You are on page 1of 5

ขอเสนอของภาคประชาชนไทยตอรัฐบาลไทยและสมาคมประชาชาติอาเซียน

เพื่อการกาวไปขางหนา บนผลประโยชนของประชาชนอยางแทจริง
สำหรับการประชุมสุดยอดอาเซียน 27 กุมภาพันธ ถึง 1 มีนาคม 2552

 สมาคมประชาชาติอาเซียนกับการขับเคลื่อนเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม


นับตั้งแตการประชุมสุดยอดอาเซียนครั้งที่ 9 ที่บาหลี ประเทศอินโดนีเซีย ในป พ.ศ.
2546 ผูนำอาเซียนไดมีการลงนามในปฏิญญาความรวมมืออาเซียนฉบับที่สอง (Bali Concord II)
เพื่อยืนยัน ความมุงมั่นที่จะกอตั้งประชาคมอาเซียน และกำหนดใหมีความรวมมือกันในสามดาน
หลัก อันไดแก การเมืองและความมั่นคง เศรษฐกิจ และสังคมและวัฒนธรรม ความตกลงนี้
เปนการจัดตั้งประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ประชาคมความมั่นคงอาเซียน ประชาคมสังคม
และวัฒนธรรมอาเซียน ขึ้น ซึ่งเรียกกันวาเปนสามเสาหลักของอาเซียน
U และในวันที่ 20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2550 ระหวางการประชุมสุดยอดอาเซียนครั้งที่
13 ที่ประเทศสิงคโปร ไดมีการลงนามยอมรับกฎบัตรอาเซียน (ASEAN Charter) และ พิมพเขียว
แผนประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community Blueprint - AEC) โดยการ
ลงนามในครั้งนี้เปนการแสดงถึงเจตจำนงของสมาคมประชาชาติอาเซียน ที่ตองการผนึกความรวม
มือกันอยางเปนทางการ เปนองคกรระหวางรัฐที่มีกฎกติกาของตนเองรวมกัน
U U กฎบัตรอาเซียนคือขอตกลงที่กำหนดกรอบโครงสราง วัตถุประสงค และหลักการ
ขององคกรอาเซียน อีกทั้งยังกำหนดถึงวิธีปฏิบัติของเหลาประเทศสมาชิกและกระบวนการปกครอง
รวมกันอีกดวย ซึ่งกลาวไดวา กฎบัตรอาเซียนเปรียบเสมือนกับรัฐธรรมนูญที่ใชปกครองกลุมประเทศ
สมาชิกอาเซียนนั่นเอง
กฎบัตรอาเซียนใหความสำคัญกับเศรษฐกิจที่ขับเคลื่อนโดยตลาด มีเปาหมายที่
จะผูกโยงเศรษฐกิจของทุกประเทศเขาดวยกันเปนตลาดเดียว และฐานการผลิตเดียว มีการ
ตีความแนวเดียวคือ การเปดเสรี ใหเปนตลาดที่มีการแขงขันแบบเสรี โดยไมไดใสใจถึงทางเลือกอื่น
ที่เปนไปได แนวนโยบายเหลานี้ปรากฎชัดเจนอยูในพิมพเขียวแผนประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ที่
กำหนดเปาหมายวา ภายในป พ.ศ. 2558 (ค.ศ. 2015) อาเซียนจะกลายเปนตลาดเดียวและฐานการ
ผลิตเดียว
ความพยายามจะทำใหอาเซียนเปนตลาดเดียวนั้น เริ่มมาตั้งแตการจัดทำขอตกลง
เขตการคาเสรีอาเซียน (AFTA) ในป 2535 ซึ่งมีการดำเนินงานตามโครงการลดภาษีศุลกากรสินคา
นำเขาจากประเทศอาเซียนดวยกัน โดยมีเปาหมายที่จะขจัดภาษีศุลกากรใหหมดไปภายในป พ.ศ.
2553 (ค.ศ. 2010) สำหรับประเทศสมาชิกเดิม 6 ประเทศ และภายในป พ.ศ. 2558 (ค.ศ. 2015)
สำหรับสมาชิกใหม 4 ประเทศ คือกัมพูชา ลาว พมาและเวียดนาม รายการสินคาออนไหวทั้งหมดที่
ยกเวนไวจะตองนำมาเขาโครงการนี้ทั้งหมดภายในป พ.ศ. 2561 (ค.ศ. 2018)
ซึ่งผลกระทบที่เกิดขึ้นจากการเปดเสรีที่ผานมาไมวาจะเปนการเปดเสรีไทย-จีน
หรือ
ขอตกลงความรวมมือทางเศรษฐกิจอิระวดี เจาพระยา แมโขง (ACMECs) ไดปรากฏปญหาที่
ชัดเจนมาแลว ในลักษณะของการที่สินคาการเกษตรจากตางประเทศที่มีราคาถูกกวาเขามาตีตลาด
2

สงผลตอการลมละลายและการสูญเสียอาชีพของเกษตรกรผูผลิตหอมแดง กระเทียม ขาวโพด และ


เกษตรกรผูเลี้ยงโค อันนำมาซึ่งปญหาทางเศรษฐกิจของชนบท ทั้งที่ประเทศสมาชิกของอาเซียนสวน
ใหญ เปนประเทศเกษตรกรรม (ยกเวนเพียงสิงคโปร และบรูไน) มีการเกษตรเปนภาคการผลิตที่
สำคัญ เปนแหลงการจางงานที่มีอยูระหวาง 16-78 % ของการจางงานทั้งหมดของประเทศ
การเกษตรจึงเปนทั้งแหลงหาเลี้ยงชีพของกษตรกร และแหลงรองรับคนตกงานอันเนื่องมาจากวิกฤต
เศรษฐกิจ ที่กำลังเปนปญหาทาทายภูมิภาคอาเซียนอยูในปจจุบัน
ในภาวะที่โลกกำลังตื่นตัวกับภาวะความไมมั่นคงของอาหาร อาเซียนกลับเดิน
มุงหนาไปในทิศทางที่เพิ่มโอกาสในการผูกขาดการผลิตและการกระจายอาหารของภูมิภาค ซึ่งคือ
สาเหตุที่แทจริงของความขาดแคลนอาหารของโลกและของภูมิภาคนี้ และละเลยตอการสรางการ
พึ่งตนเองดานอาหารของประเทศสมาชิก
U กลาวไดวาทิศทางของสมาคมประชาชาติอาเซียนที่มุงหนาสูการเปดสรี ในยุคของ
วิกฤตเศรษฐกิจ วิกฤตพลังงาน และวิกฤตอาหาร เชนปจจุบัน ในขณะที่กฎบัตรและพิมพเขียว
ดานเศรษฐกิจจะทำหนาที่สำคัญในการบังคับดำเนินการตามพันธะกรณีอยางจริงจังและเปนจริง ที่
จะใหรัฐสมาชิกอาเซียนทุกประเทศจะเปดประตู อำนวยความสะดวก ใหสามารถเคลื่อนยาย
สินคา บริการ การลงทุน และผูประกอบวิชาชีพ ผูมีความสามารถพิเศษ หรือแรงงานที่มี
ฝมือขามพรมแดนของกันและกันไดอยางเสรีเต็มที่ (ความมุงประสงค ขอที่ 5 ในกฎบัตร
อาเซียน) แตแรงงานไรฝมือซึ่งเปนกลุมคนยากจนของสังคมกลับไมไดรับการคุมครอง ทั้งที่คนเหลา
นี้เปนหนวยพื้นฐานทางเศรษฐกิจ สรางรายไดใหแกประเทศชาติอยางมหาศาล จึงเทากับเปนการ
เปดทางใหธุรกิจขนาดใหญในภูมิภาคแสวงหา กอบโกยประโยชนจากระบบการผลิตอาหาร การ
อุตสาหกรรม การคา และพลังงาน โดยที่ประชาชนไมไดมีสวนรวมในการกำหนด และตัดสินใจทาง
นโยบาย
นอกจากนี้การเปดเสรีดังกลาวยังสรางผลกระทบตอสังคม เกิดการคามนุษย และ
สงผลตอการใชความรุนแรงในเด็กและสตรี รัฐก็ยังไมไดมีการเตรียมการใด ๆ สำหรับการดำรงชีวิต
อยางมีศักดิ์ศรีของเกษตรกรรายยอย ชาวประมงรายยอย ชนเผาพื้นเมือง แรงงาน สตรี และเด็ก ซึ่ง
เปนประชาชนพื้นฐานของภูมิภาคนี้ที่ไดรับผลกระทบจากทิศทางดังกลาว
U U

อุตสาหกรรมหลักที่รัฐบาลกลุมอาเซียนสนับสนุนทั้งหลาย ลวนเปนอุตสาหกรรมที่
กอมลพิษ ซึ่งสงผลตอสิ่งแวดลอมและสุขภาพของคนในชุมชนและในโรงงาน ทั้งยังเปน
อุตสาหกรรมที่กอปญหาโลกรอนในอันดับตน ๆ อีกดวย
มีโครงการความรวมมือขนาดใหญ และโครงการดานพลังงานจำนวนมากที่เกิดขึ้น
ในภูมิภาคนี้ ภายใตขออางของการพัฒนา และการแสวงหาแหลงพลังงาน ที่รัฐสมาชิกที่มีอำนาจ
ทางเศรษฐกิจทำตอรัฐสมาชิกที่ยากจน สงผลในทางทำลายระบบนิเวศน ทรัพยากรธรรมชาติ สิ่ง
แวดลอม วิถีการเกษตรและการพึ่งตนเองของชุมชน และเปนเหตุแหงความยากจนของเกษตรกร
กลุมชาติพันธุและชนเผาพื้นเมือง
U U ความแตกตางกันของลัทธิการเมือง ระบอบการปกครอง วัฒนธรรม และความ
3

ตางระดับของการพัฒนาในบรรดาประเทศสมาชิกอาเซียน ความขัดแยงภายในและระหวางรัฐ
การกระทบกระทั่งและขอพิพาทตาง ๆ ที่มีระหวางกันของรัฐสมาชิก ยังคงเปนปญหาที่ดำรงอยูใน
อาเซียน เปนความทาทายประการสำคัญของสมาคมประชาชาติอาเซียน ในการสรางความรวมมือ
ดานการเมือง ความมั่นคง เศรษฐกิจ และสังคมวัฒนธรรม ให “แนนแฟนยิ่งขึ้น” (ความมุงประสงค
ขอที่ 2 ในกฎบัตรอาเซียน)
การมุงเนนเรื่องการพัฒนาทางเศรษฐกิจ และความมั่นคงทางการเมือง และหลัก
การไมแทรกแซงกิจการภายใน (non intervention) ระหวางกันของรัฐสมาชิก ทำใหประเด็น
สิทธิมนุษยชนยังคงเปนประเด็นที่ถูกละเลยในสมาคมประชาชาติอาเซียน แมจะมีการระบุประเด็น
สิทธิมนุษยชนในแถลงการณรวมที่สิงคโปรเมื่อป 2546 (ค.ศ.1993) อีกทั้งการไมยอมรับบทบาทของ
องคกรภาคประชาชนดานสิทธิมนุษยชนที่ปฏิบัติการจริงอยูในภูมิภาคยังคงเปนอุปสรรคอยางสำคัญ
ในการพัฒนาประเด็นสิทธิมนุษยชนในภูมิภาคอาเซียน
นับแตกอตั้งสมาคมประชาชาติอาเซียนเปนตนมาจนถึงปจจุบัน สมาคม
ประชาชาติ
อาเซียนยังคงเปนเรื่องของรัฐบาล ขาดการมีสวนรวมของภาคประชาชน ไมมีชองทางและกลไก
รูปธรรมที่ประชาชนจะสามารถเสนอแนะแนวคิด ทิศทางของอาเซียน ไมมีแผนงานที่จะสรางการมี
สวนรวมของภาคประชาชน “อาเซียนที่มีประชาชนเปนศูนยกลาง” และ “การเสริมสรางพลัง
ประชาชน” (ความมุงประสงค ขอที่ 13 และขอที่ 10 ในกฎบัตรอาเซียน) จึงยังคงเปนแตเพียงวาท
กรรมที่ยากจะเปนจริง
U
 ขอเสนอของภาคประชาชนไทยตอรัฐบาลไทยและสมาคมประชาชาติอาเซียน เพื่อการ
กาวไปขางหนา บนผลประโยชนของประชาชนอยางแทจริง
U U ภาคประชาชนไทย อันประกอบดวยเครือขายตาง ๆ ไดเฝาติดตามทิศทางการ
พัฒนาของสมาคมประชาชาติอาเซียน และบทบาทของรัฐบาลไทยในสมาคมประชาชาติอาเซียนนี้
อยางใกลชิด มีขอวิพากษตอสามเสาหลักของอาเซียน อันประกอบดวย ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
ประชาคมความมั่นคงอาเซียน ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน กฎบัตรอาเซียน (ASEAN
Charter) และ พิมพเขียวแผนประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community
Blueprint - AEC) จากฐานผลประโยชนของประชาชนไทยและประชาชนแหงภูมิภาคอาเซียน และมี
ขอเสนอรัฐบาลไทยและสมาคมประชาชาติอาเซียน เพื่อการกาวไปขางหนา บนผลประโยชนรวมกัน
อยางแทจริงของประชาชนแหงภูมิภาคอาเซียน ดังนี้คือ
1) สมาคมประชาชาติอาเซียนตองมีความจริงใจและกระตือรอรน ที่จะสรางกระบวนการมี
สวนรวมของภาคประชาชน โดยการพัฒนาชองทางกลไก และแผนงาน ที่จะนำไปสู
“อาเซียนที่มีประชาชนเปนศูนยกลาง” และ “การเสริมสรางพลังประชาชน” ตามที่ระบุ
ไวในความมุงประสงคของอาเซียน ขอที่ 13 และขอที่ 10
2) แนวนโยบายใด ๆ เสาหลักใด ๆ กฎบัตรใด ๆ และพิมพเขียวใด ๆ U ข อ ง ส ม า ค ม
ประชาชาติอาเซียนจะตองถูกทบทวน เพื่อใหเกิดความมั่นใจวาจะเปนไปเพื่อเสริมสราง
คุณคาของสันติภาพในภูมิภาค (ตามความมุงประสงค ขอที่ 1ของกฎบัตรอาเซียน) ให
4

อาเซียนเปนประชาคมที่เอื้ออาทรหรือรวมทุกขรวมสุขกัน (Sharing) และเปน


ประชาคมแหงการแบงปนกัน (Caring) เพื่อผลประโยชนรวมกัน เพื่อเพิ่มพูนความ
เปนอยูที่ดีและการดำรงชีวิตของประชาชน เพื่อใหประชาชนมีโอกาสที่เทาเทียมกัน
ในการเขาถึงการพัฒนามนุษย สวัสดิการสังคม และความยุติธรรม (ความมุงประสงค
ของอาเซียน ขอที่ 11) และมีหลักประกันในการดำรงชีวิตอยางมีศักดิ์ศรีของเกษตรกร
รายยอย ชาวประมงรายยอย ชนเผาพื้นเมือง แรงงาน สตรี เด็ก เยาวชน ผูพิการ
และผูดอยโอกาสกลุมอื่น ๆ
3) สมาคมประชาชาติอาเซียนจะตองใหความสำคัญกับเสาหลักประชาคมสังคมและ
วัฒนธรรม ซึ่งมีสาระสำคัญ คือ สงเสริมการพัฒนาและความมั่นคงของมนุษย ลดชอง
วางการพัฒนา สรางหลักประกันความยั่งยืนของทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม
สนับสนุนการสรางทางเลือกการพัฒนา แทนการมุงเนนแตเฉพาะเสาหลักดานเศรษฐกิจ
และความมั่นคง และยกเลิกการเปดเสรีทางการคาและการลงทุน และการผูกโยง
เศรษฐกิจของทุกประเทศเขาดวยกันเปนตลาดเดียว และฐานการผลิตเดียว
4) สมาคมประชาชาติอาเซียนจะตองใหความสำคัญกับการคุมครองแรงงานทุกกลุม ทั้ง
แรงงานพื้นฐาน แรงงานนอกระบบ และแรงงานยายถิ่น ใหมีงานทำ ไดรับคาตอบแทนที่
เปนธรรม มีความปลอดภัยในการทำงาน ไดรับการคุมครองทางสังคม มีเสรีภาพในการ
รวมตัว มีอำนาจในการตอรอง มีศักดิ์ศรี และมีคุณภาพชีวิตที่ดี
5) สมาคมประชาชาติอาเซียนจะตองใหความสำคัญกับการรักษาอธิปไตยทางอาหารของ
ประชาชน คุมครองเกษตรกรรายยอย ผูผลิตรายยอย สนับสนุนชุมชนในการรักษาฐาน
ทรัพยากร ดิน น้ำ ปา ปฏิรูปที่ดิน และปฏิรูประบบเกษตรกรรม เพื่อใหเกษตรกรเปน
เจาของปจจัยการผลิต และสนับสนุนการแสวงหาความรวมมือระหวางประชาชนในกรณี
อาหารและการเกษตร
6) โครงการความรวมมือขนาดใหญ โครงการดานพลังงานจำนวนมากที่เกิดขึ้นในภูมิภาค
ที่สงผลในทางทำลายระบบนิเวศน ทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดลอม วิถีการเกษตรและการ
พึ่งตนเองของชุมชน และเปนเหตุแหงความยากจนของเกษตรกร กลุมชาติพันธุและชนเผา
พื้นเมืองจะตองไดรับการทบทวน สนับสนุนเทคโนโลยีที่เนนการใชพลังงานหมุนเวียน
ที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอมอยางแทจริง
7) อาเซียนตองสนับสนุนรัฐสมาชิกใหมีธรรมาภิบาลสิ่งแวดลอมอุตสาหกรรม เปลี่ยนแนว
ความคิดในการลงทุนและการพัฒนาอุตสาหกรรม เชน ลดและเลิกการลงทุนโครงการขนาด
ใหญ นำหลักการผลิตที่สะอาดมาใช (Clean production principle) ปฏิบัตตามหลักการ
ปองกันไวกอน (precaution principle) และเนนการเปดเผยขอมูลสูสาธารณะ (public
disclosure) เปนตน
5

8) อาเซียนตองสนับสนุนรัฐสมาชิกใหมีการสรางกระบวนการยุติธรรมทางดานสิ่งแวดลอม
และสุขภาพ จัดตั้งกองทุนระหวางประเทศชวยเหลือผูไดรับผลกระทบและพื้นฟูสิ่งแวดลอม
จัดตั้งศาลสิ่งแวดลอมเพื่อไตสวนและพิจารณากรณีการกระทำย่ำยีสิ่งแวดลอมขามชาติ
รวมทั้งผลกระทบทางสุขภาพจากโลกาภิวัตนการพัฒนาอุตสาหกรรม
9) ประเด็นสิทธิมนุษยชนจะตองถูกยกระดับขึ้นเปนวาระเรงดวนของภูมิภาค สมาคม
ประชาชาติอาเซียนจะตองใหความสำคัญกับการพัฒนากลไกสิทธิมนุษยชนของอาซียน
ดำเนินการขจัดขอจำกัดและอุปสรรคขัดขวางการคุมครองสิทธิมนุษยชนของประชาชน และ
ใหความสำคัญกับการมีสวนรวมขององคกรภาคประชาชนที่ทำงานดานสิทธิมนุษยชน
10) รัฐไทยในฐานะรัฐสมาชิกที่มีความเขมแข็งทางเศรษฐกิจ และเปนผูนำของสมาคม
ประชาชาติอาเซียนจะตองมีสำนึกแหงความรับผิดชอบ มีบทบาท และมีสวนรวมอยาง
กระตือรือรนในการสรางภูมิภาคนี้ใหเปนภูมิภาคแหงสันติภาพ ความปรองดอง การคุมครอง
สิ ท ธิ ม นุ ษ ยชน การดำรงชี ว ิ ต อย า งมี ศ ั ก ดิ ์ ศ รี ข องประชาชน และการปกป อ ง
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมของภูมิภาค ภาคประชาชนไทย
22 กุมภาพันธ 2552

You might also like