเสียงเกินระดับนี้ ปกติจะเทากับระดับ
เสียงเฉลี่ยตลอดชวงการไดยินนั้น
• L90 ระดับเสียงที่รอยละ 90 ของเวลาที่ตรวจวัด จะมีระดับเสียงเกินระดับนี้ มักจะเรียกวาระดับ
เสียงที่เหลือ (residual noise level)
• ระดับเสียงเฉลี่ย (energy equivalent sound level, Leq) เปนระดับเสียงที่คงที่ที่มีพลังงานเสียง
เทากับพลังงานเสียงที่เกิดจากเสียงที่เปลี่ยนแปลงไปในชวงการวัดชวงใดชวงหนึ่งโดยมีสมการในการคํานวณ
ดังนี้
Leq = 10 log ( ∑ fi 10 Li / 10 )
เมื่อ fi เปนสัดสวนของชวงเวลาที่เกิดระดับเสียง Li
Leq ไมขึ้นอยูกับชวงเวลาที่จะตองตอเนื่องกันไปดวย
• ระดับเสียงกลางวัน-กลางคืน (day – night average sound level, Ldn) เปนระดับเสียงที่มีการ
ปรับปรุงคา Leq เพื่อใหใชงานไดในรูปของการเพิ่มคาตามเวลาตางๆ เชน ระดับเสียงกลางวัน-กลางคืน Ldn
คือ Leq ถวงน้ําหนัก A ตลอด 24 ชั่วโมง ซึ่งมีการบวก 10 เดซิเบลเอ สําหรับคาในเวลากลางคืน ทั้งนี้เวลา
กลางวันจะหมายถึงเวลา 07.00-22.00 น. และเวลากลางคืนจะหมายถึงเวลา 22.00-07.00 น. คา Ldn นี้ นิยม
เรียกกันอีกอยางหนึ่งวา “day–night level”
การวัดระดับเสียงสะสม
เมื่อมีการวัดระดับเสียงที่ตองการเก็บขอมูลในระยะเวลานานติดตอกัน จะมีเครื่องวัดระดับเสียงทีม่ วี งจร
คํานวณและหนวยความจําเพื่อเฉลี่ยคาที่ตรวจวัดไดตลอดเวลาที่ตรวจวัด ซึ่งเรียกวา เครื่องวัดระดับเสียงสะสม แต
ในปจจุบันเนื่องจากมีความกาวหนาทางอุปกรณอิเล็กทรอนิกสมากขึ้น เครื่องวัดเสียงปกติที่ใชงานอยูโดยทั่วไปก็
จะมีวงจรและหนวยความจําที่ทําหนาที่ดังกลาวนี้ติดตั้งรวมอยูดวยเสมอ ซึ่งเครื่องวัดประเภทนี้มี 2 แบบ คือ

กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม 4-19 กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม


หลักสูตรการจัดการมลพิษ โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

• เครื่องวัดระดับเสียงสะสม (noise dosimeter หรือ noise-exposure monitor) มีจุดมุงหมายที่จะ


เก็บขอมูลที่มีผลตอเนื่องกัน โดยจะใชวงจร A สําหรับวัด แลวนําคามารวมกันดวยวงจรพิเศษหลายอยาง ซึ่ง
บางครั้งเปนวงจรที่กําหนดไวในคามาตรฐาน ซึ่งยังแบงเปน 2 แบบ คือ แบบที่ยกติดตัวและแบบที่ตั้งอยูกับที่
โดยมักจะใหคาที่ติดตอกันอยางนอย 8 ชั่วโมง
• เครื่องวัดเฝาระวังระดับเสียง (sound level monitor) เปนเครื่องมือในการวัด Leq อยางตอเนื่อง
ในชวงเวลาหนึ่ง ณ ที่ใดที่หนึ่ง ซึ่งใหพลังงานเสียงเทากับระดับเสียงในหนวยเดซิเบลเอ ซึ่งมีการเปลี่ยนแปลง
ตามเวลาหรือบางครั้งอาจจะโปรแกรมใหอานเปนคากลางวัน-กลางคืน (Ldn) หรือสําหรับการวัดเสียงในชุมชน
เครื่องกําเนิดเสียงสําหรับการปรับแตง
เปนเครื่องกําเนิดเสียงที่รูคาคาหนึ่ง ซึ่งเครื่องมือนี้ใชสําหรับตรวจสอบการทํางานของเครื่องวัดระดับ
เสียงและปรับแตงนิยมใชอยู 2 แบบ คือ
• แบบลูกสูบ เปนเครื่องกําเนิดเสียงโดยใชหลักการของการเคลื่อนที่ของลูกสูบในชองวางเล็กๆ
ทําใหเกิดความดันที่คงที่คาหนึ่งกับไมโครโฟนที่สอดเขาไปเปนเสียงที่ความถี่เดียวและใหคงที่ถูกตองประมาณ
± 0.2 เดซิเบล
• แบบอิเลคทรอนิกส กําเนิดเสียงโดยใชลําโพงเล็กๆ ซึ่งทํางานโดยวงจรอิเล็กทรอนิกส
(oscillator) ความถูกตองอยูในราว ± 0.3 เดซิเบล เครื่องกําเนิดเสียงแบบนี้สามารถทําเสียงที่ความถี่ตางๆ ได
มากกวา 1 คา บางเครื่องทําไดถึงตั้งแต 125-2,000 เฮิรตซ

4.2.3 ผลของเสียงตอมนุษย

(1) ผลตอการไดยิน
เมื่อเราไดรับเสียงติดตอกันไปเปนเวลานานๆ จะทําใหเซลลในหูชั้นในถูกทําลายอยางชั่วคราวหรือ
ถาวร การสูญเสียการไดยินชั่วคราว หมายถึง ระดับการไดยินเสียงเปลี่ยนระดับไปชั่วคราวเนื่องจากการรับฟง
เสียงและเมื่ออยูในสิ่งแวดลอมที่เงียบกวา ระบบการไดยินจะกลับเขาสูสภาพปกติ เราเรียกวา เกิดการสูญเสีย
การไดยินอยางชั่วคราว (noise induced temporary threshold shift, NITTS)
การสูญเสียการไดยินอยางถาวร (noise induced permanent threshold shift, NIPTS) สามารถ
เกิดขึ้นทันทีได เชน การไดยินเสียงระเบิดในระยะใกลๆ ซึ่งถาเปรียบเทียบความสามารถการไดยินกอนไดรับ
ฟงเสียงดังมากๆ 1 สัปดาห และ 5 สัปดาหหลังจากนั้นไดรับฟงเสียงดังกลาว มีคาความสามารถของการไดยิน
ไมมีการเปลี่ยนแปลงหรือต่ํากวาความสามารถการไดยินกอนไดรับฟงเสียงดัง จะเรียกปรากฏการณเชนนี้วา
"acoustic trauma" ซึ่งจะเกิดขึ้นเมื่อเยื่อแกวหูฉีกขาดหรือโครงสรางในหูชั้นในถูกทําลายและจะรุนแรงมากที่สุด
ถาเซลลในหูชั้นในตายในทันทีที่ถูกทําลาย
(2) การรบกวนการนอน
ระดับการนอนหลับปกติแบงออกเปน 3 ระดับ คือ ระดับการงวงซึม เคลิ้ม ระดับตามีการเคลื่อนไหว
และระดับหลับสนิท ซึ่งมีการศึกษา พบวา เสียงรบกวนสามารถเปลี่ยนระดับการหลับได โดยการปลุกใหตื่นหรือ
การเปลี่ยนระดับการหลับนั้นขึ้นกับปจจัยหลายอยางรวมกับลักษณะเฉพาะของแตละบุคคล เชน ความเขมของ
เสียง การแปรปรวนของเสียง ระดับของการหลับ ความไวของแตละบุคคล ระยะเวลาที่นอนมาแลว และความ
แตกตางอื่นๆ (เชน อายุ เพศ และการใชยา เปนตน) เสียงที่มีการแปรปรวนมากๆ มีแนวโนมจะทําใหตื่นได
ดีกวา หญิงกลางคนมีแนวโนมจะตื่นงายกวาชายกลางคน บริษัทขายแอรคอนดิชั่นมีการคนพบวาเสียงในเวลา
กลางคืน ระดับ 33-38 เดซิเบลเอ ก็อาจทําใหเกิดการรองเรียนขึ้นไดแลว ขณะที่เสียง 48 เดซิเบลเอ มีการ

กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม 4-20 กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม


หลักสูตรการจัดการมลพิษ โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

รองเรียนเปนจํานวนมากและมีการตื่นจากการหลับราวรอยละ 5 และจะเพิ่มเปนรอยละ 30 ถาใชเสียงสูงสุด 70


เดซิเบลเอ และถาใชเสียง 100-120 เดซิเบลเอ เกือบทุกคนจะตื่น

4.2.4 การควบคุมมลพิษทางเสียง

หลักในการควบคุมมลพิษทางเสียงทําได 3 แบบ คือ


• ควบคุมที่แหลงกําเนิด
• ควบคุมที่การเดินทางของเสียงจากแหลงกําเนิดไปยังผูรับ
• ควบคุมที่ผูรับ
การควบคุมทั้ง 3 แบบนั้น ไมมีวิธีใดที่ใชไดดีที่สุด เนื่องจากสถานการณที่แตกตางกันและยังขึ้นอยูกับ
ลักษณะเฉพาะของเสียง (เชน ความถี่ของเสียง เปนตน) อีกดวย วิธีการและหลักการโดยสังเขปของการควบคุม
เสียง คือ
(1) การใชวัสดุดูดซับเสียง
วิธีนี้มักใชกับหองที่มีการสะทอนเสียงมากเกินไป ทําใหเสียงสะทอนไปรวมกับเสียงจากแหลงกําเนิด
ทําใหระดับเสียงเพิ่มขึ้น การใชวัสดุดูดซับเสียงบุตามผนังหรือปูพื้นดวยพรม จะทําใหระดับเสียงในหองลดลง
6-8 เดซิเบลเอ ตารางที่ 4.2.4-1 แสดงถึงสัดสวนของเสียงที่ถูกดูดซับไวเมื่อใชวัสดุดูดซับตางๆ ซึ่งโดยปกติการ
ปรับปรุงหองใหเงียบลงมักจะใชวัสดุที่มีการดูดซับเสียงที่สูงกวา 0.4 (ในสํานักงานจะใชชวง 0.4-0.6)
(2) การใชวัสดุกั้นเสียง
เปนการปองกันเสียงไมใหทะลุผานไปอีกดานหนึ่ง จึงเปนการเก็บเสียงใหอยูภายในหอง ความสามารถ
ในการกั้นเสียงของวัสดุขึ้นอยูกับความหนาและความแนนของวัสดุ คือ จะกั้นไดดีเมื่อวัสดุมีความหนามากๆ และ
เปนวัสดุที่มีความหนาแนนสูงๆ โดยประมาณ ผนังกั้นจะทําใหเสียงผานไดนอยลงทุก 6 เดซิเบลเอ ถาเพิ่มความ
หนาแนนตอพื้นที่ (หนวยเปนมวลหรือน้ําหนัก/พื้นที่) แตคาสูงสุดที่จะกั้นไวได คือ 70 เดซิเบลเอ
การใชผนังหลายชั้น (กั้นดวยอากาศ) จะทําใหมีประสิทธิภาพดีขึ้น ตารางที่ 4.2.4-2 แสดงถึงความสามารถ
ในการดูดซับเสียงโดยใชผนังหลายชั้น
โดยปกติผนังทึบที่เปดประตูหนาตางจะสามารถกั้นเสียงได 10-15 เดซิเบลเอ ในขณะที่เมื่อปดประตู
หนาตางจะกั้นเสียงได 15-20 เดซิเบลเอ
ตารางที่ 4.2.4-1
วัสดุดูดซับเสียงกับสัดสวนของเสียงที่ถกู ดูดซับ
วัสดุ สัดสวนที่เสียงถูกดูดซับได
วัสดุที่ออกแบบพิเศษ 0.8-1
ฝาเพดานที่เปนแผนพรุน 0.6
มานหนา หญา ที่นั่งบุพรมพนักสูง 0.5
ดินหยาบ 0.4
พรมที่วางบนพื้นหรือบุปดผนังคอนกรีต 0.3
เกาอี้ไมหรือเหล็ก ตนไม พรมบาง 0.2
มานบาง กระจกหนาตาง ผนังไม แผนยิปซั่ม ผนังฉาบปูน 0.1
คอนกรีตเรียบ อิฐทาสี กระเบื้องผิวมัน ผิวน้ํา 0

กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม 4-21 กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม


หลักสูตรการจัดการมลพิษ โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

ตารางที่ 4.2.4-2
การกั้นเสียงกับรอยละของปริมาตรอากาศ/ปริมาตรผนังพื้น

พื้นที่ของสวนที่เปนผนังตอทั้งหมด ระดับเสียงที่กนั้ ไว


(รอยละ) (เดซิเบลเอ)
0.01 6
0.1 15
0.5 22
1 25
5 32
10 35
20 38
50 42
75 44
100 45
(3) การใชวัสดุคลุมหรือครอบแหลงกําเนิด
วิธีหนึ่งที่สามารถลดเสียงที่แหลงกําเนิดไดอยางมีประสิทธิภาพ คือ การใชวัสดุครอบหรือคลุมที่
แหลงกําเนิด การคลุมหรือการครอบจะมีประสิทธิภาพเมื่อการคลุมหรือการครอบสามารถปดพื้นที่ไดมากที่สุด
ปกติการกั้นเสียงโดยวิธีนี้สามารถลดเสียงลงไดสูงสุด 70 เดซิเบลเอ การคลุมมีหลายรูปแบบซึ่งประสิทธิภาพ
ขึ้นกับลักษณะเฉพาะของการคลุมดังตัวอยางในรูปที่ 4.2.4-1
(4) กําแพงกั้นเสียง
กําแพงกั้นเสียงคือวัสดุกั้นเสียงที่กั้นไวบางสวน การคลุมหรือการครอบปกติจะใหประสิทธิภาพที่
ดีกวา แตในบางกรณีก็เปนไปไมได จําเปนจะตองเปดชองวาง เชน ทางดานบน ทําใหประสิทธิภาพลดลง แตก็
ไดผลดีบางประการกลับมา เชน การระบายอากาศ การใชกําแพงกั้นเสียงหรือการกั้นบางสวนจะมีความสามารถ
ในการลดเสียงไมเกิน 10-15 เดซิเบลเอ วิธีนี้ใชกันมาก สําหรับการกั้นเสียงภายนอกอาคาร เชน กั้นเสียงจาก
ถนนทางหลวง ความสามารถในการลดเสียงขึ้นอยูกับระยะและสัดสวนของระยะหางระหวางแหลงกําเนิด ผูรับ
และกําแพงกั้นเสียงดังรูปที่ 4.2.4-2
กําแพงกั้นเสียงจะสามารถลดเสียงที่ผูรับไดโดยหลักเกณฑ คือ
• เมื่ อ มองจากแหล ง กํ าเนิ ด จะต อ งมี ส ว นของกํ า แพงกั้ น เสี ย งบั ง ไว จึ ง ไม เ ห็ น ผู รั บ ในแนว
เสนตรง ถาเห็นแสดงวากําแพงกั้นเสียงไมสามารถลดเสียงได
• ความสามารถของการลดเสียงจะเปนตามสัดสวนระหวาง
ดาน n + ดาน o
ดาน p
• โดยประมาณสําหรับแหลงกําเนิดที่ลักษณะเปนเสน ถาสัดสวนตามขางตนเพิ่มเปน 2 เทา
จะสามารถลดเสียงลงไดอีก 2-3 เดซิเบลเอ
• เมื่อระยะทางไกลระหวางแหลงกําเนิดกับผูรับเกินกวาประมาณ 350 เมตร กําแพงกั้นเสียง
จะไมมีผลในการลดเสียง

กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม 4-22 กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม


หลักสูตรการจัดการมลพิษ โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

วัสดุดูดซับเสียงปกติ วัสดุแข็ง คงรูป

แหลงกําเนิด ลดเสียงได แหลงกําเนิด ลดเสียงได


3-5 เดซิเบลเอ 3-10 เดซิเบลเอ
อากาศ อากาศ มีชองอากาศ
วัสดุแข็ง คงรูป
ลดเสียงไดมากกวา
วัสดุดูดซับเสียงที่มี
แหลงกําเนิด 20 เดซิเบลเอ
ความยืดหยุน
แหลงกําเนิด วัสดุที่มีความ
อากาศ ลดเสียงได ยืดหยุน ดูดซับ
6-10 เดซิเบลเอ อากาศ ความสั่นสะเทือน

รูปที่ 4.2.4-1 การลดเสียงโดยการครอบหรือคลุม

1 ผูรับผลกระทบ
2
3

กําแพงกั้นเสียง
แหลงกําเนิด
รูปที่ 4.2.4-2 กําแพงกั้นเสียง

ปกติการลดเสียงโดยวิธีนี้ภายนอกอาคาร การลดเสียง 5 เดซิเบลเอ จะทําไดคอนขางงาย และทําไดไม


ยากนักสําหรับ 10 เดซิเบลเอ แตถาเปนระดับ 15 เดซิเบลเอ จะทําไดยาก และ 20 เดซิเบลเอ เปนระดับที่ไมนา
เปนไปได การใชวิธีนี้สําหรับการลดเสียงภายในอาคาร (เชน การใชแผนกั้นระหวางสวนทํางานในสํานักงาน
เปนตน) จะตองระวังในเรื่องของวัสดุที่ใชทําฝาเพดานที่จะตองไมใชเปนวัสดุที่สะทอนเสียงไดดี (แผนเรียบและ
คงรูป) จะทําใหประสิทธิภาพของกําแพงกั้นเสียงลดลง
(5) การใชทอเก็บเสียงหรือสวนลดเสียง
การใชทอเก็บเสียงหรือสวนลดเสียง มีตัวอยางที่เห็นไดชัด เชน ทอเก็บเสียงของทอไอเสียรถยนต
รถจักรยานยนต เปนตน โดยใชหลักการสะทอนและหักเหของเสียงในสวนดังกลาว (ดังรูปที่ 4.2.4-3) ซึ่ง
ประสิทธิภาพของทอเก็บเสียง อยูที่ 20-30 เดซิเบลเอ ประสิทธิภาพขึ้นอยูกับสัดสวนระหวาง พื้นที่ o/พื้นที่ n
เปนสวนใหญ ซึ่งหมายถึงวาสัดสวนดังกลาวยิ่งมากความสามารถในการเก็บเสียงก็จะมากขึ้น และยังขึ้นอยูกับ
“ระยะ n” บาง แตไมมากนัก คือ ถา “ระยะ n” ยิ่งยาวขึ้นความสามารถในการเก็บเสียงก็จะมากขึ้น

กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม 4-23 กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม


หลักสูตรการจัดการมลพิษ โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

(6) การใชวัสดุบุเพื่อดูดซับเสียง
กรณีนี้ คือ บุหรือคลุมติดกับแหลงกําเนิดโดยตรง เชน การใชวัสดุมีความยืดหยุนพันหรือหุมทอหรือบุ
ดานในทอ ซึ่งจะปองกันการสะทอนของเสียงภายในทอไว ปกติวิธีนี้จะลดเสียงลงไดสูงสุดประมาณ 10 เดซิเบลเอ
บางกรณีจะใชการแขวนหรือเปนแผนติดผนัง หรือทําเปนแผนดูดซับเสียงยื่นลงมาจากเพดาน ซึ่งก็จะทําหนาที่
อยางเดียวกัน คือ ลดการสะทอนของเสียงในทิศทางตางๆ พรมเปนวัสดุที่มีคุณสมบัตินี้ เปนทั้งปองกันการ
สะทอนเสียงและลดเสียงที่กําเนิดมาหรือสงตอมาตามพื้นอาคารไมใหกระจายเขาสูหอง

พื้นที่ o

พื้นที่ n

ระยะ n
รูปที่ 4.2.4-3 ทอเก็บเสียง

(7) การใชอุปกรณปองกันหู
เปนวิธีการลดเสียงที่ผูรับแตละบุคคลและมักเปนวิธีการควบคุมเสียงชั่วคราวซึ่งอยูในระหวางการ
ปรับปรุงแกไขหรือภายในบริเวณที่เปนแหลงกําเนิดซึ่งมีการปฏิบัติงานอยางชั่วคราว อุปกรณที่ใชกัน 2 แบบ คือ
อุปกรณอุดหู และอุปกรณครอบหู สําหรับอุปกรณอุดหูมีประสิทธิภาพในการลดเสียงลงในชวง 15-27 เดซิเบลเอ
และสําหรับอุปกรณครอบหูจะมีความสามารถลดเสียงในชวง 10-32 เดซิเบลเอ การสวมใสอุปกรณทั้งสองอยาง
พรอมๆ กันจะสามารถลดเสียงลงไดราว 40 เดซิเบลเอ (ดังรูปที่ 4.2.4-4) โดยสรุปแลวเราสามารถเลือกวิธีการลด
เสียงตามวัตถุประสงคและสถานการณไดดังตารางที่ 4.2.4-3

เครื่องอุดหู เครื่องครอบหู

รูปที่ 4.2.4-4 อุปกรณปองกันหูแบบตางๆ

กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม 4-24 กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม


หลักสูตรการจัดการมลพิษ โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

ตารางที่ 4.2.4-3
ทางเลือกตามสภาวะในการลดเสียง

ตําแหนงที่ควบคุม ทางเลือกและสภาวะ
1) ที่แหลงกําเนิด - การซอมบํารุง
- ลดการสะทอน
- ยายแหลงกําเนิด
- นําเอาแหลงกําเนิดที่ไมจําเปนออก
- เลือกใชผลิตภัณฑที่ระดับเสียงต่ํากวา
- ออกแบบ (ทางวิศวกรรม) ใหมใหระดับเสียงลดลง
2) ที่ทางเดินของเสียง - คลุมหรือครอบแหลงกําเนิด
- ใชแผนกั้นหรือกําแพงกั้นเสียง
- ติดตั้งทอเก็บเสียง ทอพักเสียง
- บุดวยวัสดุดูดซับเสียง
- พยายามลดความสั่นสะเทือน
3) ที่ผูรับ - ยายผูรับ
- คลุมหรือครอบผูรับ
- ใชอุปกรณอุดหูหรือครอบหู

กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม 4-25 กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม


“การจัดการขยะมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล”

“ปจจุบันปญหาการจัดการขยะมูลฝอยและสิ่งปฏิกูลเปนปญหาทางดานสิ่งแวดลอมที่ทุกฝายที่เกี่ยวของ
ใหความสําคัญและจําเปนตองรวมมือแกไข เพราะเปนปญหาที่เกิดขึ้นในชุมชนทุกระดับ ปญหาดังกลาวทุกวัน
ยิ่งทวีความรุนแรงเพิ่มขึ้น อันเปนผลสืบเนื่องจากการพัฒนาดานเศรษฐกิจและสังคมอยางตอเนื่อง การมีผลผลิต
ทางเทคโนโลยีใหมๆ มาใชในชีวิตประจําวันและมาตรฐานการครองชีพที่สูงขึ้น ทําใหมีวัสดุเหลือใชและปริมาณ
ขยะมูลฝอยสูงมากขึ้นตามลําดับ ในขณะที่วิธีการและสถานที่ในการกําจัดสวนใหญยังไมมีประสิทธิภาพ รวมถึง
ความตระหนักและจิตสํานึกในการทิ้งและการหมุนเวียนกลับมาใชใหมเพื่อลดทรัพยากรที่นํามาผลิตยังอยูใน
ระดับที่นอย จึงเกิดปญหาดานสิ่งแวดลอมและสังคมตามมา เชน ความสกปรก กลิ่นเนาเหม็น และแมลงรบกวน
เปนตน

เนื้อหาในหลักสูตรนี้ไดกลาวถึง ความรูทั่วไปเกี่ยวกับการจัดการขยะมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล สภาพ


ปญหา ระบบการจัดการ ทั้งในเรื่องการขนสง การจัดเก็บ และการคัดแยกขยะมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล เทคโนโลยีที่
เหมาะสมสําหรับการจัดการขยะมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล ทั้งนี้ เพื่อเพิ่มพูนความรูใหแกผูเขารับการอบรมเกี่ยวกับ
การจัดการขยะมูลฝอยและสิ่งปฏิกูลอยางถูกตองตอไป”

****************************
หลักสูตรการจัดการมลพิษ โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

บทที่ 5
การจัดการขยะมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล

5.1 ความรูทั่วไป

5.1.1 คําจํากัดความ

กากของเสียหรือขยะมูลฝอย (solid waste หรือ refuse) หมายถึง สิ่งของเครื่องใชที่ไมตองการใชแลวทั้ง


ที่ยอยสลายไดและยอยสลายไมได รวมไปถึงมูลสัตว ซากสัตว ฝุนละออง เศษวัสดุตางๆ ที่ทิ้งจากที่พักอาศัย
สถานที่สาธารณะ ถนน อาคาร ตลาด และโรงงานอุตสาหกรรม (ทั้งที่เปน solid และ semisolid)

5.1.2 แหลงกําเนิดและประเภทขยะมูลฝอย

โดยทั่วไปสามารถจําแนกแหลงกําเนิดขยะมูลฝอยไดเปน 3 สวนหลัก คือ ขยะมูลฝอยชุมชน ขยะมูลฝอย


จากการเกษตร และขยะมูลฝอยอุตสาหกรรม (ดังรูปที่ 5.1.2-1) นอกจากนี้ อาจแบงแหลงกําเนิดขยะมูลฝอย
ตามการใชประโยชนของที่ดินไดเชนกัน ไดแก ขยะมูลฝอยจากบานพักอาศัย (residential wastes) ขยะมูลฝอย
จากธุรกิจการคา (commercial wastes) ขยะมูลฝอยจากการเกษตร (agricultural wastes) ขยะมูลฝอยจาก
โรงงานอุตสาหกรรม (industrial wastes) และขยะมูลฝอยจากโรงพยาบาล (hospital wastes) เปนตน
สําหรับประเภทขยะมูลฝอยอาจแบงไดหลายลักษณะตามเกณฑที่ใช เชน แบงตามความเปนอันตราย
แบงตามแหลงที่มา เปนตน รายละเอียดดังนี้
(1) แบงประเภทตามความเปนอันตราย
สามารถแบงเปน 2 ประเภทใหญๆ ไดแก ของเสียอันตราย (hazardous waste) และของเสียทั่วไป
หรือของเสียที่ไมอันตราย (general or non-hazardous waste)
(2) แบงประเภทตามแหลงที่มา
• ขยะมูลฝอยจากโรงงานอุตสาหกรรม องคประกอบของขยะขึ้นกับลักษณะของอุตสาหกรรมใน
แตละประเภท
• ขยะสด (garbage) ไดแก เศษผัก ผลไม และเนื้อสัตวที่เหลือทิ้งจากการเตรียมอาหารและ/หรือ
จากการบริโภคแลว หรือเกิดจากตลาดสด
• ขยะแหง (rubbish) ไดแก ขยะมูลฝอยจากบานเรือนที่ผานการแยกเศษอาหารและขยะที่เนา
เปอยไดงายออกแลว
• ขยะมูลฝอยจากการกอสราง (demolition หรือ construction refuse)
• ขยะมูลฝอยที่เหลือจากการเผาไหมหรือเรียกวา ขี้เถา (ashes)
• ขยะพิเศษ (special wastes) ไดแก ขยะที่เปนสารพิษ ขยะติดเชื้อ วัตถุระเบิด วัตถุแผรังสี ซาก
ยานพาหนะ (abandon vehicles) ทุกชนิดที่หมดสภาพ ใชงานไมได รวมทั้งชิ้นสวนประกอบ (เชน แบตเตอรี
ยาง เปนตน)
• ขยะจากถนน (street refuse) ขยะที่ไดจากการกวาดถนน
• ซากสัตว (dead animal)
• ขยะจากการเกษตร
• กากตะกอนของน้ําโสโครก (sewage treatment residues)
กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม 5-1 กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม
หลักสูตรการจัดการมลพิษ โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

ขยะมูลฝอย
(Solid Waste)

ขยะมูลฝอยชุมชน ขยะมูลฝอยจากการเกษตร ขยะมูลฝอยอุตสาหกรรม


(Community Waste) (Agricultural Waste) (Industrial Waste)

ขยะมูลฝอยทั่วไป ขยะมูลฝอยที่เปนอันตราย ของเสียอันตราย


ขยะมูลฝอยที่ไมเปนอันตราย
(General Waste) ในบานเรือน (Hazardous Waste)
(Non-Hazardous Waste)
(Household Hazardous)

ของเสียที่เปนพิษ
ขยะเปยก ขยะแหง ขยะมูลฝอยทั่วไป ขยะมูลฝอยอันตราย ของเสียที่มีฤทธิ์กัดกรอน
(Garbage) (Rubbish) (General Waste) (Hazardous Waste) ของเสียกัมมันตรังสี
ฯลฯ
เศษพืช กระดาษ ถานไฟฉาย
ผัก พลาสติก หลอดฟลูออเรสเซนต
ผลไม ขวด สี / กระปองสี
เศษอาหาร แกว กากสารเคมีและภาชนะบรรจุ
ฯลฯ ผา ฯลฯ
โลหะ
ยาง
ฯลฯ

รูปที่ 5.1.2-1 แหลงกําเนิดและประเภทของขยะมูลฝอย


สํานักรักษาความสะอาด กรุงเทพมหานคร แบงขยะมูลฝอยเปน 3 ประเภท ไดแก
• ขยะมูลฝอยเปยก ไดแก เศษอาหาร เศษพืชผัก เปลือกผลไม อินทรียวัตถุที่สามารถยอยสลาย
เนาเปอยงาย มีความชื้นสูง และสงกลิ่นเหม็นไดรวดเร็ว
• ขยะมูลฝอยแหง ไดแก เศษกระดาษ เศษผา แกว โลหะ ไม พลาสติก ยาง ฯลฯ ขยะมูลฝอยชนิดนี้
จะมีทั้งที่เผาไหมไดและเผาไหมไมได โดยที่ขยะแหงสามารถคัดแยกเลือกวัสดุที่ยังมีประโยชนกลับมาใชไดอีก
• ขยะมูลฝอยอันตราย ไดแก ของเสียที่เปนพิษ มีฤทธิ์กัดกรอนและระเบิดไดงาย ตองใชกรรมวิธีใน
การทําลายเปนพิเศษเนื่องจากเปนวัสดุที่มีอันตราย เชน สารฆาแมลง ถานไฟฉาย แบตเตอรีรถยนต หลอดไฟ
สเปรยฉีดผม เปนตน

5.1.3 ของเสียอันตราย (hazardous waste)

ของเสียอันตรายอาจแบงออกเปน 7 กลุม ไดแก น้ํามัน (oily waste) ตัวทําละลาย (solvent) สารปราบ


ศัตรูพืช (pesticide) กรด (acid) ดาง (alkali) โลหะหนัก (heavy metal) กลุมเจาะจงเฉพาะ (special) สําหรับ
แหลงที่มาของของเสียอันตราย ไดแก
• โรงงานอุตสาหกรรม มีการใชสารเคมี โลหะหนัก น้ํามัน หรือสารสังเคราะหที่ซับซอน
• บานเรือน มีการใชเทคโนโลยีสมัยใหมในการดํารงชีวิต เชน หลอดฟลูออเรสเซนต แบตเตอรี
ถานไฟฉาย เปนตน

กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม 5-2 กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม


หลักสูตรการจัดการมลพิษ โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

• ภาคเกษตรกรรม มีการใชสารเคมี ยาปราบศัตรูพืช


• สถานพยาบาล เชน ขยะติดเชื้อ เศษเนื้อเยื่อ ของเสียที่ปนเปอนกัมมันตรังสี เปนตน

5.1.4 ลักษณะของขยะมูลฝอย

ลักษณะของขยะมูลฝอยสามารถแบงไดเปน 3 ลักษณะ ไดแก ลักษณะทางกายภาพ ทางเคมี และทาง


ชีวภาพ โดยมีรายละเอียดดังนี้
(1) ลักษณะทางกายภาพ (physical characteristics)
• องคประกอบขยะมูลฝอย เปนปจจัยสําคัญเพื่อพิจารณาหาแนวทางการจัดการขยะมูลฝอยที่
เหมาะสม ตัวอยางองคประกอบขยะมูลฝอย ไดแก เศษอาหาร กระดาษ พลาสติก ยาง เศษผา หนัง ใบไม
กิ่งไม แกว กระปอง เปนตน สําหรับองคประกอบและลักษณะของขยะมูลฝอยชุมชนของกรุงเทพมหานคร ดัง
ตารางที่ 5.1.4-1 และ 5.1.4-2
• ขนาดของแตละสวนขององคประกอบตางๆ เปนขอมูลที่สําคัญเพื่อพิจารณาหาแนวทางในการนํา
ขยะกลับมาใชใหม
ตารางที่ 5.1.4-1
องคประกอบขยะมูลฝอยของกรุงเทพมหานครระหวางป พ.ศ. 2536-2545
หนวย : รอยละ
องคประกอบ 2536 2537 2538 2539 2540 2541 2542 2543 2544 2545
กระดาษ 15.40 13.99 14.49 11.25 11.39 11.58 9.57 8.66 8.58 13.58
ผาและสิ่งทอ 4.50 3.49 1.95 7.34 6.17 3.71 11.01 6.43 4.0 4.58
พลาสติกและโฟม 16.02 20.66 18.72 19.06 17.43 19.8 25.84 19.47 19.41 20.76
ไมและใบไม 4.24 5.89 5.39 2.98 5.77 14.51 7.89 6.77 7.52 6.59
เศษอาหาร 15.76 14.72 20.72 28.74 44.28 35.54 35.41 46.88 46.92 34.16
กระดูกและเปลือกหอย 1.21 0.62 0.78 0.40 0.0 0.0 0.0 0.35 1.29 1.74
หนังและยาง 2.17 0.15 0.82 2.36 0.62 0.82 2.15 0.11 0.78 2.19
โลหะ 2.52 2 1.28 2.76 2.30 2 0.96 1.49 1.64 2.18
แกว 4.65 4.64 3.86 6.72 4.47 4.17 1.67 2.57 2.3 5.07
หินและเซรามิค 0.61 1.11 1.77 0.46 0.0 0.0 0.0 0.51 1.0 0.58
อื่นๆ 32.92 32.73 30.22 17.93 7.57 7.87 5.50 6.76 6.56 8.57
รวม 100.00 100.00 100.00 100.00 100.00 100.00 100.00 100.00 100.00 100.00
หมายเหตุ: อื่นๆ หมายถึง ประเภทที่ไมสามารถแยกไดเนื่องจากมีขนาดเล็ก <10 มิลลิเมตร สวนใหญเปน
อินทรียวัตถุ
ที่มา: ฝายวิจัย กองวิชาการและแผนงาน สํานักรักษาความสะอาด กรุงเทพมหานคร, 2545
กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม 5-3 กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม
ตารางที่ 5.1.4-2
ลักษณะทางกายภาพ เคมี และโลหะหนักของขยะมูลฝอยกรุงเทพมหานคร ประจําปงบประมาณ 2544-2545

สถานีขนถายขยะมูลฝอย
คาเฉลี่ย
ประเภท หนวย ออนนุช หนองแขม ทาแรง
2544 2545 2544 2545 2544 2545 2544 2545
ความหนาแนน กิโลกรัม/ลิตร 0.34 0.39 0.35 0.45 0.34 0.36 0.34 0.4
ปริมาณความชื้น รอยละ 57.83 47.83 55.81 46.57 53.22 44.97 55.62 46.46
ปริมาณสารที่เผาไหมได รอยละ 30.6 - 36.04 - 41.24 - 35.96 -
ปริมาณเถา รอยละ 12.36 - 10.79 - 8.77 - 10.64 -
ปริมาณของแข็งรวม รอยละ 42.17 52.17 44.38 53.43 46.78 55.03 44.44 53.54
ปริมาณความรอน กิโลแคลอรี/กิโลกรัม1,405.11 1,330.78 1,557.32 2,238.52 2,070.76 2,269.76 1,677.73 1,946.35
C รอยละ 28.13 45.41 28.57 - 30.67 - 29.12 45.41
H รอยละ 3.24 5.11 3.03 - 3.56 - 3.28 5.11
5-4

O รอยละ 17.04 30.37 16.81 - 18.9 - 17.58 30.37


N รอยละ 1.87 - 3.07 - 1.91 - 2.28 -
S รอยละ 0.38 0.67 0.42 - 0.41 - 0.4 0.67
Cl รอยละ 0.82 0.58 0.81 - 0.95 - 0.86 0.58
Ni มิลลิกรัม/กิโลกรัม 0.3 0.76 0.32 - 0.42 - 0.35 0.76
Cd มิลลิกรัม/กิโลกรัม 0.04 1.16 0.04 - 0.03 - 0.04 1.16
Cr มิลลิกรัม/กิโลกรัม 1.42 N.D 0.04 - 0.05 - 0.05 N.D
Pb มิลลิกรัม/กิโลกรัม 2.73 5.52 2.3 - 2.72 - 2.58 5.52
Hg มิลลิกรัม/กิโลกรัม 0.09 0.06 0.08 - 0.15 - 0.11 0.06
หมายเหตุ: N.D<0.01 (มิลลิกรัม/กิโลกรัม)
ที่มา: ฝายวิจัย กองวิชาการและแผนงาน สํานักรักษาความสะอาด กรุงเทพมหานคร, 2545
หลักสูตรการจัดการมลพิษ โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

(2) ลักษณะทางเคมี (chemical characteristics)


มีความสําคัญตอการพิจารณาเลือกกระบวนการจัดการขยะมูลฝอยและกระบวนการนําขยะกลับมา
ใชใหม ซึ่งขอมูลดานเคมีที่นํามาใชประกอบดวย
• การวิเคราะหอยางประมาณ (proximate analysis) ใชบงบอกองคประกอบทางเคมีของของแข็ง
วามีองคประกอบอะไรบาง
- ความชื้น (moisture) เปนปริมาณความชื้นที่หายไป (น้ําหนักที่หายไป) หลังจากการอบตัว
อยางของแข็งที่อุณหภูมิ 105 องศาเซลเซียส เปนเวลา 1 ชั่วโมง โดยทั่วไปแสดงในรูปของปริมาณความชื้นใน
ขยะตอมวลขยะ การคํานวณหาคาความชื้นสามารถหาไดจาก

W–D
คาความชื้นของขยะ (%) = X 100
W
โดย w = น้ําหนักของขยะที่เก็บ (กิโลกรัม)
D = น้าํ หนักของขยะหลังอบที่อุณหภูมิ 105 องศาเซลเซียส (กิโลกรัม)
- ปริมาณสารอินทรียระเหย (volatile organic) เปนปริมาณน้ําหนักที่หายไปหลังจากนําตัวอยาง
ที่ผานการหาความชื้นแลวใสในครูซิเบิลที่มีฝาปดแลวและนําเขาเตาเผาที่อุณหภูมิ 950 องศาเซลเซียส
ประมาณ 7 นาที
- เถา (ash) เปนปริมาณน้ําหนักที่หายไปหลังจากนําตัวอยางใสในครูซิเบิลแลวเขาเตาเผาที่
อุณหภูมิ 700 องศาเซลเซียส เปนเวลา 3 ชั่วโมง
- คารบอนคงตัว (fixed carbon) เปนสารประกอบของคารบอน (carbonaceous residue) ที่ไมรวม
เถาที่เหลือจากสารอินทรีย หลังจากที่สารอินทรียระเหยถูกไลออกไปแลว คารบอนคงตัวเปนคาที่วัดปริมาณสารที่
สามารถเผาได (solid combustible material) ที่เหลืออยูใน burning equipment และเปนคาหนึ่งที่ใชในการ
คํานวณหาประสิทธิภาพในการเผาไหมของเครื่องมือดวย

คารบอนคงตัว = 100 - %moisture - %volatile - %ash

• จุดหลอมเหลวของเถา (fusing point of ash) เปนอุณหภูมิที่ขี้เถาจากการเผาขยะมูลฝอย


เปลี่ยนเปนของแข็ง (clinker) โดยขบวนการ fusion และ agglomeration โดยทั่วไปแลวจุดหลอมละลายของเถา
จะมีอุณหภูมิตั้งแต 1,100 - 1,200 องศาเซลเซียส
• การวิเคราะหองคประกอบแบบ ultimate analysis เปนการหาปริมาณของธาตุ C, H, O, N, S
และ ash ของขยะมูลฝอย ซึ่งมีความสําคัญตอการพิจารณากระบวนการจัดการขยะ เชน การหาอัตราสวนที่
เหมาะสมของขยะ เพื่อใหไดอัตราสวน C/N ที่เหมาะสมสําหรับกระบวนการยอยสลายทางชีวภาพ
• คาพลังงาน (energy content) คาพลังงานจากสารอินทรียในขยะมูลฝอยสามารถหาไดโดยการ
ทดสอบ เชน การทดสอบดวย bomb calorimeter เปนตน นอกจากนี้ สามารถคํานวณจากองคประกอบทาง
เคมีหรือคาปริมาณเถาและความชื้น โดยใชสมการตอไปนี้
- คํานวณคาพลังงานจากคาองคประกอบทางเคมี (modified dulong formula)

Btu / lb = 145C + 610 (H - O/8) + 40S + 10N

กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม 5-5 กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม


หลักสูตรการจัดการมลพิษ โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

โดย C = คารบอน (% wt)


H= ไฮโดรเจน (% wt)
O= ออกซิเจน (% wt)
N= ไนโตรเจน (% wt)
S= ซัลเฟอร (% wt)
- คํานวณคาพลังงานจากคาปริมาณเถาและความชื้น

Btu / lb ของขยะแหง = Btu / lb [100 / (100 - %moisture)]

Btu / lb ของขยะแหงปราศจากเถา = Btu / lb [100 / (100 - %moisture - %ash)]

(3) ลักษณะทางชีววิทยา (biological characteristics)


นอกจากสารอินทรียที่เปนองคประกอบในขยะมูลฝอยสามารถจําแนกเปน พลาสติก กระดาษ ยาง
หนัง ฯลฯ ยังสามารถจําแนกออกไดอีก เชน องคประกอบที่ละลายน้ําได (น้ําตาล แปง กรดอะมิโน กรดอินทรีย)
เฮมิเซลลูโลส (hemicellulose) เซลลูโลส (cellulose) ไขมัน น้ํามัน และแวกซ (fat, oil and wax) ลิกนิน (lignin)
ลิกโนเซลลูโลส (lignocellulose) โปรตีน (protein) เปนตน โดยทั่วไปสารอินทรียในขยะสวนใหญสามารถยอย
สลายดวยกระบวนการทางชีวภาพได ซึ่งสามารถประมาณไดโดยใชปริมาณลิกนิน

BF = 0.83 – 0.028LC

โดย BF = สวนที่ยอยสลายได (แสดงในรูปของของแข็งระเหย, volatile solids)


LC = ปริมาณลิกนินในของแข็งระเหย (น้ําหนักแหง)

5.1.5 การเกิดกลิ่นเหม็น

ขยะมูลฝอยเมื่อถูกกักเก็บไวเปนระยะเวลานาน ไมวาจะอยูในภาชนะกักเก็บหรือในหลุมฝงกลบก็ตามจะ
เกิดกลิ่นเหม็นขึ้น โดยเฉพาะในสภาวะที่อากาศมีอุณหภูมิสูง โดยปกติแลวการเกิดกลิ่นเหม็นจะมีสาเหตุมาจาก
เกิดการยอยสลายแบบไรออกซิเจน (anaerobic) ยกตัวอยางเชน ซัลเฟตซึ่งเปนองคประกอบหนึ่งที่อยูในขยะจะ
ถูกรีดิวสไปเปนซัลไฟด (SO42- S2-) และเมื่อทําปฏิกิริยากับ H2 ก็จะไดเปน H2S ซึ่งเปนกาซที่มีกลิ่นเหม็น
อีกลักษณะหนึ่งคือ sulfide ที่เกิดขึ้นก็สามารถรวมตัวกับ Fe ไดเปน metal sulfide ซึ่งจะสังเกตไดจากการที่
ขยะหรือน้ําชะขยะจะมีสีดํา อีกกรณีหนึ่งเปนการเกิดกระบวนการรีดักชันทางชีวเคมีของอินทรียสารที่มี sulfur
radical เปนองคประกอบอยูและจะทําใหเกิดสารจําพวก methyl mercaptan ซึ่งสารดังกลาวมีกลิ่นเหม็นเชนกัน

5.1.6 ปญหาจากขยะมูลฝอยที่มีตอสภาพแวดลอมและชุมชน

- อากาศเสีย เกิดจากการเผาขยะกลางแจง ทําใหเกิดควันและสารพิษ กลิ่นเนาเหม็น


- น้ําเสีย กองขยะที่ถูกเทไวบนพื้น เมื่อฝนตกลงมาจะเกิดการชะลางขยะ ทําใหเกิดน้ําเสียไหลลงสูแหลง
น้ํา ซึ่งอาจทําใหเกิดมลพิษทางน้ําได
- แหลงพาหะนําโรค เปนแหลงเพาะพันธุหนู แมลงวัน สงผลกระทบตอสุขภาพอนามัยของประชาชน
- เหตุรําคาญและความไมนาดู ทัศนียภาพไมดี สงกลิ่นรบกวน

กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม 5-6 กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม


หลักสูตรการจัดการมลพิษ โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

5.2 อัตราการเกิดขยะมูลฝอย

(1) ปจจัยที่มีผลตออัตราการเกิดขยะ
อัตราการเกิดขยะมูลฝอยขึ้นอยูปจจัยตางๆ เชน สภาพทางเศรษฐกิจ (economic conditions)
ลักษณะที่ตั้งภูมิประเทศ (geographic location) ฤดูกาล (season of the year) ความถี่ของการเก็บขยะ
(frequency of collection) การใชเครื่องบดเศษอาหารในบาน (use of home grinders) ลักษณะความเปนอยู
ของประชาชน (characteristics of population) ขอบเขตการขนถายและการนํากลับไปผลิตใหม (extent of
salvage and recycling) กฎหมาย (legislation) ทัศนคติของผูบริโภค (public attitude) เปนตน
(2) อัตราการเกิดขยะมูลฝอย (generation rate)
อัตราการเกิดขยะมูลฝอยขึ้นอยูกับปจจัยตางๆ ดังที่กลาวแลวขางตน ซึ่งจากเอกสารอางอิงที่เกี่ยวของ
ไดระบุถึงอัตราการเกิดขยะมูลฝอยที่แยกตามแหลงกําเนิดตางๆ (ประเทศไทย) ดังตารางที่ 5.2-1
ตารางที่ 5.2-1
อัตราการเกิดขยะมูลฝอยที่เกิดจากแหลงกําเนิดตางๆ

แหลงกําเนิดขยะมูลฝอย หนวย อัตราการเกิดขยะมูลฝอย (เฉลี่ย)


บานพักอาศัยระดับเทศบาล(1)
Pop > 50,000 คน 0.66 - 0.91 (0.762)
กิโลกรัม/คน/วัน
Pop 25,000 - 50,000 คน 0.55 - 1.04 (0.711)
Pop < 25,000 คน 0.46 - 0.98 (0.700)
บานพักอาศัยระดับสุขาภิบาล(1)
Pop > 20,000 คน 0.42 - 0.74 (0.592)
กิโลกรัม/คน/วัน
Pop 10,001 - 20,000 คน 0.42 - 0.80 (0.598)
Pop < 10,000 คน 0.46 - 0.64 (0.576)
กิโลกรัม/ตารางเมตร/วัน 0.017
(2)
ธุรกิจและอาคารพาณิชย กิโลกรัม/หนวย/วัน 2.45
กิโลกรัม/คูหา/วัน 2.5
กิโลกรัม/ที่นั่ง/วัน 0.607
รานอาหาร(2)
กิโลกรัม/คนทีม่ านั่งทานอาหาร/วัน 0.2
(2)
ตลาด กิโลกรัม/ตารางเมตร/วัน 0.846
(2)
โรงแรม บังกะโล กิโลกรัม/หอง/วัน 0.559
(2)
ศาสนสถาน กิโลกรัม/ตารางเมตร/วัน 0.007
(2)
สถานที่ราชการ กิโลกรัม/ตารางเมตร/วัน 0.007
(2)
สวนสาธารณะ กิโลกรัม/ตารางเมตร/วัน 0.013
(2)
สถานเริงรมย กิโลกรัม/ตารางเมตร/วัน 0.124
สถาบันการเงิน(2) กิโลกรัม/ตารางเมตร/วัน 0.013
(2)
หางสรรพสินคา กิโลกรัม/ตารางเมตร/วัน 0.052
หมายเหตุ: (1) กรมควบคุมมลพิษ การศึกษาเปรียบเทียบความเหมาะสมวิธีกําจัดมูลฝอยชุมชน, 2547
(2) รายงานการวางแนวทางแกไขปญหามลพิษในเมืองหลัก เมืองชลบุรี ภูเก็ต สุราษฎรธานี
กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม 5-7 กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม
หลักสูตรการจัดการมลพิษ โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

(3) การคาดการณปริมาณขยะมูลฝอย
อัตราการเกิดขยะมูลฝอยแตกตางกันไปในแตละทองถิ่น จากการศึกษา โดย JICA ในป พ.ศ. 2525
ทําการศึกษาการเปลี่ยนแปลงปริมาณขยะมูลฝอยในเขตกรุงเทพมหานคร พบวา ภาวะรายไดผลผลิตรวมของ
เมือง GDP (gross domestic product) ที่มีคาเปนรอยละ 10 จะทําใหอัตราการเกิดขยะมูลฝอยเพิ่มขึ้นรอยละ 3.3
ของแตละป นอกจากนี้ จํานวนประชากรก็เปนปจจัยหนึ่งที่สงผลโดยตรงตอปริมาณขยะมูลฝอยในชุมชน ดังนั้น
การคาดการณจํานวนประชากรของชุมชนในอนาคตจึงมีความสําคัญตอการคาดการณปริมาณขยะมูลฝอยใน
อนาคตเชนกัน สําหรับการคาดการณจํานวนประชากรนั้นสามารถกระทําไดหลายวิธีขึ้นอยูกับความเหมาะสมตอ
สภาพแวดลอมและลักษณะเศรษฐกิจในแตละชุมชน เชน วิธีโตแบบเลขคณิต (arithmetic growth method) วิธีโต
แบบเรขาคณิต (geometric growth method) วิธีโตแบบเสนโคงรูปเอส (logistic curve fitting) เปนตน โดยที่
รายละเอียดของวิธีการคาดการณจํานวนประชากรสามารถคนควาไดจากเอกสารที่เกี่ยวของ
อยางไรก็ตาม การคาดการณประชากรของชุมชนเปนเรื่องที่มีความซับซอนและมีปจจัยที่เกี่ยวของ
จํ า นวนมาก ดั ง นั้ น การคาดการณ จํ า นวนประชากรควรเป น หน าที่ ข องผู เ ชี่ ย วชาญด า นประชากรศาสตร
โดยเฉพาะ
(4) การหาปริมาณขยะมูลฝอยที่เกิดขึ้นจากชุมชน
วิธีการหาปริมาณขยะมูลฝอยชุมชนที่ไดจากการเก็บรวบรวมมานั้น ซึ่งเปนวิธีที่นิยมใชกันโดยสวน
ใหญมี 2 วิธี ไดแก
1) Load-count analysis การหาปริมาณขยะโดยวิธีประมาณหาปริมาตรของขยะมูลฝอยที่เก็บขน
ไดในแตละคัน แลวนําคาความหนาแนนโดยเฉลี่ยของขยะมูลฝอยรวมมาคํานวณหาน้ําหนักของขยะมูลฝอยที่
เกิดขึ้น
2) Mass-volume analysis การหาปริมาณขยะโดยวิธีการชั่งน้ําหนักของรถเก็บขนขยะแตละคันที่
ไดจากการเก็บขนขยะมูลฝอยแตละเที่ยว แลวนําคาความหนาแนนโดยเฉลี่ยของขยะมูลฝอยรวมมาคํานวณหา
ปริมาตรของขยะที่เกิดขึ้น

5.3 ระบบการจัดเก็บและขนสงขยะมูลฝอย

(1) การจัดการขยะมูลฝอย เปนการศึกษาถึง


• ขอมูลการเกิดขยะมูลฝอย
• การจัดการ เก็บกัก และการขนถาย
• การคัดแยกองคประกอบขยะมูลฝอย
• การกําจัดและการนํากลับมาใชประโยชน
(2) การเก็บกักขยะมูลฝอย
การเก็บกักขยะมูลฝอยมีความสําคัญมาก จําเปนตองคํานึงถึงประเภทของภาชนะหรืออุปกรณที่ใช
ในการเก็บกักใหเหมาะสมตอประเภทของขยะมูลฝอย และตองมีขนาดพอเพียงที่จะเก็บกักขยะมูลฝอยไวระยะ
หนึ่งจนกวาจะถูกรวบรวมและขนยายไปยังสถานที่ที่จะทําการกําจัดตอไป อีกทั้ง ภาชนะการเก็บกักขยะมูลฝอย
จะตองทําดวยวัสดุที่ปองกันการรั่วซึม ไมเปนสนิมและมีความมิดชิดในการเก็บกัก เพื่อไมใหเกิดความไมนาดู
ปองกันพวกแมลงและสัตวนําโรคเขาไปอยูอาศัย และสามารถเคลื่อนยายไดสะดวกเมื่อตองการขนถาย อยางไร
ก็ตาม ระบบเก็บกักขยะมูลฝอยสามารถใชระบบเก็บกักแบบแยกประเภทตามลักษณะของขยะ ทั้งนี้ เพื่อ
ประโยชนในการหมุนเวียนขยะบางสวนกลับมาใชประโยชนใหมและเปนการชวยลดปริมาณขยะที่ตองกําจัด อีก
ทั้งยังเปนประโยชนในการแปรสภาพและกําจัดขยะมูลฝอยดวย

กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม 5-8 กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม


หลักสูตรการจัดการมลพิษ โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

(3) การคัดแยกขยะมูลฝอย
การคัดแยกวัสดุหรือองคประกอบใดๆ จากขยะมูลฝอยนั้นมีอยูดวยกันหลายวิธี ตั้งแตวิธีการคัดแยก
โดยอาศัยมนุษย ตลอดจนการอาศัยเทคโนโลยีหรือเครื่องจักรสมัยใหม สําหรับหนวยตางๆ ในระบบคัดแยกขยะมูล
ฝอยมีรายละเอียด ดังนี้
1) Picking หรือ hand sorting เปนระบบที่ใชพนักงานในการคัดแยกขยะ โดยที่ขยะดังกลาวจะอยู
บนสายพาน
2) ตะแกรง (screening) ใชเครื่องจักรในการคัดแยกขนาดวัสดุที่มีอนุภาคขนาดเล็กกวาชอง/รูของ
ตะแกรงก็จะตกลงมา ระบบที่ไดรับความนิยม ไดแก vibrating screen (มีการสั่นไปมาบนตะแกรง ทําให
อนุภาคตกลงมา) trommel screen (ลักษณะเปนทอทรงกระบอกกลวงที่มีชอง/รู เพื่อใหอนุภาคตกลงมา ซึ่งทอ
ทรงกระบอกดังกลาวนี้จะหมุนอยูตลอดเวลา) และ disc screen (มีการใชแผนจานวงกลมที่หมุนไดเพื่อทํา
หนาที่เคลื่อนยายหรือลําเลียง โดยที่อนุภาคจะตกลงบริเวณจานวงกลมดังกลาว)
3) Density separation หรือ air classification เปนหนวยที่ใชแยกวัสดุที่เบา (เชน กระดาษ
พลาสติก เปนตน) ออกจากวัสดุที่มีน้ําหนักมาก โดยอาศัยความแตกตางของน้ําหนัก หรือความหนาแนนของ
ขยะมูลฝอยแตละชนิด โดยอาศัยกระแสอากาศ ยกตัวอยางเชน horizontal air knife (ดังรูปที่ 5.3.3-1), zig-zag
air classifier (ดังรูปที่ 5.3.3-2) เปนตน
4) Magnetic separation เปนหนวยที่ใชแยกวัสดุที่เปนโลหะออกจากขยะมูลฝอยโดยการแยกดวย
แมเหล็ก เชน drum holding magnet (ดังรูปที่ 5.3.3-3), belt holding magnet (ดังรูปที่ 5.3.3-4) เปนตน

รูปที่ 5.3.3-1 Horizontal air knife

รูปที่ 5.3.3-2 Zig-zag air classifier

กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม 5-9 กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม


หลักสูตรการจัดการมลพิษ โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

รูปที่ 5.3.3-3 Drum holding magnet

รูปที่ 5.3.3-4 Belt holding magnet


5.4 เทคโนโลยีในการกําจัดขยะมูลฝอย

5.4.1 การกําจัดขยะมูลฝอยในอดีต

การจัดการและกําจัดขยะมูลฝอยที่ใชกันในอดีตนั้นมีอยูหลายวิธี ดังนี้
(1) การเทกองกลางแจงหรือการนําไปทิ้งไวตามธรรมชาติ (open dump)
การจัดการขยะมูลฝอยวิธีนี้เปนวิธีเกาแกที่ใชกันอยางแพรหลายมานานแลว โดยนําไปกองทิ้งไวใน
ที่ดินกวางๆ และปลอยใหยอยสลายตามธรรมชาติ ใชไดผลดีกับชุมชนที่มีผูผลิตขยะนอย และเปนวิธีการกําจัดที่
งายและลงทุนนอย (หากมีที่ดินอยูแลว) แตตองใชพื้นที่มาก ในขณะที่ปจจุบันที่ดินมีราคาแพงขึ้นและมีขอจํากัด
ของพื้นที่มากขึ้น (ที่ดินสาธารณะหรือที่รกรางวางเปลาก็ลดนอยลง) อีกทั้งการกําจัดขยะมูลฝอยดวยวิธีนี้มี
โอกาสที่จะกอผลกระทบตอสิ่งแวดลอมไดสูง โดยเฉพาะในเรื่องน้ําเสียจากการชะขยะ กลิ่นเหม็น และการ
ปนเปอนดิน ดังนั้น การกําจัดดวยวิธีนี้จึงไมเหมาะสมในปจจุบัน
(2) การนําไปทิ้งทะเล (dumping at sea)
ตามปกติผิวดินของพื้นน้ําแหลงตางๆ โดยเฉพาะทะเลและมหาสมุทร เปนที่ทับถมสิ่งปฏิกูลตาม
ธรรมชาติไดอยางกวางขวางอยูแลว อีกทั้งในปจจุบันพื้นผิวโลกที่เปนพื้นดินนับวันจะมีนอยลงและมีคามากขึ้น
ทํ า ให ก ารนํ า ขยะไปทิ้ ง ในทะเลหรื อ มหาสมุ ท รเริ่ ม นิ ย มทํ า กั น โดยเฉพาะในประเทศที่ พั ฒ นาแล ว เช น
สหรัฐอเมริกา ญี่ปุน เปนตน อยางไรก็ตาม การนําสิ่งปฏิกูลไปทิ้งในทะเลหรือมหาสมุทรที่ผานมา พบการ
แพรกระจายของสารพิษเขาสูองคประกอบตางๆ ในระบบนิเวศนทางทะเล ไดแก พืช และสัตวน้ํา ดังนั้น องคกร
พิทักษสิ่งแวดลอมแหงสหรัฐอเมริกา (U.S. Environmental Protection Agency; USEPA) จึงออกกฎหมาย
หามนําสารพิษหลายชนิดไปทิ้งในแหลงน้ําดังกลาวแลว
กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม 5-10 กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม
หลักสูตรการจัดการมลพิษ โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

(3) วิธีฝงกลบในหลุม (landfill)


วิธีนี้เหมาะสําหรับกลุมชุมชนขนาดเล็ก ไดแก หมูบานขนาดเล็ก บานในครอบครัวเดียว โรงแรม
ขนาดเล็ ก และสถาบั น ต า งๆ (เช น โรงเรี ย น มหาวิ ท ยาลั ย เป น ต น ) การกํ า จั ด ด ว ยวิ ธี นี้ เ ป น วิ ธี ที่ ถู ก หลั ก
สุขาภิบาลถามีการควบคุมการฝงกลบอยางถูกตอง โดยไมใหมีแมลงวันตอม และมีการกลบดินคลุมทุกวัน
(4) การหมักทําปุย (composting method)
วิธีนี้ตองทําการแยกขยะอันตรายและขยะติดเชื้อออกไปกําจัดเปนพิเศษเสียกอน รวมทั้งตองแยก
ขยะสวนที่ไมสามารถถูกยอยสลายออกเชนกัน (ซึ่งสามารถนําไปใชประโยชนได) สําหรับขยะจําพวก
สารอินทรียที่ยอยสลายไดงาย (ที่เหลือ) จะถูกนําไปหมักเพื่อทําเปนปุยสําหรับบํารุงดิน (เพื่อการเกษตร) การ
กําจัดขยะโดยวิธีนี้ใชกันทั่วไปในยุโรปและเอเชีย ซึ่งจะอาศัยกระบวนการทางชีวเคมี โดยอาศัยจุลชีพยอยสลาย
อินทรียในขยะมูลฝอยใหกลายเปนแรธาตุที่คอนขางคงรูป กากที่เหลือจากการหมักมักเรียกวา “ปุย” มีลักษณะ
คลายดินรวนสีเทาหรือน้ําตาลเขมเกือบดํา ไมมีกลิ่น มีประสิทธิภาพในการอุมน้ําและดูดซึมน้ําไดดี สามารถ
แลกเปลี่ยนประจุไฟฟากับผิวดินไดดีเทากับดินเหนียว จึงเหมาะที่จะนําไปใชในการปรับสภาพดินและสามารถ
นําไปเปนอาหารของพืชไดอีกดวย เนื่องจากมีสารอาหารที่เปนประโยชนตอพืช คือ ไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และ
โปแทสเซียม รวมทั้งเปนปุยที่ไมทําใหดินเปนกรดหรือดาง อยางไรก็ตาม ถาดําเนินการไมถูกตองตามหลัก
วิชาการจะเกิดปญหากลิ่นเหม็นได เนื่องจากการยอยสลายไมสมบูรณ
สําหรับการยอยสลายสารอินทรียดวยจุลชีพขางตนสามารถแบงตามกลุมของจุลชีพไดเปน 2 กลุม
ใหญ คือ aerobic organisms และ anaerobic organisms โดยมีรายละเอียดดังนี้
• Aerobic organisms อาศัยจุลชีพที่ใชอากาศในการดํารงชีพเพื่อยอยสลายสารอินทรีย ซึ่งจาก
กระบวนการขางตนทําใหเกิดความรอนสูงถึง 70 องศาเซลเซียส และเมื่อทําการหมักในเวลานาน ก็จะทําใหเชือ้ โรค
และพยาธิถูกทําลายไปได อยางไรก็ตาม ถังหมักแบบนี้จะตองมีชองใหอากาศผานได โดยอาจจะตองใชเครื่องเปา
อากาศชวยดวย พรอมทั้งจะตองมีการกลับขยะใหสัมผัสอากาศอยูเสมอ จึงจะทําใหขยะมูลฝอยถูกยอยสลายได
อยางรวดเร็ว ระยะเวลาที่ใชหมักประมาณ 5-20 วัน
• Anaerobic organisms อาศัยจุลชีพที่ไมใชอากาศในการดํารงชีพและยอยสลายสารอินทรีย ซึ่ง
จากกระบวนการขางตนทําใหเกิดความรอนเชนกัน แมจะไมสูงมากนัก แตเชื้อจุลินทรียและพยาธิตางๆ ก็จะถูก
ทําลายไดเหมือนกัน การหมักดวยวิธีนี้ไมตองเปาอากาศ จึงสามารถหมักไดในถังปดหรือในหลุมดิน ถาใชถัง
ปดจะตองมีทอระบายกาซชีวภาพออกดวย โดยเฉพาะหากเปนการหมักสิ่งปฏิกูลจากกสิกรรมและพวกมูลสัตว
จะไดกาซชีวภาพที่มีปริมาณมีเทนปะปนอยูรอยละ 40-70 โดยปริมาตร ทําใหสามารถใชเปนเชื้อเพลิงในการ
หุงตมไดโดยตรงหรือเปลี่ยนเปนพลังงานไฟฟาเพื่อนําไปใชในระบบแสงสวาง ตูเย็น และเครื่องยนต อยางไรก็
ตาม กระบวนการหมักดวยวิธีนี้จะตองใชระยะเวลาในการกําจัดมากกวาการหมักแบบใชอากาศ แตมีขอดีตรงที่
ชวยประหยัดพลังงาน เนื่องจากไมจําเปนตองมีเครื่องเปาอากาศ
(5) การเผาในที่โลงแจงโดยปราศจากการควบคุมมลพิษตางๆ
การเผากลางแจงพบวาจะมีอุณหภูมิไมสูงพอที่จะทําใหเกิดการเผาไหมที่สมบูรณ จึงมักจะเกิดปญหา
ภาวะมลพิษทางอากาศ รวมทั้งกอใหเกิดความรําคาญเนื่องจากกลิ่นควันและละอองเขมา

5.4.2 การกําจัดขยะมูลฝอยที่ถูกตองตามหลักวิชาการ

การกําจัดขยะมูลฝอยที่ถูกสุขลักษณะจะตองมีลักษณะตางๆ ไดแก ตองไมกอใหเกิดผลกระทบเสียหาย


ตอการดํารงชีวิตอยางปกติสุขและวิถีชีวิตที่ดีงามตลอดจนองคประกอบของสังคมดานใดๆ ตองไมกอใหเกิด

กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม 5-11 กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม


หลักสูตรการจัดการมลพิษ โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

แหลงเพาะพันธุสัตวหรือแมลงที่เปนพาหะนําโรค ตองไมกอใหเกิดเหตุเดือดรอน รําคาญ ขัดประโยชนตอ


ประชาชนในอาณาบริเวณใกลเคียงกันอันเนื่องมาจากฝุนละออง เสียงดัง กลิ่นเหม็น เศษขยะปลิวกระจาย
เกะกะ ฯลฯ และตองไมกอใหเกิดปญหามลพิษสิ่งแวดลอม (มลพิษทางอากาศ มลพิษทางน้ํา มลพิษทางดิน
มลพิษทางทัศนียภาพ)
สําหรับการกําจัดขยะมูลฝอยที่ถูกตองตามหลักวิชาการที่คอนขางนิยมและเหมาะสมกับประเทศที่กําลัง
พั ฒนา ได แก การเปลี่ ยนองค ประกอบทางเคมี โดยวิ ธี ชี วเคมี (การหมั กทํ าปุ ย) การเผาของเสี ยให ถู กหลั ก
สุขาภิบาลและการฝงกลบอยางถูกหลักสุขาภิบาล ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้ (การเปรียบเทียบเทคโนโลยีในการกําจัด
ขยะมูลฝอยในแตละประเภทแสดงดังตารางที่ 5.4.2-1)
(1) การเปลี่ยนองคประกอบทางเคมีโดยวิธีชีวเคมี
การเปลี่ยนองคประกอบทางเคมีโดยวิธีชีวเคมี หมายถึง กระบวนการหมักเพื่อเปลี่ยนสารอินทรียใน
ขยะใหกลายเปนแรธาตุหรือใหคงรูปดังที่กลาวแลวในหัวขอ 5.4.1 ซึ่งผลพลอยไดจากการหมักสามารถนําไป
ปรับปรุงดินตอไป อีกทั้งบางกระบวนการสามารถไดกาซชีวภาพเปนผลพลอยไดและสามารถนําไปเปนแหลง
พลังงานไดอีกดวย สําหรับการเปลี่ยนองคประกอบทางเคมีโดยวิธีชีวเคมีสามารถแบงไดหลายกระบวนการดังนี้
1) กระบวนการยอยสลายแบบใชอากาศ (aerobic process) เปนกระบวนการทําปุยหมักซึ่งมี
หลักการพื้นฐาน คือ

[Complex Organics] + O2 Microorganism


CO2 + H2O + NO-3 + SO2-4 + [Other less
Complex Organics] + [Heat]
ปฏิ กิ ริ ย าทางเคมี ใ นช ว งแรกนั้ น จะเป น การย อ ยสลายโดยอาศั ย จุ ล ชี พ จํ า พวก mesophilic
bacteria (หรือเปนกลุมจุลชีพหลัก) และผานไปชวงหนึ่ง (ประมาณ 1 สัปดาห) จะทําใหอุณหภูมิสูงขึ้น จึงทําให
จุลชีพจําพวก thermophilic bacteria ทํางานแทนหรือเปนกลุมจุลชีพหลักในการยอยสลาย และเมื่ออุณหภูมิใน
ระบบสูงขึ้นมากกวา 70 องศาเซลเซียส จุลชีพที่มีโครงสรางเปนแบบสปอร (spore-forming bacteria) สามารถ
เจริญเติบโตไดดีกวาแบคทีเรียจําพวก thermophilic bacteria สงผลใหการยอยสลายชาลงและทําใหอุณหภูมิ
ต่ําลง ซึ่งเมื่ออุณหภูมิต่ําลงจนถึงสภาวะที่เหมาะสําหรับการดํารงชีพของจุลชีพจําพวก mesophilic bacteria ก็
จะทําใหจุลชีพกลุมนี้สามารถทํางานไดอีกครั้งในชวงสุดทายนี้
พารามิเตอรที่สําคัญตอกระบวนการ aerobic composting ไดแก
• ปริมาณความชื้น (moisture content) ถาปริมาณความชื้นต่ําจะสงผลใหพวกจุลชีพตาย ซึ่ง
จะทําใหการยอยสลายหยุดลง แตถาปริมาณความชื้นสูงเกินไปก็จะทําใหออกซิเจนหรืออากาศไมสามารถเขาไป
ในระบบได ซึ่งจะทําใหระบบกลายเปน anaerobic process ดังนั้น การหมักดวยวิธีนี้อาจจะตองมีการเติม
ความชื้นลงไปดวยเพื่อควบคุมความชื้นในระบบใหเหมาะสม ซึ่งโดยปกติแลวคาปริมาณความชื้นที่เหมาะสมจะ
อยูในชวงรอยละ 50-60
• อัตราสวนคารบอนตอไนโตรเจน (C/N ratio) เนื่องจากไนโตรเจนเปนธาตุอาหารที่จําเปน
ตอการยอยสลายดวยจุลชีพ โดยที่จุลชีพจะใชไนโตรเจนในการสรางเซลลใหมเพื่อใหสมดุลกับเซลลเกาที่ตาย
ดั ง นั้ น อั ต ราส ว นคาร บ อนต อ ไนโตรเจนเป น ป จ จั ย หนึ่ ง ที่ สํ า คั ญ ต อ การควบคุ ม กระบวนการหมั ก ให มี
ประสิทธิภาพ สําหรับอัตราสวนคารบอนตอไนโตรเจนที่เหมาะสมอยูในชวง 20-30 : 1 ในกรณีที่อัตราสวนคารบอน
ตอไนโตรเจนสูงเกินไปจะทําใหกระบวนการยอยสลายของจุลชีพกลุม thermophilic ไมเกิดขึ้น

กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม 5-12 กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม


ตารางที่ 5.4.2-1
ตารางเปรียบเทียบเทคโนโลยีในการกําจัดขยะมูลฝอย

ขอพิจารณา การหมักปุย การเผา การฝงกลบ


ดานเทคนิค
1. ความยากงายในการดําเนินการ - เทคโนโลยีสูง การเดินเครื่องยุงยาก - เทคโนโลยีสูง การเดินเครื่องยุงยาก - เทคโนโลยีไมสูงนัก
ซอมบํารุงดานเทคนิค
2. ประสิทธิภาพในการกําจัด - ลดปริมาตรรอยละ 30-35 ที่เหลือนําไปฝงกลบ - ลดปริมาตรรอยละ 60-65 ที่เหลือนําไปฝงกลบ - กําจัดไดทั้งหมด
- ฆาเชื้อไดรอยละ 70 - ฆาเชื้อไดทั้งหมด - ฆาเชื้อไดเพียงเล็กนอย
3. ความยืดหยุนของระบบ - ต่ํา (เครื่องจักรชํารุดไมสามารถปฏิบัติงานได) - ต่ํา (เครื่องจักรชํารุดไมสามารถปฏิบัติงานได) - สูง (รอกําจัดได หากเครื่องจักรชํารุด)
4. ผลกระทบตอสิ่งแวดลอม
- น้ําผิวดิน - อาจมีได - ไมมี - เปนไปไดสูง
- น้ําใตดิน - อาจมีได - ไมมี - เปนไปไดสูง
- อากาศ - ไมมี - มี - อาจมีได
5-13

- กลิ่น แมลง พาหะนําโรค - อาจมีได - ไมมี - มี


5. ลักษณะของขยะมูลฝอย - เปนสารที่ยอยสลายได มีความชื้นรอยละ 50-70 - เปนสารที่เผาไหมได คาความรอนไมต่ํากวา 4,500 - ขยะมูลฝอยทุกประเภท ยกเวนมูลฝอยติดเชื้อหรือ
กิโลจูล/กิโลกรัม และความชื้นไมเกินรอยละ 40 สารพิษ
6. ความตองการใชพื้นที่ - ปานกลาง - นอย - มาก
ดานเศรษฐกิจ
1. เงินลงทุน - คอนขางสูง - สูงมาก - คอนขางต่ํา
2. คาดําเนินการ - คอนขางสูง - สูง - คอนขางต่ํา
3. ผลพลอยไดจากการกําจัด - ไดปุยอินทรียจากการหมัก และโลหะที่คัด - ไดพลังงานความรอนจากการเผา - ไดกาซมีเทน
แยกกอนหมัก - ใชประโยชนจากพื้นที่ไดหลังจากหมดอายุใชงาน
ที่มา: ฝายวิจัย กองวิชาการและแผนงาน สํานักรักษาความสะอาด กรุงเทพมหานคร, 2547
หลักสูตรการจัดการมลพิษ โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

2) กระบวนการยอยสลายแบบไมใชอากาศ (anaerobic process) กระบวนการยอยสลายแบบไมใช


อากาศหรือออกซิเจนนั้นจะเปนการผลิตกาซมีเทน ซึ่งมีหลักการพื้นฐาน ดังนี้
Microorganism
[Complex Organics] CO2 + CH4 + H2S + NH+4
จุลชีพที่สามารถยอยสลายในสภาวะที่ไรออกซิเจนสามารถแบงออกไดเปน 2 จําพวก คือ
• acid former เปนจุลชีพที่ทําหนาที่ยอยสลายสารประกอบอินทรียที่ซับซอนใหเปน
สารอินทรียที่มีรูปแบบที่งายลง คือ พวกกรดอินทรีย ไดแก acetic acid และ propionic acid
• methane former เปนจุลชีพที่ทําหนาที่ยอยสลายกรดอินทรีย จากขั้นตอน acid former
และ ไดมีเทนเปนผลพลอยได
3) กระบวนการผสมระหวางกระบวนการหมักแบบไมใชอากาศกับใชอากาศ (combined high
solids anaerobic digestion/aerobic composting) กระบวนการหมักแบบนี้ไดนําขอดีของกระบวนการหมัก
แบบใชอากาศและไมใชอากาศมารวมกัน กลาวคือ การหมักดวยวิธีนี้ จะทําใหสารอินทรียถูกยอยสลายไดดีขึ้น
และไมตองมีกระบวนการแยกน้ําออก นอกจากนั้น ยังมีประสิทธิภาพในการฆาเชื้อโรคสูงและลดปริมาตร
ของแข็งไดเปนอยางดี กระบวนการนี้ประกอบดวยกระบวนการหมัก 2 ขั้นตอน คือ
• ขั้นตอนแรกจะเปนกระบวนการหมักที่ใชความเขมขนของของแข็งสูง (รอยละ 25-30) และ
อุณหภูมิในถังหมักมีคาระหวาง 54-56 องศาเซลเซียส ระยะเวลาการหมัก 30 วัน ซึ่งขั้นตอนนี้จะมีการผลิตกาซมีเทน
• ขั้นตอนที่สองเปนกระบวนการหมักแบบใชออกซิเจนเพื่อเพิ่มความเขมขนของของแข็งให
อยูระหวางรอยละ 25-65 ทั้งนี้ขึ้นอยูกับวัตถุประสงคของการนําวัสดุไปใชงาน วัสดุที่ไดจากขั้นตอนนี้จะไดวัสดุ
คลายฮิวมัส (humus-like material) มีคาความรอน 6,000-6,400 บีทียู/ปอนด น้ําหนักจําเพาะประมาณ 35
ปอนด/ลูกบาศกฟุต ดังนั้น วัสดุที่ไดสามารถนําไปใชเปนสารปรับปรุงดินหรือเชื้อเพลิง
4) กระบวนการยอยสลายดวยกระบวนการไฮโดรไลซีส (acid and enzymatic hydrolysis) โมเลกุล
ของเซลลูโลสนั้นเปนองคประกอบพื้นฐานหนึ่งของวัสดุตางๆ มีสูตรโครงสรางคือ (C6H10O5)n และมีความสามารถ
ในการละลายน้ําต่ํา เซลลูโลสนั้นสามารถเกิดกระบวนการไฮโดรไลซิสไดในสภาวะที่กรดหรือเอนไซม (สภาวะที่
เหมาะสมของการใชเอนไซม คือ ที่อุณหภูมิ 50 องศาเซลเซียส และพีเอชเทากับ 4.8) เปนตัวกระตุน ซึ่งจะได
ผลิตภัณฑเปนกลูโคส ดังนี้
Acid,Enzyme
C6H10O5 + H2O C6H12O6
กลูโคสที่ผลิตไดสามารถนํามาใชประโยชนไดตอไป เชน นําไปผลิตแอลกอฮอล หรือสารเคมี
อื่นๆ เปนตน
5) การผลิตเมธานอลจากมีเทน มีเทนที่ผลิตจากกระบวนการหมักแบบไรอากาศนอกจากจะ
นําไปใชเปนเชื้อเพลิงไดโดยตรงแลว ยังสามารถนํามาเปลี่ยนรูปเปนเมธานอลได คือ
Cat.
CH4 + H2O CO + 3H2
Cat.
CO + 2H2 CH3OH
(2) กระบวนการเผาของเสียใหถูกหลักสุขาภิบาล
การเผาของเสี ยในเตาเผาที่ ถู กหลั กสุ ขาภิ บาล หมายถึ ง การเผาไหม ของเสี ย (ทั้ งที่ เป นของแข็ ง
ของเหลว และกาซ) ที่ใชความรอนสูง เพื่อทําใหการเผาไหมเปนไปอยางสมบูรณและไมกอใหเกิดกลิ่นและควัน
รบกวน รวมทั้งไมทําใหเกิดปญหาดานมลพิษทางอากาศอีกดวย

กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม 5-14 กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม


หลักสูตรการจัดการมลพิษ โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

Solid waste + O2 CO2 + H2O + ash + other gases + heavy metals


1) ปจจัยที่มีผลตอการกําจัดของเสียโดยวิธีเผา จุดมุงหมายของการเผาของเสียโดยถูกหลักสุขาภิบาล
คือ การกําจัดความเปนพิษของของเสียหรือการทําใหของเสียหมดอันตรายและลดปริมาณของของเสียดวย ทั้งนี้
การเผาของเสียจะตองไมกอใหเกิดผลกระทบตอสิ่งแวดลอม โดยที่ปจจัยที่มีประสิทธิภาพตอการเผา คือ
• ขีดความสามารถในการเผาของเสีย ประกอบดวย
- ขนาดของเตาเผา อุณหภูมิในเตาเผา เวลาที่ใชในการเผา และไอเสียที่จะเกิดขึ้น
- การเปลี่ยนแปลงองคประกอบของเสีย
- พิจารณาการเพิ่มของประชากร มาตรฐานการครองชีพของชุมชน
- การซอมแซมเตาเผา
• การปองกันเหตุรําคาญที่ประชาชนจะไดรับ ประกอบดวย
- การกําจัดอนุภาคและสารมลพิษทางอากาศ เชน ฝุน คารบอนมอนอกไซด ออกไซดของ
ซัลเฟอร ไฮโดรเจนคลอไรด และกรดอินทรีย เปนตน
- การกําจัดน้ําเสียและโลหะหนัก เชน ปรอท แคดเมียม และโครเมียม เปนตน
- การกําจัดสวนที่เหลือซึ่งเกิดจากสารอินทรียซึ่งไมไหมไฟ
- การปองกันเสียงและความสั่นสะเทือน ซึ่งเกิดจากการบรรทุกและขนยายของเสีย รวมทั้ง
เครื่องจักรอื่นๆ
• การใหประโยชนทางเศรษฐกิจ โดยการนําความรอนจากการเผาของเสียมาใชประโยชน
2) ขั้นตอน/รูปแบบของกระบวนการเผาที่ถูกหลักสุขาภิบาล กระบวนการกําจัดของเสียโดยการเผาที่
ถูกหลักสุขาภิบาลแบงออกเปน 6 ระบบ ไดแก กระบวนการเผา (incineration process) กระบวนการกําจัดเถา
(residue handling process) กระบวนการทําใหไอเสียเย็นลง (flue gas cooling process) กระบวนการกําจัดสาร
มลพิษไอเสีย (flue gas treatment process) กระบวนการบําบัดน้ําเสีย (wastewater treatment process) และ
กระบวนการนําความรอนที่ไดจากการเผาของเสียไปใชใหเปนประโยชน (waste heat utilization process)
- กระบวนการเผา (incineration process) เตาเผาของเสียสามารถแบงออกไดเปน 2 ชนิด
ไดแก ชนิดปอนของเสียเขาเตาเผาอยางตอเนื่อง (continuous combustion type incinerator) และชนิดปอน
ของเสียเขาเตาเผาเปนแบบแบตช (batch combustion type incinerator) โดยที่เตาเผาแบบแรกเปนการปอน
ของเสียเขาเตาเผาเพื่อทําการเผาไหมอยางตอเนื่อง ในขณะเดียวกันเถาซึ่งก็คือสวนที่เหลือจากการเผาไหมจะ
ถูกกําจัดออกไปอยางตอเนื่องเชนกัน การเผาไหมจะคอนขางคงที่ จึงทําใหสะดวกในการควบคุมเถาและไอเสีย
สวนมากจะเปนเตาเผาขนาดใหญและสามารถเผาของเสียไดทีละมากๆ สวนเตาเผาแบบที่สองเปนการปอนของ
เสียเขาเตาแบบทีละเท ลักษณะการเผาจะเผาของเสียจนเผาไหมหมดกอนแลวจึงนําเถาออก ซึ่งเตาเผาแบบนี้
ยอมมีองคประกอบหรือสวนประกอบของระบบนอยกวาเตาเผาแบบตอเนื่อง จึงทําใหงายในการกอสรางและ
การปฏิบัติงาน สวนใหญมักเปนเตาเผาขนาดเล็ก
เตาเผาของเสียที่ใชสําหรับกระบวนการกําจัดของเสียโดยการเผาที่ถูกหลักสุขาภิบาล (สําหรับ
ตัวอยางองคประกอบของเตาเผาโดยทั่วไปแสดงดังรูปที่ 5.4.2-1) ไดแก ขยะมูลฝอยถูกปอนลงกรวย ขยะมูลฝอย
บนแผงตะกรับจะถูกอบใหแหงโดยอากาศที่เขามาทางใตแผงตะกรับ น้ําในของเสียจะระเหยออกไปโดยความรอน
จากการเผาไหม ของเสียที่แหงแลวจะคอยๆ ติดไฟ และเกิดการเผาไหมที่สมบูรณ (จนของเสียกลายเปนเถา)
นอกจากเตาเผาชนิดที่มีแผงตะกรับแลวยังมีเตาเผาแบบอื่นๆ อีก เชน เตาเผาแบบหองเผาไหมเดี่ยว เตาเผา
แบบหองเผาไหมหลายหอง เตาเผาขยะแบบรวมศูนย เตาที่มีลักษณะเปนถังในทรงกระบอกหมุนได เปนตน

กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม 5-15 กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม


หลักสูตรการจัดการมลพิษ โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

รูปที่ 5.4.2-1 กระบวนการเผาชนิดที่มีแผงตะกรับ


- กระบวนการกําจัดเถา (residue handling process) กากหรือสวนที่เหลือจากการเผามี 2
ประเภท คือ ประเภทแรกเปนเถาที่เหลืออยูกับเตาเผา (bottom ash) และอีกประเภทหนึ่ง คือ เถาลอย (fly ash)
ซึ่งจะปนเปอนอยูในไอเสียจากการเผาไหม ในกรณีของเตาเผาแบบมีแผงตะกรับและแบบ rotary การกําจัดเถาจะ
ทําโดยการฉีดพนดวยน้ําเพื่อปองกันไมใหเถาปลิวกระจาย ซึ่งเถาที่มีความชื้นจะถูกเก็บไวในบอเก็บเถาเพื่อรอ
การกําจัดตอไป สวนเถาลอยจะถูกกําจัดโดยการใชอุปกรณกําจัดฝุนเถาซึ่งมีการฉีดพนน้ําเพื่อปองกันฝุนปลิว
กระจัดกระจาย แลวจึงนําไปรวมกันไวในบอเก็บเถาเพื่อรอการกําจัดตอไปเชนเดียวกัน
- กระบวนการทําใหไอเสียเย็นลง (flue gas cooling process) ไอเสียซึ่งเกิดจากการเผาไหม
ของเสียจะมีอุณหภูมิประมาณ 700-900 องศาเซลเซียส ซึ่งยังไมสามารถปอนเขาระบบกําจัดสารมลพิษในไอ
เสียไดโดยตรง ดังนั้น จะตองทําไอเสียดังกลาวเย็นลงจนมีอุณหภูมิประมาณ 250-300 องศาเซลเซียส กอน ซึ่ง
สามารถกระทําดวยวิธีตางๆ เชน พนน้ําโดยตรงไปยังไอเสีย น้ําจะระเหยและทําใหอุณหภูมิของไอเสียต่ําลง
(ไอเสียนี้จะมีคาความรอนประมาณ 600 กิโลแคลอรี/กิโลกรัม) การติดตั้งหมอไอน้ํา (boiler) เพื่อถายเทความ
รอนจากไอเสียเพื่อผลิตไอน้ํา ทําใหอณ
ุ หภูมิของไอเสียลดลงโดยทางออม เปนตน
- กระบวนการกําจัดสารมลพิษไอเสีย (flue gas treatment process) ไอเสียที่อุณหภูมิต่ําลง
แลวจะตองนําไปผานกระบวนการกําจัดสารมลพิษทางอากาศตอไป เนื่องจากไอเสียขางตนอาจปนเปอนสาร
มลพิษตางๆ เชน อนุภาคขนาดเล็ก ไฮโดรเจนคลอไรด ออกไซดของกํามะถัน ออกไซดของไนโตรเจน เปนตน
กระบวนการกําจัดสารมลพิษมีลักษณะการทํางานที่แตกตางกันขึ้นอยูกับชนิดของสารมลพิษ (ดังที่กลาวแลวใน
บทที่ 4) เชน ใชวิธีทางกายภาพเพื่อกําจัดอนุภาคขนาดเล็ก ใชวิธีทางเคมีเพื่อกําจัดออกไซดของกํามะถันและ
ออกไซดของไนโตรเจน เปนตน
- กระบวนการบําบัดน้ําเสีย (wastewater treatment process) น้ําเสียที่เกิดขึ้นจากการกําจัด
ของเสียโดยเตาเผาอาจเกิดจากขั้นตอนการทําไอเสียใหเย็นตัวลง การกําจัดเถา บอรับของเสีย บอเก็บเถา การ
กําจัดสารมลพิษในไอเสีย หมอไอน้ํา และจากโรงอาหารหรือพนักงาน โดยปกติหากเผาของเสีย 1 ตัน จะทําให
เกิดน้ําเสียประมาณ 0.5 -1.0 ลูกบาศกเมตร หรือถามีการใชอุปกรณกําจัดฝุนแบบเปยก ก็จะทําใหเกิดน้ําเสีย
ประมาณ 3.0 ลูกบาศกเมตร ตอขยะมูลฝอย 1 ตัน สําหรับคุณภาพของน้ําเสียจากโรงงานเผาของเสียจะแตกตาง
กันไปขึ้นอยูกับลักษณะของกระบวนการเผาไหม กลาวคือ หากมีการเผาไหมที่ดีจะทําใหน้ําเสียใสและคาพีเอชสูง
กวาการเผาไหมที่ไมดี (เนื่องจากเถาที่เกิดขึ้น) ในทางกลับกันถาการเผาไหมไมดีก็จะทําใหคาซีโอดีสูงและคาพี
เอชต่ํา สําหรับน้ําเสียที่เกิดขึ้นจากระบบการฉีดพนเพื่อทําใหไอเสียเย็นลงหรือกําจัดสารมลพิษอื่นๆ สามารถ
บําบัดไดโดยวิธีทางกายภาพและเคมีอยางงายๆ เชน การทําใหเปนกลาง (neutralization) กระบวนการ
โคแอกกูเลชันและการตกตะกอน (coagulation and sedimentation) เปนตน น้ําทิ้งหลังบําบัดแลวสามารถนํา

กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม 5-16 กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม


หลักสูตรการจัดการมลพิษ โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

กลับมาใชใหมได แตถาตองการระบายน้ําทิ้งออกสูภายนอก ตองควบคุมลักษณะน้ําทิ้งใหอยูในมาตรฐานที่


กฎหมายกําหนด
- กระบวนการนําความรอนที่ไดจากการเผาของเสียไปใชใหเปนประโยชน (waste heat
utilization process) ความรอนที่ไดจากการเผาของเสีย (ไอเสีย) สามารถนําไปใชประโยชนโดยการนําไปผลิต
ไอน้ําดวยหมอไอน้ําที่เรียกวา waste heat boiler สําหรับไอน้ําที่ผลิตไดสามารถนําไปจําหนายไดโดยตรงหรือ
สามารถนําไปหมุนกังหันไอน้ํา (steam turbine) ซึ่งมีเพลาตออยูกับเครื่องกําเนิดไฟฟา (generator) ทําให
เครื่องกําเนิดไฟฟาหมุนและเหนี่ยวนําใหเกิดพลังงานไฟฟาเกิดขึ้น (ดังรูปที่ 5.4.2-2)

รูปที่ 5.4.2-2 กระบวนการผลิตไฟฟาจากความรอนทีไ่ ดจากการเผาของเสีย


3) ขอดีและขอเสียของการกําจัดของเสียโดยวิธีเผา ขอดีของการกําจัดขยะมูลฝอยดวยเตาเผาที่ถูก
หลักวิชาการ ไดแก สามารถลดน้ําหนักและปริมาตรของของเสียลงไดมาก ทําใหของเสียไหมและปราศจากเชื้อ
โรค ใชพื้นที่นอย ประหยัดคาใชจายในการขนสงของเสียเนื่องจากสามารถสรางในตัวเมืองได และสามารถนํา
ความรอนที่เกิดขึ้นไปใชประโยชนได สําหรับขอเสีย ไดแก คาลงทุนในการกอสรางและดําเนินงานสูง ตองใช
บุคลากรที่มีความชํานาญสูงและหากกอสรางไมไดมาตรฐานหรือควบคุมการทํางานไมเหมาะสมอาจทําใหเผา
ไหมไมสมบูรณ ซึ่งอาจกอปญหาเรื่องมลพิษทางอากาศได
(3) การฝงกลบอยางถูกหลักสุขาภิบาล
1) คําจํากัดความ
• การฝงกลบอยางถูกหลักสุขาภิบาล คือ การนําของเสียไปฝงและกลบในผิวดิน ซึ่งตอง
ออกแบบและควบคุมการฝงกลบของเสียเพื่อทําใหเกิดผลกระทบตอสุขภาพและสิ่งแวดลอมนอยที่สุด
• เซลล หมายถึง ปริมาตรของของเสียที่ทําการฝงกลบในชวงเวลาหนึ่งๆ ซึ่งโดยปกติจะคิด
ตอหนึ่งวัน (ดังรูปที่ 5.4.2-3) ในเซลลหนึ่งๆ จะประกอบดวยของเสียที่ทําการฝงและวัสดุที่ใชกลบ
• ความสูงชั้นฝงกลบ (lift) หมายถึง ความสูงของเซลลและวัสดุทับหนาประจําวัน โดยทั่วไป
การฝงกลบของเสียจะประกอบดวยชั้นฝงกลบหลายๆ ชั้น
• terrace หรือ bench โดยทั่วไปหากความสูงของการฝงกลบมีคาเกิน 15 - 25 เมตร จะตอง
ปรับที่สําหรับทํา bench เพื่อเปนตัวชวยรักษาเสถียรภาพของชั้นฝงกลบไมใหเกิดการพังทลายและเปนที่วางทอ
ระบายน้ําที่ผิวดานบน รวมทั้งทอลําเลียงกาซที่เกิดจากการฝงกลบ

กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม 5-17 กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม


หลักสูตรการจัดการมลพิษ โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

Compacted solid
waste

รูปที่ 5.4.2-3 ลักษณะของเซลลในการฝงกลบของเสีย


• final lift หมายถึง ความสูงของชั้นฝงกลบของเสียและวัสดุคลุมหนาขั้นสุดทาย (final cover
layer) ซึ่งจะวางทับทั่วบริเวณผิวดานบนของหลุมฝงกลบ (เมื่อกระบวนการฝงกลบไดเสร็จสิ้นลงแลว)
โดยทั่วไปวัสดุคลุมหนาขั้นสุดทายจะเปนวัสดุจําพวกดินเหนียวหรือวัสดุกันซึมเพื่อปองกันน้ําไหลซึมลงบอและ
รองรับพืชหรือตนไมที่ปลูกคลุมดิน
• น้ําชะลางของเสีย (leachate) เปนของเหลวที่เก็บรวบรวมไดที่กนหลุมฝงกลบ น้ําชะลาง
ของเสียเกิดขึ้นจากการไหลซึมของน้ําฝนชะผานของเสียลงมา และยังรวมถึงน้ําซึ่งอยูในตัวของเสียเองดวย โดย
ปกติน้ําชะลางของเสียจะมีสวนประกอบทางเคมีซับซอน อันเปนผลมาจากการละลายตัวของวัสดุที่อยูในหลุมฝง
กลบและมาจากผลลัพธของปฏิกิริยาเคมีและชีวเคมีที่เกิดขึ้นภายใน
• กาซจากหลุมฝงกลบ (landfill gas) เปนกาซผสมที่เกิดจากหลุมฝงกลบ ประกอบดวย กาซ
มีเทนและคารบอนไดออกไซดเปนองคประกอบหลัก ซึ่งเกิดขึ้นจากการสลายตัวของสารอินทรียภ ายในหลุมฝงกลบ
กาซมีเทนที่ไดจากหลุมฝงกลบสามารถนํามาเปนแหลงพลังงานเพื่อใชในการผลิตกระแสไฟฟาหรือทําน้ํารอนได
• วัสดุปูพื้น (landfill liner) เปนวัสดุที่ใชปูที่พื้นลางและดานขางของหลุมฝงกลบเพื่อกันไมให
น้ําชะลางของเสียไหลซึมออกไป วัสดุปูพื้นอาจเปนดินเหนียวหรือวัสดุสังเคราะห
• Landfill closure เปนขั้นตอนตางๆ ที่ใชในการปดหลุมฝงกลบหลังจากฝงกลบของเสียเสร็จ
เรียบรอยแลว
• Post closure เปนการติดตามผลกระทบตอสิ่งแวดลอมและการบํารุงรักษาหลุมฝงกลบที่
เสร็จเรียบรอยแลว โดยทั่วไปขั้นตอนนี้จะใชเวลาตั้งแต 30 - 50 ป
2) กระบวนการยอยสลายในหลุมฝงกลบ
แบงออกเปน 5 ชวง ดังนี้
• ชวงที่ 1 : initial adjustment phase เปนชวงที่ของเสียและปริมาณความชื้นในหลุมฝงกลบ
เกิดการปรับตัวซึ่งกันและกัน กลาวคือ เปนชวงเวลาที่ปรับสภาวะใหมีความเหมาะสมในการเจริญเติบโตของจุล
ชีพซึ่งมีหนาที่ในการยอยสลายทางชีวเคมี

กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม 5-18 กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม


หลักสูตรการจัดการมลพิษ โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

• ชวงที่ 2 : transition phase เกิดการเปลี่ยนสภาพจากสภาวะ aerobic ไปเปน anaerobic


คือ ปริมาณออกซิเจนภายในหลุมฝงกลบจะลดลงและมีแนวโนมที่จะเกิดสภาวะรีดักชัน โดยจะเกิดกาซตางๆ
เชน NO3-, SO42- เปนตน
• ชวงที่ 3 : acid formation phase ชวงนี้จะเกิดกระบวนการไฮโดรไลซิสของของเสียอยาง
ตอเนื่อง ประกอบกับเกิดการยอยสลายทางชีวภาพของสารอินทรีย ทําใหสารกึ่งกลางระหวางผลิตภัณฑหรือ
intermediate จําพวกกรดอินทรียเกิดขึ้น ซึ่งในชวงนี้จะมีปริมาณความเขมขนสูงที่สุด (ชวงที่ 2 ก็มีแลว แต
ในชวงที่ 3 นี้จะมีความเขมขนสูงที่สุด) สงผลใหคาพีเอชลดลง และพวกแบคทีเรียในกลุม acid former สามารถ
เจริญเติบโตไดดีโดยที่จะยอยสลายของเสียอยางรวดเร็ว
• ชวงที่ 4 : methane formation phase ชวงนี้กรดอินทรียที่เกิดขึ้นจากชวงที่ 3 จะถูกใชโดย
แบคทีเรียในกลุม methane former ทําใหไดผลิตภัณฑเปนมีเทนและคารบอนไดออกไซด นอกจากนี้ ยังทําให
SO2-4 และ NO3- ถูกรีดิวซไปเปน S2- และ NH3 ทําใหคาพีเอชสูงขึ้น
• ชวงที่ 5 : maturation phase ในชวงนี้พวกสารอาหาร (ของเสีย) ที่จําเปนตอพวกจุลชีพจะ
ถูกจํากัดลง ทําใหกระบวนการยอยสลายจะคอยๆ หยุดลง ทําใหปริมาณกาซที่ผลิตไดลดลงอยางรวดเร็วเชนกัน
อยางไรก็ตาม ยังอาจจะมีการยอยสลายอยูบางเล็กนอย สําหรับกากของแข็งที่ยอยแลวจะมีคุณสมบัติคลายกับ humic
3) เกณฑการคัดเลือกพื้นที่ของสถานที่ฝงกลบของเสีย
• ไมตั้งอยูในพื้นที่ลุมน้ําชั้นที่ 1 และชั้นที่ 2 ตามมติคณะรัฐมนตรีที่เกี่ยวของกับการกําหนด
ชั้นคุณภาพลุมน้ํา เมื่อวันที่ 28 พฤษภาคม พ.ศ. 2528
• ตั้งอยูหางจากแนวเขตโบราณสถานตาม พ.ร.บ. โบราณสถาน โบราณวัตถุ ศิลปวัตถุ และ
พิพิธภัณฑสถานแหงชาติ ไมนอยกวา 1 กิโลเมตร
• ตั้งอยูหางจากแนวเขตสนามบินไมนอยกวา 5 กิโลเมตร
• ควรตั้งอยูหางจากบอน้ําดื่มหรือโรงผลิตน้ําประปาในปจจุบันไมนอยกวา 700 เมตร
• ควรตั้งอยูหางจากแหลงน้ําธรรมชาติหรือมนุษยสรางขึ้นมา รวมทั้งพื้นที่ชุมน้ํา (wetland)
ไมนอยกวา 300 เมตร ยกเวนแหลงน้ําที่ตั้งอยูในสถานที่ฝงกลบของเสีย
• เปนพื้นที่ซึ่งสภาพธรณีวิทยาหรือลักษณะใตพื้นดินมั่นคงแข็งแรงพอที่จะรองรับของเสีย
หรือขยะมูลฝอย
• ควรเปนพื้นที่ดอน ในกรณีที่เปนพื้นที่ลุมที่มีโอกาสเกิดน้ําทวมฉับพลันหรือน้ําปาไหลหลาก
จะตองมีมาตรการปองกันแกไข
• ควรเปนพื้นที่ซึ่งระดับน้ําใตดินอยูลึก ในกรณีที่ระดับน้ําใตดินอยูสูงจะตองมีมาตรการปองกัน
แกไข
4) รายละเอียดของการฝงกลบของเสีย
วิธีฝงกลบมีอยูดวยกัน 3 วิธีใหญๆ โดยที่แตละวิธีจะมีความเหมาะสมกับการกําจัดของเสียที่
แตกตางกันไป ซึ่งแลวแตสภาพพื้นที่ที่ทําการฝงกลบเปนหลัก แตพบวาบางพื้นที่อาจเลือกใชทั้งสองหรือสาม
วิธีก็ได ดังนี้
• วิธีพื้นที่หรือวิธีกลบฝงแบบกลบบนพื้นที่ (area method) ใชในสภาพพื้นที่ที่มีลักษณะภูมิ
ประเทศไมเหมาะสมตอการขุดดินทํารองสําหรับวางบรรจุขยะมูลฝอย โดยการดําเนินงานแสดงไดดังรูปที่ 5.4.2-4
ซึ่งจะทําการบรรจุขยะมูลฝอยใหกระจายตัว และบดอัดขยะมูลฝอยแผตามแนวราบตามความยาวในแตละชั้น
จากนั้น จะใชดินกลบทับ แลวจึงบดอัดใหแนนอีกครั้งหนึ่งกอนที่จะเริ่มชั้นถัดไป

กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม 5-19 กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม


หลักสูตรการจัดการมลพิษ โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

รูปที่ 5.4.2-4 การฝงกลบแบบกลบบนพื้นที่


• วิธีรองหรือวิธีกลบฝงแบบขุดรอง (trench method) เปนวิธีการกลบฝงที่เหมาะสมกับพื้นที่
ที่มีขนาดความลึกของดินหรือวัสดุถมกลบมากเพียงพอที่จะนํามากลบฝงในพื้นที่ สวนความลึกจะขึ้นอยูกับ
ระดับน้ําใตดิน แตตองสูงกวาระดับน้ําใตดินไมนอยกวา 1 เมตร หรือตามเกณฑที่กําหนด สวนมากจะขุดลึก
ประมาณ 2-3 เมตร สว นการกลบฝ ง จะทํา การขุ ดร อ งที่มี ข นาดความกว างอยา งน อยประมาณ 2 เทา ของ
เครื่องจักรกลที่ใช โดยผนังของรองขุดจะทําหนาที่เปนคันดินกั้นขยะที่ทําการบดอัด ซึ่งขยะมูลฝอยจะถูกบรรจุ
ลงในร อ ง และจะทํ า การบดอั ด ขยะมู ล ฝอยให แ ผ ก ระจายเป น ชั้ น บางๆ โดยทํ า ตามแนวราบก อ นแล ว จึ ง
ดําเนินการในขั้นตอนตอไป (ดังรูปที่ 5.4.2-5)
รั้วรอบพื้นที่ฝงกลบ

ดินกลบไดจาก
พื้นที่ดินเดิม การขุดในรอง

ขยะมูลฝอยถูกบดอัดแนน
รูปที่ 5.4.2-5 การฝงกลบแบบวิธรี อง
• วิธีบอหรือการฝงกลบในบริเวณพื้นที่ลุมต่ํา (depression method) จะทําการฝงกลบในทําเล
พื้ น ที่ ที่ มี ส ภาพลุ ม ต่ํ า โดยธรรมชาติ ห รื อ สร า งขึ้ น มา สามารถนํ า ไปใช ดํ า เนิ น งานกลบฝ ง ขยะได อ ย า งมี
ประสิทธิภาพ พื้นที่ดังกลาว เชน บริเวณหุบเขา (canyons) หวยลึก (ravines) บอขุดดินลูกรัง เปนตน สวน
วิธีการฝงกลบนั้น จะเริ่มการกลบฝงในบริเวณพื้นที่ดานลางไลขึ้นมาเรื่อยๆ จนถึงปากบอหรือปากหุบเขา (ดัง
รูปที่ 5.4.2-6)

กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม 5-20 กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม


หลักสูตรการจัดการมลพิษ โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

ดินเหนียวกลบจะทําการกลบทุกวันกอนเลิกงาน
ขยะมูลฝอยถูกบดอัดแนน

พื้นที่ดินเดิม
ทอดักน้ําชะ
รูปที่ 5.4.2-6 การฝงกลบแบบวิธีบอ

5) เซลลและจํานวนชั้นในหลุมฝงกลบ
• ปกติพื้นที่ในการฝงกลบจะแบงออกเปนเซลล ซึ่งจะตองประมาณวาแตละเซลลจะตองเต็ม
ภายใน 1 วัน เนื่องจากจะตองทําการกลบทับหนาประจําวัน
• ก อ นฝ ง กลบจะต อ งมี ก ารปู พื้ น และด า นข า งหลุ ม ฝ ง กลบ โดยวั ส ดุ ที่ ใ ช ใ นการปู (lining
materials) ตองมีความแข็งแรงและหนาเพียงพอที่จะทนตอการรับน้ําหนักและแรงดันที่จะเกิดขึ้นทั้งหมด และ
จะตองมีองคประกอบตามที่กําหนด รวมทั้งจัดใหมีระบบระบายน้ําและระบายกาซที่ถูกตองตามหลักวิชาการ
เมื่อหลุมฝงกลบเต็มแลวใหทําการปดหลุม (capping) ดวยวัสดุตางๆ หลายชั้น ซึ่งอาจจะเปนแผนกั้นน้ําซึ่ง
เรียกวา geomembrane เพื่อปองกันมิใหน้ําหรือสิ่งรบกวนจากภายนอกเขามาสัมผัสกับสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม
ใชแลวภายในหลุมฝงกลบ โดยวัสดุตางๆ ที่ใชใหเปนไปตามขอกําหนด นอกจากนั้นตองจัดใหมีการบําบัดน้ํา
เสียที่เกิดจากหลุมฝงกลบใหมีคุณภาพตามที่กระทรวงอุตสาหกรรมกําหนด
6) ชั้นรองรับหลุมฝงกลบและระบบการระบายน้ําไหลซึม
• ดานลางของหลุมฝงกลบนั้นจะมีชั้นกรองของแข็ง (filter zone) ที่อาจทําดวยทรายที่มีความ
ละเอียดมากๆ หรือวัสดุอื่นที่สามารถทําหนาที่แทนกันได เรียกวา geotextile เพื่อปองกันไมใหของแข็งไหลไป
อุดทอระบายน้ําที่วางอยูขางลางชั้นนี้
• ตอจากชั้นกรองจะเปนชั้นสําหรับการระบายน้ําที่มีลักษณะลาดเอียงไปยังบริเวณที่ต่ําสุด
เพื่อใหน้ําไหลมาสะสมและไหลออกไปทางทอระบาย (primary leachate collection piping) ชั้นนี้อาจเปนวัสดุที่
มีความแข็งแรง แตจัดเรียงตัวกันอยางหลวมๆ เชน กรวดแมน้ําหรือวัสดุอื่นที่ทําหนาที่แทนกันได เรียกวา
geonet เปนตน
• ตอมาจะเปนชั้นปองกันการไหลซึม โดยจะทําหนาที่ปองกันการไหลซึมของน้ํา สวนใหญวัสดุ
ที่ใชจะทํามาจาก high density polyethylene (HDPE) เรียกชั้นกันน้ําซึมนี้วา primary barrier layer หรือ
geomembrane หรือ flexible membrane liner (FML)
• สําหรับหลุมฝงกลบของเสียอันตราย จะตองมีระบบดักน้ําที่ไหลซึมออกจากชั้นที่ 1 โดยการ
เพิ่ม secondary leachate collection zone และตามดวยชั้นปองการไหลซึมของน้ําชั้นที่ 2
• ภายใตหลุมฝงกลบ จะตองมีชั้นปองกันที่ทํามาจากวัสดุธรรมชาติที่มีรูพรุนต่ําที่ไมยอมให
น้ําไหลผานงายๆ เชน ดินเหนียว เปนตน
7) การปดหลุม (landfill capping)
• เริ่มจากการปรับหนาดินของของเสียใหเรียบเทากัน อาจจะเพิ่มชั้นทรายเพื่อชวยเสริมความ
แข็งแรงก็ได
• ชั้นตอไปจะเปนชั้นที่จะทําการเก็บตัวอยางกาซ ซึ่งจะใชทรายที่เกาะตัวกันไมแนนมาก หรือ
อาจใชเศษหินเล็กๆ และมีทอเก็บกาซวางขวางอยู

กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม 5-21 กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม


หลักสูตรการจัดการมลพิษ โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

• สูงขึ้นไปก็จะเปนชั้นปองกันการไหลซึมของน้ําจากดานบน ชั้นนี้มีความสําคัญมากโดย
อาจจะมีหลายๆ ชั้นก็ได เชน มีชั้นดินเหนียวที่น้ําผานยากหนึ่งชั้น และตามดวย HDPE liner อีกชั้นหนึ่ง
• ดานบนของชั้นปองกันการไหลซึมของน้ําเปนชั้นระบายน้ํา ซึ่งจะใชวัสดุที่ทํามาจากวัสดุที่
เกาะตัวกันหลวมๆ เพื่อใหน้ําไหลสะดวก
• ชั้นสุดทายก็จะเปนดินธรรมดา เพื่อใหปลูกตนไมขนาดเล็กชวยยึดเกาะหนาดิน
8) การตรวจสอบติดตามผล
ตองมีการจัดสรางบอสังเกตการณ (monitoring well) สําหรับตรวจสอบลักษณะของน้ําใตดินโดยกําหนด
ชนิดและปริมาณของสารเพื่อใชในการตรวจสอบน้ําในบอสังเกตการณ
ทั้งนี้ การตรวจสอบคุณภาพน้ําใตดินดังกลาวตองทําอยางสม่ําเสมอตั้งแตกอนเริ่มดําเนินการฝงกลบ
ระหวางดําเนินการฝงกลบ และตองทําหลังจากปดหลุมฝงกลบ

5.4.3 ขอมูลที่สําคัญในการเลือกวิธีการกําจัดขยะมูลฝอยที่เหมาะสม

1) ศึกษาขอบเขตพื้นที่ที่รับผิดชอบ ลักษณะทางภูมิศาสตร ปฐพีวิทยา อุทกศาสตร ซึ่งตองมีแผนที่


แสดงตําแหนงและเสนทางการเก็บของเสีย
2) คาดคะเนจํานวนประชากรในพื้นที่ปจจุบันและอนาคต 10-20 ป ใชในการประเมินปริมาณของของเสีย
3) หาปริมาณของเสียที่ทิ้งตอคนตอวัน มีวิธีวิเคราะหทางสถิติที่แมนยํา

4) ศึกษานโยบาย/แผนการพัฒนาเมืองวามีทิศทางเชนไร ดังนี้
- มีการสงเสริมการตั้งนิคมอุตสาหกรรมหรือไม
- มีการสงเสริมการทองเที่ยวหรือไม
- มีนโยบายสงเสริมการนําวัสดุที่ใชแลวกลับมาใชใหมหรือไม
- ศึกษางบประมาณที่มีอยู ดูความเปนไปไดของโครงการ
- หนวยงานที่ทําหนาที่รับผิดชอบการบริหารกําจัดขยะ
- ทัศนคติของประชาชนในพื้นที่ มีความรวมมือ/คัดคาน
- ระบบที่เลือกใชตองมีผลกระทบตอสิ่งแวดลอมนอยที่สุด

กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม 5-22 กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม


“การปองกันมลพิษ”

“การปองกันมลพิษ (Pollution Prevention) หมายถึง กระบวนการหรือวิธีการลดหรือกําจัดการเกิด


มลพิษหรือของเสียที่จุดกําเนิด การลดการใชสารทั้งที่เปนอันตรายและไมเปนอันตราย พลังงาน น้ํา และ
ทรัพยากรอื่นๆ ซึ่งรวมถึงการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติหรือการรักษาหรือการใชอยางมีประสิทธิภาพเพื่อลด
ความเสี่ยงตอสุขภาพอนามัยและผลกระทบตอสิ่งแวดลอม

ในเนื้อหาบทนี้ไดกลาวถึงหลักการที่สําคัญของการปองกันมลพิษเพื่อเปนแนวทางสําหรับผูเขารับการ
ฝกอบรมนําไปประยุกตใชหรือปฏิบัติงานที่เกี่ยวของกับการจัดการมลพิษสิ่งแวดลอมตอไป”

****************************
หลักสูตรการจัดการมลพิษ โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

บทที่ 6
การปองกันมลพิษ

6.1 มลพิษ

‘มลพิษ’ ตามคําจํากัดความในพระราชบัญญัติสงเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอมแหงชาติ พ.ศ.2535


หมายถึง “ของเสีย วัตถุอันตราย และมลสารอื่นๆ รวมทั้งกาก ตะกอน หรือสิ่งตกคางจากสิ่งเหลานั้น ที่ถูกปลอย
ทิ้งจากแหลงกําเนิดมลพิษ หรือที่มีอยูในสิ่งแวดลอมตามธรรมชาติ ซึ่งกอใหเกิดหรืออาจกอใหเกิดผลกระทบตอ
คุณภาพสิ่งแวดลอม หรือภาวะที่เปนพิษภัยอันตรายตอสุขภาพอนามัยของประชาชนได และใหหมายความ
รวมถึง รังสี ความรอน แสง เสียง กลิ่น ความสั่นสะเทือน หรือเหตุรําคาญอื่นๆ ที่เกิดหรือถูกปลอยออกจาก
แหลงกําเนิดมลพิษดวย”
ประเทศไทยซึ่งเปนประเทศกําลังพัฒนา โดยมีการพัฒนาทั้งในดานอุตสาหกรรมและการเติบโตของ
ชุมชนเปนไปอยางรวดเร็ว ปจจุบัน (พ.ศ. 2548) ประเทศไทยมีประชากรมากกวา 60 ลานคน การที่มีปริมาณ
ประชากรเพิ่มขึ้นยอมทําใหมีการใชทรัพยากรตางๆ เพิ่มมากขึ้นดวย ซึ่งจะสงผลโดยตรงตอการเพิ่มขึ้นของ
มลพิษและสงผลใหคุณภาพสิ่งแวดลอม สุขอนามัย รวมถึงความเปนอยูของคนในประเทศเสื่อมถอยลง หากไม
มีการควบคุมและการจัดการที่ถูกตองและเหมาะสม
ในอดีตที่ผานมา การจัดการมลพิษสิ่งแวดลอมจะเนนไปในแนวทางการบําบัดมลพิษหรือการบําบัดที่
ปลายเหตุ (end of pipe treatment) โดยจะบําบัดมลพิษใหอยูภายใตมาตรฐานตางๆ ที่มีการกําหนดขึ้นกอนที่
จะปลอยออกไปสูสิ่งแวดลอม ซึ่งถือเปนการแกปญหาที่ปลายเหตุและเปนการแกปญหาภายหลังจากที่มลพิษ
เกิดขึ้นแลว แตเนื่องจากการพัฒนาชุมชนและอุตสาหกรรมเปนไปอยางรวดเร็ว มลพิษจํานวนมากถูกปลอย
ออกสู สิ่ ง แวดล อ ม หากไม มี ก ารบริ ห ารจั ด การอย า งถู ก ต อ งแล ว ก็ จ ะส ง ผลให เ กิ ด ผลกระทบต อ คุ ณ ภาพ
สิ่งแวดลอมและทรัพยากรธรรมชาติ
นานาประเทศจึงมีแนวคิดในการจัดการมลพิษโดยมุงเนนไปทางการกําจัดที่ตนเหตุโดยหาวิธีการตางๆ
เพื่อทําใหไมเกิดมลพิษตั้งแตขั้นแรกหรือใหมลพิษเกิดขึ้นนอยที่สุดตั้งแตตนทาง โดยมักเรียกแนวทางขางตนวา
การปองกันมลพิษ (Pollution Prevention; PP) ซึ่งการปองกันมลพิษมีสวนสําคัญมากในการลดผลกระทบตอ
สิ่งแวดลอม โดยระยะหลังทั่วโลกไดพยายามกําหนดมาตรการตางๆ เพื่อสนับสนุนแนวความคิดนี้ โดยแนวทาง
การจัดการลดมลพิษที่จุดกําเนิดนี้ เปนสวนหนึ่งของการพัฒนาที่ยั่งยืน (sustainable development) (การพัฒนาที่
ยั่งยืนมีนิยามกวางๆ คือ การพัฒนาทางดานสังคม การศึกษา สาธารณสุข เศรษฐกิจ และสิ่งแวดลอมควบคูกัน
ไป เพื่อตอบสนองความตองการของมนุษยในปจจุบัน โดยไมทําใหเกิดผลกระทบในอนาคต ซึ่งถือเปนการ
อนุรักษสิ่งแวดลอมและทรัพยากรไวใหกับคนรุนหลังไดใชตอไป)
แนวคิด “การปองกันมลพิษ” นั้น องคกรทางสิ่งแวดลอมหลายๆ องคกรทั่วโลกก็ไดนิยามความหมายของ
แตละองคกรเอง ทําใหเกิดศัพทที่อยูในหมวดหมูความหมายเดียวกันหลายคํา เชน การผลิตที่สะอาด (Cleaner
Production; CP) หรือเทคโนโลยีสะอาด (Clean Technology; CT) ที่มุงเนนปองกันการเกิดมลพิษที่
แหลงกําเนิดในกระบวนการผลิตตางๆ หากเปนแนวคิดการปองกันมลพิษแลวจะมุงเนนการจัดการและการ
ปองกันมลพิษทั้งในดานอุตสาหกรรม เกษตรกรรม และการบริการ
แนวคิดการปองกันมลพิษนี้ไดรับการยอมรับและสนับสนุนจากองคกรตางๆ ทั่วโลก ไมวาจะเปนองคการ
สหประชาชาติและองคกรทางดานสิ่งแวดลอมตางๆ เชน USEPA ของสหรัฐอเมริกา EPA ใน Australia

กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม 6-1 กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม


หลักสูตรการจัดการมลพิษ โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

หนวยงานของรัฐบาลในประเทศตางๆ ตลอดไปจนถึงธนาคารโลก ซึ่งความชวยเหลือ ความรวมมือของทุกๆ


ฝายจะชวยใหแนวทางนี้มีการพัฒนาคอนขางรวดเร็ว
สําหรับประเทศไทยไดมีการนําแนวความคิดนี้มาใชแลวทั้งในภาคอุตสาหกรรม หนวยงานราชการ
อาคาร สํานักงาน ตลอดจนระดับครัวเรือนในชุมชนตางๆ

6.2 ความหมายของการปองกันมลพิษ

ประเทศสหรัฐอเมริกามีการประกาศกฎหมายเกี่ยวกับการปองกันมลพิษ (Pollution Prevention Act) ในป


พ.ศ. 2533 โดยมีเนื้อหาสําคัญ คือ การกําหนดใหเปนนโยบายของประเทศวา มลพิษควรจะถูกปองกันหรือกําจัด
ที่แหลงกําเนิดเมื่อสามารถทําได สําหรับมลพิษที่ไมสามารถปองกันไดควรจะถูกนํากลับมาใชใหมในลักษณะที่ไม
กระทบตอสิ่งแวดลอม แตถาไมสามารถนํากลับมาใชไดก็ควรจะถูกบําบัด สวนการปลอยออกสูสิ่งแวดลอมถือเปน
หนทางสุดทายในกรณีที่ไมสามารถทําตามวิธีการขางตน ซึ่งก็ตองทิ้งอยางปลอดภัยและเกิดผลกระทบนอยที่สุด
ลําดับความสําคัญของการจัดการมลพิษ แสดงดังรูปที่ 6.2-1 จะเห็นวา การลดมลพิษที่จุดกําเนิดจะถูกให
ความสําคัญในลําดับสูงสุดโดยการปองกันหรือไมทําใหเกิดขึ้นหรือเปนการลดมลพิษตั้งแตจุดกําเนิดนั่นเอง
อยางไรก็ตาม การใชซ้ําหรือนํากลับมาใชใหมนั้น หากเปนการนํากลับมาใชหมุนเวียนในระบบเดิม ก็สามารถ
ถือเปนการปองกันมลพิษไดในระดับหนึ่ง แตในกรณีที่ไมไดนํามาใชใหมในระบบเดิม ก็จะถือวาเปนการลดหรือ
การจัดการมลพิษมากกวาที่จะเปนการปองกันมลพิษ

การลดที่แหลงกําเนิด

การใชซ้ําหรือนํากลับมาใช

การบําบัด

ปลอยสู
ธรรมชาติ

รูปที่ 6.2-1 ลําดับความสําคัญของการจัดการมลพิษ

แนวคิ ด ในการป อ งกั น มลพิ ษ นี้ ไ ด ถู ก นํ า มาประยุ ก ต ใ ช กั บ กิ จ กรรมแทบทุ ก ประเภท ได แ ก ด า น


อุตสาหกรรม เกษตรกรรม การบริการ (เชน โรงแรม โรงพยาบาล สถานศึกษา) และในระดับครัวเรือน ซึ่ ง
หนวยงานราชการไดจัดใหมีการใหความรู สัมมนา ฝกอบรมตางๆ รวมทั้งมีการฝกอบรมในระดับอุดมศึกษา
การเปลี่ ย นแปลงไปเป น สั ง คมที่ มี แ นวการจั ด การมลพิ ษ แบบยั่ ง ยื น นี้ ต อ งมี ค วามระมั ด ระวั ง ถึ ง
ประสิทธิภาพในระยะยาวดวย (มากกวาที่จะคํานึงถึงผลที่จะไดในระยะสั้นเพียงอยางเดียว) ซึ่งนอกจากจะ
ขึ้นอยูกับเทคโนโลยีแลว สิ่งสําคัญที่สุด คือ ทัศนคติ ความกระตือรือรน และความรวมมือของประชาชนในการ
พัฒนาและปองกันมลพิษในสวนที่ตนเองเกี่ยวของ

กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม 6-2 กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม


หลักสูตรการจัดการมลพิษ โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

6.3 ประโยชนของการปองกันมลพิษ

กระบวนการปองกันมลพิษนั้น หากมีการดําเนินการที่เหมาะสมแลว นอกจากจะชวยปองกันมลพิษซึ่ง


เปนเปาหมายสําคัญที่สุดแลว ประโยชนอื่นๆ ที่จะไดรับนั้นมีอยูมากมาย ดังนี้
• ชวยลดคาใชจายในดานทรัพยากรธรรมชาติ กลาวคือ สามารถลดคาใชจายในการที่จะตองซื้อวัตถุดิบ
ตางๆ เชน การลดการใชกระดาษเอกสารในสํานักงาน หรือการลดการใชภาชนะบรรจุที่รานคา หรือที่บาน เปนตน
• ชวยลดคาใชจายในการบําบัดมลพิษ เมื่อมลพิษถูกปองกันไมใหเกิดขึ้นหรือเกิดขึ้นนอยลง คาใชจาย
ที่ใชในการบําบัดหรือกําจัดก็จะนอยลงดวย เชน หากเกิดของเสียนอยลง ก็จะเสียคาใชจายสําหรับการขนสง
คัดแยก รวมทั้งการบําบัด ฝงกลบหรือการเผานอยลง เปนตน
• ชวยลดปญหาผลกระทบสิ่งแวดลอมและระบบนิเวศนหรือผลกระทบตอสิ่งมีชีวิตตางๆ ทั้งที่อยูในน้ํา
ในอากาศ หรือพื้นดิน ทั้งนี้ หากมีการใชทรัพยากรนอยลง ปาไม แมน้ํา ลําธาร ก็จะถูกบุกรุกนอยลง หรือหากมี
มลพิษนอยลง ทั้งพืชหรือสัตวรวมทั้งคนก็จะไดรับผลกระทบนอยลง ทําใหสุขภาพและความเปนอยูดีขึ้นดวย
เชนกัน
• ชวยลดความเสี่ยงในการละเมิดกฎหมาย ในกรณีของภาคอุตสาหกรรมนั้น เมื่อมีการปองกันมลพิษ
ที่เหมาะสมก็จะทําใหโรงงานไดรับการสนับสนุนจากภาครัฐบาล รวมถึงชุมชนที่อยูอาศัยบริเวณใกลเคียงก็จะมี
ความสัมพันธดีขึ้นดวยเชนกัน

6.4 อุปสรรคในการดําเนินการปองกันมลพิษ

อุปสรรคที่สําคัญของการดําเนินการปองกันมลพิษสามารถแบงได ดังนี้
(1) ทัศนคติ
ถือวาเปนอุปสรรคที่สําคัญมากของการปองกันมลพิษที่แหลงกําเนิด ยกตัวอยางเชน โรงงาน ก. เปน
โรงงานผลิตสินคาอยางหนึ่ง ซึ่งในแตละปโรงงาน ก. มีผลกําไรมากมาย มลพิษที่เกิดขึ้นก็ไดรับการบําบัดหรือ
กําจัดอยางถูกตองผานมาตรฐานที่กําหนดไวทุกอยาง เจาของโรงงานก็เห็นวา ไมมีเหตุผลตองปรับเปลี่ยน
กระบวนการผลิตตางๆ บนความเสี่ยงซึ่งมีความไมแนนอนวาจะมีผลลัพธอะไรบาง ตัวอยางนี้ถือเปนบทสะทอน
ที่สําคัญของทัศนคติตอการเปลี่ยนแปลงเพื่อกระบวนการผลิตที่สะอาดหรือการปองกันมลพิษที่จุดเริ่มตนเปน
อยางดี
(2) การตระหนักถึงความสําคัญ
ความเปลี่ยนแปลงเล็กๆ ก็สามารถชวยเหลือสิ่งแวดลอมในระยะยาวได ชุมชนควรไดรับการปลูกฝงหรือ
กระตุนใหเห็นถึงความสําคัญของการปองกันมลพิษ รวมทั้งไดรับขอมูลที่ถูกตองและจําเปนตอความรวมมือตางๆ
(3) ความไมเทาเทียมกันของสังคม
ในระดั บบุ คคลหรื อชุ มชน ยกตั วอย างเช น ประชาชนในกรุ งเทพมหานครส วนใหญ มี การใช ขวด
ถุงพลาสติกหรือโฟมเปนประจํา ซึ่งของเหลานี้แนนอนวามีผลกระทบตอสิ่งแวดลอม ขณะที่ชุมชนในตางจังหวัด
บางพื้นที่ยังคงมีการใชใบตอง มีการรองน้ําฝนใช มีการนําตะกราไปจายตลาด ซึ่งเปนการชวยเหลือสิ่งแวดลอม
และเปนการปองกันมลพิษเปนอยางดี ขณะที่ในระดับชาติ ประเทศที่พัฒนามีการใชพลังงานเปนไปอยาง
สิ้นเปลืองเมื่อเปรียบเทียบกับประเทศที่ยังไมพัฒนาหรือกําลังพัฒนา ซึ่งมีผลใหการปลอยมลพิษตอสิ่งแวดลอม
มากกวา

กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม 6-3 กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม


หลักสูตรการจัดการมลพิษ โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

(4) เทคโนโลยี
การพัฒนาแนวทางการปองกันมลพิษใหมีประสิทธิภาพยอมขึ้นอยูกับเทคโนโลยีดวย การมีเทคโนโลยี
ที่ดีที่พัฒนาแลวทําใหลดการใชวัตถุดิบ ลดการใชพลังงาน และสารเคมี อีกทั้งยังลดมลพิษที่เกิดขึ้นระหวางการ
ผลิตดวย เชน การลดปริมาณน้ําใชในกระบวนการผลิตก็จะชวยลดปริมาณน้ําเสียไดเชนกัน เปนตน เทคโนโลยี
ที่เราเห็นกันไดชัดวามีการพัฒนาเพื่อลดมลพิษ ไดแก รถยนตที่ใชไฟฟาหรือพลังงานแสงอาทิตยซึ่งก็จะชวยลด
การใชทรัพยากรและลดการระบายมลพิษทางอากาศออกสูสิ่งแวดลอมดวย

6.5 แนวทางการปองกันมลพิษ

การลดมลพิษที่แหลงกําเนิด (source reduction) ถือเปนการจัดการที่มีลําดับความสําคัญสูงสุด (ดังรูปที่


6.2-1) โดยการลดที่แหลงกําเนิดนั้นมีเทคนิคที่ใชกันบอยๆ ไดแก
• การปรับปรุงประสิทธิภาพของกระบวนการผลิต (process efficiency improvement)
• การใชวัสดุทดแทน (material substitution)
• การควบคุมสินคาคงคลัง (inventory control)
• การบํารุงรักษาแบบปองกัน (preventive maintenance)
• การปรับปรุงรักษาสภาพโรงงาน (housekeeping improvement)
• การใชหมุนเวียนภายในกระบวนการผลิต (in-process recycling)

6.5.1 การปองกันมลพิษในชุมชน

ตั ว อย า งวิ ธี ก ารป อ งกั น มลพิ ษ ในชุ ม ชนเพื่ อ เป น แนวทางให กั บ บุ ค คลทั่ ว ไปนํ า ไปประยุ ก ต ใ ช ใ น
ชีวิตประจําวันได เชน
1) การใชพลังงานไฟฟา
สถานประกอบการและครัวเรือนสามารถลดปริมาณการใชไฟฟาอยางงายๆ โดยใชแนวทางปฏิบัติ
ดังตัวอยางเชน
• การใชหลอดไฟแบบประหยัดไฟและการปรับสวิตซใหเปนแบบแยก รวมถึงการติดตั้งแผ น
สะทอนแสงที่เตาหลอดไฟดวย
• การหมั่นบํารุงรักษา ทําความสะอาดอุปกรณไฟฟาตางๆ เชน เครื่องปรับอากาศ หลอดไฟ เปนตน
• การยายอุปกรณความรอนออกจากหองปรับอากาศ เชน กาตมน้ํา เครื่องถายเอกสาร เปนตน
• หมั่นกระตุนจิตสํานึกและรณรงคการใชไฟฟาใหคุมคาอยางตอเนื่อง
2) การใชน้ํา
สถานประกอบการและครัวเรื อนสามารถลดปริมาณการใช น้ําอย างง ายๆ โดยใชแนวทางปฏิ บัติดั ง
ตัวอยางเชน
• การใชภาชนะรองน้ําตอนอาบน้ําหรือแปรงฟนแทนการเปดน้ําใชใหไหลทิ้งผานลงทอระบาย
• การตรวจการรั่วไหลและซอมบํารุงอุปกรณการใชน้ําอยางสม่ําเสมอ
• การใชสบูเหลวแทนสบูกอน เพื่อลดคราบติดเกาะในทอ
• การใชน้ํายาลางจานหรือผงซักฟอกในปริมาณที่เหมาะสม
• การนําน้ําทิ้งบางประเภทกลับมาใชใหม เชน รดน้ําตนไม เปนตน
• การกระตุนจิตสํานึกและรณรงคการใชน้ําใหคุมคาอยางตอเนื่อง
กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม 6-4 กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม
หลักสูตรการจัดการมลพิษ โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

3) การจัดการขยะมูลฝอย
สถานประกอบการและครัวเรือนสามารถลดปริมาณขยะมูลฝอยอยางงายๆ โดยใชแนวทางปฏิบัติดัง
ตัวอยางเชน
• การนําวัสดุเหลือใชกลับมาใชใหม เชน การใชกระดาษสองดาน เปนตน
• การคัดแยกขยะ โดยจัดใหมีถังขยะแยกประเภท
• มีการจัดแขงขันหรือตั้งรางวัลในกลุมยอย เชน มีรางวัลประจําเดือนสําหรับบุคคลที่ใชกระดาษ
ปากกา นอยที่สุด เปนตน
• การกระตุนจิตสํานึกและรณรงคการใชอุปกรณตางๆ ใหคุมคาอยางตอเนื่อง
สําหรับเทคนิคการปองกันมลพิษอยางงายที่ทุกคนสามารถทําไดไมวาจะเปนที่บาน ที่ทํางานหรือที่อื่นๆ
เพื่อเปนแนวทางนําไปปฏิบัติ ตัวอยางเชน
1) เทคนิคการปองกันมลพิษ (ที่บาน)
- การปดผามานในเวลากลางคืน ชวยรักษาอุณหภูมิในหองเย็นกวาเปดผามาน เนื่องจากตัว
กระจกจะพยายามดูดซับความเย็นจากบริเวณรอบๆ
- การปลูกตนไมทองถิ่นจะสามารถชวยประหยัดการใชน้ําและใบไมก็ไมรวงหลนไปกีดขวาง
ทางเดินของทอดวย
- ในการรดน้ําตนไมใหนําภาชนะใสไอศกรีมวางไวในสวน เมื่อน้ําในภาชนะสูงขึ้นถึงประมาณ 1
เซนติเมตร แปลวาสวนของคุณไดรับน้ําเพียงพอแลว
- แทนที่จะตมน้ําทุกครั้ง เมื่อตองการดื่มชาหรือกาแฟใหตมน้ําครั้งเดียวตอนเชา แลวใสไวใน
ภาชนะเก็บความรอน วิธีนี้ชวยประหยัดทั้ง เงิน เวลา และไฟฟาดวย
- เลือกสินคาที่มีเครื่องหมายประหยัดพลังงานเบอร 5
- เลือกสินคาที่ไมทําใหสิ่งแวดลอมเสียหาย เชน ไมบรรจุโฟม
- เลือกซื้ออาหารพื้นเมืองซึ่งชวยลดคาขนสงรวมทั้งจะไดอาหารที่สดและใหมดวย
2) เทคนิคการปองกันมลพิษ (ที่ทํางาน)
- เลือกใชปากกาหรือดินสอที่เปลี่ยนไสได
- ใชกระดาษทั้งสองดานรวมถึงการถายเอกสารที่ไมจําเปนก็ใชกระดาษที่ใชแลว
- คิดสักนิดกอนที่จะสั่งพิมพเอกสารใดๆ เพราะวามากกวารอยละ 60 ของที่พิมพเปนสิ่งที่ไมจําเปน
- สนับสนุนและสงเสริมการปองกันมลพิษในองคกร
- ประหยัดพลังงานดวยการปดไฟ อุปกรณตางๆ รวมทั้งปดคอมพิวเตอรหรือหนาจอในขณะที่
ไมไดใชงาน

6.5.2 การปองกันมลพิษในภาคอุตสาหกรรม

ภาคอุตสาหกรรมเปนแหลงกําเนิดมลพิษที่สําคัญโดยเฉพาะในแงของเสียอันตรายตางๆ ซึ่งมีลักษณะ
ของมลพิษแตละอยางคอนขางรายแรงกวามลพิษของภาคชุมชน เชน โดยปกติน้ําเสียของโรงงานอุตสาหกรรม
จะมีคาดัชนีสารมลพิษตางๆ สูงกวาน้ําเสียที่เกิดจากชุมชน เปนตน
กระบวนการผลิตที่สะอาดสามารถนําไปประยุกตใชไดกับอุตสาหกรรมทุกประเภท ซึ่งแตละโรงงานก็จะมี
รายละเอียดแนวทางที่จะปองกันมลพิษแตกตางกันไป ตัวอยางขั้นตอนการใชเทคโนโลยีการผลิตที่สะอาดของ
โรงงาน ดังนี้

กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม 6-5 กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม


หลักสูตรการจัดการมลพิษ โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

1) การประเมินขอบเขตของกระบวนการผลิตตั้งแตจุดเริ่มตนและจุดสิ้นสุด
2) จากนั้น ทําการหาปริมาณของเสียหรือพลังงานซึ่งใชไปในแตละขั้นตอน อาจจะใชสมดุลมวล
หรือสมดุลน้ํา
3) ประเมิ นหาโอกาสการป อ งกันมลพิ ษ เช น ใช วัต ถุดิ บอื่ น แทนวั ตถุ ดิบ ที่เ ปน พิษ บํ ารุ งรั กษา
เครื่องจักรใหมีประสิทธิภาพเพื่อลดผลิตภัณฑที่ไมไดตามมาตรฐาน การใชน้ําหมุนเวียนเพื่อลดการใชน้ําสะอาด
เปนตน
4) พิจารณาวาแนวทางหรือโอกาสการปองกันมลพิษที่มีความเปนไปไดมากที่สุด ในแงของการ
ลงทุน ผลกระทบที่จะเกิดขึ้น คุณภาพของผลผลิต รวมทั้งปริมาณของมลพิษที่จะลดลง
ภายหลังจากการดําเนินการแลว ก็ควรจะมีการตรวจสอบหรือติดตามผลการดําเนินการอยางใกลชิด
โดยควรคํานึงถึงคาใชจายที่ไดใชไป คุณภาพสินคาดีขึ้นอยางไร ปฏิกิริยาของพนักงาน ลักษณะของมลพิษ
หรือภาพลักษณของบริษัท
ตัวอยางของแนวทางการดําเนินการปองกันมลพิษของภาคอุตสาหกรรม เชน
- การเปลี่ยนผลิตภัณฑ เพื่อลดผลกระทบตอสิ่งแวดลอมในกระบวนการผลิตและเพื่อยืดอายุการ
ใชงาน เชน การเปลี่ยนสูตรของผลิตภัณฑ การเปลี่ยนรูปแบบบรรจุภัณฑ ออกแบบใหสามารถแยกสวนนํา
กลับมาใชใหมได เปนตน
- การเปลี่ยนวัตถุดิบ เชน การใชวัตถุดิบที่เปนพิษนอยลง หรือการเลือกใชวัตถุดิบที่สามารถนํา
กลับมาใชใหมได เปนตน
- การเปลี่ยนเทคโนโลยี เชน การเปลี่ยนมาใชระบบอัตโนมัติจะชวยใหไดผลผลิตรวดเร็วขึ้น การใช
เทคโนโลยีที่ประหยัดพลังงาน การเปลี่ยนสภาวะการผลิต (เชน อุณหภูมิ หรือความดัน เปนตน)
- การปรับปรุงจัดการ เชน การฝกอบรมพนักงานเปนประจํา การคัดแยกขยะ การปรับปรุงระบบ
จัดเก็บหรือขนยายวัตถุดิบ การวางแผนการผลิต เปนตน
ตามที่ไดกลาวไปแลววาวิธีการขางตนเปนวิธีการโดยรวมและเปนภาพกวางๆ เทานั้น โรงงานแตละ
โรงงานก็จะมีรายละเอียดปลีกยอยแตกตางกันไป ซึ่งในการประเมินหาโอกาสการปองกันมลพิษในองคกรหนึ่งๆ
จําเปนตองศึกษาขอมูลเฉพาะขององคกรนั้นๆ ไมสามารถนําแนวทางหรือการจัดการจากองคกรอื่นมาใชโดยไม
มีการศึกษารายละเอียดขององคกรตนเอง

6.5.3 การปองกันมลพิษในเกษตรกรรม

ภาคเกษตรกรรมเปนหัวใจของการประกอบอาชีพของประชาชนสวนใหญของประเทศไทยโดยมลพิษ
สวนใหญนั้น จะอยูในรูปของมลพิษทางน้ําผานทางการใชน้ํา สารเคมี ปุยเคมี รวมถึงสิ่งปฏิกูลตางๆ จากการ
ขับถายของสัตว ตัวอยางวิธีการปองกันมลพิษสําหรับภาคเกษตรกรรม เชน
• การนําสิ่งปฏิกูลมาใชเปนปุยหมักสําหรับปลูกพืช
• การใชปุยอินทรียหรือปุยหมักสําหรับปลูกพืชที่ยอยสลายไดงายกวา
• การตรวจซอมบํารุง รักษาความสะอาดอุปกรณหรือเครื่องจักรตางๆ อยางสม่ําเสมอ
• การนําน้ําทิ้งบางประเภทกลับมาใชใหม เชน รดน้ําตนไม เปนตน
• การกระตุนจิตสํานึกและรณรงคการใชน้ําใหคุมคาอยางตอเนื่อง

กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม 6-6 กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม


หลักสูตรการจัดการมลพิษ โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

6.6 โครงสรางของการปองกันมลพิษในองคกร

กระบวนการปองกันมลพิษสามารถทําไดในทุกๆ องคกร ทั้งองคกรขนาดเล็ก เชน ครัวเรือน ชุมชน


หมูบาน หนวยงานตางๆ ระดับตําบล เชน สถานพยาบาล ตลาด ตลอดจนถึงองคกรขนาดใหญ เชน ในโรงงาน
อุตสาหกรรม ระดับจังหวัดหรือประเทศ การที่จะพัฒนาไปถึงการปองกันมลพิษที่ดี โดยทั่วไปแลวก็จะสามารถ
แบงขั้นตอนหลักๆ เปน 5 อยาง ไดแก
1) การปรับเปลี่ยนทัศนคติของผูนําหรือหัวหนาองคกร โดยที่ทัศนคติเปนอุปสรรคที่สําคัญของการ
พัฒนาการปองกันมลพิษ ดังนั้น ผูนําหรือหัวหนาองคกรจึงควรมีการปรับเปลี่ยนทัศนคติ โดยควรคํานึงวาการ
ปองกันมลพิษเปนการพัฒนาคุณภาพของระบบการจัดการทรัพยากรและสิ่งแวดลอมขององคกรโดยรวม
2) การเลือกใชวิธีการที่เหมาะสม ทั้งทางดานบุคลากรและเทคโนโลยี จะชวยรนระยะเวลาของการ
คืนทุน ลดคาใชจายในสวนของการบําบัดมลพิษ รวมถึงคาใชจายดานการจัดการตางๆ ได
3) ฝกอบรมใหกับผูเกี่ยวของในทุกระดับ โดยใหทุกคนมีสวนรวมในกระบวนการนี้ ตั้งแตระดับ
ผูบริหารถึงพนักงานหรือผูเกี่ยวของทุกระดับ หากทุกคนชวยกันก็จะทําใหการปองกันมลพิษมีการพัฒนาอยาง
ตอเนื่อง
4) กระบวนการปฏิบัติอยางตอเนื่อง เมื่อมีการจัดการที่เหมาะสมแลวก็ควรพัฒนาจัดการในสวน
อื่นๆ ที่เกี่ยวของตอไป เพื่อเปนการลดผลกระทบตอสิ่งแวดลอม รวมทั้งเปนการลดปญหาทางดานสุขอนามัย
ของบุคคลที่เกี่ยวของดวย
5) จั ดให มี การแลกเปลี่ ยนข อมู ลระหว างองค กร เพื่ อเป นการพั ฒนาในแง การขยายฐานความรู
เกี่ยวกับเทคนิคที่เลือกใชในการปองกันมลพิษ
เมื่อมีการพัฒนาขีดความสามารถการปองกันมลพิษในองคกรแลว ผลประโยชนที่ไดรับก็จะมีทั้งระยะ
สั้ น และระยะยาว โดยผลประโยชน ร ะยะสั้ น จะช ว ยลดป ญ หามลพิ ษ อนุ รั ก ษ สิ่ ง แวดล อ ม ประหยั ด
ทรัพยากรธรรมชาติ เพิ่มผลผลิต และลดปริมาณการสูญเสีย ในสวนของระยะยาว ไดแก ภาพรวมขององคกรดี
ขึ้น ชวยลดผลกระทบที่จะเกิดขึ้นในคนรุนตอๆ ไป รวมถึงมีสุขภาพทางกายและทางใจดีขึ้นเชนกัน

อนึ่ง แหลงขอมูลที่สามารถคนหาเพิ่มเติมโดยการคนหาตามคําศัพทตางๆ เชน เทคโนโลยีสะอาด


กระบวนการผลิตที่สะอาด การพัฒนาที่ยั่งยืน รวมทั้ง ยังมีวารสารตางประเทศอีกมากมาย โดยคําศัพท เชน
sustainable development, sustainability, cleaner production, clean technology, waste minimization,
pollution prevention เปนตน

6.7 ตัวอยางกรณีศึกษาการปองกันมลพิษ

ตัวอยางกรณีศึกษาของตางประเทศที่เกี่ยวกับการปองกันมลพิษซึ่งสามารถนําไปประยุกตใชไดในชุมชน
หรือในภาคเกษตรกรรม คือ ฟารมเลี้ยงวัว Wainui ในรัฐ Queensland ประเทศออสเตรเลีย มีรายละเอียดดังนี้
(1) ความเปนมา
ฟารม Wainui เปนฟารมเลี้ยงวัวขนาดใหญมากที่สุดแหงหนึ่งในประเทศออสเตรเลีย ผลผลิตของฟารม
สงขายทั้งในประเทศและตางประเทศ โดยกวารอยละ 70 ของผลผลิตเนื้อวัวนั้นถูกสงไปขายที่เอเซีย โดยเฉพาะ
ประเทศญี่ปุน

กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม 6-7 กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม


หลักสูตรการจัดการมลพิษ โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

(2) ความจําเปนในการลดมลพิษ
โดยทั่วไปวัวจะกินอาหาร (สวนใหญ คือ หญา) ประมาณวันละ 13 กิโลกรัม และกินน้ําปริมาณมาก
ซึ่งในแตละวันวัวจะมีน้ําหนักเพิ่มขึ้นประมาณ 1 ถึง 1.6 กิโลกรัมโดยเฉลี่ย ขณะที่ปริมาณขับถายจะมีประมาณ
1.5 ตัน/ตัว-ป โดยเฉลี่ย หากนับรวมในฟารมทั้งหมด (มีจํานวนประมาณ 7,000 ตัว) ฟารม Wainui จะกอใหเกิด
มูลสัตวที่ตองการวิธีกําจัดอยางถูกตองกวา 10,000 ตัน/ป
ผูบริหารของฟารมไดเล็งเห็นวามีการใชทรัพยากรอยางมากในการจัดการมูลสัตวทั้งดานเวลาและ
กําลังคน แทนที่จะใชเวลาที่มีมุงเนนการดูแลเพื่อทําใหผลผลิตมากขึ้นและมีคุณภาพดีขึ้น ดังนั้น จึงมีความคิดที่
จะพัฒนาและสรางการจัดการมูลสัตวใหดีขึ้น โดยเนนใหความสําคัญกับหัวขอหลักๆ คือ
- การออกแบบคอก ซึ่งคอกเดิมมีผลใหเกิดการสะสมของมูลสัตวและทําใหเกิดกลิ่น รวมทั้งโรค
ซึ่งอาจจะตามมาไดภายหลัง
- เวลาและคาใชจายที่ตองสูญเสียไปกับการจัดการมูลสัตว ซึ่งถือเปนสวนสําคัญที่ตองคํานึงถึง
โดยผูบริหารตองการหามาตรการในการจัดการมูลสัตวซึ่งจะชวยลดคาใชจายโดยรวมเปนอยางมาก
- กองมูลสัตวซึ่งจะกอใหเกิดปญหาตางๆ ตามมามากมาย โดยปญหาที่สําคัญ คือ วิธีการกองมูล
สัตวใหมีชองวางของอากาศอยูภายในมาก ซึ่งมีผลใหเกิดปฏิกิริยากับมูลสัตวทําใหเกิดการลุกติดไฟเปนบางครั้ง
โดยเฉลี่ยฟารมตองเสียเวลาประมาณ 100 ชั่วโมง/ป ในการควบคุมไฟเหลานี้
(3) แนวทางในการจัดการ
หลังจากไดกําหนดมาตรการที่จะควบคุมการจัดการมูลสัตวซึ่งเกิดจากวัวในฟารมแลว ผูบริหารได
สรุปหัวขอหลักที่จะเปนแนวทางในการปฏิบัติทั้งหมด 4 ประเด็น ดังนี้
- การออกแบบคอก
การออกแบบคอกมีสวนสําคัญในการจัดการสิ่งปฏิกูลและมีสวนสําคัญตอการเจริญเติบโตของ
วัวในฟารมดวย โดย Wainui ไดทําการปรับความลาดของคอกในดานยาวและกวางเปน 3 และ 5 องศา ตามลําดับ
ซึ่งจะทําใหประสิทธิภาพในการไหลของน้ําดีขึ้นและไมกอใหเกิดจุดที่ชื้นแฉะ ความลาดชันเหลานี้ยังมีผลใหมูล
สัตวไหลไปรวมกันที่บริเวณพื้นที่ต่ําของคอกซึ่งงายตอการกําจัดอีกดวย
- การจัดการกองมูลสัตว
Wainui ไดทําการเปลี่ยนแปลงจากเดิมที่นํามูลสัตวกองรวมกันไว เปนการเกลี่ยมูลสัตวเหลานี้
ใหเรียบ เพื่อใหมีการอัดตัวดีขึ้นและทําใหเกิดอัตราการยอยสลายดีขึ้น รวมถึงเปนการปองกันการเกิดการลุกติดไฟ
ไดดวยเชนกัน นอกจากนี้การยอยสลายมูลสัตวสงผลใหอัตราสวนระหวางปริมาตรกับมวลลดลงประมาณรอยละ 34
ซึ่งจะทําใหความตองการในการจัดการมูลสัตวเหลานี้ลดลงและสงผลใหคาใชจายลดลงดวย
- การจัดการดานน้ํา
Wainui ไดกําหนดกิจกรรมตางๆ เพื่อทําใหการใชน้ําลดลง ดังนี้
• นําน้ําที่ใชแลวไปรดถนนในฟารม เพื่อทําใหปริมาณฝุนที่ฟุงกระจายมีนอยลง เนื่องจาก
ฝุนจะมีผลตอการเติบโตของวัว รวมถึงมีผลตอการระคายเคืองตอระบบการมองเห็นและการหายใจ รวมถึง
กอใหเกิดความเครียดดวย
• การพรมรดน้ํ า บนถนนยั ง ช ว ยลดค า ใช จ า ยในการบํ า รุ ง รั ก ษาพื้ น ผิ ว ถนนด ว ย (ซึ่ ง มี
คาใชจายของการบํารุงรักษาถนน (5 กิโลเมตร) ประมาณ 15,000 เหรียญ/ป) โดยมีการคาดการณวา การพรม
รดน้ํ า บนถนนอย า งต อ เนื่ อ งจะช ว ยประหยั ด ค า ใช จ า ยได ถึ ง ประมาณ 10,000 เหรี ย ญ/ป รวมถึ ง ประหยั ด
คาใชจายของยางรถบรรทุก 6 ลอ ของฟารมไดประมาณ 3,600 เหรียญ/ป

กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม 6-8 กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม


หลักสูตรการจัดการมลพิษ โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

• โดยปกติฟารมจะใชน้ําประมาณ 210,000 ลิตร/สัปดาห ในการฉีดพรมพื้นถนน ซึ่งการนํา


น้ําที่ใชแลวมาใช จะชวยลดปริมาณการใชน้ําไดประมาณ 90,000 ลิตร/สัปดาห หรือคิดเปน 4.7 ลานลิตร/ป
• น้ําที่ใชในการทําความสะอาดพื้นที่ของฟารม เชน คอก สํานักงาน เปนตน ซึ่งมีปริมาณ
ประมาณ 5,000 ลิตร/ป โดยสวนใหญสามารถรวบรวมไปรดหญาในฟารมได
- การจัดการมูลสัตว
เดิมตองเสียคาใชจายในการจัดการมูลสัตวประมาณ 7.5-9 เหรียญ/ตัน เชน การกวาดทําความ
สะอาดคอก ซึ่งเทียบไดกับคาใชจายประมาณ 75,000-90,000 เหรียญ/ป หากแต Wainui ไดกําหนดมาตรการ
เพิ่มมูลคาของมูลสัตวเหลานี้ โดยทําการแปรรูปใหเปนปุยที่สงขายใหกับชาวนาได โดยมีรายไดในสวนนี้มี
ประมาณ 6.5 เหรียญ/ตัน หรือ 65,000 เหรียญ/ป (ไมรวมคาขนสง) ซึ่งโดยปกติชาวนาตองเสียคาใชจายในการ
ซื้อปุยอินทรียประมาณ 35 เหรียญ/ตัน

กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม 6-9 กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม


แหลงสืบคนขอมูลเพิ่มเติม
*********************************

- กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม (ทส.)
www.monre.go.th

- กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม
www.deqp.go.th

- กรมควบคุมมลพิษ (คพ.)
www.pcd.go.th

- สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม (สผ.)
www.onep.go.th

- สํานักนายกรัฐมนตรี
www.thaigov.go.th

- ราชกิจจานุเบกษา
www.ratchakitcha.soc.go.th

********************************************
หลักสูตรการจัดการมลพิษ โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

บรรณานุกรม
*********************************
กรมควบคุมมลพิษ และสมาคมวิศวกรรมสิ่งแวดลอมแหงประเทศไทย, เลม 2 รายละเอียดสนับสนุน
เกณฑแนะนํ า การออกแบบระบบรวบรวมน้ํา เสี ยและโรงปรับ ปรุง คุณภาพน้ํา ของชุมชน.
กรุงเทพฯ : สมาคมวิศวกรรมสิ่งแวดลอมแหงประเทศไทย, 2546.
กรมควบคุมมลพิษ และสมาคมวิศวกรรมสิ่งแวดลอ มแหงประเทศไทย, ศัพทบั ญญัติและนิยาม
สิ่งแวดลอม. พิมพครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : เรือนแกวการพิมพ, 2544.
กรมโรงงานอุตสาหกรรม และสมาคมวิศวกรรมสิ่งแวดลอมแหงประเทศไทย, ตําราระบบบําบัดมลพิษน้ํา.
กรุงเทพฯ : สมาคมวิศวกรรมสิ่งแวดลอมแหงประเทศไทย, 2545.
กรมโรงงานอุตสาหกรรม, ตําราบําบัดมลพิษอากาศ. กรุงเทพฯ : ศูนยบริการวิชาการแหงจุฬาลงกรณ
มหาวิทยาลัย, 2547.
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม กรมควบคุมมลพิษ, รายงานสรุปสถานการณมลพิษของ
ประเทศไทย พ.ศ. 2545. กรุงเทพฯ : กรมควบคุมมลพิษ, 2546.
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม กรมควบคุมมลพิษ, รายงานสรุปสถานการณมลพิษของ
ประเทศไทย พ.ศ. 2546. กรุงเทพฯ : กรมควบคุมมลพิษ, 2547.
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม กรมควบคุมมลพิษ, รายงานสรุปสถานการณมลพิษของ
ประเทศไทย พ.ศ. 2547. กรุงเทพฯ : กรมควบคุมมลพิษ, 2548.
กระทรวงวิทยาศาสตร เทคโนโลยีและสิ่งแวดลอม กรมควบคุมมลพิษ, การจัดการขยะมูลฝอยชุมชน
อยางครบวงจร. พิมพครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : บริษัท เรโป เฮาส จํากัด, 2543.
กระทรวงวิทยาศาสตร เทคโนโลยีและสิ่งแวดลอม กรมควบคุมมลพิษ, เกณฑ มาตรฐาน และแนวทาง
การจัดการขยะมูลฝอยชุมชน. พิมพครั้งที่ 5. กรุงเทพฯ : โรงพิมพคุรุสภาลาดพราว, 2544.
กระทรวงวิทยาศาสตร เทคโนโลยีและสิ่งแวดลอม สํานักงานนโยบายและแผนสิ่งแวดลอม, นโยบายและ
แผนการส ง เสริ ม และรั ก ษาคุ ณ ภาพสิ่ ง แวดล อ มแห ง ชาติ พ.ศ. 2540-2559. พิ ม พ ค รั้ ง ที่ 2.
กรุงเทพฯ : บริษัท อินทิเกรเต็ด โปรโมชัน เทคโนโลยี จํากัด, 2540.
กรุงเทพมหานคร กองวิชาการและแผนงาน สํานักรักษาความสะอาด, คูมือสนับสนุนการลดและแยกขยะ
มูลฝอย. ม.ป.ท., 2538.
เกรียงศักดิ์ อุดมสินโรจน, การบําบัดน้ําเสีย (Wastewater Treatment). กรุงเทพฯ : มิตรนราการพิมพ,
2539.
ปราณี พันธุมสินชัย, กรมควบคุมมลพิษ และสมาคมวิศวกรสิ่งแวดลอมแหงประเทศไทย, ความรูเบื้องตน
เรื่องการปองกันมลพิษ (Pollution Prevention Basic). พิมพครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : ม.ป.ท.,
ม.ป.ป.
มั่นสิน ตัณฑุลเวศม และมั่นรักษ ตัณฑุลเวศม, เคมีวิทยาของน้ําและน้ําเสีย. กรุงเทพฯ : โรงพิมพแหง
จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2545.
สถาบันสิ่งแวดลอมไทย, การกระจายอํานาจการจัดการสิ่งแวดลอม : การมีสวนรวมและการสรางขีด
ความสามารถทองถิ่น. กรุงเทพฯ : เดนฟาการพิมพ, 2545.

กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม
หลักสูตรการจัดการมลพิษ โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

สมาคมวิศวกรรมสิ่งแวดลอมแหงประเทศไทย, การปองกันมลพิษและการผลิตที่สะอาด. กรุงเทพฯ :


สมาคมวิศวกรรมสิ่งแวดลอมแหงประเทศไทย, 2546.
สมาคมวิศวกรรมสิ่งแวดลอมแหงประเทศไทย, รวมกฎหมายสิ่งแวดลอมสําหรับผูปฏิบัติ. พิมพครั้งที่ 4.
กรุงเทพฯ : สมาคมวิศวกรรมสิ่งแวดลอมแหงประเทศไทย, 2548.
อุษา วิเศษสุมน, เทคโนโลยีการจัดการดานขยะและกากเปนพิษ. ม.ป.ท., 2537.
อํานาจ วงศบัณฑิต, กฎหมายสิ่งแวดลอม. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพวิญูชน, 2545.
Environmental Engineering Association of Thailand, Principles of Pollution Prevention and
Cleaner Production, International Training Course, 2003.
Metcalf & Eddy, Inc. Water and Wastewater Technology. 4th ed. New York : McGraw-Hill, 2003.
Michael D. L., Phillip L. B., Jeffrey C. E., Hazardous Waste Management. 2nd ed. Singapore :
McGraw Hill, 2001.
Paul L. B. Pollution Prevention: Fundamentals and Practice. Singapore : McGraw Hill, 2000.
Global Sustainability Instituto at RMIT University. URL : http://www.global.rmit.edu.au/
Sustainable Energy Authority Victoria Australia. URL : http://www. sustainability.vic.gov.au/
www/html/1155-home-page.asp

********************************************

กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม
ประวัติผูเขียนหลักสูตร
ประวัติผูเขียนหลักสูตร

นางมีนา พิทยโสภณกิจ
วุฒิการศึกษา
- วท.บ. (วิทยาศาสตรทั่วไป) จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย พ.ศ. 2523
- วท.ม. (วิทยาศาสตรสภาวะแวดลอม) จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย พ.ศ. 2526
การทํางานปจจุบัน
- กรรมการผูจดั การ และผูชํานาญการสิ่งแวดลอม บริษัท แอรเซฟ จํากัด
- กรรมการ สมาคมวิศวกรรมสิ่งแวดลอมแหงประเทศไทย
- ประธานชมรมเทคโนโลยีสิ่งแวดลอมเพื่อธุรกิจ
ภายใตศูนยพันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแหงชาติ
- กรรมการ สมาคมการจัดการดานพลังงาน

รศ.ดร.วราวุธ เสือดี
วุฒิการศึกษา
- วศ.บ. (วิศวกรรมเคมี) จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย พ.ศ. 2522
- วท.ม. (เทคโนโลยีการบริหารสิ่งแวดลอม) มหาวิทยาลัยมหิดล
พ.ศ. 2528
- Ph.D (Environmental Engineering) Illinois Institute of
Technology, U.S.A. พ.ศ. 2541
การทํางานปจจุบัน
- รองศาสตราจารย ภาควิชาวิทยาศาสตรสิ่งแวดลอม คณะวิทยาศาสตร
และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร รังสิต
- ประธานโครงการบัณฑิตศึกษา ภาควิชาวิทยาศาสตรสิ่งแวดลอม
คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร รังสิต

รศ.ดร.วิษณุ มีอยู
วุฒิการศึกษา
- วท.บ. (เคมีเทคนิค เกียรตินิยม อันดับ 1 เหรียญทอง)
จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย พ.ศ. 2534
- Ph.D. (Chemical Engineering) The University of New South
Wales พ.ศ. 2541
การทํางานปจจุบัน
- ผูอํานวยการศูนยวิจัยวัสดุประยุกตและสิ่งแวดลอม มหาวิทยาลัย
เทคโนโลยีมหานคร
- ผูชวยอธิการบดี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร
ประวัติผูเขียนหลักสูตร

ดร. เกษมสันติ์ สุวรรณรัต


วุฒิการศึกษา
- วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต โยธา ชลศาสตร (วศ.บ.) จุฬาลงกรณ
มหาวิทยาลัย
- M.Sc. (Applied Science in Public Health Engineering)
วิศวกรรมสาธารณสุข มหาวิทยาลัย Newcastle Upon Tyne อังกฤษ
- ปริญญาเอก วิศวกรรมศาสตร (Dr. – Ing.) มหาวิทยาลัย
Technische Hochschule Darmstadt ประเทศเยอรมัน
การทํางานปจจุบัน
- ประธานกรรมการองคการจัดการน้ําเสีย (อจน.) กระทรวง
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม
- อุปนายกสมาคมวิศวกรรมสิ่งแวดลอมแหงประเทศไทย (สวสท.)

รศ.ณรงค ใจหาญ
วุฒิการศึกษา
- นิติศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร
- นิติศาสตรมหาบัณฑิต (กฎหมายอาญา) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร
- เนติบัณฑิตไทย สํานักอบรมกฎหมายแหงเนติบัณฑิตยสภา
- Master of Law in Law Economy and Society, University of Kent at
Canterbury, England.
การทํางานปจจุบัน
- รองศาสตราจารย ระดับ 9 คณะนิติศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร
- หัวหนาภาควิชากฎหมายวิธีสบัญญัติ คณะนิติศาสตร
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

รศ.ดร.วันเพ็ญ วิโรจนกูฏ
วุฒิการศึกษา
- เภสัชศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยมหิดล พ.ศ. 2515
- วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (Environmental Engineering) สถาบัน
เทคโนโลยีแหงเอเชีย พ.ศ. 2518
- Ph.D (Environmental Health Engineering) มหาวิทยาลัยเท็กซัล
ออสติน ประเทศสหรัฐอเมริกา พ.ศ. 2526
การทํางานปจจุบัน
- หัวหนาภาควิชาวิศวกรรมสิ่งแวดลอม คณะวิศวกรรมศาสตร
มหาวิทยาลัยขอนแกน

You might also like